Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore tripitaka_56

tripitaka_56

Published by sadudees, 2017-01-10 01:15:42

Description: tripitaka_56

Search

Read the Text Version

พระสุตตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย เอกนบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๒ - หนาที่ 155รํา่ ไหวา โปรดพระราชทานเครื่องนงุ หมแกห มอ มฉนั เถดิ เดินวนเวียนพระราชนเิ วศนไป ๆ มา ๆ. พระราชาทรงสดับเสยี งของนางแลว รับสง่ั วา พวกเจา จงใหผา หมแกน าง. พวกราชบุรษุพากนั หยิบผา สาฎกสงให. นางเหน็ ผาน้ันแลว กลา ววา ดิฉนั ไมไ ดขอพระราชทานผาน้ดี อก ดิฉนั ขอพระราชทานเครอื่ งนุง หมคือสามีพวกมนุษยพ ากนั ไปกราบบังคมทลู แดพ ระราชา วา พระเจาขานัยวา หญงิ ผูนม้ี ิไดพ ดู ถงึ ผา นงุ หม น้ี นางพดู เครื่องนุงหม คือสาม.ีพระราชาจึงรับส่งั ใหนางเขาเฝา มพี ระราชาดํารสั ถามวา ไดยินวา เจาขอผาคอื สามีหรอื ? นางกราบทลู วา พระเจาคะ พระองคผสู มมตเิ ทพ สามชี อื่ วา เปน ผา หม ของสตรโี ดยแท เพราะเมือ่ไมม สี ามี แมสตรีจะนงุ ผาราคาตงั้ พนั กระษาปณ จะตองชอื่ วาเปนหญิงเปลอื ยอยนู น่ั เอง พระเจาคะ . ก็เพือ่ จะใหเ น้อื ความนี้สําเรจ็ ประโยชน บณั ฑติ พึงนาํ เรอ่ื งมาสาธกดังนว้ี า :- \" แมน ้าํ ทไี่ มมีนาํ้ ชือ่ วา เปลือย แวน แควน ที่ปราศจากพระราชาชือ่ วาเปลอื ย หญงิ ปราศจาก ผัวถึงจะมพี นี่ องตัง้ ๑๐ คน ก็ชอื่ วา เปลือย ดงั นี้ \". พระราชาทรงเลือ่ มใสนาง รบั สัง่ ถามวา คนทง้ั ๓ เหลา นี้เปน อะไรกับเจา ? นางกราบทลู วา ขอเดชะขาแตพ ระองคสมมติเทพ คนหน่ึงเปน สามี คนหน่งึ เปน พี่ คนหนงึ่ เปนบุตร พระเจา คะ.

พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนิกาย เอกนบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๒ - หนา ท่ี 156 พระราชารับสงั่ ถามวา เราพอใจเจา ในคน ๓ คนน้ี เราจะยกใหเ จา คนหนึ่ง เจา ปรารถนาคนไหนเลา ? นางกราบทลู วา ขอเดชะ พระกรุณาเปนตนพน เมอื่หมอ มฉนั ยงั มชี ีวิตอยู สามคี นหน่งึ ตองหาได แมบ ตุ รก็ตองไดดวย. แตเ พราะมารดาบิดาของหมอมฉนั เสยี ชีวิตแลว พี่ชายคนเดยี วหาไดย าก พระเจาคะ จงโปรดพระราชทานพี่ชายแกกระหมอ มฉนั เถดิ พระเจาคะ. พระราชาทรงยนิ ดแี ลว โปรดใหป ลอ ยไป ท้ัง ๓ คน เพราะอาศยั หญงิ น้นั ผเู ดียว คนท้ัง ๓ จึงพน จากทกุ ขได ดวยประการฉะน้.ี เร่อื งน้นั รกู นั ท่วั ในหมภู กิ ษุ.อยูม าวันหนง่ึ ภิกษุทัง้ หลายประชมุ กนั ในโรงธรรม น่ังสนทนาสรรเสรญิ คณุ ของหญิงนัน้ วา ผมู ีอายุทั้งหลาย อาศยั หญิงคนเดียวคน ๓ คน พนทุกขหมด. พระศาสดาเสดจ็ มาตรสั ถามวา ดกู อนภกิ ษทุ ั้งหลาย พวกเธอประชุมสนทนากันดว ยเรือ่ งอะไรเลา ?เมอ่ื ภกิ ษทุ ้งั หลายกราบทลู ใหท รงทราบแลว ตรัสวา ดกู อ นภกิ ษุทัง้ หลาย มใิ ชแตใ นบัดน้ีเทาน้นั ทห่ี ญิงผูน้ีจะปลดเปล้อื งคนทง้ั ๓ใหพ น จากทุกข ถึงแมในปางกอ น กป็ ลดเปลอ้ื งแลว เหมือนกันทรงนําเอาเรอื่ งในอดตี มาสาธก ดงั ตอไปน้ี :- ในอดตี กาล ครง้ั พระเจา พรหมทัตเสวยราชสมบัตอิ ยูในกรงุ -พาราณสี คนทั้ง ๓ พากนั ไถนาอยูทป่ี ากดง ดงั นี้ ตอ น้ันไปเรื่องทงั้ หมดก็เหมอื นกับเร่อื งกอ นน่ันแหละ. (แตท ี่แปลกออกไปมดี ังน)ี้ :- เมอ่ื พระราชาตรสั ถามวา ในคนทัง้ ๓ เจาตองการ

พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย เอกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๒ - หนา ท่ี 157ใครเลา ? นางกราบทูลวา ขอเดชะพระบารมีเปน ลน พน พระองคไมสามารถจะพระราชทานหมดทัง้ ๓ คน หรือพระเจา คะ ?พระราชาตรสั วา เออเราไมอาจใหไดท ง้ั ๓ คน. นางกราบทูลวา ขอเดชะพระกรณุ าเปน ลน พน แมนไมทรงสามารถพระราชทานไดท้งั ๓ คนไซรไดทรงพระกรณุ าพระราชทานพีช่ ายแกหมอ มฉนัเถดิ เจาตอ งการพีช่ าย เพราะเหตไุ ร ๆ จงึ กราบทลู วา ขอเดชะพระบารมีลน เกลา ธรรมดาคนเหลา นีห้ าไดง าย แตพ ่ชี ายกระหมอมฉนั หาไดย ากพระเจา คะ แลว กราบทลู คาถานวี้ า :- \" ขา แตพระองคผ ูส มมตเิ ทพ บตุ รอยู ในพกของเกลากระหมอมฉนั สามีเลา เมือ่ เกลา กระหมอมฉนั ไปตามทาง (กห็ าได) แตประเทศ ที่หมอ มฉันจะหาพี่นอ งรวมอทุ รได เกลา- กระหมอ มฉันมองไมเห็นเลย \" ดงั น.้ี บรรดาบทเหลา นน้ั บทวา อจุ ฺฉงฺเค เทว เม ปตุ โฺ ต ความวาขาแตพระองคผ ูสมมตเิ ทพ บตุ รอยใู นพกของเกลากระหมอ มฉนัแลวทเี ดยี ว โดยเปรยี บความวา เมื่อหมอมฉันเขา ปา ทาํ ผาเปนพกไว เกบ็ ผกั ใสใ นพกนัน้ ผักจงึ ชอื่ วา เปน ของหางาย เพราะมอี ยใู นพก ฉันใด แมหญิงกห็ าบุตรไดง ายฉันน้นั เปน เชนกับผกัในพกนั่นทเี ดียว ดว ยเหตนุ ้ัน หมอ มฉนั จงึ กลา ววา ขาแตพ ระองคผูสมมตเิ ทพ บตุ รอยใู นพกของหมอมฉนั . ดังน้ี.

พระสตุ ตนั ตปฎก ขทุ ทกนิกาย เอกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๒ - หนา ที่ 158 บทวา ปเถ ธาวนฺติยา ปติ ความวา ธรรมดาวาสามีสตรียางข้นึ สูหนทาง เดินไปคนเดยี วประเดย๋ี วกไ็ ด ชายทีพ่ บเหน็เปน สามไี ดท้ังน้นั ดว ยเหตนุ ั้นหมอมฉันจงึ กลา ววา \"สามีเลาเมอื่ เกลากระหมอ มฉันเทยี่ วไปตามทาง (ก็หาได) ดงั นี้. บทวา ตฺจ เทส น ปสฺสามิ ยโต โสทริยมานเย ความวาแตเ พราะมารดาบดิ าของหมอมฉันไมม เี สียแลว เพราะฉะนัน้บดั น้ีประเทศอน่ื กลา วคอื ทองของมารดา ท่หี มอ มฉันจะหาพนี่ องซ่งึ กลาววารวมทอ งกัน เพราะเกดิ รว มอทุ รน้นั หมอ มฉนั มองไมเ หน็ เลย พระเจาคะ เพราะเหตุนนั้ ขอพระองคทรงพระกรุณาโปรดพระราชทานพ่ชี ายแกห มอ มฉนั เถิดพระเจา คะ พระราชาทรงพระดํารวิ า นางนีพ้ ดู จริง ดงั นแี้ ลวมีพระทัยยนิ ดี แลว โปรดใหนาํ คนทง้ั ๓ มาจากเรอื นจํา พระราชทานใหน างไป. นางจงึ พาคนทง้ั ๓ กลบั ไป. พระบรมศาสดากต็ รสั วา ดกู อนภกิ ษุทัง้ หลาย มิใชแ ตในบัดน้ีเทา น้ัน แมใ นคร้งั กอ น นางก็เคยชว ยคนทงั้ ๓ นี้ใหพ นจากทุกขแลวเหมือนกนั ดงั นี้ คร้ันทรงนาํ พระธรรมเทศนานี้มาแลว ทรงสบื อนุสนธปิ ระชุมชาดกวา คนทง้ั ๔ ในอดตี ไดมาเปนคนทง้ั ๔ ในปจ จบุ ัน สวนพระราชาในครง้ั นน้ั ไดม าเปนเราตถาคต ฉะน้ีแล. จบ อรรถกถาอุจฉงั คชาดกท่ี ๗

พระสุตตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย เอกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๒ - หนา ที่ 159 ๘. สาเกตชาดก วาดวยจิตใจจดจอ เลื่อมใสในผูท ค่ี ุนเคย [๖๘] ใจจดจอ อยใู นผใู ด แมจ ิตเลือ่ มใสใน ผูใด บคุ คลพงึ คนุ เคยสนทิ สนมแมในผนู ั้น ทงั้ ๆ ท่ีไมเ คยเหน็ กันมากอ น จบ สาเกตชาดกที่ ๘ อรรถกถาสาเกตชาดกที่ ๘ พระศาสดาทรงอาศัยเมืองสาเกต ประทบั ณ พระวิหาร-อญั ชนวนั ทรงปรารภพราหมณผ หู นึง่ ตรัสพระธรรมเทศนาน้ีมีคาํ เริ่มตนวา ยสมฺ ึ มโน นิวสี ติ ดังน้ี. ไดยินวา ในเวลาท่พี ระผูมีพระภาคเจา แวดลอ มดว ยหมูภิกษุ เสด็จเขา เมืองสาเกตเพ่ือบิณฑบาต พราหมณแ กชาวเมืองสาเกตุหนึง่ กาํ ลงั เดินไปนอกพระนคร เห็นพระทศพลระหวา งประตู ก็หมอบลงแทบพระยคุ ลบาท ยดึ ขอพระบาทท้ังคูไวแ นนพลางกราบทลู วา พอ มหาจาํ เรญิ ธรรมดาวา บตุ ร ตองปรนนบิ ัติมารดาบดิ าในยามแกม ิใชห รอื เหตุไรพอ จึงไมแสดงตนแกเ ราตลอดกาลมปี ระมาณเทา นี้ เราเหน็ ตอกอ นแลว แตพอ จงมาพบกับมารดา แลวพาพระศาสดาไปเรอื นของตน. พระศาสดา

พระสตุ ตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย เอกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๒ - หนาท่ี 160เสดจ็ ไปทเ่ี รอื นของพราหมณ ประทับนั่งเหนอื อาสนะทเ่ี ขาจดั ไวพรอ มดวยภิกษุสงฆ. ฝายพราหมณี ไดข าววา บัดน้ีบตุ รของเรามาแลว กม็ าหมอบแทบบาทยุคลของพระบรมศาสดา แลว รํา่ ไหวาพอ คุณทูลหัว พอ ไปไหนเสยี นานถงึ ปานนี้ ธรรมดาบตุ รตองบาํ รงุมารดาบิดายามแกมิใชห รือ แลว บอกใหบตุ รธดิ า พากันมาไหวดวยคาํ วา พวกเจาจงไหวพ ่ีชายเสีย. พราหมณทั้งสองผัวเมียดีใจ ถวายมหาทาน. พระศาสดาครั้นเสวยเสรจ็ แลว กต็ รสัชราสูตร แกพราหมณแมทง้ั สองเหลา นน้ั . ในเวลาจบพระสตู รคนแมทั้งสองก็ต้ังอยใู นพระอนาคามผิ ล. พระศาสดาเสด็จลุกจากอาสนะเสดจ็ ไป พระวหิ ารอัญชนวันตามเดิม. พวกภกิ ษุน่งัประชมุ กันในโรงธรรม สนทนากนั ขึ้นวา ผมู ีอายทุ ัง้ หลายพราหมณก ็รอู ยวู า พระบิดาของพระตถาคต คือพระเจา สุทโธทนะพระมารดา คือพระนางมหามายา ท้งั ๆ ท่รี อู ยู กย็ งั บอกพระ-ตถาคตกับนางพราหมณวี า บตุ รของเรา ถึงพระศาสดา กท็ รงรับขอนเ้ี ปน เพราะเหตุไรหนอ ? พระศาสดาทรงสดับถอ ยคาํ ของภิกษุเหลา นั้น แลว ตรัสวา ดกู อนภกิ ษทุ ้ังหลาย พราหมณแมท้งั สองเรียกบุตรของตน นั่นแหละวา บตุ ร แลว ทรงนําอดีตนทิ านมาตรสั วา \" ดูกอ นภิกษทุ ้งั หลาย พราหมณน ี้ในอดีตกาลไดเ ปนบิดาของเราตลอด ๕๐๐ ชาติ. เปนอาของเรา ๕๐๐ ชาติเปนปูของเรา ๕๐๐ ชาติ ตดิ ตอ กันไมขาดสาย แมนางพราหมณีน้ีเลา กไ็ ดเ ปน มารดาของเรา ๕๐๐ ชาติ เปนนา ๕๐๐ ชาติ

พระสตุ ตนั ตปฎก ขทุ ทกนิกาย เอกนบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๒ - หนา ท่ี 161เปน ยา ๕๐๐ ชาติ ตดิ ตอ กันไมขาดสายเลยดุจกนั เราเจริญแลวในมอื ของพราหมณ ๑,๕๐๐ ชาติ จําเริญแลว ในมอื ของนาง-พราหมณี ๑,๕๐๐ ชาตอิ ยางนี้ เปน อนั ทรงตรัสถึงชาติในอดตี๓,๐๐๐ ชาติ ครน้ั ตรสั รูเปน พระสัมมาสัมพุทธเจาแลว จงึ ตรสัพระคาถานี้ ความวา : - \"ใจจดจอ อยูในผูใ ด แมจติ เลือ่ มใสในผใู ด บคุ คลพึงคนุ เคยสนิทสนมแมใ นผูนน้ั ท้งั ๆ ท่ี ไมเคยเห็นกันมากอ น\" ดงั นี้ บรรดาบทเหลานนั้ บทวา ยสฺมึ มโน นวิ ีสติ ความวาใจจดจออยใู นบุคคลใด ผูเพียงแตเห็นกันเทา นัน้ . บทวา จิตตฺ ฺจาป ปสีทติ ความวา อนงึ่ จิตยอ มเลอื่ มใสออ นโยน ในบุคคลใด ผูพ อเห็นเขาเทา นัน้ . บทวา อทิฏ ปุพพฺ เก โปเส ความวา ในบุคคลแมนัน้ถงึ ในยามปกติ จะเปนบคุ คลทไี่ มเ คยเห็นกนั เลยในอตั ภาพน้ัน บทวา กาม ตสมฺ ปึ  วสิ สฺ เส มอี ธิบายวา ยอมคุนเคยกนัโดยสว นเดียว คือถงึ ความคนุ กันทนั ที แมใ นบุคคลน้นั ดวยอํานาจความรกั ทเ่ี คยมีในคร้งั กอนน่นั เอง. พระศาสดาทรงนาํ พระธรรมเทศนานีม้ าอยา งนีแ้ ลว ทรงสบื อนุสนธิประชมุ ชาดก วา พราหมณแ ละพราหมณใี นครง้ั นั้นไดม าเปน พราหมณ และนางพราหมณคี นู ี้ นัน่ แล ฝายบุตรไดแกเ ราตถาคตนน่ั เอง ฉะนีแ้ ล. จบ อรรถกถาสาเกตชาดก

พระสุตตันตปฎก ขุททกนกิ าย เอกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๒ - หนาท่ี 162 ๙. วสิ วันตชาดก ตายดีกวา ดูดพษิ ทีค่ ายออกแลว [๖๙] เราจักดดู พิษทีค่ ายออกแลว เพราะเหตุ แหงชวี ติ อันใด พิษท่คี ายออกแลวน้ัน นา ขยะแขยง เราตายเสียยงั ประเสริฐกวา มชี ีวติ อยู. จบ วสิ วันตชาดกที่ ๙ อรรถกถาวสิ วนั ตชาดกที่ ๙ พระบรมศาสดาเม่อื ประทับอยู ณ พระเชตวันมหา-วหิ าร ทรงปรารภพระธรรมเสนาบดี ตรัสพระธรรมเทศนานี้มคี าํ เร่มิ ตน วา ธิรตถฺ ุ ต วิส วนตฺ  ดงั นี้. ไดยนิ วาในคราวทพ่ี ระสารบี ตุ รเถระขบฉันของเคี้ยวที่ทาํ ดว ยแปง พวกมนษุ ยพากนั นําของเคีย้ วท่ที ําดว ยแปงเปนจํานวนมาก มาสวู ิหารเพ่ือพระสงฆ ของทเ่ี หลือจากท่ีภิกษสุ งฆรับเอาไว ยังมีมาก พวกมนุษยพ ากันพูดวา พระคุณเจาทง้ั หลายโปรดรับไว เพอ่ื ภกิ ษทุ ีไ่ ปในบานดว ยเถดิ . ขณะนั้นภิกษหุ นุมสทั ธิวหิ าริกของพระเถระเจา ไปในบาน พวกภกิ ษรุ บั สว นของเธอไว เมื่อเธอยงั ไมมา เห็นวา เปนเวลาสายจดั ก็ถวายแดพ ระ-เถระเจา. เมือ่ ทานฉันแลว ภิกษหุ นมุ จึงไปถึง. ครง้ั น้ันพระเถระ

พระสตุ ตันตปฎก ขุททกนกิ าย เอกนบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๒ - หนาท่ี 163กลา วกะเธอวา ผมู อี ายุ ฉันบรโิ ภคของเค้ยี วท่เี กบ็ ไวเพ่อื เธอหมดแลว. ภกิ ษนุ ั้นกลา ววา ขาแตพ ระคณุ เจา ธรรมดาของอรอ ยใครจะไมชอบเลา ขอรับ. ความสลดใจ เกิดขน้ึ แกพ ระมหาเถระเจาทานเลยอธษิ ฐานไวว า ตง้ั แตบัดนีไ้ ป เราจกั ไมฉ นั ของเคย้ี วทท่ี ําดว ยแปง . ขาววา ต้งั แตบ ดั นน้ั พระสารบี ุตรเถระเจาไมเ คยฉนั ของทช่ี อ่ื วา ของเค้ยี วทาํ ดว ยแปง เลย. ความทท่ี า นไมฉ นัของเคี้ยวทาํ ดว ยแปง เกิดแพรห ลายไปในหมูภิกษ.ุ ภิกษุท้งั หลายน่ังในธรรมสภา พูดกนั ถึงเร่ืองนั้น. ครง้ั นัน้ พระบรมศาสดาเสดจ็ มา ตรสั ถามวา ภกิ ษทุ ง้ั หลาย พวกเธอประชมุ สนทนากนัดวยเร่อื งอะไรเลา ? เม่อื ภิกษุทงั้ หลายกราบทลู ใหท รงทราบแลว ตรสั วา ดูกอ นภกิ ษุท้ังหลาย สารีบตุ รแมจ ะเสยี ชวี ิต กไ็ มยอมรบั ส่ิงท่ตี นทงิ้ เสียครั้งหนง่ึ อกี ทีเดียว แลว ทรงนําเรอื่ งราวในอดีตมาสาธก ดงั ตอ ไปน้ี :- ในอดตี กาล ครง้ั พระเจา พรหมทัตเสวยราชสมบตั อิ ยใู นกรงุ -พาราณสี พระโพธสิ ัตวเกิดในตระกลู หมอรักษาพษิ เล้ยี งชีวติ ดวยเวชกรรม. คร้งั น้ันงกู ดั ชาวชนบทคนหนง่ึ พวกญาติของเขาไมประมาท รบี นํามาหาหมอโดยเร็ว. หมอถามวา จะพอกยาถอนพษิ กอน หรือจะใหเรยี กงตู ัวทก่ี ดั มา แลวใหมนันัน่ แหละ ดูดพิษออกจากแผลที่มนั กัด. พวกญาตพิ ากันกลา ววาโปรดเรียกงูมาใหมันดูดพิษออกเถิด. หมอจงึ เรยี กงมู าแลวกลา ววา เจา กัดคนผูน ้ีหรือ ?

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย เอกนบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๒ - หนา ท่ี 164 งู. ใชแลว เรากดั . หมอ. เจาน่ันแหละจงเอาปากดดู พษิ จากปากแผล ท่เี จากัดแลว. ง.ู เราไมเ คยกลับดดู พิษทเ่ี ราท้งิ ไปคร้งั หน่ึงแลว เลย.เราจักไมยอมดูดพิษทเ่ี ราคายไปแลว หมอใหค นหาฟนมากอไฟพลางบงั คับวา ถา เจาไมดูดคนื พิษของเจา ก็จงเขาไปสกู องไฟนเ้ี ถดิ . งกู ลาวตอบวา เราจะขอเขากองไฟ แตไมข อยอมดูดคืนซึ่งพิษที่ตนปลอ ยไปแลว คร้ังหนึง่ เปนอนั ขาด แลวกลา วคาถานี้ความวา :- \" พษิ ทีค่ ายแลว นนั้ นารงั เกียจนัก การที่ เราตองดดู พิษท่ีตายแลว เพราะเหตุแหงความ อยรู อดน้นั ใหเ ราตายเสียยังดีกวา \" ดังน้ี. บรรดาบทเหลานั้น บทวา ธิรตฺถุ เปน นิบาต ลงในอรรถวา ตเิ ตียน. บทวา ต วสิ  ความวา พิษท่เี ราคายแลว จกั ตอ งกลับดดู คนืเพราะเหตแุ หงการอยูรอดนั้น นาขยะแขยงนัก. บทวา มต เม ชีวิตา วร ความวา การเขา สูกองไฟแลวตายน้นั ประเสริฐกวาความเปนอยขู องเรา เพราะเหตุดดู คืนพิษน้ันมากมาย. ก็และคร้ันกลาวอยางนแ้ี ลว ก็เล้ือยเขา ไปสกู องไฟ.คร้ังนนั้ หมอจงึ หา มงนู ้ันไว จัดแจงรักษาบุรุษนั้นใหหายพิษ

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย เอกนบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๒ - หนาท่ี 165ใหหายโรค ดว ยโอสถและมนต แลว ใหศ ีลแกงู กลาววา จําเดมิแตน ี้ไป เจาอยาเบยี ดเบียนใคร ๆ ดังนแ้ี ลวกป็ ลอ ยไป. พระบรมศาสดาจงึ ตรัสวา ดกู อนภกิ ษทุ ้งั หลาย สารบี ตุ รแมจ ะตองสละชีวิต ก็ไมยอมรับคนื ส่ิงท่ีตนทง้ิ เสียแลวครั้งหนง่ึเลย คร้นั ทรงนําพระธรรมเทศนานี้มาแลว ทรงสบื อนุสนธิประชมุชาดกวา งูในคร้งั นัน้ ไดมาเปน พระสารีบตุ ร สวนหมอไดมาเปนเราตถาคต ฉะนแ้ี ล. จบ อรรถกถาวสิ วนั ตชาดกท่ี ๙

พระสุตตันตปฎก ขุททกนกิ าย เอกนบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๒ - หนาที่ 166 ๑๐. กทุ ทาลชาดก วาดวยความชนะทด่ี ี [๗๐] \" ความชนะทีบ่ ุคคลชนะแลว กลบั แพไ ด นน้ั มิใชความชนะเดด็ ขาด (สวน) ความชนะ ทบี่ ุคคลชนะแลว ไมกลับแพนัน้ ตา งหาก จึงจะ ชื่อวา เปนความชนะเดด็ ขาด \" จบ กุททาลชาดกท่ี ๑๐ อรรถกถากทุ ทาลชาดกท่ี ๑๐ พระศาสดาเมอ่ื ประทบั อยู ณ พระเชตวนั มหาวิหารทรงปรารภพระจติ หัตถสารบี ตุ ร ตรสั พระธรรมเทศนานี้ มคี าํเรมิ่ ตนวา น ต ชติ  สาธุ ดังน.ี้ ไดย นิ วา พระจติ หัตถสารบี ุตร เปน เดก็ ทเ่ี กดิ ในตระกลูผูหนึ่งในพระนครสาวัตถี อยูมาวนั หน่งึ ไถนาแลว ขากลบั เขาไปสวู หิ าร ไดโ ภชนะประณตี อรอย มีรสสนิทจากบาตรพระเถระองคหนึ่ง คิดวา ถึงแมเ ราจะกระทาํ งานตา ง ๆ ดวยมือของตนตลอดคนื ตลอดวนั กย็ งั ไมไ ดอาหารอรอ ยอยา งน้ี แมเรากส็ มควรจะเปน สมณะ ดงั นี้. เขาบวชแลว อยมู าไดประมาณครึง่ เดอื นเมอ่ื ไมใ สใ จโดยแยบคาย ตกไปในอาํ นาจกเิ ลส สึกไป พอลําบาก

พระสุตตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย เอกนบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๒ - หนา ท่ี 167ดวยอาหารก็มาบวชอกี เรียนพระอภิธรรม ดว ยอุบายนี้ สกึแลวบวชถงึ ๖ ครง้ั ในความเปนภกิ ษคุ รั้งที่ ๗ เปนผูท รงพระอภธิ รรม ๗ พระคมั ภรี  ไดบ อกธรรมแกภ กิ ษเุ ปน อันมากบําเพญ็ วิปสสนาไดบรรลพุ ระอรหัตถแ ลว. ครั้งนนั้ ภิกษผุ เู ปนสหายของทาน พากนั เยาะเยย วา อาวโุ ส จติ หัตถ เด๋ียวนีก้ เิ ลส.ทงั้ หลายของเธอ ไมเจรญิ เหมือนเมื่อกอนดอกหรือ ? ทานตอบวา ผมู ีอายุ ตัง้ แตบัดนไ้ี ป ผมไมเหมาะเพื่อความเปน คฤหสั ถกเ็ ม่อื ทา นบรรลุพระอรหัตอยางน้แี ลว เกิดโจทยก นั ข้นึ ในธรรมสภาวา ผูมีอายุท้งั หลาย เมือ่ อุปนิสัยแหงพระอรหตัเหน็ ปานนมี้ ีอยู ทา นพระจติ หัตถสารีบตุ ร ตองสกึ ถงึ ๖ ครงั้โอ ! ความเปนปุถุชน มีโทษมากดังน้ี พระศาสดาเสด็จมาแลวตรัสถามวา ดูกอ นภิกษทุ ง้ั หลาย บดั น้ี พวกเธอสนทนากันดวยเร่ืองอะไร ? เม่ือภกิ ษุทัง้ หลายกราบทูลใหท รงทราบแลว ตรสั วาดกู อนภกิ ษุท้งั หลาย ขน้ึ ชอื่ วาจิตของปถุ ุชน เมา ขม ไดย ากคอยไปตดิ ดว ยอาํ นาจแหงอารมณ ลงตดิ เสียคร้ังหน่งึ แลว กไ็ มอาจปลดเปล้ืองไดโ ดยเรว็ การฝกฝนจติ เห็นปานน้ี เปนความดีจิตที่ฝกฝนดีแลว เทา นน้ั จะนาํ ประโยชนเกอ้ื กูลและความสุขมาใหแลวตรัสพระคาถาน้ี ความวา :- \" การฝก ฝนจิต ทีข่ มไดย าก เมา มีปกติ ตกไปตามอารมณท่ีปรารถนาเปนการดี เพราะจิต ท่ีฝก ฝนแลว ยอ มนําสขุ มาให \" ดังน้ี.

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขุททกนิกาย เอกนบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๒ - หนาท่ี 168 ครน้ั แลว ตรัสตอไปวา ก็เพราะเหตุที่จิตน้นั ขมไดโดยยากบณั ฑิตทงั้ หลาย แมในกาลกอ น อาศยั จอบเลมเดยี ว ไมอ าจทิง้มนั ได ตองสึกถงึ ๖ ครั้ง ดวยอํานาจความโลภ ในเพศแหงบรรพชิตครงั้ ที่ ๗ ทําฌานใหเกดิ ขึน้ แลว จึงขมความโลภนนั้ ไดดงั นแ้ี ลว ทรงนาํ เอาเรื่องในอดตี มาสาธก ดงั ตอ ไปน้ี :- ในอดตี กาล ครง้ั พระเจาพรหมทัตเสวยราชสมบัตอิ ยใู นกรุง-พาราณสี พระโพธิสัตวเกดิ ในตระกลู คนปลกู ผกั ถึงความเปน ผูรเู ดียงสาแลว ไดนามวา \" กทุ ทาลบณั ฑิต \" ทานกุททาลบัณฑิต กระทําการฟนดนิ ดว ยจอบ เพาะปลูกพชื พนั ธและผกั มนี ํา้ เตา ฟก เขียวฟก เหลือง เปน ตน เก็บผกั เหลา น้นั ขาย เลี้ยงชพี ดว ยการเบียดกรอ.แทจรงิ ทานกทุ ทาลบัณฑติ นอกจากจอบเลม เดียวเทานนั้ ทรพั ยสมบตั ิอยางอน่ื ไมเ ลย. ครั้นวันหนึง่ ทา นดํารวิ า จะมปี ระโยชนอะไรดว ยการอยคู ร้ังเรือน เราจกั บวช ดังน.ี้ ครั้นวนั หน่ึงทา นซอนจอบนัน้ ไว ในทซี่ ่ึงมดิ ชดิ แลว บวชเปน ฤาษี ครัน้หวลนกึ ถงึ จอบเลม นน้ั แลว กไ็ มอาจตดั ความโลภเสยี ได เลยตองสกึ เพราะอาศยั จอบกดุ ๆ เลม นัน้ . แมคร้ังที่ ๒ แมครั้งที่ ๓ กเ็ ปนอยางนี้ เก็บจอบนั้นไวในท่มี ิดชิด บวช ๆ สึก ๆรวมไดถงึ ๖ ครง้ั ในครงั้ ที่ ๗ ไดคดิ วา เราอาศัยจอบกดุ ๆเลมน้ี ตอ งสกึ บอ ยครัง้ คราวนีเ้ ราจักขวา งมันทงิ้ เสยี ในแมนํา้ใหญ แลว บวช ดงั นีแ้ ลว เดินไปสูฝง แมน ํ้า คิดวา ถาเรายังเห็นที่ตกของมนั กจ็ ักตองอยากงมมันข้นึ มาอีก แลวจบั จอบท่ีดาม ทาน

พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนกิ าย เอกนบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๒ - หนา ที่ 169มีกําลังดังชา งสาร สมบรู ณดวยเรี่ยวแรง ควงจอบเหนือศีรษะ๓ รอบ หลับตาขวางลงไปกลางแมน าํ้ แลว บรรลอื เสยี งกกึ กอ ง๓ ครั้งวา \" เราชนะแลว เราชนะแลว \". ในขณะนัน้ พระเจา พาราณสี ทรงปราบปรามปจ จนั ตชนบทราบคาบแลว เสด็จกลบั ทรงสนานพระเศยี รในในแมน าํ้ นัน้ ประดบัพระองคดว ยเครอื่ งอลังการครบเครอื่ ง เสดจ็ พระดาํ เนนิ โดยพระคชาธาร ทรงสดบั เสียงของพระโพธสิ ัตวน นั้ ทรงระแวงพระทัยวา บุรุษผูน ้กี ลา ววา เราชนะแลว ใครเลาท่ีเขาชนะจงเรยี กเขามา แลว มีพระดาํ รัสส่ังใหเ รยี กมาเฝา แลวมีพระดาํ รัสถามวา ดกู อนบรุ ุษผเู จรญิ เรากาํ ลงั ชนะสงคราม กาํ ความมีชัยมาเด๋ยี วนี้ สว นทา นเลา ชนะอะไร ? พระโพธิสตั วก ราบทูลวาขาแตม หาราช ถึงพระองคจ ะทรงชนะสงครามต้งั รอ ยครง้ัตงั้ พันคร้งั แมต ้งั แสนครัง้ กย็ งั ชือ่ วาชนะไมเดด็ ขาดอยูนนั่ เอง เพราะยงั เอาชนะกิเลสท้งั หลายไมได แตขา พระองคขมกิเลสในภายในไวไ ด เอาชนะกิเลสทง้ั หลายได กราบทลู ไปมองดูแมนา้ํ ไป ยงั ฌานมีอาโปกสิณเปนอารมณ ใหเกิดข้นึ แลวน่งั ในอากาศดวยอํานาจของฌานและสมาบัติ เม่อื จะแสดงธรรมถวายพระราชา จงึ กลาวคาถาน้ี ความวา :- \"ความชนะท่บี ุคคลชนะแลว กลบั แพ ไดน นั้ มิใชความชนะเดด็ ขาด (สว น) ความชนะ

พระสตุ ตันตปฎก ขุททกนกิ าย เอกนบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๒ - หนาท่ี 170 ท่บี ุคคลชนะแลว ไมก ลับแพน้นั ตางหาก จึงชอ่ื วา เปนความชนะเด็ดขาด \" ดงั น.้ี บรรดาบทเหลานนั้ บทวา น ต ชติ  สาธุ ชติ  ย ชิตอวชยิ ยฺ ติ ความวา การปราบปรามปจ จามิตร ราบคาบชนะแวน แควน ตีเอาไดแ ลว ปจจามติ รเหลา น้ัน ยงั จะตีกลบั คืนไดความชนะนนั้ จะชื่อวา เปนความชนะเดด็ ขาดหาไดไ ม เพราะเหตุไร ? เพราะยังจะตองชิงชยั กนั บอย ๆ. อีกนยั หนึ่ง ชัยเรียกไดว า ความชนะ ชัยที่ไดเ พราะรบกับปจ จามติ ร ตอ มาเม่อื ปจ จามิตรเอาชนะคืนได กก็ ลับเปนปราชัย ชัย นน้ั ไมดไี มงาม เพราะเหตไุ ร ? เพราะเหตทุ ี่ยงักลับเปน ปราชัยไดอกี . บทวา ต โข ชิต สาธุ ชติ  ย ชิต นาวชยิ ฺยติ ความวาสวนการครอบงาํ มวลปจจามิตรไวไดแลวชนะ ปจจามิตรเหลา นน้ัจะกลับชิงชยั ไมไ ดอีก ใด ๆ ก็ดี การไดชัยชนะคร้ังเดียวแลวไมกลับเปนปราชัยไปได ใด ๆ ก็ดี ความชนะนัน้ ๆ เปน ความชนะเด็ดขาด คือชัยชนะนน้ั ชื่อวา ดี ช่อื วางาม. เพราะเหตไุ ร ?เพราะเหตทุ ี่ไมตองชงิ ชัยกันอีก. ดูกอนมหาบพติ ร เพราะเหตนุ น้ัแมพ ระองคจะทรงชนะ ขุนสงคราม ต้ังพนั ครงั้ ตง้ั แสนครัง้ก็ยังจะเฉลิมพระนามวา จอมทัพ หาไดไ ม. เพราะเหตุใด ?

พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนกิ าย เอกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๒ - หนา ที่ 171 เพราะเหตุท่พี ระองคย ังทรงชนะกิเลสของพระองคเ องไมไ ด สว นบุคคลใด ชนะกเิ ลสภายในของตนได แมเ พยี งครง้ั เดียวบคุ คลน้ี จัดเปน จอมทพั ผเู กรียงไกรได. พระโพธิสตั วนง่ั ในอากาศน่นั แล แสดงธรรมถวายพระราชาดวยพระพทุ ธลีลากใ็ นความเปนจอมทัพผสู งู สุดนนั้ มพี ระสตู รเปนเครื่องสาธกดังนี้ :- \" ผทู ีช่ นะหมูมนษุ ยใ นสงคราม ถงึ หน่งึ ลา นคน ยงั สูผูทช่ี นะตนเพียงผูเดยี วไมไ ด ผนู ้นั เปน จอมทัพสงู สุด โดยแท \" ดังน.ี้ กเ็ ม่อื พระราชาทรงสดับธรรมอยูน น่ั เอง ทรงละกเิ ลสไดดวยอํานาจ ตทงั คปหาน พระทยั นอมไปในบรรพชา. ถงึ พวกหมโู ยธาของพระองค ก็พากนั ละไดเ ชนนัน้ เหมือนกัน. พระ-ราชาตรัสถามพระโพธสิ ตั ววา บดั นี้พระคุณเจาจกั ไปไหนเลา ? พระโพธสิ ัตวก ราบทลู วา ขาแตมหาราช ขาพระองคจกั เขาปาหมิ พานตบวชเปนฤๅษี. พระราชารบั ส่ังวา ถาเชนนนั้ แมขา พเจากจ็ ะบรรพชา แลว เสด็จพระราชดําเนนิไปพรอ มกับพระโพธสิ ตั ว. พลนกิ ายทง้ั หมด คือ พราหมณคฤหบดี และทวยหาญ ทกุ คนประชุมกนั ในขณะนัน้ เปนมหาสมาคมออกบรรพชา พรอ มกับพระราชาเหมอื นกัน. ชาวเมืองพาราณสี สดบั ขาววา พระราชาของเราทงั้ หลาย ทรงสดบัพระธรรมเทศนาของกุททาลบัณฑติ แลว ทรงบายพระพักตร

พระสตุ ตันตปฎ ก ขุททกนกิ าย เอกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๒ - หนาท่ี 172มงุ บรรพชา เสด็จออกทรงผนวชพรอ มดวยพลนิกาย พวกเราจกั ทําอะไรกนั ในเมืองนี้ ดังน้ีแลว บรรดาผอู ยูในพระนครทงั้ นน้ัตางพากันเดินทางออกจากกรงุ พาราณสี อันมีปริมณฑลได๑๒ โยชน. บริษัทก็ไดมปี ริมณฑล ๑๒ โยชน. พระโพธสัตวพาบรษิ ทั น้นั เขาปาหิมพานต. ในขณะน้ันอาสนะท่ีประทับนงั่ของทาวสักกเทวราช สาํ แดงอาการรอน. ทา วเธอทรงตรวจดูทอดพระเนตรเห็นวา กทุ ทาลบัณฑติ ออกสูมหาภิเนกษกรมแลว ทรงพระดําริวา จกั เปน มหาสมาคม ควรทีท่ านจะไดส ถานท่อี ยู แลว ตรัสเรียกวสิ สกุ รรมเทพบตุ รมา ตรสั สัง่ วา พอ -วสิ สกุ รรม กุททาลบณั ฑิตกําลังออกสมู หาภิเนกษกรม ทานควรจะไดทอ่ี ยู ทานจงไปหิมวันตประเทศ เนรมิตอาศรมบทยาว ๓๐ โยชน กวา ง ๑๕ โยชน ณ ภมู ภิ าคอนั ราบรนื่ . วิสส-ุกรรมเทพบตุ ร รบั เทวบัญชาวา ขา แตเ ทพยเจา ขา พระพุทธเจาจะกระทาํ ใหส ําเรจ็ ดงั เทวบัญชา แลวไปทําตามนนั้ น้ีเปนความสงั เขปในอธิการนี้. สว นความพสิ ดาร จักปรากฏในหตั ถปิ าลชาดกแทจรงิ เร่อื งน้ี และเร่อื งนน้ั เปน ปรเิ ฉทเดียวกนั นน่ั เอง. ฝายวิสสุกรรมเทพบุตร เนรมติ บรรณศาลาในอาศรมบทแลว กข็ ับไล เนือ้ นก และอมนษุ ยท ี่มีเสยี งช่วั รายไปเสยี แลวเนรมติ หนทางเดินแคบ ๆ ตามทิสาภาคนนั้ ๆ เสร็จแลว เสดจ็กลับไปยงั วิมานอนั เปนสถานทอี่ ยขู องตนทันที.

พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนิกาย เอกนบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๒ - หนา ที่ 173 ฝายกทุ ทาลบณั ฑติ พาบรษิ ัทเขาสปู าหิมพานต ลุถงึอาศรมบทท่ีทาวสักกะทรงประทาน ถอื เอาเคร่อื งบรขิ ารแหงบรรพชิต ท่วี ิสสกุ รรมเทพบตุ รเนรมติ ไวให บวชตนเองกอนใหบ ริษทั บวชทหี ลงั จดั แจงแบง อาศรมบทใหอยกู นั ตามสมควรมพี ระราชาอีก ๗ พระองค สละราชสมบัติ ๗ พระนคร (ติดตามมาทรงผนวชดว ย) อาศรมบท ๓๐ โยชน เต็มบรบิ ูรณ. กุททาล-บณั ฑิต ทาํ บรกิ รรมในกสิณทีเ่ หลอื เจรญิ พรหมวิหารธรรมบอกกรรมฐานแกบ รษิ ัท. บรษิ ทั ทั้งปวง ลวนไดส มาบตั ิ เจรญิพรหมวหิ ารแลว พากนั ไปสพู รหมโลกทั่วกัน. สวนประชาชนท่ีบํารุงพระดาบสเหลา นั้น ก็ลว นไดไปสเู ทวโลก. พระบรมศาสดา กต็ รสั วา ดกู อนภกิ ษุทงั้ หลาย ข้นึ ชอื่ วาจิตนี้ ติดดว ยอํานาจของกิเลสแลว เปน ธรรมชาตปิ ลดเปล้อื งไดย าก โลภธรรมท้ังหลายท่ีเกิดแลว เปนสภาวะละไดย ากยอ มกระทาํ ทานผูเปน บัณฑติ เหน็ ปานฉะนี้ ใหกลายเปน คนไมม คี วามรูไปได ดวยประการฉะนี้ ครนั้ ทรงนาํ พระธรรมเทศนาน้ีมาแลว ทรงประกาศสัจจะท้งั หลาย เม่ือจบสจั จะ ภกิ ษทุ ง้ั หลายบางพวก ไดเปน พระโสดาบนั บางพวกไดเปน พระสกทาคามีบางพวกไดเ ปนพระอนาคามี บางพวกบรรลุพระอรหตั แมพระบรมศาสดา ทรงสบื อนุสนธิประชุมชาดกวา พระราชาในครงั้ นน้ั ไดม าเปนพระอานนท บรษิ ัทในครงั้ นั้น ไดมาเปนพทุ ธบริษัท สวนกุททาลกบัณฑติ ไดม าเปน เราตถาคต ฉะนีแ้ ล. จบ อรรถกถากุททาลชาดกท่ี ๑๐

พระสตุ ตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย เอกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๒ - หนาท่ี 174 รวมชาดกที่มีในวรรคนี้ คอื ๑. อสาตมันตชาดก ๒. อณั ฑภตู ชาดก ๓. ตกั กชาดก๔. ทุราชานชาดก ๕. อนภิรติชาดก ๖. มุทลุ ักขณชาดก๗. อุจฉังคชาดก ๘. สาเกตชาดก ๙. วิสวันตชาดก ๑๐. กทุ -ทาลชาดก. จบ อติ ถีวรรคที่ ๗

พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขุททกนิกาย เอกนบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๒ - หนาท่ี 175 ๘. วรุณวรรค ๑. วรุณชาดก วาดว ยการทําไมถกู ขน้ั ตอน [๗๑] ผูใดปรารถนาจะทํากิจทีค่ วรทํากอนใน ตอนหลัง ผูน ัน้ ยอ มเดอื ดรอนในภายหลงั เหมือน มาณพหักไมก ุม ฉะนัน้ . จบ วรณุ ชาดกท่ี ๑ อรรถกถาวรุณวรรคท่ี ๘๑ อรรถกถาวรณุ ชาดกท่ี ๑ พระศาสดาเมื่อประทับอยู ณ พระเชตวนั มหาวหิ ารทรงปรารภพระติสสเถระ บตุ รกฏุ ม พี ตรสั พระธรรมเทศนาน้ีมคี าํ เรมิ่ ตนวา โย ปพุ เฺ พ กรณียานิ ดงั น้ี. ไดย ินวา ในวนั หน่ึง กุลบุตรชาวเมอื งสาวัตถี เปนสหายกันประมาณ ๓๐ คน ถอื ของหอม ดอกไมแ ละผา เปนตน คิดกันวา พวกเราจกั ฟง พระธรรมเทศนาของพระศาสดา อันมหาชนหอ มลอ ม พากันไปสวู หิ ารเชตวัน น่ังพักในโรงช่อื นาคมาฬกะ๑. ในอรรถกถาเปน วรณ...

พระสุตตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย เอกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๒ - หนา ท่ี 176และวิสาลมาฬกะเปนตน พอเวลาเย็นเมอ่ื พระศาสดาเสด็จออกจากพระคันธกุฎี อันอบแลวดวยกลิน่ หอม เสดจ็ ดาํ เนนิ ไปสูธรรมสภา ประทบั น่ังเหนือพทุ ธอาสน อนั ตกแตงแลว จึงพากันไปสูธ รรมสภาพรอ มดวยบริวาร บชู าพระศาสดาดวยของหอมและดอกไม ถวายบงั คมแทบบาทยุคล อนั ประดับดว ยจักร ทรงพระสริ เิ สมอดวยดอกบัวบาน แลวนงั่ ฟง พระธรรมอยู ณ สว นขางหนง่ึ . พวกเขาพากันปรวิ ิตกวา เราท้งั หลายตองบวช ถึงจะรทู ั่วถึงธรรมที่พระผูมีพระภาคเจาทรงแสดงแลวไดกวา งขวางในเวลาท่พี ระตถาคตเสด็จออกจากธรรมสภา พวกกุลบตุ รเหลานน้ั ก็พากนั เขา ไปเฝาถวายบงั คมทลู ขอบรรพชา. พระ-ศาสดาทรงประทานบรรพชาแกพ วกเขา. พวกเขากระทาํ ใหอาจารยและอปุ ชฌายโปรดปรานแลว ไดอปุ สมบท อยูในสาํ นักของอาจารยและอุปชฌาย ๕ พรรษา ทองมาติกา ทง้ั ๒ คลองแคลวรสู งิ่ ทเ่ี ปน กปั ปยะ และอกปั ปยะ เรยี นอนโุ มทนา ๓ เยน็ ยอ มจีวรแลวกราบลาอาจารยและอปุ ชฌายวา พวกกระผมจักบําเพ็ญสมณธรรม แลว พากันเขา เฝาพระศาสดา ถวายบงั คมแลว นง่ัณ ที่สมควรสว นขา งหนึ่ง กราบทลู วิงวอนวา ขา แตพระองคผเู จริญ พวกขาพระองคเออื มระอาในภพทัง้ หลาย กลัวแตความเกดิ ความแก ความเจ็บ และความตาย ขอพระองคจงตรัสบอกพระกรรมฐาน เพอื่ ปลดเปลือ้ งตนจากสังสารทกุ ข แกข า พระองคทั้งหลายเหลา น้ันเถดิ พระเจา ขา. พระศาสดาทรงทราบสปั ปายะ

พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนิกาย เอกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๒ - หนาท่ี 177จึงตรสั บอกพระกรรมฐานขอหน่ึง ในกรรมฐาน ๓๘ ประการแกภิกษเุ หลานน้ั . ภิกษเุ หลา น้นั เรียนพระกรรมฐานในสาํ นกัของพระศาสดาแลว ถวายบังคมพระศาสดา กระทําปทักษิณไปสบู รเิ วณ อําลาอาจารยและพระอุปชฌาย ถือเอาบาตรและจีวรออกจากวหิ ารไปดว ยต้ังใจวา พวกเราจกั บําเพ็ญสมณธรรม. ครั้งนนั้ ในระหวางภกิ ษุเหลานั้น มีภกิ ษรุ ปู หนง่ึ โดยชื่อเรียกกนั วา กฏมพกิ ปุตตตสิ เถระ เปน ผูเ กียจคราน มคี วามเพยี รทราม ติดรสอาหาร เธอคิดอยา งนีว้ า เราจกั ไมส ามารถเพอ่ื อยูในปา ไมอาจจะยงั อัตภาพใหเ ปน ไปดวยการเทีย่ วภกิ ษาจารการไปปาไมเ กิดประโยชนอ ะไรแกเราเลย เราจักกลบั เธอทอดท้งิ ความเพยี รเพียรเสยี แลว เดนิ ตามภกิ ษุเหลาน้นั ไปหนอยหนง่ึแลว กลับเสยี ฝา ยภกิ ษเุ หลานัน้ พากันจารกิ ไปในแควนโกศลถงึ หมูบานชายแดนตําบลหนงึ่ กเ็ ขาอาศยั หมูบานน้ันจําพรรษาอยูท ่ชี ายปาแหงหน่ึง เปนผไู มป ระมาทเพียรพยายามอยูตลอดระยะกาลภายในไตรมาส ถือเอาหอ งวิปสสนา ยงั ปฐพีใหบ รรลือล่นั บรรลพุ ระอรหตั ตแ ลว พอออกพรรษา ปวารณาแลว ปรกึ ษากนั วา จักกราบทลู คุณทีต่ นไดบรรลแุ ลว แดพ ระศาสดา จงึ พากันออกจากปจ จนั ตคาม ถงึ พระเชตวนั มหาวหิ ารโดยลําดับ เก็บบาตรและจวี รเรียบรอยแลว ก็เขาพบอาจารยและพระอปุ ชฌายปรารถนาจะเฝา พระตถาคตเจา พากนั ไปยังสํานกั ของพระศาสดาถวายบังคมแลวนั่งเฝา อยู พระศาสดาไดท รงกระทําปฏิสนั ถาร

พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนิกาย เอกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๒ - หนาท่ี 178ดวยพระดํารสั อนั ไพเราะ กับภกิ ษุเหลานั้น. ภิกษุเหลา นน้ัไดรับปฏิสันถารแลว จึงกราบทลู ทตี่ นไดแลวแดพระตถาคต.พระศาสดาทรงสรรเสรญิ ภิกษุเหลาน้ัน พระกุฏมพิกปุตตติสส-เถระ เห็นพระศาสดาตรสั สรรเสริญคุณของภิกษุเหลานัน้ แมตนเองกป็ ระสงคจะบาํ เพญ็ สมณธรรมบา ง ฝา ยภิกษทุ ั้งหลายแมเ หลา นนั้ กราบทลู ลาพระศาสดาวา ขา แตพระองคผูเ จริญพวกขา พระองคจักไปอยูทชี่ ายปา น้นั พระศาสดาทรงอนญุ าตแลว . พวกภกิ ษุเหลานนั้ ถวายบังคมพระศาสดาแลว ไดพากนัไปสบู ริเวณ. ครง้ั นนั้ พระกุฏม พิกปตุ ตติสสเถระน้นั บําเพ็ญเพยี รจัด ในระหวา งเวลารตั ตกิ าล บาํ เพ็ญสมณธรรมโดยรบี เรงเกินไป พอถงึ เวลาระยะมชั ฌิมยาม ทง้ั ๆ ท่ยี นื พิงแผน กระดานสําหรับพัก หลบั ไป กลง้ิ ตกลงมา กระดกู ขาของทา นแตก. เกิดเวทนามากมาย. เมอ่ื ภกิ ษุเหลานั้นตองชว ยปฏิบตั เิ ธอ การเดินทางก็ชะงกั คร้งั นน้ั พระศาสดาตรัสถามภกิ ษเุ หลา น้ัน ผพู ากันมาในเวลาเปน ทบี่ ํารงุ วา ดกู อ นภิกษุทัง้ หลาย พวกเธอบอกลาเมอ่ื วานวา จักพากันไปในวันพรุงน้ี มิใชหรอื ? ภิกษุเหลา นน้ั กราบทลูวา เชนน้นั กแ็ ตวา ทานติสสเถระบุตรกุฏมพี สหายของขา-พระองคทั้งหลาย การทําสมณธรรมอยา งรบี เรง ในเวลามิใชก าลถกู ความงว งครอบงํา กล้ิงตกลงไป กระดกู ขาแตก เพราะเธอเปน เหตุ พวกขาพระองคจงึ จาํ ตองงดการเดนิ ทาง พระศาสดาตรัสวา ดกู อนภิกษทุ ั้งหลาย มใิ ชแตในบัดนี้เทา น้นั ทีภ่ กิ ษนุ ี้

พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย เอกนบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๒ - หนา ที่ 179รีบเรง กระทําความเพียรในเวลามิใชก าล เพราะความทต่ี นเปน ผูมีความเพียรยอหยอน จึงกระทาํ อันตรายการเดนิ ทางของพวกเธอ แมใ นครง้ั กอน ภิกษนุ ก้ี ไ็ ดท ําอันตรายการเดนิ ทางของพวกเธอมาแลวเหมอื นกัน ภกิ ษุเหลาน้นั กราบทลู อาราธนา จึงทรงนาํ เอาเรื่องในอดตี มาสาธก ดังตอไปนี้ :- ในอดีตกาล พระโพธิสตั วเสวยพระชาตเิ ปน อาจารยทศิ า-ปาโมกข ใหม าณพ ๕๐๐ คน เลา เรยี นศิลปะอยูใ นเมอื งตกั กสลิ าแควนคันธาระ ครน้ั วันหน่ึงมาณพเหลาน้ัน พากนั ไปปาเพ่อืหาฟน รวบรวมฟน ไว ในระหวา งมาณพเหลานัน้ มีมาณพผูเกียจครา นอยูคนหน่งึ เห็นตนกมุ ใหญสําคญั วา ตนไมน เี้ ปนตน ไมแหง คิดวา นอนเสยี ชวั่ ครูหนึ่งกอนกไ็ ด ทีหลังคอ ยข้ึนตนหกั ฟน ทง้ิ ลงหอบเอาไป จงึ ปลู าดผา หม ลงนอนกรนหลบั สนิทสว นมาณพนอกน้ี พากันผูกฟนเปนมดั ๆ แลว แบกไป เอาเทากระทบื มาณพนัน้ ทหี่ ลังปลกุ ใหตืน่ แลวพากนั ไป มาณพผเู กียจ-คราน ลุกข้นึ ขยต้ี า จนหายงว งแลว ก็ปน ขึ้นตน กมุ จับกิ่งเหนย่ี วมาตรงหนาตน พอหกั แลว ปลายไมท ่ลี ดั ขนึ้ ก็ดดี เอานยั นตาของตนแตกไป เอามือขา งหน่ึงปดตาไว ขางหน่งึ หกั ฟน สด ๆลงจากตน มดั เปนมดั แบกไปโดยเรว็ เอาไปทง้ิ ทบั บนฟนทพ่ี วกมาณพเหลา นัน้ กองกนั ไวอ ีกดวย. กใ็ นวันนัน้ ตระกูลหนงึ่ จากบานในชนบท นิมนตอาจารยไ ววา พรุงนี้ พวกกระผมจักกระทําการสวดมนตพ ราหมณ. อาจารยจ งกลาวกะพวกมาณพวา

พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนิกาย เอกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๒ - หนาท่ี 180พอ ท้งั หลาย พรงุ น้ีตองไปถึงหมบู า นตาํ บลหนงึ่ แตพวกเธอไมไดกนิ อาหารกอ น จกั ไมอาจไปได ตอ งใหเ ขาตม ขา วแตเ ชาตรูไปทนี่ นั่ ถือเอาสวนทต่ี นจะตอ งไดร บั และสวนท่ีถึงแกเ รา แลวรบี พากนั มาเถดิ . พวกมาณพเหลา นน้ั ปลุกทาสใี หลุกขนึ้ ตมขา วตมแตเชา ตรู สัง่ วา เจาจงรบี ตมขาวตม ใหแ กพวกเราโดยเรว็ .ทาสนี น้ั ไปหอบฟนกห็ อบเอาฟนไมกุมสดไป แมจ ะใชป ากเปาลมบอย ๆ กไ็ มอ าจใหไ ฟลุกได จนดวงอาทิตยขึ้น. พวกมาณพเห็นวา สายนกั แลว บดั น้ี พวกเราไมอาจจะไปได จึงพากนั ไปสํานักทานอาจารย. ทานอาจารยถามวา พอ เอย พวกเจาไมไดไปกนั ดอกหรือ ? พวกมาณพตอบวา ครบั ทานอาจารย พวกกระผมไมไดไ ป อาจารยถ ามวา เพราะเหตุไร ? จงึ ตอบวามาณพเกยี จครานโนน ไปปา เพ่อื หาฟนกับพวกผม ไปนอนหลบัเสียทีโ่ คนกมุ ทีหลงั จงึ รบี ขนึ้ ไป ไมส ลดั เอาตาแตก หอบเอาไมส ด ๆ มาโยนไวข า งบนฟน ทพี่ วกผมหามา คนตมขา ว ขนเอาฟน สด ๆ นั้นไปดว ยสําคัญวาเปนฟน แหง จนดวงอาทติ ยข ้ึนสูงก็ไมอ าจกอไฟใหล กุ ได ดวยเหตนุ ้จี งึ เปนอุปสรรคตอการเดนิ ทางทา นอาจารยฟ งสง่ิ ทม่ี าณพกระทําผิดพลาดแลว กลาววา ความเสือ่ มเสียเหน็ ปานน้ยี อ มมีได เพราะอาศยั กรรมของพวกอันธพาลแลวกลาวคาถานค้ี วามวา :- กจิ ทีจ่ ะตอ งรีบกระทาํ กอ น ผใู ดใครจะ กระทําภายหลัง ผูนั้นยอมเดือดรอ นในภายหลัง

พระสตุ ตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย เอกนบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๒ - หนาท่ี 181 เหมอื นมาณพหกั ไมก ุม เดอื ดรอนอยฉู ะนี้ ดงั น้ี บรรดาบทเหลาน้ัน บทวา ส ปจฺฉา อนุตปฺปติ ความวาบคุ คลผูใ ดผูหนง่ึ ไมพจิ ารณาใหถ องแทวา กิจนตี้ อ งทาํ กอ นกิจน้ีตอ งทาํ ภายหลงั เอากิจท่ีตองทํากอน คือกรรมที่ตองกระทําทีแรกนัน่ แหละ มากระทาํ ในภายหลงั บุคคลนัน้ เปนพาลบคุ คลยอมเดอื ดรอน คอื โศกเศรา ร่าํ ไหใ นภายหลงั เหมือนมาณพของพวกเราผหู ักไมก ุมผูนี.้ พระโพธสิ ัตว กลาวเหตนุ แ้ี กเหลาอันเตวาสิก ดวยประการฉะนี้ แลว กระทําบญุ มที าน เปนตน ในสุดทายแหง ชีวติ กไ็ ปตามครรลองของกรรม. พระบรมศาสดาก็ตรัสวา ดูกอ นภกิ ษุท้ังหลาย มิใชแตในบัดนเี้ ทา น้ัน ทภ่ี กิ ษนุ ก้ี ระทําอนั ตรายตอ การเดนิ ทางของพวกเธอ แมในครงั้ กอนกไ็ ดก ระทําแลว เหมอื นกันดังน้ี ทรงนาํพระธรรมเทศนานี้มาแลว ทรงสบื อนุสนธิ ประชุมชาดกวามาณพผูถึงแกน ยั นตาแตกในคร้งั น้นั ไดมาเปนภกิ ษผุ กู ระดูกขาแตกในบัดนี้ มาณพทเี่ หลือมาเปน พุทธบริษทั สว นพราหมณผูอาจารย ไดมาเปน เราตถาคต ฉะนีแ้ ล. จบ อรรถกถาวรณชาดกท่ี ๑

พระสตุ ตันตปฎก ขทุ ทกนกิ าย เอกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๒ - หนาท่ี 182 ๒. สลี วนาคชาดก คนอกตญั ูหาชอ งเนรคุณอยูทุกขณะ [๗๒] \"ถาใคร ๆ จะพงึ ใหส มบตั ิในแผนดิน ทงั้ หมด แกคนอกตัญู ผมู ีปกติมองหาโทษ อยูเปนนิตย ก็ทําใหเขาพอใจไมไ ด\" จบ สลี วนาคชาดกที่ ๒ อรรถกถาสีลวนาคชาดกท่ี ๒ พระบรมศาสดาเมื่อประทบั อยู ณ พระเวฬวุ ันมหาวหิ าร ทรงปรารภพระเทวทัต ตรัสพระธรรมเทศนาน้ี มีคําเริ่มตนวา อกตฺสุ ฺส โปสสฺส ดงั น้ี. ความยอ วา ภิกษุทั้งหลาย นั่งสนทนากนั ในโรงธรรมวาอาวโุ สทงั้ หลาย \" พระเทวทตั เปนคนอกตญั ู ไมร ูคุณของพระ-ตถาคต \" พระศาสดาเสดจ็ มาตรสั ถามวา ดูกอนภิกษุท้ังหลายพวกเธอประชุมสนทนากันดว ยเรื่องอะไร ? เมือ่ ภิกษุทง้ั หลายกราบทลู ใหทรงทราบแลว ตรัสวา ดกู อ นภิกษุท้ังหลาย มิใชแตใ นบัดนี้เทานั้น ทพ่ี ระเทวทัตเปน คนอกตญั ู แมในครงั้ กอ นก็เคยเปน ผูอกตญั ูมาแลว ไมเ คยรูคณุ ของเรา ไมว าในกาลไหน ๆ แลวทรงนาํ เอาเร่อื งในอดตี มาสาธก ดังตอไปนี้ :-

พระสุตตันตปฎก ขุททกนกิ าย เอกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๒ - หนาท่ี 183 ในอดตี กาล ครัง้ พระเจาพรหมทตั เสวยราชสมบัติอยใู นกรุง-พาราณสี พระโพธสิ ัตวบังเกิดในกาํ เนดิ ชาง ในหิมวนั ตประเทศพอคลอดจากครรภม ารดา กม็ ีอวยั วะขาวปลอด มีสีเปลงปลั่งดังเงินยวง นัยนตาทง้ั คูของพระยาชางนน้ั ปรากฏเหมือนกับแกว มณี มปี ระสาทครบ ๕ สว น ปากเชนกบั ผากัมพลแดง งวงเชน กบั พวงเงินที่ประดบั ระยับดวยทอง เทาทั้ง ๔ เปน เหมอื นยอมดวยนํา้ คร่ัง อัตภาพอันบารมีทงั้ ๑๐ ตกแตง ของพระโพธิสัตวนั้น ถงึ ความงามเลิศดวยรูปอยา งน.้ี ครั้งน้นั ฝูงชา งในปา -หิมพานตท้งั ส้ิน มาประชมุ กันแลว พากันบาํ รุงพระโพธสิ ัตวผูถ ึงความเปนผูรูเดียงสาแลว พระโพธิสตั วจงึ มชี า งแปดหม่นื เปน บรวิ ารอยูอาศัยในหิมวนั ตประเทศ ดวยประการฉะนี้ ภายหลงั เห็นโทษในหมคู ณะ จงึ หลีกออกจากหมู สทู ี่สงบสงดั กาย พาํ นักอาศัยอยูในปา แตลําพงั ผูเดียวเทานน้ั . และเพราะเหตทุ ี่ชา งผพู ระโพธิสัตวนนั้ เปน สตั วม ศี ลี จงึ ไดนามวา \"สีลวนาคราช\" พญาชางผูมีศลี . คร้งั น้ันพรานปาชาวเมืองพาราณสผี หู น่ึง เขาสูปาหิมพานตเสาะแสวงหาส่งิ ของอันเปน เครื่องยังชพี ของตน ไมอ าจกําหนดทศิ ทางได หลงทาง เปน ผกู ลัวแตมรณภัย ยกแขนท้ังครู าํ่ รองครา่ํ ครวญไป. พระโพธิสตั วไ ดย ินเสยี งรองครํ่าครวญของพรานผูนัน้ แลว อันความกรณุ าเขา มาตักเตอื นวา เราจักชว ยบรุ ุษผนู ้ีใหพ นจากทุกข ก็เดินไปหาเขาใกล ๆ เขาเหน็ พระโพธิสตั วแ ลววิ่งหนไี ป. พระโพธสิ ัตวเ ห็นเขาวิ่งหนี ก็หยุดยืนอยูตรงนั้น บุรษุ

พระสตุ ตันตปฎ ก ขุททกนกิ าย เอกนบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๒ - หนา ที่ 184นน้ั เห็นพระโพธสิ ตั วหยุด จงึ หยุดยนื พระโพธิสัตวกเ็ ดนิ ใกลเขาไปอีก เขาก็ว่ิงหนอี ีก เวลาพระโพธสิ ตั วห ยดุ เขากห็ ยดุแลวดาํ ริวา ชางน้ี เวลาเราหนีก็หยุดยนื เดนิ มาหาเวลาท่ีเราหยุดเห็นทจี ะไมมงุ รายเรา แตคงปรารถนาจะชวยเราใหพนจากทุกขน้ีเปนแน เขาจงึ กลายนื อยู. พระโพธสิ ตั วเขาไปใกลเ ขา ถามวาดูกอ นบรุ ุษผูเจรญิ เหตุไรทานจึงเทีย่ วรํ่ารอ งครา่ํ ครวญไปเขาตอบวา ทา นชางผจู า โขลง ขา พเจา กาํ หนดทศิ ทางไมถูกหลงทาง จงึ เทยี่ วรา่ํ รองไปเพราะกลัวตาย. ครั้งนัน้ พระโพธิสัตวจึงพาเขาไปยงั ท่ีอยขู องตน เลีย้ งดจู นอม่ิ หนาํ ดวยผลาผล ๒-๓ วนัแลวกลาววา อยากลวั เลย ขา พเจาจกั พาทานไปสถู ่นิ มนุษยแลวใหนัง่ หลงั ตน พาไปสง ถึงถ่ินมนษุ ย. คร้ังนน้ั แล พรานปาเปนคนมีสันดานทําลายมติ ร จงึ คิดมาตลอดทางวา ถา มใี ครถามตองบอกได ดังน้ี น่ังมาบนหลงั พระโพธิสตั ววางแผน กาํ หนดที่หมายตนไม ทีห่ มายภูเขาไวถวนถี่ทเี ดยี ว. ครั้นพระโพธิสตั วพาเขาออกไปจนพนปา แลว หยดุ ท่ที างใหญ อนั เปนทางเดนิ ไปสูพระนครพาราณสี สัง่ วา ดูกอนทานผูเจรญิ ทานจงไปทางนี้เถดิ แตถ ามีใครถามถงึ ทอ่ี ยขู องเรา ทานอยา บอกนะ ดังนี้สงเขาไปแลว กก็ ลบั ไปสทู ีอ่ ยขู องตน. ครง้ั นัน้ บุรุษนัน้ ไปถึงพระนครพาราณสีแลว กไ็ ปถึงถนนชางสลกั งา เห็นพวกชา งสลักงา กาํ ลังทาํ เครอื่ งงาหลายชนิด
































Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook