พระสุตตนั ตปฎก ขุททกนิกาย เอกนบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๒ - หนาที่ 78 \"ไหเหลา คงเตม็ อยูอยา งนน้ั เอง ถอยคํา ท่ที า นกลาว คงเปน คําหลอกลวง เรารูทนั วา สรุ า นไ้ี มดแี นนอน\" ดงั นี้. บรรดาบทเหลา นัน้ บทวา ตเถว ความวา เวลาท่ีเราไปเหน็ ไหเหลาเปนอยา งใด แมในบดั นี้ ไหเหลาน้ีก็คงเต็มเปย มอยางนน้ั . บทวา อฺ าย วตฺตเต วตตฺ เต กถา ความวา ถอ ยคําสรรเสริญเหลาของพวกเจา เปนคําหลอกลวง คือเปน คาํ ไมจ ริงไดแ กเ หลวทัง้ เรื่อง เพราะถา สุรานี้ดีจริง ๆ พวกเจา ตอ งด่ืมกนัจะพึงเหลอื เพยี งคอ นไห แตพวกเจา ไมไ ดด ม่ื กนิ แมแตคนเดยี ว. บทวา อการเกน ชานามิ ความวา เพราะฉะนนั้ เราจึงรูดว ยเหตนุ .ี้ บทวา เนวาย ภททฺ กา สุรา ความวา สรุ านไี้ มด แี นนอนตอ งเปน สรุ าผสมยาพษิ . ทานเศรษฐี ขมขูพวกนักเลง คุกคามไมใหค นเหลานน้ัทําอยางน้ีอกี แลว ปลอ ยไป. กระทําบุญมีใหทานเปน ตน ตลอดชีวิต แลว กไ็ ปตามยถากรรม. พระศาสดาทรงนําพระธรรมเทศนานมี้ าแลว ตรัสประชมุชาดกวา พวกนกั เลงในคร้งั นน้ั ไดม าเปนพวกนกั เลงในครัง้ นี้สว นพาราณสเี ศรษฐี ไดม าเปน เราตถาคต ฉะนี้แล. จบ อรรถกถาปุณณปาตชิ าดกท่ี ๓
พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนกิ าย เอกนบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๒ - หนา ท่ี 79 ๔. ผลชาดก วาดว ยการฉลาดดูผลไม [๕๔] ตน ไมนี้ขนึ้ ก็ไมยาก ทั้งอยูไมไกลบา น เราจงึ รูไดดวยเหตุนวี้ า ตนไมน ้ไี มใชต น ไมม ี ผลอรอ ย. จบ ผลชาดกที่ ๔ อรรถกถาผลชาดกที่ ๔ พระบรมศาสดา เมื่อประทบั อยู ณ พระเชตวนั มหา-วิหาร ทรงปรารภอบุ าสกผฉู ลาดดูผลไมคนหน่ึง ตรสั พระธรรม-เทศนาน้ี มคี ําเรมิ่ ตน วา นาย รกุ โฺ ข ทุรารุโห ดงั น.ี้ ไดย ินมาวา กุฎมพชี าวเมืองสาวตั ถีคนหน่ึง นมิ นตภิกษุสงฆ มีพระพทุ ธเจาเปนประมุข ใหนั่งในสวนของตนถวายขาวยาคู และของขบฉันแลว ส่งั คนเฝาสวนวา เจา จงเทย่ี วไปในสวนกับภิกษุทัง้ หลาย ถวายผลไมตา ง ๆ มีมะมว งเปน ตน แกพ ระคณุ เจา ทั้งหลายดวยเถิด. คนเฝา สวนรับคําแลวพาภิกษสุ งฆเทีย่ วไปในสวนดตู น ไม รูจ กั ผลไมดว ยความชํานาญวา ผลนั้นดิบ ผลนน้ั ยังไมส ุกดี ผลน้ันสุกดี เขาพดู อยา งใดกเ็ ปนอยา งนน้ั ทงั้ นั้น. ภกิ ษทุ ง้ั หลายไปกราบทูลแตพ ระตถาคต
พระสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย เอกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๒ - หนา ที่ 80วา ขา แตพ ระองคผ ูเจรญิ . คนเฝาสวนผูน ีฉ้ ลาดดผู ลไม ถงึ ยืนอยทู แ่ี ผนดนิ มองดูผลไมแ ลว ก็รไู ดวา ผลนัน้ ดบิ ผลน้ันยังไมส ุกดี ผลน้ันสกุ ดี เขาพดู อยางใด ก็เปนอยางนน้ั ทั้งน้นั . พระศาสดาตรัสวา ภกิ ษุท้ังหลาย คนเฝา สวนน้ไี มใ ชเปนผูฉลาดดูผลไมเพยี งคนเดยี วเทานัน้ . ในครัง้ กอ นบณั ฑิตทงั้ หลาย ทฉี่ ลาดดูผลไม กไ็ ดเคยมีมาแลว ทรงนําเอาเรื่องอดตี มาสาธก ดังตอ ไปน้ี :- ในอดตี กาล ครัง้ พระเจาพรหมทตั เสวยราชสมบัตอิ ยูในกรงุ -พาราณสี พระโพธสิ ัตวบงั เกดิ ในสกลุ พอคาเกวยี น เจรญิ วยัแลวทําการคา ดว ยเกวียน ๕๐๐ เลม คราวหนง่ึ ไปถงึ ดงลึก จึงตงั้ พกั อยปู ากดง เรยี กคนทั้งหมดมาประชุม พลางกลา ววาในดงนขี้ ึ้นชื่อวา ตนไมท ่ีมพี ิษ ยอ มมอี ยู มีใบเปนพษิ กม็ ี มีดอกเปนพษิ ก็มี มีผลเปน พษิ กม็ ี มีรสหวานเปนพษิ กม็ ี มอี ยทู วั่ ไปพวกทานตอ งไมบ ริโภคกอ น ยังไมบ อก ใบ ผล ดอกอยางใดอยางหน่ึงกะเราแลวอยา ขบเคย้ี วเปนอนั ขาด. พวกนั้นรบั คาํ แลวพรอมกันยา งเขา สดู ง. กท็ ่ีปากดง มตี น กงิ ผลพฤกษอ ยูท ่ปี ระตบู า นแหง หน่งึ ลําตน ก่งิ ใบออน ดอกผลทุก ๆ อยา งของตน กิงผลพฤกษนัน้ เชน เดยี วกนั กบั มะมว งไมผ ดิ เลย ใชแตเ ทา น้ันกห็ าไม ผลดิบและผลสกุ ยงั เหมือนกบั มะมว ง ทง้ั สแี ละสณั ฐาน ท้ังกลีบ และรสกไ็ มแ ผกกันเลย แตข บเคี้ยวเขาแลว ก็ทําใหผูข บเคีย้ วถงึ สนิ้ชวี ิตทันทที ีเดียว เหมือนยาพษิ ชนิดท่ีรายแรงฉะนน้ั พวกท่ีลว งหนาไป บางหมูเ ปน คนโลเล สาํ คัญวา นต่ี นมะมวง ขบเคีย้ ว
พระสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย เอกนบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๒ - หนาที่ 81กนิ เขา ไป บางหมคู ิดวา ตองถามหวั หนาหมกู อ น ถงึ จกั กินกถ็ ือยืนรอ. พอหวั หนา หมูม าถึง ก็พากันถามวา นาย พวกขา พเจาจะกินผลมะมวงเหลา น้.ี พระโพธสิ ัตวรูวา น่ไี มใ ชต น มะมว งกห็ ามวา ตน ไมน ชี้ อื่ วา ตนกงิ ผลฤกษ ไมใชตน มะมว ง พวกทานอยา กนิ พวกทีก่ นิ เขาไปแลว กจ็ ดั การใหอาเจียนออกมา และใหด มื่ ของหวาน ๔ ชนดิ ทาํ ใหปราศจากโรคไปได. กใ็ นคร้ังกอ น พวกมนุษยพ ากันหยดุ พกั ทโ่ี คนตนไมน ้ี ขบเคีย้ วผลอันเปนพิษทั้งน้เี ขา ไป ดว ยสาํ คัญวา เปนผลมะมว ง พากนั ถงึ ความสิ้นชวี ติ . รงุ ข้ึน พวกชาวบา นก็พากันออกมา เหน็ คนตายกช็ ว ยฉุดเทา เอาไปท้ิงในทีร่ ก ๆ แลว กย็ ึดเอาเขา ของ ๆ พวกน้ันพรอ มท้งั เกวยี น ท้ังน้ัน พากันไป. ถึงแมใ นวนั นน้ั พอรงุ อรุณเทา นน้ั เอง พวกชาวบานเหลานนั้ ก็พูดกนั วา โคตอ งเปนของเราเกวียนตองเปนของเรา ภัณฑะตอ งเปน ของเรา พากันวิง่ ไปสูโคนตนไมนนั้ ครนั้ เห็นคนทง้ั หลายปลอดภยั ตางกถ็ ามวา พวกทา นรูไดอยางไรวา ตนไมน ้ีไมใ ชต น มะมวง ? คนเหลา นัน้กต็ อบวา พวกเราไมรดู อก หวั หนา หมูของเราทา นร.ู พวกมนษุ ยจ ึงถามพระโพธสิ ัตววา พอ บณั ฑิตทานทาํ อยางไร จึงรวู าตน ไมน ไ้ี มใชต นมะมว ง ? พระโพธสิ ตั วบ อกวา เรารดู ว ยเหตุ ๒ ประการ แลว กลา วคาถานี้ ความวา :- \" ตนไมน ้ี คนขน้ึ ไมย าก ทั้งไมไ กลจาก หมบู า น เปน ส่งิ บอกเหตใุ หเ รารวู า ตนไมน้ี
พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนกิ าย เอกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๒ - หนาที่ 82 มิใชต นไมมีผลด\"ี ดงั น.ี้ บรรดาบทเหลานั้น บทวา นาย รุกโฺ ข ทุรารโุ ห ความวาพระโพธิสัตวกลา ววา ตน ไมม ีพิษน้ขี ึ้นไมย าก ใคร ๆ กอ็ าจข้นึ ไดง าย ๆ เหมอื นมคี นยกพะองขึน้ พาดไว. บทวา นป คามโต อารกา ความวา พระโพธสิ ัตวแ สดงวาท้งั ต้ังอยูไมห างไกลจากหมูบาน คอื ต้ังอยใู กลประตูบานทีเดยี ว. บทวา อาการเกน ชานามิ ความวา ดว ยเหตุ ๒ ประการน้ีเราจึงรูจกั ตนไมน .ี้ รูจ กั อยางไร ? รูจ ักวา ตน ไมน ม้ี ใิ ชต นไมม ผี ลดี อธิบายวา ถา ตนไมนี้มีผลอรอ ยเปน ตน มะมวงแลว ไซร ในเมื่อมันข้ึนไดงา ย แลวก็ตั้งอยูไมไ กลอยา งนี้ ผลของมันจะไมเหลอื เลยแมสกั ผลเดยี วตอ งถกู มนษุ ยท ่กี นิ ผลไม รุมกนั เก็บเสมอทีเดยี ว เรากําหนดดว ยความรขู องตนอยางน้ี จงึ รูไ ดถงึ ความทีต่ น ไมน้ีเปนตนไมมีพิษ. พระโพธิสตั วแสดงธรรมแกมหาชนแลว ก็ไปโดยสวสั ดี. แมพ ระบรมศาสดา ก็ตรสั วา ดกู อ นภิกษทุ ้ังหลาย แมใ นครง้ั กอ น บณั ฑติ ทง้ั หลาย ก็ไดเ คยเปน ผูฉลาดดูผลไมมาแลวอยา งน้ี ครนั้ ทรงนําพระธรรมเทศนานมี้ าแลว อยา งนี้ ทรงสืบอนสุ นธปิ ระชุมชาดกวา บริษทั ในครัง้ นนั้ ไดม าเปนพทุ ธบรษิ ัทสวนพอคา เกวียน ไดม าเปน เราตถาคต ฉะนแ้ี ล. จบ อรรถกถาผลชาดกท่ี ๔
พระสตุ ตนั ตปฎก ขทุ ทกนิกาย เอกนบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๒ - หนา ที่ 83 ๕. ปญจาวุธชาดก วา ดว ยการบรรลธุ รรมอันเกษม [๕๕] นรชนใดมจี ิตไมทอ ถอย มใี จไมห ดหู เจริญกศุ ลธรรม เพอ่ื บรรลธุ รรม อันเปน แดน เกษมจากโยคะ นรชนนั้น พงึ บรรลุธรรมเปนที่ สิ้นสังโยชนทั้งปวงโดยลําดบั . จบ ปญ จาวุธชาดกท่ี ๕ อรรถกถาปญจาวุธชาดกที่ ๕ พระบรมศาสดา เมอื่ ประทบั อยู ณ พระเชตวันมหา-วหิ าร ทรงปรารภภกิ ษมุ คี วามเพียรยอหยอนรูปหนงึ่ ตรสัพระธรรมเทศนานี้ มีคาํ เรมิ่ ตน วา โย อลีเนน จติ เฺ ตน ดงั น้ี. พระบรมศาสดา ตรสั เรยี กภกิ ษุนัน้ มาแลว ตรัสถามวาดูกอ นภิกษุ จริงหรือทเ่ี ขาวา เธอเปนผมู ีความเพยี รยอหยอ นเมื่อเธอกราบทลู วา จริงพระเจา ขา จึงตรสั วา ดูกอ นภิกษุแมในกาลกอน บัณฑติ ทัง้ หลาย กระทําความเพยี รในท่ี ๆ ควรประกอบความเพยี ร ก็ไดบ รรลุถึงราชสมบตั ไิ ด แลว ทรงนําเอาเร่อื งในอดีตมาสาธก ดงั ตอ ไปน้ี.
พระสุตตันตปฎก ขุททกนกิ าย เอกนบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๒ - หนา ท่ี 84 ในอดีตกาล คร้งั พระเจา พรหมทตั เสวยราชสมบตั ใิ นกรุงพาราณสี พระโพธิสตั วบ ังเกิดในคัพโภทรพระอคั รมเหสีของพระราชาพระองคนนั้ ในวนั ทีจ่ ะถวายพระนามพระโพธิสัตวราชตระกูลไดเ ล้ยี งพราหมณ ๑๐๘ ใหอ ่ิมหนาํ ดว ยของท่นี าปรารถนาทกุ ๆ ประการ แลวสอบถามลักษณะของพระกมุ ารพวกพราหมณผูฉลาดในการทาํ นายลกั ษณะ เห็นความสมบรู ณดว ยลกั ษณะแลว ก็พากนั ทํานายวา ขาแตมหาราชเจา พระ-กุมารสมบูรณด วยบุญญาธกิ าร เม่อื พระองคเ สด็จสวรรคตแลวจกั ตองไดค รองราชสมบัติ จักมีชื่อเสยี งปรากฏดว ยการใชอาวธุ ๕ ชนดิ เปน อรรคบุรษุ ในชมพูทวปี ทงั้ สนิ้ . เพราะเหตุไดฟงคาํ ทาํ นายของพราหมณทัง้ หลาย เมอื่ จะขนานพระนามก็เลยขนานใหว า \"ปญ จาวุธกมุ าร\". ครนั้ พระกมุ ารนัน้ ถงึ ความเปนผรู เู ดยี งสาแลว มีพระชนมไ ด ๑๖ พรรษา พระราชาตรัสเรียกมาแลว รับสัง่ วา ลกู รัก เจาจงเรียนศิลปศาสตรเถดิ . พระกุมารกราบทูลถามวา กระหมอ มฉันจะเรยี นในสํานักของใครเลาพระเจา ขา. พระราชารบั สัง่ วา ไปเถิดลูก จงไปเรยี นในสาํ นกัอาจารยท ิศาปาโมกข ณ ตกั กสิลานคร แควนคนั ธาระ และพงึ ใหท รพั ยน้ี เปน คา บูชาคณุ อาจารยแ กทานดวย แลว พระ-ราชทานทรัพยห นึ่งพันสงไปแลว . พระราชกมุ ารเสดจ็ ไปในสํานกั ทศิ าปาโมกขน้ัน ทรงศกึ ษาศิลปะ รบั อาวุธ ๕ ชนดิ ท่ีอาจารยใ ห กราบลาอาจารยอ อกจากนครตักกสลิ า เหนบ็ อาวุธ
พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนิกาย เอกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๒ - หนาท่ี 85ทัง้ ๕ กับพระกาย เสดจ็ ดาํ เนนิ ไปทางเมืองพาราณส.ี พระองคเสดจ็ มาถึงดงตาํ บลหน่ึง เปนดงทส่ี เิ ลสโลมยกั ษสิงสถติ อยู.คร้นั น้ันพวกมนุษย เห็นพระกุมารทป่ี ากดง พากนั หามวาพอมาณพผเู จริญ ทา นอยา เขา ไปสูดงน้ี ในดงน้ันมยี ักษช อ่ืสเิ ลสโลมะสงิ อยู มันทาํ ใหค นทมี่ ันพบเห็นตายมามากแลว . พระโพธสิ ตั ว ระวงั พระองคไมค ร่ันครามเลย มุง เขาดงถา ยเดียว เหมอื นไกรสรราชสหี ผูไ มครนั่ ครา มฉะน้นั . พอไปถึงกลางดง ยักษต นน้นั มันก็แปลงกาย สงู ชั่วลาํ ตาล ศีรษะเทาเรอื นยอด นัยนต าแตละขา งขนาดเทา ลอ เกวียน เข้ยี วทงั้ สองแตละขา ง ขนาดเทาหวั ปลตี มู หนา ขาว ทอ งดา ง มอื เทา เขียวแลว สําแดงตนใหพ ระโพธสิ ตั วเ หน็ รองวา เจา จะไปไหน ?หยดุ นะ เจา ตองเปนอาหารของเรา. ครง้ั นัน้ พระโพธสิ ตั ว ตวาดมันวา ไอยักษ เราเตรยี มตวั แลว จึงเขามาในดง เจา อยา เผลอตวัเขา มาใกลเ รา เพราะเราจะยิงเจาดวยลกู ศรอาบยาพิษ ใหลม ลงตรงน้ันแหละ แลว ใสล ูกศรอาบยาพิษอยางแรงยงิ ไป. ลูกศรไปติดอยูท่ขี นของยกั ษทง้ั หมด. พระโพธสิ ัตวป ลอยลกู ศรไปตดิ ๆกนั ลกู แลว ลูกเลา ทะยอยออกไปดวยอาการอยา งนี้ ส้ินลูกศรถึง ๕๐ ลกู ทกุ ๆ ลกู ไปตดิ อยทู ขี่ นของมนั เทานัน้ ยกั ษส ลัดลูกศรท้ังหมด ใหต กลงทีใ่ กล ๆ เทาของมนั นน่ั แหละ แลวร่ีเขาหาพระโพธสิ ัตว. พระโพธิสตั วกลบั ตวาดมันอกี แลวชักพระ-ขรรคอ อกฟน . พระขรรคยาว ๓๓ นิว้ ก็ติดขนมันอกี . ที่นั้นจึง
พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนิกาย เอกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๒ - หนาท่ี 86แทงมันดว ยหอกซัด. แมห อกซัดกต็ ดิ อยูท่ขี นน่นั เอง. คร้ันพระ-โพธิสตั วท ราบอาการทมี่ นั มีขนเหนยี วแลว จึงตดี วยตระบองแมตระบองกไ็ ปติดท่ขี นของมันอีกนนั่ แหละ. พระโพธิสตั วท ราบอาการที่มนั มตี ัวเหนียวเปน ตัว ก็สาํ แดงสหี นาทอยา งไมครน่ั ครา มประกาศกอ งรองวา เฮย ไอยกั ษ เจา ไมเ คยไดย ินชือ่ เรา ผชู อื่ วาปญจาวธุ กุมารเลยหรอื ? เมื่อเราจะเขา ดงท่ีเจา สงิ อยู ก็เตรียมอาวุธมธี นเู ปน ตนเขา มา เราเตรียมพรอมเขา มาแลวทเี ดยี ววนั นี้เราจักตเี จา ใหแ หลกเปนจุณวจิ ณุ ไปเลย พลางโถมเขา ตอยดว ยมอื ขา งขวา มือขา งขวาก็ตดิ ขน ตอยดว ยมอื ซา ย มือซายก็ตดิ อกี เตะดวยเทา ขวา เทาขวากต็ ิด เตะดว ยเทาซา ย เทาซายกต็ ดิ คิดวา ตองกระแทกใหมันแหลกดว ยศีรษะ แลวกก็ ระแทกดวยศรี ษะ แมศ รี ษะกไ็ ปตดิ ทขี่ นของมนั เหมือนกัน. พระโพธสิ ตั วติดตรงึ แลวในท่ีทั้ง ๕ แมจะหอ ยโตงเตงอยู กไ็ มกลัว ไมส ะทก-สะทา นเลย. ยักษจ งึ คิดวา บรุ ุษนเ้ี ปน เอก เปน ดุจบุรษุ สหี ะ เปนบุรุษอาชาไนย ไมใชบ รุ ษุ ธรรมดา ถงึ จะถกู ยกั ษอ ยา งเราจบั ไว แมมาดวา ความสะดงุ กห็ ามไี ม ในทางน้เี ราฆาคนมามาก.ไมเคยเหน็ บุรุษอยา งนี้สกั คนหน่งึ เลย เพราะเหตุไรหนอ บุรุษนี้จึงไมกลวั ? ยกั ษไ มอาจจะกินพระโพธสิ ตั วได จึงถามวา ดกู อ นมาณพ เพราะเหตไุ รหนอทา นจึงไมกลัวตาย. พระโพธิสตั วต อบวา ยักษเ อย ทําไมเราจกั ตองกลัว เพราะในอตั ภาพหน่งึ ความ
พระสุตตันตปฎก ขุททกนกิ าย เอกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๒ - หนาท่ี 87ตายน้ันเปนของแนนอนทเี ดยี ว อีกประการหน่ึงในทอ งของเรามีวชริ าวุธ ถา เจากินเรา ก็จักไมส ามารถทาํ ใหอาวธุ นน้ั ยอยไดอาวธุ น้ัน จกั ตองบาดใสพ ุงของเจา ใหขาดเปน ช้นิ ๆ เล็กบางใหญบ าง ทําใหเจาถึงสน้ิ ชีวิตได ดวยเหตดุ งั กลาวมาน้ี เราก็ตองตายกันทั้งสองคน ดว ยเหตุนเ้ี ราจึงไมกลวั ตาย. นัยวา คําวาวชริ าวธุ นี้ พระโพธสิ ตั วตรัสหมายถงึ อาวธุ คอื ญาณ ในภายในของพระองค. ยักษฟ ง คํานัน้ แลวคิดวา มาณพน้ีคงพดู จรงิ ทงั้ นัน้ชนิ้ เนอื้ เเมข นาดเทา เมลด็ ถว่ั เขียว จากรา งกายของบุรษุ สีหะผูนี้ ถา เรากนิ เขาไปในทอ งแลว จักไมอ าจใหยอ ยได เราจกัปลอยเขาไป ดงั น้ีแลว เกดิ กลวั ตาย จึงปลอ ยพระโพธิสตั วกลาววา พอ มาณพ ทา นเปนบรุ ษุ สหี ะ. เราจักไมกินเนื้อของทานละ ทานพนจากเง้ือมมือของเรา เหมือนดวงจนั ทรพ น จากปากราหู เชญิ ทา นไปเถิด มวลญาติมิตรจะไดด ีใจ. ลาํ ดับนน้ัพระโพธิสตั วจึงตรัสกะยกั ษวา ดูกอนยักษ เราตอ งไปกอนสวนทาน ไดก ระทาํ อกุศลไวในครัง้ กอ นแลว จึงไดเ กดิ เปนผูรา ยกาจ มืออาบดวยเลอื ด มีเลอื ดเนื้อของคนอ่นื เปนภกั ษาแมถ า ทา นดาํ รงอยูในอัตภาพนี้ ยงั จักกระทาํ อกุศลกรรมอยอู กีกจ็ ักไปสูค วามมดื มน จากความมืดมน นับแตท า นพบเราแลวเราไมอ าจปลอยใหท านทาํ อกศุ ลกรรมอยไู ด แลว จงึ ตรสั โทษของทศุ ีลกรรมท้ัง ๕ โดยนยั มีอาทอิ ยางนีว้ า ขน้ึ ช่ือวากรรมคอื การยังสตั วม ชี วี ติ ใหต กลวงไป ยอมทาํ สตั วใหเกดิ ในนรก
พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย เอกนบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๒ - หนา ท่ี 88ในกาํ เนดิ ดิรจั ฉานในเปตวสิ ยั และในอสรุ กาย คร้ันมาเกิดในมนษุ ยเ ลา กท็ ําใหเ ปนคนมีอายุสนั้ แลวทรงแสดงอานิสงสของศีลทง้ั ๕ ขูยักษด ว ยเหตุตา ง ๆ ทรงแสดงธรรม ทรมานจนหมดพยศรา ย ชักจูงใหด ํารงอยูใ นศีล ๕ กระทํายกั ษน้ันใหเปนเทวดารบั พลกี รรมในดงน้ัน แลวตักเตอื นดวยอปั ปมาทธรรมออกจากดง บอกแกม นษุ ยท่ีปากดง สอดอาวุธทั้ง ๕ ประจาํพระองค เสด็จไปสกู รงุ พาราณสี เฝา พระราชบดิ า พระราช-มารดา ภายหลังไดค รองราชย ก็ทรงปกครองโดยธรรม ทรงบาํ เพ็ญบุญมที านเปน ตน เสดจ็ ไปตามยถากรรม. พระศาสดาทรงนําพระธรรมเทศนาน้มี าแลว คร้ันตรสั รูแลว จงึ ตรสั พระคาถานี้ ใจความวา :- \"นรชนผูใ ด มีจติ ไมท อ แท มใี จไมห ดหู บําเพ็ญกุศลธรรม เพ่ือบรรลุความเกษมจากโยคะ นรชนผูนัน้ พึงบรรลุความสน้ิ สังโยชนท ุกอยา ง โดยลาํ ดบั \" ดังน.ี้ ในพระคาถานั้น ประมวลความไดด งั น้ี :- บุรุษใดมีใจไมหดหู คอื ไมท อ แทร วนเร มใี จไมหดหโู ดยปกติ เปนผูมีอัธยาศยัแนว แนมั่นคง จาํ เริญเพ่ิมพูนธรรม ท่ีไดช ่อื วา กุศล ไดแ กโพธปิ ก ขิยธรรม ๓๗ ประการ เพราะเปน ธรรมทปี่ ราศจากโทษบาํ เพญ็ วปิ สสนาดว ยจติ อันกวา งขวาง เพอ่ื บรรลคุ วามเกษมจากโยคะทั้ง ๔ คือ พระนิพพาน บรุ ุษน้นั ยกข้ึนซึ่งไตรลักษณ
พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย เอกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๒ - หนาท่ี 89คือ อนิจจงั ทกุ ขงั อนตั ตา ในสังขารท้งั มวลอยางนแ้ี ลว ยงัโพธปิ กขยิ ธรรมทีเ่ กดิ ขน้ึ จาํ เดิมแตวิปสสนายังออ นใหเ จรญิพึงบรรลพุ ระอรหตั ผลอันถงึ การน้ันวา ความสิน้ สงั โยชนท กุอยา ง เพราะบงั เกิดแลว ในท่สี ุดแหง มรรคทั้ง ๔ อนั เปน เหตุสนิ้ ไปแหงสังโยชนทั้งหมด มิไดเหลือเลยแมสักสงั โยชนเดยี วโดยลําดบั . พระบรมศาสดา ทรงถอื เอายอดพระธรรมเทศนา ดวยพระอรหัตผลดวยประการฉะนี้ ในท่ีสดุ ทรงประกาศ จตรุ ารยิ สัจ(อรยิ สัจ ๔) ในเวลาจบสจั ธรรม ภิกษุน้นั ไดบรรลุพระอรหตั ผลแมพระบรมศาสดา ก็ทรงสืบอนสุ นธปิ ระชมุ ชาดกวา ยกั ษใ นคร้งั น้ันไดมาเปน พระองคุลิมาร สวนปญจาวุธกมุ าร ไดม าเปนเราตถาคต ฉะนีแ้ ล. จบ อรรถกถาปญจาวธุ ชาดกที่ ๕
พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนิกาย เอกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๒ - หนาที่ 90 ๖. กญั จนขนั ธชาดก วาดวยการบรรลุ ธรรม อันเกษม [๕๖] \" นรชนใด มีจิตรา เรงิ มใี จเบกิ บาน เจรญิ กศุ ลธรรม เพ่ือบรรลธุ รรมอันเปนแดน เกษมจากโยคะ นรชนน้ัน พงึ บรรลุธรรมเปน ท่สี นิ้ สังโยชนทั้งปวงไดโ ดยลาํ ดับ\" จบ กญั จนขนั ธชาดกที่ ๖ อรรถกถากาญจนักขันธชาดกที่ ๖ พระบรมศาสดา เมอ่ื ประทับอยู ณ พระเชตวันมหา-วิหาร ทรงปรารภภกิ ษรุ ปู หนึง่ ตรสั พระธรรมเทศนานี้ มีคาํเริ่มตนวา โย ปหฏเน จิตเฺ ตน ดังน้ี. ไดย นิ วา กลุ บตุ รชาวเมอื งสาวตั ถผี หู น่ึง ฟงพระธรรม-เทศนาของพระคาถาแลว บวชถวายชีวิตในพระศาสนา คือพระรตั นตรยั . ครง้ั นั้นอาจารยแ ละอุปช ฌายข องเธอ กลา วสอนถงึ ศีลวา ผมู อี ายุ ทช่ี อ่ื วา ศีล อยา งเดียวกม็ ี สองอยางก็มี สามอยา งกม็ ี สีอ่ ยา งก็มี หา อยา งก็มี หกอยางก็มี เจด็ อยา งกม็ ีแปดอยางกม็ ี เกาอยางก็มี ทชี่ อ่ื วา ศีลมีมากอยาง นเ้ี รียกวาจุลศลี นีเ้ รยี กวา มชั ฌมิ ศีล นีเ้ รียกวา มหาศลี นีเ้ รียกวาปาฏิโมกขสงั วรศลี นเี้ รียกวา อนิ ทริยสงั วรศลี นเ้ี รียกวา
พระสุตตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย เอกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๒ - หนาท่ี 91อาชวี ปารสิ ทุ ธศิ ีล นี้เรียกวา ปจจยปฏเิ สวนศีล. ภกิ ษุนัน้ คดิ วาข้ึนช่ือวาศีลนมี้ มี ากยิง่ นกั เราไมอาจสมาทานประพฤติไดถ ึงเพยี งนี้ ก็บรรพชาของคนท่ไี มอ าจบําเพญ็ ศีลใหบรบิ ูรณได จะมีประโยชนอ ะไร. เราจักเปนคฤหสั ถทาํ บญุ มีใหทานเปนตน เลีย้ งลกู เมยี ครน้ั คดิ อยา งนีแ้ ลว ก็เรยี นอาจารยแ ละอปุ ชฌายว าขา แตท า นผูเ จริญ กระผมไมอ าจรักษาศีลได เม่ือไมอ าจรักษาศลี ได การบรรพชากจ็ ะมปี ระโยชนอ ะไร ? กระผมจะขอลาสกิ ขา โปรดรับบาตรและจวี รของทานไปเถิด. ลาํ ดบั นั้น อาจารยและอุปชฌาย จงึ บอกกะภิกษุนัน้ วา ผมู อี ายุ เมื่อเปนเชนน้ีเธอจงไปถวายบงั คมพระทศพล ดงั นี้แลว พาเธอไปยังธรรมสภาอันเปน ทปี่ ระทับของพระศาสดา. พระศาสดาทอดพระเนตรเห็นภกิ ษุนนั้ ตรสั วา ดกู อนภิกษทุ ั้งหลาย พวกเธอพาภิกษุผไู มปรารถนา (บรรพชาเพศ)มาหรอื ? ภิกษุเหลา นัน้ กราบทลู วา พระเจา ขา ภิกษนุ ี้บอกวาเธอไมอาจรักษาศีลได จงึ มอบบาตรและจวี รคนื เม่ือเปน เชนนั้นขา พระองคท้ังหลายจึงพาเธอมา. พระบรมศาสดาตรัสวา ดูกอ นภกิ ษทุ งั้ หลาย เหตไุ รพวกเธอจงึ ไดบอกศีลแกภกิ ษุนี้มากนักเลาภกิ ษุน้อี าจรักษาไดเ ทาใด ก็พึงรักษาเทาน้นั แหละ ตงั้ แตน้ไี ปพวกเธออยา ไดพ ูดอะไร ๆ กะภกิ ษุน้ีเลย ตถาคตเทานนั้ จกั รูถงึ การท่ีควรทํา แลวตรัสกะภิกษนุ ้นั วา มาเถิดภกิ ษุ เธอจะตองการศีลมาก ๆ ทําไมเลา เธอจักไมอาจเพ่ือจะรกั ษาศีล ๓
พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนิกาย เอกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๒ - หนา ท่ี 92ประเภทเทา นนั้ หรือ ? ภกิ ษุนัน้ กราบทลู วา ขาแตพ ระองคผูเจริญ ขา พระองคอ าจรักษาไดพ ระเจา ขา. มพี ระพทุ ธดาํ รัสวา ถาเชนน้นั ต้ังแตบ ัดนี้ เธอจงรกั ษาทวารทง้ั ๓ ไว คือกายทวารวจที วาร มโนทวาร อยา กระทาํ กรรมชว่ั ดว ยกาย อยา กระทํากรรมช่ัวดวยวาจา อยา กระทํากรรมช่ัวดวยใจ ไปเถดิ อยา สึกเลย จงรักษาศลี ๓ ขอ เหลาน้ีเทา นั้นเถดิ . ดวยพระพุทธดาํ รัสเพยี งเทาน้ี ภกิ ษนุ นั้ ก็มีใจยนิ ดี กราบทูลวา ดีละพระเจา ขาขา พระองคจักรักษาศลี ๓ เหลานไ้ี ว ดังนแ้ี ลวถวายบงั คมพระศาสดา ไดก ลบั ไปพรอ มกบั อาจารยและพระอุปชฌายท้ังหลาย. เม่ือเธอบําเพ็ญศลี ทั้ง ๓ เหลา น้ันอยนู ่นั แล จงึ ไดสาํ นึกวา ศลี ที่อาจารยแ ละอปุ ช ฌายบ อกแกเ รา กม็ ีเทา น้เี องแตทา นเหลา นน้ั ไมอาจใหเราเขาใจได เพราะทานไมใชพ ระ-พทุ ธเจา พระสัมมาสัมพทุ ธเจา ทรงจัดศลี ทง้ั หมดนี้ เขา ไวในทวาร ๓ เทา น้ัน ใหเรารบั เอาไวได เพราะพระองคเ ปนพระ-พุทธเจาทรงรดู ี (และ) เพราะพระองคเ ปนพระธรรมราชาชน้ั ยอด พระองคทรงเปน ที่พํานักของเราแท ๆ ดังนแ้ี ลว เจรญิวิปส สนา ดาํ รงอยูใ นพระอรหัตผล โดย ๒-๓ วนั เทาน้ัน. ภิกษุทง้ั หลายทราบความเปน ไปนนั้ แลว ประชุมกันในธรรมสภา ตา งน่ังสนทนาถึงพระพุทธคณุ วา ผูมอี ายทุ ั้งหลาย ไดย นิ วา ภกิ ษุนั้นกลา ววา ไมอ าจรกั ษาศีลทั้งหลายได กําลงั จะสกึ พระศาสดาทรงยน ยอศีลท้งั หมดโดยสว น ๓ ใหเธอรบั ไวได ใหบรรลุ
พระสุตตนั ตปฎ ก ขุททกนิกาย เอกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๒ - หนาท่ี 93พระอรหตั ผลได โอ ขึน้ ชอื่ วา พระพุทธเจาทัง้ หลาย เปน อจั ฉริย-มนษุ ย. พระศาสดาเสดจ็ มา ตรสั ถามวา ภิกษุท้งั หลายพวกเธอนง่ั ประชุมสนทนากนั ดว ยเรอ่ื งอะไร ? ครัน้ พวกภกิ ษกุ ราบทูลใหทรงทราบแลว ตรัสวา กก็ อ นภิกษทุ ้งั หลาย มิใชแ ตใ นบดั นี้เทา นนั้ ทีภ่ าระแมถ งึ จะหนกั ย่งิ เรากแ็ บงโดยสวนยอยใหแลวเปน ดจุ ของเบา ๆ แมในปางกอนบัณฑติ ทงั้ หลาย ไดแทง ทองใหญแมไมอาจจะยกข้ึนได กแ็ บง ออกเปนสวนยอย ๆ แลวยกไปไดดงั นแ้ี ลว ทรงนาํ เอาเรื่องในอดีตมาสาธก ดังตอไปนี้ :- ในอดตี กาล ครงั้ พระเจาพรหมทัตเสวยราชสมบตั ใิ นกรงุพาราณสี พระโพธสิ ัตวเสวยพระชาติเปนชาวนาอยใู นหมูบานตาํ บลหนงึ่ . วนั หนึง่ กาํ ลังไถทน่ี าอยูในเขตบา นรา งแหงหนงึ่ .แตค รง้ั กอ นในบา นหลังน้ัน เคยมเี ศรษฐีผสู มบรู ณด วยสมบตั ิผหู น่งึ ฝง แทง ทองใหญข นาดโคนขา ยาวประมาณ ๔ ศอกไวแลวก็ตายไป. ไถของพระโพธสิ ัตวไ ปเก่ียวเเทง ทองนนั้ แลวหยดุ อย.ู พระโพธสิ ัตวคิดวา คงจะเปนรากไม จึงคยุ ฝุน ดู เหน็แทง ทองนัน้ แลว ก็กลบไวดว ยฝนุ แลวไถตอไปทงั้ วนั ครัน้ดวงอาทติ ยอษั ฎงคแ ลว จึงเกบ็ สัมภาระ มแี อกและไถเปน ตนไว ณ ทสี่ มควรแหง หนง่ึ คดิ วาจกั แบกเอาแทง ทองไป ไมสามารถจะยกขึ้นได เมอ่ื ไมส ามารถจึงน่งั ลง แบงทองออกเปน ๔ สว นโดยคาดวา จกั เล้ียงปากทอ งเทา นี้ ฝงไวเทาน้ี ลงทนุ เทา นี้ทําบญุ ใหทานเปนตน เทาน้.ี พอแบงอยางนแี้ ลว แทง ทองน้ัน
พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนกิ าย เอกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๒ - หนา ที่ 94กไ็ ดเปนเหมือนของเบา ๆ. พระโพธิสัตวย กเอาแทงทองนัน้ ไปบา น แบง เปน ๔ สวน กระทําบญุ มใี หทานเปนตน แลว ก็ไปตามยถากรรม. พระผูม ีพระภาคเจา ทรงนําพระธรรมเทศนานี้มาดงั น้ีคร้ันไดตรสั รูแ ลว ตรสั พระคาถานี้วา :- นรชนผูใ ด มีจติ ราเรงิ แลว มใี จเบกิ บาน แลว บําเพญ็ ธรรมเปนกุศล เพือ่ บรรลคุ วามเกษม จากโยคะ นรชนนัน้ พงึ บรรลุความส้ินสังโยชน ทกุ อยางไดโ ดยลาํ ดับ. ดงั น้ี บรรดาบทเหลา น้ัน บทวา ปหฏเน ไดแ กปราศจากนิวรณ. บทวา ปหฏ มนโส ความวา เพราะเหตทุ มี่ ีจติ ปราศจากนวิ รณนัน่ แล จงึ ชื่อวา มีใจเบิกบานแลว เหมอื นทองคาํ คือเปน ผูมีจิตรงุ เรอื ง สวา งไสวแลว. พระบรมศาสดา ทรงยังเทศนาใหจบลงดว ยยอด คอืพระอรหตั ดวยประการดังนีแ้ ลว ทรงสืบอนสุ นธปิ ระชุมชาดกวา บุรษุ ผูไ ดแทงทองในคร้งั น้นั ไดมาเปนเราตถาคต ฉะนีแ้ ล. จบ อรรถกถากาญจนกั ขันธชาดกท่ี ๖
พระสตุ ตันตปฎ ก ขุททกนกิ าย เอกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๒ - หนาท่ี 95 ๗. วานรินทชาดก ธรรมของผทู ่ีลว งพน ศตั รู [๕๗] \" ดูกอนพระยาวานร ผูใ ดมธี รรม ๔ ประการน้ี คือ สจั จะ ธรรมะ คือวิจารณปญ ญา ธิตคิ ือความเพียร จาคะ เหมอื นทา นผนู ั้นยอ ม ลว งพน ศตั รูได.\" จบ วานรนิ ทชาดกที่ ๗ อรรถกถาวานรนิ ทชาดกท่ี ๗ พระศาสดา เม่ือประทบั อยู ณ พระเชตวันมหาวิหารทรงปรารภความตะเกยี กตะกายขวนขวายเพอ่ื การฆา ของพระ-เทวทัต ตรสั พระธรรมเทศนาน้ี มีคําเริ่มตน วา ยสเฺ สเต จตโุ รธมฺมา ดงั น้ี ในสมัยนั้น พระศาสดาทรงสดบั ขา ววา พระเทวทตั กาํ ลงัตะเกียกตะกายเพือ่ ปลงพระชนม จึงตรัสวา ดกู อนภกิ ษุท้ังหลายมใิ ชแตใ นบัดนี้เทานนั้ ทพ่ี ระเทวทตั ตะเกยี กตะกายเพ่อื ฆา เราแมในกาลกอน ก็เคยตะเกียกตะกายแลว เหมอื นกัน แตไมอาจกระทาํ เหตุเพยี งความสะดงุ แกเ ราไดเลย แลว ทรงนาํ เอาเร่ืองในอดตี มาสาธก ดงั ตอไปนี้ :-
พระสตุ ตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย เอกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๒ - หนา ที่ 96 ในอดีตกาล ครง้ั พระเจาพรหมทตั เสวยราชสมบตั อิ ยใู นกรุง-พาราณสี พระโพธิสตั วเ สวยพระชาตเิ ปนกระบี่ ครนั้ เจริญวยัมรี า งกายเติบโตขนาดลูกมา สมบรู ณด ว ยเรยี่ วแรง เท่ียวไปตามแนวฝง นาํ้ ลําพงั ผเู ดยี ว. กก็ ลางแมนํา้ นัน้ มเี กาะแหง หน่งึอดุ มสมบูรณดว ยตนไมอ ันมผี ลนานาชนิด มมี ะมว งและขนุนเปนตน. พระโพธิสตั ว มีกาํ ลังดังชา งสาร สมบรู ณดวยเร่ยี วแรงโจนจากฝงแมน ํ้าขา งน้ีแลว ก็ไปพกั ทห่ี ินดาดแหงหน่งึ ซ่ึงมีอยูกลางลาํ นาํ้ ระหวา งฝง แหง เกาะ โจนจากแผนหินนนั้ แลว กข็ น้ึเกาะนนั้ ได ขบเค้ียวผลไมต า ง ๆ บนเกาะน้นั พอเวลาเย็นก็กระโดดกลบั มาดวยอบุ ายน้นั กลบั ท่อี ยูของตน ครน้ั วันรงุ ข้นึกก็ ระทําเชน นั้นอกี พํานักอยใู นสถานทน่ี ้ัน โดยนิยามน้ีแล. ก็ในครงั้ นนั้ มจี ระเขต วั หน่งึ พรอ มกบั เมียอาศยั อยใู นนานนํ้านั้น. เมยี ของมันเห็นพระโพธสิ ตั วโ ดดไปโดดมา เกดิแพท อ งตองการกนิ เนื้อหวั ใจของพระโพธิสตั ว จึงพดู กะจระเขผผู ัววา ทลู หัว ฉนั เกดิ แพทอ ง ตอ งการกินเน้อื หวั ใจของพานรนิ ทน.้ี จระเขผผู ัวกลา ววา ไดซ ี่ เธอจา เธอจะตอ งได. แลว พูดตอ ไปวา วนั น้พี ี่จะคอยจองจับ เมอ่ื มนั กลบั มาจากเกาะในเวลาเย็นแลวไปนอนคอยเหนอื แผน หนิ . พระโพธิสตั วเที่ยวไปทง้ั วนัคร้นั เวลาเย็น กห็ ยดุ ยืนอยทู ชี่ ายเกาะ มองดแู ผน หนิ แลวดาํ รวิ าบัดนี้ แผนหินนีส้ งู กวาเกา เปน เพราะเหตอุ ะไรหนอ ? ไดย นิ วาประมาณของนาํ้ และประมาณของแผนหนิ พระโพธิสตั วก ําหนด
พระสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย เอกนบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๒ - หนาที่ 97ไวเ ปน อยางดีทเี ดียว ดว ยเหตุนน้ั จึงมวี ติ กวา วันนี้ก็ไมลงและไมขนึ้ เลย กเ็ ม่อื เปนเชนน้ี หินน้ดี ใู หญโตข้นึ จระเขม นั นอนคอยจับเราอยูบนแผน หนิ น้ัน บา งกระมงั . พระโพธิสัตว คดิ วาเราจักทดสอบดูกอ น คงยืนอยูต รงนน้ั แหละ. ทาํ เปน พูดกะหินพลางกลาววา แผนหนิ ผเู จริญ ยงั ไมไดร บั คาํ ตอบ ก็กลา ววาหิน ๆ ถงึ ๓ คร้ัง หนิ จักใหค าํ ตอบไดอยางไร ? วานรคงพดูกะหนิ ซาํ้ อกี วา แผนหนิ ผเู จรญิ เปน อยา งไรเลา วนั น้จี ึงไมต อบรับขาพเจา . จระเขฟงแลว คดิ วา ในวันอ่ืน ๆ แผน หินนี้ คงใหคาํ ตอบแกพานรินทรแ ลวเปน แน บดั น้ีเราจะใหค ําตอบแกเขา พลางกลา ววา อะไรหรอื พานรนิ ทรผูเจริญ. พระโพธสิ ตั วถามวาเจา เปนใคร ? เราเปนจระเข. เจามานอนทน่ี ่ี เพ่ือตองการอะไร ? เพื่อตองการเน้อื หัวใจของทาน. พระโพธิสตั วด ํารวิ า เราไมมีทางไปทางอนื่ วันนีต้ องลวงจระเขตัวน้ี. ครั้นคดิ แลว จึงพดู กะมนั อยางนว้ี า จระเขส หายรกั เราจะตัดใจสละรา งกายใหทา น ทา นจงอา ปากคอยงบั เราในเวลาทเ่ี ราถึงตัวทาน. เพราะหลกั ธรรมดามอี ยูวา เมอ่ื จระเขอา ปาก นัยนต าท้ังสองขางก็จะหลบั . จระเขไ มท นั กําหนดเหตุ(อนั เปนหลักธรรมดา) น้นั กอ็ า ปากคอย ทนี ัน้ นยั นตาของมันก็ปด . มันจึงนอนอา ปากหลบั ตารอ. พระโพธสิ ัตวร สู ภาพเชน น้ัน
พระสุตตันตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย เอกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๒ - หนาท่ี 98กเ็ ผน ไปจากเกาะ เหยียบหวั จระเข แลวโดดจากหวั จระเขไ ปยังฝงตรงขา ม เร็วเหมือนฟาแลบ. จระเขเ ห็นเหตอุ ศั จรรยนน้ัคดิ วา พานรินทรนีก้ ระทาํ การนาอัศจรรยยิง่ นัก พลางพูดวาพานรนิ ทรผ เู จรญิ ในโลกนี้บุคคลผปู ระกอบดว ยธรรม ๔ ประการยอ มครอบงาํ ศัตรูได ธรรมเหลา นัน้ ชะรอยจะมีภายในของทา นครบทุกอยาง แลวกลาวคาถาน้ี ใจความวา :- พานรินทร ธรรม ๔ ประการเหลานี้ สจั จะ ธรรม ธิติ และจาคะ มแี กบ คุ คลใด เหมอื นมีแกท าน บคุ คลนนั้ ยอ มพน ศัตรไู ปได ดังน.้ี บรรดาบทเหลา นน้ั บทวา ยสสฺ ไดแ ก บคุ คลใดบคุ คลหนงึ่ . บทวา เอเต ความวา ยอ มปรากฏโดยประจักษในธรรมทีเ่ ราจะกลาวในบัดน้.ี บทวา จตโุ ร ธมมฺ า ไดแกค ุณธรรม ๔ ประการ. บทวา สจจฺ ไดแ ก วจีสัจ คอื ท่ีทา นบอกวา จักมาสูสํานักของขาพเจา ทา นกม็ ิไดก ระทาํ ใหเ ปน การกลาวเทจ็ มาจรงิ ๆทีเดยี ว ขอ นเ้ี ปน วจีสจั ของทาน. บทวา ธมฺโม ไดแ กวิจารณปญ ญา กลาวคือ ความรูจักพจิ ารณาวา เมอ่ื ทําอยางนี้แลว จักตองมผี ลเชน น้ี ขอ นีเ้ ปนวจิ ารณปญ ญาของทาน.
พระสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย เอกนบิ าตชาดก เลม ๓ ภาค ๒ - หนาท่ี 99 ความเพียรอนั ไมย อ หยอ นขาดตอนลง ทานเรียกวา ธติ ิแมคณุ ธรรมขอนี้ กม็ แี กทา น. บทวา จาโค ไดแก การสละตน คอื การทท่ี า นสละชีวิตมาถงึ สํานกั ของเรา แตเ ราไมอาจจับทา นได น้เี ปนโทษของเราฝา ยเดียว. บทวา ทิฏ ไดแ กป จ จามิตร. บทวา โส อติวตตฺ ติ ความวา ธรรม ๔ อยา งเหลา นี้ดงั พรรณนามานมี้ แี กบุคคลใด เหมือนมีแกทาน บคุ คลผูน้นัยอ มกาวลว ง คอื ครอบงําเสียได ซ่ึงปจ จามิตรของตน เหมอื นดงั ทานลว งพนขาพเจาไปไดในวนั นี้ ฉะนั้น. จระเขสรรเสริญพระโพธิสตั วอยา งนีแ้ ลว ก็ไปที่อยูของตน. แมพ ระบรมศาสดาก็ตรัสวา ดูกอ นภกิ ษุท้งั หลาย เทวทัตมิใชเ พอื่ จะตะเกยี กตะกายจะฆาเรา ในบัดน้เี ทาน้ันกห็ ามไิ ดแมในกาลกอน ก็ตะเกียกตะกายเหมือนกนั ดังน้ีแลว ทรงนําพระธรรมเทศนานี้มา สืบอนสุ นธปิ ระชุมชาดกวา จระเข ในคร้งั นั้น ไดม าเปนพระเทวทตั ในครง้ั น้ี เมยี ของจระเข ไดมาเปน นางจิญจมาณวิกา สว นพานรินทรไดมาเปน เราตถาคตฉะนีแ้ ล. จบ อรรถกถาวานรินทชาดกท่ี ๗
พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนิกาย เอกนิบาตชาดก เลม ๓ ภาค ๒ - หนาท่ี 100 ๘. ตโยธรรมชาดก วา ดว ยธรรมของผูลวงพนศตั รู [๕๘] \"ดูกอ นพระยาวานร ผใู ดมีธรรม ๓ ประการน้ี คือ ความขยนั ความแกลวกลา ปญ ญา เหมือนทาน ผนู น้ั ยอ มลว งพนศตั รูได\" จบ ตโยธรรมชาดกที่ ๘ อรรถกถาตโยธรรมชาดกที่ ๘ พระบรมศาสดา เม่ือประทบั อยู ณ พระเวฬวุ ันมหา-วิหาร ทรงปรารภการตะเกยี กตะกายจะฆา พระองคน ่ันแหละตรัสพระธรรมเทศนานี้ มีคาํ เร่ิมตน วา ยสฺเสเต จ ตโย ธมฺมาดังนี้. ในอดตี กาลคร้ังพระเจาพรหมทตั เสวยราชสมบตั ิอยูในกรุง-พาราณสี พระเทวทัตบังเกดิ ในกาํ เนิดวานร ควบคมุ ฝงู อยูในหมิ วนั ตประเทศ เม่ือลกู วานรท่อี าศยั ตนเตบิ โตแลว กข็ บพืชของลกู วานรเหลา น้ันเสียสน้ิ เพราะกลวั วา วานรเหลา น้จี ะแยงคุมฝูง. ในคร้ังน้นั พระโพธสิ ัตวก็อาศยั วานรนน้ั แหละ ถอื ปฏิสนธิในทอ งของนางวานรตัวหน่ึง. ครั้นนางวานรรูว าต้งั ครรภ เพ่อืจะถนอมครรภของตน กไ็ ดไปสเู ชงิ เขาตาํ บลอื่น พอทองแก
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 517
- 518
- 519
- 520
- 521
- 522
- 523
- 524
- 525
- 526
- 527
- 528
- 529
- 530
- 531
- 532
- 533
- 534
- 535
- 536
- 537
- 538
- 539
- 540
- 541
- 542
- 543
- 544
- 545
- 546
- 547
- 548
- 549
- 550
- 551
- 552
- 553
- 554
- 555
- 556
- 557
- 558
- 559
- 560
- 561
- 562
- 563
- 564
- 565
- 566
- 567
- 568
- 569
- 570
- 571
- 572
- 573
- 574
- 575
- 576
- 577
- 578
- 579
- 580
- 581
- 582
- 583
- 584
- 585
- 586
- 587
- 588
- 589
- 590
- 591
- 592
- 593
- 594
- 595
- 596
- 597
- 598
- 599
- 600
- 601
- 602
- 603
- 604
- 605
- 606
- 607
- 608
- 609
- 610
- 611
- 612
- 613
- 614
- 615
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 550
- 551 - 600
- 601 - 615
Pages: