พระสุตตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย จูฬนิเทส เลม ๖ - หนาท่ี 1 พระสตุ ตันตปฎก ขุททกนิกาย จูฬนิทเทส๑ เลม ท่ี ๖ขอนอบนอมแดพ ระผูม พี ระภาคอรหันตสัมมาสมั พุทธเจา พระองคน ั้น ปารายนวรรค วตั ถคุ าถา วา ดว ยศีรษะและธรรมอันใหศ รี ษะตกไป [๑] พาวรพี ราหมณ เปน ผูเรยี นจบมนต ปรารถนาความ เปนผไู มมกี งั วล ออกจากพระนครโกศลอนั นารนื่ รมย ไปสทู ักขิณาปถชนบท. [๒] พราหมณน น้ั อยูทีฝ่ ง แมนา้ํ โคธาวารี อนั เปนพรมแดน แวน แควนอัสสกะและแวน แควนมุฬกะตอ กนั เลยี้ งชีวิต อยดู ว ยการเท่ยี วภิกขาและผลไม. [๓] เม่อื พราหมณนัน้ เขา ไปอาศยั (อยู) บานไดเ ปน หมู ใหญ ดวยความเจรญิ อันเกิดแตบานน้นั พราหมณน ้นั ไดบ ชู ามหายัญ. [๔] พราหมณน้ันบูชามหายญั แลวก็กลบั เขาไปสอู าศรม เม่อื พราหมณนัน้ กลบั เขาไปแลว พราหมณอ ่นื ก็มา.๑. บาลีเลมท่ี ๓๐.
พระสุตตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย จฬู นเิ ทส เลม ๖ - หนา ที่ 2[๕] พราหมณอ นื่ มีเทาพิการ เดินงกงนั ฟน เขลอะ มี ธุลบี นศีรษะ เขาไปหาพาวรพี ราหมณแลว ขอทรัพย หา รอ ย.[๖] พาวรีพราหมณเ ห็นพราหมณน นั้ เขาแลว ก็เชญิ ให นั่ง แลว ก็ถามถงึ ความสุขสําราญและความไมมโี รค และ ไดก ลาวคําน้วี า[๗] ทรัพยของเรามอี ันจะพงึ ให เราสละหมดแลว ดกู อน พราหมณ ทานเชอ่ื เราเถิด ทรัพยห า รอ ยของเราไมม .ี[๘] ถาเมอ่ื เราขอ ทา นจกั ไมใ ห ในวันท่เี จด็ ศีรษะของ ทานจงแตกเจด็ เส่ยี ง.[๙] พราหมณน ั้นเปนคนโกหก ปรุงแตง แสดงเหตใุ ห กลัว พาวรพี ราหมณไดฟ งคาํ ของพราหมณน ้นั แลว กเ็ ปน ทกุ ข.[๑๐] มลี ูกศรคอื ความโศกเสียบแทงแลว ไมบริโภคอาหาร ก็ซบู ผอม ใชแตเ ทา นัน้ ใจของพาวรพี ราหมณผ มู จี ติ เปน อยา งนนั้ ยอมไมย นิ ดใี นการบูชา.[๑๑] เทวดา (ท่ีสิงอยูใกลอาศรมของพาวรีพราหมณ) ผู ปรารถนาประโยชน เห็นพาวรีพราหมณห วาดกลัวเปน ทกุ ขอยู จงึ เขาไปหาพาวรพี ราหมณแ ลว ไดกลา ววา[๑๒] พราหมณผ ูมีความตอ งการทรพั ยน้ัน เปน คนโกหก ยอมไมร ูจ ักศีรษะ ความรจู ักศีรษะหรือธรรมอนั ใหศีรษะ ตกไป ยอ มไมม แี กพ ราหมณนัน้ .
พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนกิ าย จูฬนิเทส เลม ๖ - หนาท่ี 3[๑๓] พาวรีพราหมณด าํ ริวา เทวดานีอ้ าจรูไดในบดั นี้ (กลาว วา ) ขาพเจาถามแลว ขอทานจงบอกศรี ษะและธรรมอนั ใหศ รี ษะตกไปแกข า พเจา เถดิ ขาพเจา จะขอฟงคําของ ทา น.[๑๔] แมขาพเจา ก็ไมร ูจกั ศีรษะและธรรมอนั ใหศ ีรษะตกไป ขาพเจา ไมมีความรูใ นเรอ่ื งนี้ ความเห็นซง่ึ ศีรษะและ ธรรมอนั ใหศ ีรษะตกไป ยอมมีแกพระชนิ เจา ท้ังหลาย เทา น้ัน.[๑๕] พา. กใ็ นบดั นี้ ใครในปฐพมี ณฑลน้ยี อ มรจู กั ศรี ษะ และธรรมอนั ใหศีรษะตกไป ดูกอ นเทวดา ขอทา นจงบอก ทานผูน้นั แกขาพเจาเถิด.[๑๖] เท พระสกั ยบตุ ร เปน วงศข องพระเจา โอกกากราช เสด็จออกจากเมืองกบลิ พัสดบุ รุ ี เปน พระพทุ ธเจาผนู ํา สตั วโลก เปน ผูกระทํา (แสดง) ธรรมใหส วา ง.[๑๗] ดูกอนพราหมณ พระสักยบุตรนั่นแหละ เปน พระสมั พทุ ธเจา ทรงถงึ ฝง แหง ธรรมทง้ั ปวง บรรลุ กําลงั แหงอภิญญาท้ังปวง มีพระจกั ษใุ นธรรมท้ังปวง ทรง ถึงธรรมเปน ที่สนิ้ ไปแหงธรรมทัง้ ปวง ทรงนอ มพระทัย ไปในธรรมเปน ที่ส้ินอุปธิ.[๑๘] พระผูมีพระภาคเจา พระองคน ั้น เปน พระพทุ ธเจาใน โลก มพี ระจกั ษุ ยอ มทรงแสดงธรรม ทา นจงไปทูลถาม พระองคเ ถดิ พระองคจ กั ทรงพยากรณป ญ หานัน้ แกทา น.
พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย จฬู นิเทส เลม ๖ - หนาที่ 4[๑๙] พาวรีพราหมณไดฟ ง คําวา พระสมั พุทธเจา แลวมี ความเบิกบานใจ มีความโศกเบาบาง และไดปต อิ นั ไพบูลย.[๒๐] พาวรพี ราหมณน ้ัน มีใจยินดี มคี วามเบิกบาน โสมนสั ถามถึง (พระผมู พี ระภาคเจา) กะเทวดานั้น (และ ประกาศวา ) พระสัมพุทธเจา ผเู ปนทพ่ี ง่ึ ของสัตวโ ลก ประทับอยู ณ ท่ีใด คอื บาน นคิ ม หรือชนบทไหน เราทัง้ หลายพึงไปนมสั การพระสมั พทุ ธเจา ผสู งู สดุ กวา ณ ทใ่ี ด.[๒๐] เท. พระสกั ยบุตรนั้น เปน พระชนิ ะ มพี ระปญ ญา สามารถ มีพระปญ ญากวา งขวางเชน แผน ดินอันประเสรฐิ เปนนักปราชญ ไมม อี าสวะ ทรงรแู จงศีรษะและธรรมอัน ใหศรี ษะตกไป ทรงองอาจกวานรชน ประทบั อยู ณ พระ ราชมณเฑยี รแหง พระเจาโกศลในพระนครสาวตั ถนี นั้ .[๒๒] ลําดับนัน้ พาวรพี ราหมณไ ดเรียกพราหมณท ง้ั หลาย ผเู ปนศษิ ย ผถู ึงฝง แหงมนตมา (บอกวา) ดูกอนมาณพ ท้งั หลาย มานีเ่ ถิด เราจักบอก ขอทา นทง้ั หลายจง ฟง คําของเรา.[๒๓] ความปรากฏเนืองๆ แหงพระผมู ีพระภาคเจา พระ- องคใ ดนน้ั ยากที่จะหาไดใ นโลก วันนี้ พระผมู พี ระภาค- เจา พระองคน ัน้ เสด็จอบุ ัตขิ น้ึ แลวในโลก มพี ระนาม
พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนิกาย จฬู นเิ ทส เลม ๖ - หนาท่ี 5 ปรากฏวา พระสัมพทุ ธเจา ทานทัง้ หลายจงรบี ไปเมอื ง สาวัตถี ดพู ระสัมพทุ ธเจาผสู ูงสดุ กวาสรรพสตั ว.[๒๔] ขาแตท านพราหมณ ก็ขาพเจาทั้งหลายเห็นแลวจะ รูจักวา เปน พระพุทธเจา ไดอ ยางไร ขาพเจาท้งั หลายจะ รูจักพระสัมพทุ ธเจา พระองคนั้นดวยอุบายอยา งไร ขอทา น จงบอกอบุ ายนัน้ แกขาพเจาท้งั หลายผูไมร ูเ ถิด.[๒๕] พา. ก็มหาบุรุษลกั ษณะ ๓๒ ประการ มาแลวใน มนตท ้งั หลาย ทา นกลา วไวแ จม แจง บรบิ ูรณแลวโดย ลําดับ.[๒๖] ทา นผูใดมมี หาบรุ ุษลักษณะเหลา นั้นในกายตัว ทานผู นน้ั มีคติเปน สองอยางเทานน้ั มไิ ดมีคตเิ ปน ที่สาม.[๒๗] คือ ถาอยูค รองเรือน พึงครอบครองแผน ดินนี้ ยอม ปกครองโดยธรรม โดยไมตองใชอ าชญา ไมตองใช ศัสตรา.[๒๘] และถาทานผนู ้ันออกบวชเปนบรรพชิต จะไดเปน พระอรหันตสัมมาสมั พทุ ธเจา มกี เิ ลสดงั หลงั คาอันเปด แลว ไมมีผูอนื่ ยิง่ กวา .[๒๙] พาวรพี ราหมณ (บอกแลว ) ซ่งึ ชาติ โคตร ลกั ษณะ และมนตอยา งอ่นื อีก กะพวกศิษย (ไดสั่งวา ) ทา น ท้งั หลายจงถามถึงศรี ษะและธรรมอนั ใหศ ีรษะตกไปดวย ใจเทาน้ัน.[๓๐] ถาทานผูน้ันจักเปนพระพทุ ธเจา ผูเห็นธรรมไมมี
พระสตุ ตันตปฎก ขุททกนิกาย จูฬนิเทส เลม ๖ - หนา ท่ี 6 เคร่อื งกัน้ เม่อื ทานทง้ั หลายถามปญ หาดวยใจแลว ก็จัก แกด ว ยวาจา.[๓๑] พราหมณ ๑๖ คนผูเปนศษิ ย คือ อชิตพราหมณ ติสสเมตเตยยพราหมณ ปุณณกพราหมณ เมตตคู- พราหมณ.[๓๒] โธตกพราหมณ อุปสวี พราหมณ นทั ทพราหมณ เหมกพราหมณ โตเทยยพราหมณ. กปั ปพราหมณ ชตุกัณณีพราหมณ ผูเ ปนบณั ฑติ .[๓๓] ภัทราวุธพราหมณ อทุ ยพรามณ โปสาลพราหมณ โมฆราชพราหมณผ ูเ ปน นกั ปราชญ ปงคยิ พราหมณผู แสวงหาคณุ ใหญ ไดฟงวาจาของพาวรีพราหมณแ ลว .[๓๔] ท้ังหมดนน้ั เฉพาะคนหนึ่ง ๆ เปน เจาหมเู จาคณะ ปรากฏแกโ ลกทงั้ ปวง เปนผูเจรญิ ฌาน ยินดีในฌาน เปนธีรชนผมู จี ติ อบรมดวยวาสนาในกาลกอ น.[๓๕] พราหมณผเู ปนศิษยทุกคน ทรงชฎาและหนงั เสือ อภวิ าทพาวรพี ราหมณและกระทาํ ประทักษิณแลว มงุ หนา เดนิ ไปทางทิศอดุ ร.[๓๖] สูส ถานเปน ทตี่ ัง้ แหงแวน แควน มุฬกะ เมอื งมาหิสสติ ในกาลน้ัน เมอื งอชุ เชนี เมืองโคนัทธะ เมืองเวทสิ ะ เมอื งวนสวหยะ.[๓๗] เมืองโกสัมพี เมืองสาเกต เมืองสาวัตถี เปน เมอื ง อุดม เมอื งเสตัพยะ เมืองกบลิ พัสดุ เมอื งกสุ ินารา.
พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย จฬู นเิ ทส เลม ๖ - หนาท่ี 7[๓๘] เมอื งปาวา โภคนคร เมอื งเวสาลี เมืองมคธและ ปาสาณเจดยี อันเปนรมณียสถานนารื่นรมยใจ.[๓๙] พราหมณเ หลา นั้นรบี ขึ้นสูภ เู ขา (ปาสาณเจดีย) เหมอื นคนระหายน้าํ รีบหานาํ้ เยน็ เหมอื นพอคารบี หา ลาภใหญ และเหมือนคนถกู ความรอนแผดเผาและรบี หา รม ฉะน้ัน.[๔๐] ก็ในสมยั นนั้ พระผูมีพระภาคเจา อนั ภิกษุสงฆหอ ม- ลอ มแลวทรงแสดงธรรมแกพ ระภกิ ษุท้งั หลาย ประหนง่ึ วาราชสหี บันลือสีหนาทอยใู นปา.[๔๑] อชิตพราหมณ ไดเ หน็ เพระสัมพทุ ธเจาผเู พยี งดังวา ดวงอาทติ ยมรี ศั มฉี ายออกไป และเหมอื นดวงจันทร เต็มดวงในวันเพญ็ .[๔๒] ลําดบั น้นั อชิตพราหมณย นื อยู ณ ทคี่ วรสว นหนึ่ง ร่นื เริงใจเพราะไดเห็นอนุพยญั ชนะบรบิ ูรณ ในพระกาย ของพระผมู พี ระภาคเจา ไดทูลถามปญหาดวยใจ.[๔๓] อ. ทานเจาะจงใคร จงบอกโคตรพรอ มดวยลกั ษณะ บอกความสาํ เรจ็ ในมนตท้ังหลาย พราหมณสอนมาณพ เทาไร.[๔๔] พ. พราหมณน้นั มอี ายุ ๑๒๐ ป ชื่อพาวรีโดยโคตร ลักษณะ ๓ อยางมีในตวั ของพราหมณนั้น พราหมณน้ัน เปน ผถู งึ ฝงแหงไตรเพท.[๔๕] พาวรีพราหมณ ถึงความสําเร็จในธรรมของตน สอน
พระสุตตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย จฬู นเิ ทส เลม ๖ - หนา ที่ 8 มาณพ ๕๐๐ ในมหาบรุ ุษลกั ษณะ และคัมภรี อ ิตหิ าสะ พรอ มทั้งคัมภรี นฆิ ัณฑศุ าสตร และคมั ภรี เกฏภ ศาสตร.[๔๖] ขาแตพระองคผ ูส ูงสุดกวานรชน ผตู ัดเสียซึง่ ตณั หา ขอพระองคทรงประกาศความกวางแหงลักษณะทงั้ หลาย ของพาวรพี ราหมณ ความสงสัยอยา ไดมแี กข า พระองค ทงั้ หลายเลย.[๔๗] พราหมณน้ันยอมปกปดหนา ไดดวยลิ้น มอี ณุ าโลมอยู ในระหวางคิว้ และมีอวยั วะทซ่ี อ นอยใู นผา อยูใ นฝก ดกู อ นมาณพ ทานจงรูอยา งน้ี.[๔๘] ชนทง้ั ปวงไมไ ดฟ ง ใคร ๆ ซง่ึ เปน ผถู าม ไดฟ งปญหา ท้ังหลาย ท่พี ระผมู ีพระภาคเจา ทรงแกแ ลว เกดิ ความ โสมนัส ประนมอญั ชลี ยอมคิดไปตาง ๆ (วา)[๔๙] ใครหนอ เปนเทวดา เปนพระพรหม หรอื เปน พระอินทรผ ูส ุชัมบดี เม่อื เขาถามปญ หาดวยใจ จะแก ปญ หานัน้ กะใครได.[๕๐] อ. พาวรพี ราหมณยอ มถามถึงศรี ษะ และธรรมอัน ทาํ ใหศรี ษะตกไป ขาแตพระผูมีพระภาคเจา ผทู รงแสวงหา ขอพระองคทรงโปรดพยากรณขอนนั้ กาํ จดั เสียซง่ึ ความ สงสัยของขา พระองคท ้ังหลายเถดิ .[๕๑] พ. ทานจงรูเถิดวา อวชิ ชาเปน ศีรษะ วชิ ชาประกอบ กับศรัทธา สติ สมาธิ ฉนั ทะ และวิรยิ ะ เปนธรรม เครอ่ื งยังศีรษะใหต กไป.[๕๒] ลาํ ดับน้ัน อชติ มาณพผูอ นั ความโสมนสั เปนอนั มาก
พระสตุ ตันตปฎก ขุททกนกิ าย จฬู นิเทส เลม ๖ - หนา ท่ี 9 อุดหนุนแลว กระทาํ ซง่ึ หนงั เสอื เฉวยี งบาขางหน่งึ แลว ซบเศยี รลงแทบพระยคุ ลบาท (ทูลวา)[๕๓] ขา แตพ ระองคผ นู ิรทกุ ข ผูมพี ระจักษุ พาวรีพราหมณ พรอ มดว ยพวกศษิ ย มจี ติ เบิกบานโสมนัส ขอถวายบังคม พระยุคลบาทของพระองค.[๕๔] พ. พาวรพี ราหมณพรอมดว ยพวกศิษยจ งเปน ผมู ีสขุ ดกู อ นมาณพ และแมท า นกข็ อใหมคี วามสขุ มีชีวติ อยู ยืนนานเถิด.[๕๕] เราใหโ อกาสแกพ าวรพี ราหมณ แกท าน และแก พราหมณท้งั หมดตลอดขอสงสัยทงั้ ปวง ทา นทง้ั หลายยอ ม ปรารถนาปญ หาอยางใดอยางหนึ่งไวในใจ ก็จงถามเถดิ .[๕๖] เมือ่ พระสัมพุทธเจาทรงประทานโอกาสแลว อชติ - พราหมณน ่งั ประนมมอื แลวทูลถามปฐมปญหากะ พระตถาคต ในบรษิ ัทน้ัน. จบวัตถุคาถา อชติ มาณวกปญ หานิทเทส วาดวยปญหาของทานอชติ ะ[๕๗] (ทานอชติ ะทลู ถามปญหาวา) โลกอันอะไรสหิ มุ หอ ไว โลกไมปรากฏเพราะเหตุอะไรสิ อะไรเลา เปน เครื่องฉาบทาโลกน้ัน ขอพระองคจงตรัสบอก อะไรเลา เปนภยั ใหญของโลกน้ัน.
พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนิกาย จูฬนเิ ทส เลม ๖ - หนาท่ี 10 [๕๘] คําวา โลกอนั อะไรสหิ ุมหอไว ความวา โลกนรก โลกดริ ัจฉาน โลกเปตติวิสัย โลกมนุษย โลกเทวดา ขนั ธโลก ธาตุโลกอายตนโลก โลกนี้ โลกอืน่ พรหมโลก กับท้งั เทวโลก นเี้ รียกวาโลกโลกนีอ้ ันอะไรปกปด ปดบงั ปกคลุม หมุ หอ ครอบไว เพราะฉะนน้ัจึงชื่อวา โลกอันอะไรสิหุม หอไว. [๕๙] บทวา อติ ิ ในอุเทศวา \" อิจจฺ ายสฺมา อชิโต \" เปนบทสนธิ เปนบทเกยี่ วเนือ่ ง เปนบทยงั บทใหบ รบิ รู ณ เปน ความประชมุแหงอักขระ เปน ความสละสลวยแหง พยญั ชนะ บทวา อิติ น้ีเปนไปตามลําดับบท. บทวา อายสมฺ า เปนเครื่องกลา วดวยความรกั เปน เครอื่ งกลาวโดยเคารพ. บทวา อายสมฺ า น้เี ปน เคร่ืองกลาวถงึ เปน ไปกับดว ยความเคารพและความยําเกรง. บทวา อชโิ ต เปนชื่อ เปน เครอ่ื งนบัเปน เคร่อื งหมายรู เปนบัญญัติ เปนเครอื่ งรองเรยี ก เปน นาม เปนการตง้ั ช่ือ เปน เคร่อื งแสดงใหป รากฏ เปน เครื่องกลาวเฉพาะของพราหมณนน้ั เพราะฉะนัน้ จงึ ชอื่ วา \" อิจจฺ ายสฺมา อชโิ ต. \" [๖๐] คาํ วา โลกไมป ราก เพราะเหตอุ ะไรสิ ความวา โลกไมปรากฏ ไมส วา ง ไมร งุ เรอื ง ไมไพโรจน ไมแจม ไมก ระจา ง เพราะเหตอุ ะไร เพราะฉะนน้ั จึงช่อื วา โลกไมป รากฏ เพราะเหตุอะไรสิ. [๖๑] คําวา อะไรเลา เปนเคร่ืองฉาบทาโลกนั้น ขอพระองคจ งตรสั บอก ความวา อะไรเปน เครอื่ งฉาบทา เปนเคร่ืองขอ ง เปนเคร่อื งผกู เปนเคร่ืองเขา ไปเศรา หมอง ของโลกนน้ั คอื โลกอันอะไรฉาบทาติดใหเ ปอ น ใหม วั หมอง เปอ น ระคนไว ของไว คลอ งไว พวั พันไวขอพระองคจงตรสั บอก เลา แสดง บญั ญตั ิ แตง ต้ัง เปด เผย จําแนก
พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนิกาย จูฬนเิ ทส เลม ๖ - หนาท่ี 11ทาํ ใหตืน้ ประกาศ เพราะฉะนน้ั จึงช่ือวา อะไรเลา เปนเคร่อื งฉาบทาโลกนน้ั ขอพระองคจงตรัสบอก. [๖๒] ค าวา อะไรเลา เปน ภยั ใหญของโลกน้นั ความวา อะไรเปน ภยั ใหญ เปนเคร่อื งบบี ค้นั เปน เครอื่ งเสยี ดสี เปนอันตราย เปนเครือ่ งขัดของของโลกน้ัน เพราะฉะนน้ั จึงชือ่ วา อะไรเลา เปน ภัยใหญของโลกน้นั . เพราะเหตนุ ้นั พราหมณน้นั จงึ กลา ววา (อชติ มาณพทลู ถามปญหาวา) โลกอนั อะไรสิหมุ หอ ไว โลกไมปรากฏเพราะเหตุ อะไรสิ อะไรเลา เปนเครอื่ งฉาบทาโลกนน้ั ขอพระองค จงตรสั บอก อะไรเลา เปนภยั ใหญข องโลกนัน้ . [๖๓] (พระผมู พี ระภาคตรสั ตอบวา ดกู อ นอชิตะ) โลกอันอวชิ ชาหุม หอไว โลกไมปรากฏเพราะความ ตระหน่ี เรากลา วตณั หาวา เปน เครอ่ื งฉาบทาโลก ทกุ ข เปน ภัยใหญของโลกนั้น. [๖๔] ความไมรใู นทกุ ข ความไมร ูในทุกขสมทุ ัย ความไมรูในทุกขนโิ รธ ความไมร ใู นทกุ ขนิโรธคามนิ ปี ฏิปทา ความไมร ใู นสว นสุดเบ้ืองตน ความไมรูในสว นสดุ เบือ้ งปลาย ความไมร ูท ั้งในสว นสุดเบือ้ งตนและสวนสุดเบ้อื งปลาย ความไมรใู นธรรมท้ังหลาย อนั อาศยั กนั และกันเกดิ ขึ้น คอื ความเปน ปจ จยั แหง ธรรมนี้ ช่อื วา \" อวิชา \" ความไมร ู ความไมเหน็ ความไมถ ึงพรอมเฉพาะ ความไมต ามตรัสรู ความไมต รสั รูพรอม
พระสุตตนั ตปฎ ก ขุททกนกิ าย จฬู นเิ ทส เลม ๖ - หนา ท่ี 12ความไมแ ทงตลอด ความไมถึงพรอม ความไมถงึ รอบ ความไมเหน็ เสมอความไมพ ิจารณา ความไมท ําใหป ระจกั ษ ความรูไดย าก ความเปนคนเขลา ความไมร ูทว่ั พรอ ม ความหลงใหล ความมัวเมา อวชิ ชาเปน โอฆะอวิชชาเปนโยคะ อวชิ ชาเปนอนสุ ยั อวชิ ชาเปน เคร่ืองกลมุ รุม อวิชชาเปนขาย โมหะ อกศุ ลมลู ชอื่ วา \" อวิชชา \" ในอุเทศวา อวชิ ชฺ ายนิวโุ ต โลโก นี้เรียกวา อวชิ ชา. โลกนรก โลกเดียรัจฉาน โลกเปตตวิ ิสยั โลกมนษุ ย โลกเทวดา ขนั ธโลก ธาตโุ ลก อายตนโลกโลกน้ี โลกหนา พรหมโลกกบั ทัง้ เทวโลก นี้เรียกวา โลก. โลกอันอวิชชานี้ ปดบงั ปกคลุม หุม หอ ครอบไว เพราะฉะน้นั จึงชอ่ื วาโลกอันอวิชชาหุมหอ ไว. [๖๕] พระผมู พี ระภาคเจา ตรัสเรียกพราหมณน ัน้ โดยชอ่ื วา \" อชิตะ \"บทวา ภควา นเ้ี ปน เครื่องกลาวดว ยความเคารพ. อีกอยางหนงึ่ พระผูมีพระภาคเจาทรงทําลายราคะ เพราะเหตุน้นั จึงชือ่ วา ภควา ทรงทําลายโทสะ เพราะเหตุนนั้ จึงช่ือวา ภควา ทรงท าลายโมหะ เพราะเหตุนน้ัจึงช่อื วา ภควา ทรงทาํ ลายมานะ เพราะเหตุนั้น จงึ ช่ือวา ภควา ทรงทําลายทิฏฐิ เพราะเหตุนนั้ จึงชือ่ วา ภควา ทรงทาํ ลายเสยี้ นหนามเพราะเหตุน้นั จงึ ชื่อวา ภควา ทรงจาํ แนก ทรงแจกวิเศษ ทรงจาํ แนกเฉพาะซ่ึงธรรมรตั นะ เพราะเหตุนน้ั จึงชอื่ วา ภควา ทรงทําซึ่งที่สุดแหงภพทงั้ หลาย เพราะเหตนุ น้ั จึงช่อื วา ภควา มกี ายอนั อบรมแลว เพราะเหตุน้ัน จงึ ชือ่ วา ภควา มศี ีลอนั อบรมแลว เพราะเหตุน้นั จึงชอื่ วาภควา มีจติ อันอบรมแลว มีปญญาอนั เจริญแลว เพราะเหตุนัน้ จงึ ช่ือวาภควา.
พระสุตตันตปฎก ขุททกนกิ าย จฬู นเิ ทส เลม ๖ - หนา ท่ี 13 อนงึ่ พระผมู ีพระภาคเจาทรงเสพเสนาสนะอนั สงดั คอื ปา และปาเปลีย่ ว เงยี บเสียง ไมมเี สียงกกึ กอ ง ปราศจากลมแตห มชู น ควรทํากรรมลับของมนุษย สมควรแกก ารหลีกออกเรน เพราะเหตนุ น้ั จึงช่อื วาภควา. อน่ึง พระผูมพี ระภาคเจา ทรงมีสวนแหง จวี ร บิณฑบาต เสนาสนะและคิลานปจ จัยเภสัชบริขาร เพราะเหตนุ นั้ จงึ ชื่อวา ภควา. อนงึ่ พระผมู พี ระภาคเจาทรงมีสว นแหงอรรถรส ธรรมรส วมิ ุตติ-รส แหงอธศิ ลี อธิจติ อธปิ ญญา เพราะเหตนุ น้ั จึงชอ่ื วา ภควา. อนึ่ง พระผูม ีพระภาคเจา ทรงมีสวนแหงฌาน อัปปมัญญา ๔ อรปู -สมาบตั ิ ๔ เพราะเหตนุ น้ั จงึ ชอื่ วา ภควา. อน่งึ พระผมู พี ระภาคเจาทรงมสี วนเเหง วิโมกข ๘ อภภิ ายตนะ ๘อนุปุพพวิหารสมาบตั ิ ๙ เพราะเหตนุ น้ั จงึ ช่ือวา ภควา. อน่งึ พระผูม ีพระภาคเจา ทรงมสี ว นแหงสัญญาภาวนา ๒๐ กสิณ-สมาบตั ิ ๑๐ สมาธอิ ันสมั ปยุตดว ยอานาปานัสสติ อสภุ ฌานสมาบตั ิเพราะเหตุนน้ั จึงช่อื วา ภควา. อน่งึ พระผูม ีพระภาคเจา ทรงมสี วนแหง สตปิ ฏ ฐาน ๔ สัมมัปป-ธาน ๔ อทิ ธบิ าท ๔ อนิ ทรยี ๕ พละ ๕ โพชฌงค ๗ อริยมรรคมีองค ๘ เพราะเหตุนน้ั จึงชื่อวา ภควา. อน่ึง พระผมู ีพระภาคเจาทรงมสี ว นแหงกําลงั ของพระตถาคต ๑๐เวสารัชชญาณ ๔ ปฏสิ ัมภิทา ๔ อภิญญา ๖ พุทธธรรม ๖ เพราะเหตุนนั้ จงึ ชื่อวา ภควา. พระนามวา ภควา น้ี พระมารดามิไดท รงต้งัพระบดิ ามไิ ดท รงตัง้ พระภคนิ มี ิไดท รงตง้ั พระภาดามไิ ดท รงตัง้ มิตร
พระสุตตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย จฬู นเิ ทส เลม ๖ - หนา ที่ 14และอาํ มาตยมิไดต้งั พระญาตสิ ายโลหิตมิไดทรงตง้ั สมณพราหมณแ ลเทวดาก็มิไดต ้ัง พระนามวา ภควา นี้ เปน วิโมกขนั ติกนาม คอื พระนามท่เี กิดข้ึนในที่สดุ แหง ความหลุดพน พระนามวา ภควา นี้ เปน สจั ฉกิ า-บัญญตั ิ พระนามของพระผมู พี ระภาคเจา ทงั้ หลายผตู รัสรูแ ลว พรอ มดวยการบรรลุพระสพั พญั ุตญาณ ณ ควงไมมหาโพธิ์ เพราะฉะนั้น จึงชอ่ื วา\"อชติ าติ ภควา. \" [๖๖] คําวา โลกไมปรากฏเพราะความตระหน่ี มคี วามวา ความตระหนี่ ๕ ประการ คอื อาวาสมจั ฉริยะ ตระหน่ีทอ่ี ยู ๑ กลุ มัจฉรยิ ะตระหนส่ี กลุ ๑ ลาภมัจฉรยิ ะ ตระหนีล่ าภ ๑ วรรณมจั ฉรยิ ะ ตระหน่ีวรรณะ ๑ ธรรมมจั ฉริยะ ตระหน่ธี รรม ๑ ทานเรียกวา เววจิ ฉะ ความตระหนี่ กริ ยิ าที่ตระหนี่ ความเปนผูต ระหนี่ ความปรารถนาตาง ๆความเหนียวแนน ความเปนผมู ีจติ หดหู โดยความเปน จิตเผ็ดรอนความที่แหงจติ อนั ใครเชอ่ื ไมไ ดเห็นปานนี้ เรียกวา ความตระหน่.ี อีกอยา งหนึง่ แมค วามตระหนี่ขนั ธ ทา นกเ็ รยี กวามัจฉรยิ ะ แมความตระหนธ่ี าตุ ทา นกเ็ รียกวามจั ฉริยะ. ความประมาท สมควรกลาว การปลอยจติ ความเพ่ิมการปลอยจติ ในกายทจุ ริตกด็ ี ในวจที จุ ริตกด็ ี ในมโนทุจริตก็ดี ในเบญจกามคุณก็ดี หรือความเปน ผูทาํ โดยความไมเ ออ้ื เฟอ ความเปน ผูท าํ ไมต ดิ ตอความเปนผหู ยุด ๆ ความเปน ผูมีความประพฤติยอ หยอน ความเปนผูปลงฉันทะ ความเปน ผทู อดธุระ ความเปน ผไู มซ องเสพ ความไมเ จริญความไมท ําใหมาก ความไมตงั้ ใจ ความไมประกอบเนือง ๆ ในการบาํ เพ็ญกศุ ลธรรมทง้ั หลาย เปนความประมาท ความมัวเมา กิริยาท่ี
พระสตุ ตนั ตปฎก ขทุ ทกนิกาย จฬู นิเทส เลม ๖ - หนาท่ี 15มวั เมา ความเปนผูมัวเมา เหน็ ปานนี้ เรยี กวา ประมาท. คําวา โลกไมป รากฏเพราะความตระหน่ี เพราะความประมาทความวา โลกไมปรากฏ ไมส วาง ไมรงุ เรอื ง ไมไพโรจน ไมแจมไมกระจา ง เพราะความตระหนน่ี ี้ เพราะความประมาทนี้ เพราะฉะนั้นจงึ ชอ่ื วา โลกไมป รากฏ เพราะความตระหน่ี เพราะความประมาท. [๖๗] คาํ วา เรากลา ววาตัณหาเปนเครอ่ื งฉาบทาโลก ความวาตณั หา เรยี กวา ชปั ปา ความกาํ หนัด ความกําหนัดนกั ความยนิ ดีความพลอยยนิ ดี ความเพลดิ เพลนิ ความกาํ หนดั ดว ยความเพลิดเพลนิความกาํ หนดั นักแหง จิต ความปรารถนา ความหลง ความติดใจ ความอยาก ความพัวพนั ความของ ความจม ความหวั่นไหว ความลวงธรรมชาติอันใหส ตั วเกดิ ธรรมชาตอิ ันใหสตั วเกิดกบั ทุกข ธรรมชาตอิ นัเย็บไว ธรรมชาติเพยี งดังขา ย ธรรมชาตอิ ันไหลไป ธรรมชาตอิ นั ซา นไปในอารมณต า ง ๆ ความเปน ผหู ลบั ความกวางขวาง ธรรมชาติอันใหอ ายเุ สอื่ ม ความเปนเพือ่ น ความตง้ั ใจไว ธรรมชาติอันเปนเหตนุ าไปสภู พ ธรรมชาติเพยี งดงั วาปา ธรรมชาตเิ พยี งดังวา หมูไมในปา ความสนิทสนม ความมีเยื่อใย ความเพง ความพวั พนั ความหวงั กิริยาท่ีหวัง ความเปน ผูห วัง ความหวังในรูป ความหวังในเสียง ความหวงั ในกลน่ิความหวงั ในรส ความหวังในโผฏฐัพพะ ความหวังในลาภ ความหวังในทรัพย ความหวังในบุตร ความหวังในชีวิต ความกระซบิ ความกระซิบทว่ัความกระซิบยงิ่ กิริยาที่กระซิบ ความเปนผูกระซิบ ความโลภ กิริยาทีโ่ ลภความเปน ผโู ลภ ความทต่ี ณั หาหวัน่ ไหว ความเปน ผูตองการใหสาํ เร็จความกาํ หนัดผิดธรรมดา ความโลภไมส มํ่าเสมอ ความใคร กริ ิยาทใ่ี คร
พระสตุ ตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย จูฬนเิ ทส เลม ๖ - หนาที่ 16ความปรารถนา ความทะเยอทะยาน ความประสงค กามตณั หา ภวตณั หาวภิ วตัณหา รปู ตัณหา อรูปตัณหา นโิ รธตัณหา รปู ตณั หา สัททตัณหาคันธตณั หา รสตัณหา โผฏฐัพพตณั หา ธรรมตัณหา โอฆะ โยคะคันถะ อุปาทาน ธรรมชาติเปนเครือ่ งกั้น ธรรมชาตเิ ปนเครื่องบังธรรมชาติเปนเคร่อื งปด ธรรมชาติเปนเคร่อื งผูก อุปกเิ ลส อนสุ ัย กเิ ลสเครือ่ งกลมุ รมุ ธรรมชาติเพียงดงั วา เถาวัลย ความตระหนี่ มูลแหงทุกขแดนเกดิ แหง ทุกข บว งมาร เบด็ มาร วิสยั มาร โคจรแหงมาร เครื่องผกู แหง มาร ตัณหาเพียงดงั วาแมนํา้ ตัณหาเพียงดังวาขาย ตณั หาเพียงดังวาสายโซ ตัณหาเพียงดังวาทะเล อภชิ ฌา โลภะ อกุศลมลู นีเ้ รียกวาชัปปา (ตณั หา) ตัณหาน้ีเปน เครอ่ื งทา เปนเครื่องขอ ง เปน เคร่ืองผูกเปนอุปกิเลสของโลก โลกอันตณั หานไ้ี ลทา ฉาบทา ใหห มอง ใหมวั หมอง ใหเปอ น ระคนไว ของไว คลองไว พันไว เรายอ มกลาวบอก แสดง บัญญัติ แตง ตั้ง เปด เผย จาํ แนก ทาํ ใหตื้น ประกาศเพราะฉะนน้ั จงึ ชือ่ วา เรากลา ววา ตณั หาเปนเครอื่ งฉาบทาโลก. [๖๘] ชื่อวา ทุกข ในอุเทศวา ทุกขเ ปน ภัยใหญข องโลกนัน้คือ ชาติทกุ ข ชราทุกข พยาธทิ กุ ข มรณทุกข โสกะ ปรเิ ทวะ ทกุ ขโทมนัส อปุ ายาส ทุกขใ นนรก ทกุ ขในกาํ เนดิ ดิรัจฉาน ทกุ ขใ นเปตต-ิวิสัย ทุกขใ นมนษุ ย ทุกขม ีการกา วลงสูครรภเปนมูล ทกุ ขมีการตงั้ อยใู นครรภเปน มลู ทุกขม ีความออกจากครรภเปน มลู ทกุ ขเนอ่ื งแตส ตั วผเู กดิทุกขเ นื่องแกผูอ่ืนแหง สตั วผเู กิด ทุกขเกิดแตค วามเพยี รของตน ทกุ ขเกิดแตความเพียรของผูอนื่ ทุกขใ นทกุ ข สงสารทกุ ข วิปรณิ ามทุกข โรคตาโรคหู โรคจมกู โรคล้นิ โรคกาย โรคในศีรษะ โรคในหู โรคในปาก
พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนิกาย จฬู นิเทส เลม ๖ - หนา ท่ี 17โรคฟน โรคไอ โรคมองครอ โรคริดสดี วงจมกู โรครอนใน โรคชราโรคในทอง โรคสลบ โรคลงแดง โรคจุกเสยี ด โรคลงทอง โรคเรอ้ื นฝ กลาก โรคหดื โรคลมบา หมู หิดดา น หดิ เปอ ย คุดทะราด ลําลาบคดุ ทะราดใหญ โรครากเลือด โรคดี โรคเบาหวาน โรคริดสดี วงทวารโรคตอม บานทะโรค อาพาธมีดเี ปน สมฏุ ฐาน อาพาธมเี สมหะเปนสมฏุ -ฐาน อาพาธมีลมเปน สมุฏฐาน อาพาธมีดีเปน ตนประชุมกนั อาพาธเกดิ เพราะฤดูแปรไป อาพาธเกิดเพราะเปลีย่ นอิรยิ าบถไมสม่ําเสมอกันอาพาธเกิดเพราะความเพียร อาพาธเกดิ เพราะผลกรรม ความหนาวความรอ น ความหวิ ความกระหาย ปวดอจุ จาระ ปวดปส สาวะ ทุกขแตเหลอื บ ยุง ลม แดด และสมั ผัสแหง สตั วเ สือกคลาน ความตายของมารดากเ็ ปน ทกุ ข ความตายของบดิ าก็เปน ทุกข ความตายของพนี่ องชายกเ็ ปน ทกุ ข ความตายของพ่นี อ งหญิงกเ็ ปน ทกุ ข ความตายของบตุ รก็เปนทุกข ความตายของธดิ ากเ็ ปน ทกุ ข ความฉบิ หายแหงญาตกิ เ็ ปน ทุกขความฉิบหายแหง โภคทรพั ยก็เปนทกุ ข ความฉิบหายเพราะโรคกเ็ ปน ทุกขความฉบิ หายแหง ศลี ก็เปน ทุกข ความฉบิ หายแหง ทฏิ ฐกิ เ็ ปน ทุกข. ความเกิดขึ้นของธรรมทง้ั หลายเหลาใด ยอ มปรากฏต้ังแตตน ธรรมทงั้ หลายเหลา นัน้ เมอื่ ตง้ั อยูไมได ความดับยอมปรากฏ. วิบากอาศยั กรรม กรรมอาศยั วิบาก รูปอาศยั นาม นามกอ็ าศยั รูป นามรปู ไปตามชาติ ชรากต็ ดิ ตามพยาธกิ ็ครอบงาํ มรณะก็ห้ําหนั่ ต้งั อยใู นทุกข ไมมีอะไรตานทาน ไมมีอะไรเปนทเ่ี รน ไมม ีอะไรเปนสรณะ ไมม ีอะไรเปน ท่ีพ่ึง นเี้ รยี กวาทกุ ขทกุ ขเปนภัยใหญ เปน เครื่องบีบค้นั เปน เครือ่ งเสยี ดสี เปนอันตราย เปน
พระสุตตนั ตปฎ ก ขุททกนิกาย จฬู นิเทส เลม ๖ - หนา ที่ 18เคร่อื งขัดของ ของโลกนั้น เพราะฉะนน้ั จึงช่อื วา ทกุ ขเปนภัยใหญของโลกนัน้ . เพราะเหตุนัน้ พระผมู ีพระภาคเจา จึงตรสั วา โลกอนั อวิชชาหุมหอไว โลกไมปรากฏเพราะความ ตระหน่ี เรากลาววา ตัณหาเปน เครือ่ งฉาบทาโลก ทุกข เปนภยั ใหญของโลกนัน้ . [๖๙] (ทา นอชติ ะทูลถามวา) กระแสท้ังหลายยอมไหลไปในอายตนะทั้งปวง อะไร เปนเคร่อื งกั้นกระแสทงั้ หลาย ขอพระองคจ งตรัสบอก ธรรมเปน เครอ่ื งกั้นกระแสทง้ั หลาย กระแสท้งั หลาย อนั อะไรยอมปด กัน้ ได. [๗๐] กระแส คือ ตณั หา กระแส คือ ทฏิ ฐิ, กระแส คอืกิเลส, กระแส คอื ทุจรติ , กระแส คือ อวชิ ชา ชอ่ื วา กระแสในอเุ ทศวา \" สวนตฺ ิ สพฺพธิ โสตา.\" บทวา สพฺพธิ คือ ในอายตนะทั้งปวง. บทวา สวนตฺ ิ ความวา ยอมไหลไป ยอ มไหลหลงั่ ยอ มเลื่อนไป ยอ มเปน ไป คอื ยอ มไหลไป ยอมหล่งั ไป ยอ มเล่ือนไป ยอ มเปนไปในรปู ทางจักษุ ในเสยี งทางหู ในกลิน่ ทางจมกู ในรสทางลนิ้ ในโผฏฐัพพะทางกาย ยอมไหลไป ยอ มหล่ังไป ยอมเล่อื นไป ยอมเปนไปในธรรมารมณท างใจ รปู ตณั หา ยอ มไหลไป ยอ มหล่งั ไป ยอมเลอื่ นไปยอ มเปนไปทางจกั ษุ สัททตัณหายอ มไหลไป . . . ทางหู คนั ธตัณหายอมไหลไป . . . ทางจมกู รสตัณหายอมไหลไป. . . ทางลน้ิ โผฏฐัพพ-
พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนิกาย จูฬนเิ ทส เลม ๖ - หนาท่ี 19ตณั หายอมไหลไป . . . ทางกาย ธรรมตัณหายอ มไหลไป ยอมหลง่ั ไปยอมเล่ือนไป ยอ มเปนไปทางใจ เพราะฉะนั้น จึงช่อื วา กระแสทง้ั หลายยอ มไหลไปในอายตนะทง้ั ปวง. [๗๑] คําวา อติ ิ ในอเุ ทศวา อจิ ฺจายสฺมา อชโิ ต เปน บทสนธิเปน บทเก่ียวเนอื่ ง เปนบทยงั บทใหบริบูรณ เปน ความประชมุ แหง อกั ขระเปน ความสละสลวยแหงพยัญชนะ. คาํ วา อิติ นี้ เปน ไปตามลําดับบท.บทวา อายสฺมา เปนเครื่องกลาวถงึ เปน ไปกบั ดว ยความเคารพและความยําเกรง. บทวา อชิโต เปน ชอ่ื เปนเครื่องนับ เปน เครื่องหมายรูเปนบญั ญัติ เปนเครอื่ งรอ งเรียก เปนนาม เปนการตง้ั ชอ่ื เปน เครื่องทรงช่อื เปนภาษาท่เี รยี กรอ งกนั เปน เคร่อื งแสดงใหป รากฏ เปน เคร่ืองกลาวเฉพาะของพราหมณน นั้ เพราะฉะน้นั จึงชือ่ วา \" อจิ จฺ ายสมฺ าอชโิ ต. \" [๗๒] คาํ วา อะไรเปนเครอื่ งกนั้ กระแสท้งั หลาย ความวา อะไรเปนเคร่ืองกนั คือ เปนเครอื่ งหา ม เปนเคร่อื งปองกนั เปนเครื่องรักษาเปน เครื่องคุมครองกระแสท้ังหลาย เพราะฉะนัน้ จงึ ชื่อวา อะไรเปนเครอ่ื งกัน้ กระแสทง้ั หลาย. [๗๓] คาํ วา ขอพระองคจงตรสั บอกธรรมเปนเครอื่ งกั้นกระแสทง้ั หลาย ความวา ขอพระองคจงตรสั คอื จงทรงบอก แสดง บญั ญตั ิแตง ตง้ั เปดเผย จาํ แนก ทําใหต ื้น ประกาศ ซง่ึ ธรรมเปนเคร่อื งกนั้คือ ซ่งึ ธรรมเปนเครอื่ งหาม เปน เครื่องปอ งกัน เปนเครอื่ งรักษา เปนเครอ่ื งคุมครองกระแสทั้งหลาย เพราะเหตนุ น้ั จงึ ชื่อวา ขอพระองคจงตรสั บอกซ่ึงธรรมเปนเคร่อื งก้ันกระแสทง้ั หลาย.
พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนิกาย จูฬนเิ ทส เลม ๖ - หนาที่ 20 [๗๔] คําวา กระแสทัง้ หลายอันอะไรยอ มปดกั้นได ความวากระแสทัง้ หลายอนั อะไรยอมปดบังได คอื ยอมตดั ขาด ยอมไมไหลยอ มไมห ล่งั ยอมไมเล่อื น ยอ มไมเปน ไป เพราะฉะน้ัน จงึ ชือ่ วา กระแสทง้ั หลายอันอะไรยอมปดได. เพราะเหตนุ ้นั พราหมณนน้ั จึงกลา ววา (อชิตมาณพทูลถามวา) กระแสท้งั หลายยอ มไหลไปในอายตนะทง้ั ปวง อะไร เปนเครอื่ งก้ันกระแสทง้ั หลาย ขอพระองคจงตรัสบอก ธรรมเปนเครอ่ื งกนั้ กระแสทง้ั หลาย กระแสทัง้ หลายอัน อะไรยอมปดก้นั ได. [๗๕] (พระผมู พี ระภาคเจาตรัสอบวา ดูกอนอชิตะ) กระแส เหลาใดในโลก สตเิ ปนเคร่ืองกนั้ กระแสเหลา น้นั เรา กลาวธรรมเปนเครอื่ งกัน้ กระแสทัง้ หลาย กระแสเหลา น้ี อนั ปญญายอมปด กัน้ ได. [๗๖] คาํ วา กระแสเหลา ใดในโลก ความวา กระแสเหลาน้ีใดเราบอกแลว เลาแลว แสดงแลว บัญญัติแลว แตงต้งั แลว เปด เผยแลวจาํ แนกแลว ทาํ ใหต้ืนแลว ประกาศแลว คอื กระแสตัณหา กระแสทิฏฐิ กระแสกิเลส กระแสทุจรติ กระแสอวชิ ชา. บทวา ในโลก คือในอบายโลก มนุษยโลก เทวโลก ขันธโลก ธาตโุ ลก อายตนโลกเพราะฉะนั้น จึงชอื่ วา กระแสเหลา ใดในโลก พระผมู ีพระภาคเจาตรสัเรยี กพราหมณนัน้ โดยชอื่ วา อชติ ะ.
พระสุตตันตปฎก ขทุ ทกนิกาย จูฬนเิ ทส เลม ๖ - หนา ท่ี 21 [๗๗] ความระลึก คือ ความตามระลึก ความระลกึ เฉพาะ สติความระลึก ความทรง ความไมเ ลื่อนลอย ความไมห ลงลมื สติ สตินทรียสตสิ มั โพชฌงค เอกายนมรรค (มรรคทเี่ ปนไปแหง บคุ คลผูเดยี ว). ชอื่ วาสติ ในอเุ ทศวา \"สติ เตส นิวารณ \" นเ้ี รียกวา สติ. บทวา เปนเครื่องก้ัน ความวา เปน เครื่องกนั้ คอื เปน เครื่องหาม เปน เครอ่ื งปอ งกัน เปน เคร่อื งรักษา เปนเครือ่ งคมุ ครอง เพราะฉะน้นั จึงช่อื วาสตเิ ปน เคร่ืองกัน้ กระแสเหลา นัน้ . [๗๘] คําวา เรายอมกลา วธรรมเปนเคร่ืองก้ันกระแสทงั้ หลายความวา เรายอมกลา ว ยอ มบอก ยอ มแสดง ยอ มบญั ญตั ิ ยอ มแตง ตัง้ยอมเปด เผย ยอมจําแนก ยอ มทาํ ใหตน้ื ยอมประกาศ ซึง่ ธรรมเปนเครือ่ งกน้ั คือ เปนเครอื่ งหาม เปน เครอ่ื งปอ งกนั เปน เครอื่ งรักษาเปนเคร่ืองคุมครอง กระแสท้งั หลาย เพราะฉะน้ัน จงึ ชื่อวา เรายอ มกลาวธรรมเปนเครือ่ งกั้นกระแสท้งั หลาย. [๗๙] ความรูทัว่ กริ ิยาทร่ี ูท่วั ฯลฯ ความไมหลง ความเลือกเฟนธรรม สมั มาทฏิ ฐิ ช่ือวา ปญ ญา ในอุเทศวา ปฺาเยเต ปถ ยิ ฺ-ยเร. ขอ วา กระแสเหลา นี้ อนั ปญญายอ มปด ก้นั ได ความวา กระแสเหลานี้ อันปญ ญายอมปด ก้ันได คือ ยอ มตดั ขาด ไมไ หลไป ไมห ลงั่ ไปไมเลือ่ นไป ไมเปนไป กระแสเหลานี้ อันปญญาของบุคคลผูรเู ห็นวาสังขารทั้งปวงไมเ ทย่ี ง ยอมปดก้นั ได ... ไมเ ปนไป กระแสเหลา น้ี อนัปญ ญาของบุคคลผูรูเหน็ วา สงั ขารทงั้ ปวงเปน ทกุ ข ยอมปดกั้นได ... ไมเปน ไป กระแสเหลา น้ี อันปญ ญาของบุคคลผรู ูเ ห็นวา ธรรมทงั้ ปวงเปน
พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนิกาย จูฬนิเทส เลม ๖ - หนาที่ 22อนตั ตา ยอมปด กัน้ ได ... ไมเ ปน ไป กระแสเหลานี้ อนั ปญญาของบุคคลผูรูเ ห็นวา เพราะอวิชชาเปน ปจ จยั จงึ มีสงั ขาร ยอ มปด กน้ั ได ... ไมเปน ไปกระแสเหลาน้ี อันปญญาของบุคคลผรู ูเ ห็นวา เพราะสังขารเปน ปจ จยั จงึ มีวญิ ญาณ ยอมปดกั้นได ... ไมเ ปนไป กระแสเหลานี้ อนั ปญญาของบุคคลผูรเู หน็ วา เพราะวิญญาณเปนปจ จยั จงึ มนี ามรปู ยอ มปด ก้ันได ... ไมเ ปนไป กระแสเหลา นี้ อันปญญาของบคุ คลผูรเู ห็นวา เพราะนามรปู เปนปจจัยจึงมีสฬายตนะ ยอมปดกั้นได ... ไมเ ปนไป กระแสเหลานี้ อนั ปญญาของบุคคลผรู เู ห็นวา เพราะสฬายตนะเปนปจ จัย จงึ มผี สั สะ ยอมปด กนั้ได ... ไมเ ปน ไป กระแสเหลานี้ อนั ปญญาของบคุ คลผรู ูเ ห็นวา เพราะผัสสะเปน ปจจยั จงึ มีเวทนา ยอมปด ก้ันได ... ไมเ ปนไป กระแสเหลานี้อันปญญาของบุคคลผรู เู หน็ วา เพราะเวทนาเปน ปจ จัย จึงมีตณั หา ยอมปดกั้นได ... ไมเ ปนไป กระแสเหลาน้ี อันปญญาของบุคคลผูรูเห็นวาเพราะตัณหาเปน ปจ จยั จึงมีอปุ าทาน ยอ มปด กนั้ ได ... ไมเปน ไป กระแสเหลา น้ี อนั ปญญาของบคุ คลผูร ูเหน็ วา เพราะอปุ าทานเปนปจ จยั จึงมภี พยอมปด ก้นั ได ... ไมเปน ไป กระแสเหลา นี้ อนั ปญ ญาของบุคคลผูรเู ห็นวา เพราะภพเปนปจจยั จงึ มชี าติ ยอมปดกัน้ ได ... ไมเ ปน ไป กระแสเหลาน้ี อันปญญาของบุคคลผรู ูเหน็ วา เพราะชาติเปน ปจ จยั จงึ มชี ราและมรณะ ยอ มปดกั้นได ... ไมเปนไป กระแสเหลาน้ี อนั ปญ ญาของบคุ คลผรู เู ห็นวา เพราะอวชิ ชาดับ สังขารจึงดบั เพราะสังขารดับ วญิ ญาณจงึ ดับเพราะวิญญาณดบั นามรูปจงึ ดับ เพราะนามรปู ดบั สฬายตนะจึงดับ เพราะสฬายตนะดับ ผสั สะจึงดบั เพราะผสั สะดับ เวทนาจงึ ดับ เพราะเวทนาดับ
พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย จฬู นิเทส เลม ๖ - หนา ที่ 23ตัณหาจงึ ดับ เพราะตัณหาดบั อปุ าทานจงึ ดับ เพราะอุปาทานดบั ภพจึงดับ เพราะภพดับ ชาติจงึ ดบั เพราะชาตดิ บั ชราและมรณะจึงดบัยอ มปด กั้นได คอื ยอมปกปด ยอมไมไหลไป ไมห ลัง่ ไป ไมเ ล่ือนไปไมเปนไป กระแสเหลาน้ี อันปญญาของบคุ คลผรู เู ห็นวา นี้ทุกข นที้ กุ ข-สมทุ ยั นท้ี ุกขนโิ รธ น้ที ุกขนิโรธคามินีปฏิปทา ยอ มปดกน้ั ได ... ไมเปน ไป กระแสเหลานี้ อนั ปญญาของบคุ คลผรู ูเ ห็นวา เหลาน้อี าสวะน้เี หตใุ หเกดิ อาสวะ น้ีความดับอาสวะ น้ีปฏปิ ทาเคร่ืองใหถงึ ความดับอาสวะ ยอมปด ก้นั ได ... ไมเ ปน ไป กระแสเหลา น้ี อนั ปญญาของบุคคลผรู เู ห็นวา ธรรมเหลานีค้ วรรยู ิ่ง ธรรมเหลาน้คี วรกาํ หนดรู ธรรมเหลา นี้ควรละ ธรรมเหลานีค้ วรเจรญิ ธรรมเหลานค้ี วรทาํ ใหแจง ยอมปด กนั้ได ... ไมเปน ไป กระแสเหลา น้ี อันปญ ญาของบุคคลผูรูเ หน็ ความเกดิความดับ คุณ โทษ และอุบายเปนเครื่องออกไปแหง ผสั สายตนะ ๖ ยอมปดกนั้ ได ... ไมเปน ไป กระแสเหลาน้ี อนั ปญ ญาของบุคคลผูร เู ห็นความเกดิ ความดับ คณุ โทษ และอบุ ายเปนเครื่องออกไปแหง อปุ าทานขนั ธ ๕ยอ มปด กัน้ ได ... ไมเปนไป กระแสเหลา น้ี อนั ปญญาของบคุ คลผรู เู หน็ความเกดิ ความดบั คณุ โทษ และอุบายเปน เครอื่ งออกไปแหง มหาภูต-รปู ๔ ยอมปด ก้ันได ... ไมเ ปนไป กระแสเหลาน้ี อนั ปญญาของบคุ คลผรู ูเห็นวา สิ่งใดสง่ิ หน่ึงมีความเกิดขนึ้ เปน ธรรมดา ส่ิงนนั้ ทั้งมวลลวนมีความดบั ไปเปน ธรรมดา ยอมปดก้นั ได คือ ยอมปกปด ยอมไมไหลไปไมห ลง่ั ไป ไมเล่อื นไป ไมเปนไป เพราะฉะน้นั จงึ ชื่อวา กระแสเหลาน้ีอนั ปญญายอ มปด กั้นได เพราะเหตนุ นั้ พระผมู ีพระภาคเจา จงึ ตรัสวา
พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนิกาย จูฬนิเทส เลม ๖ - หนาท่ี 24 กระแสเหลา ใดในโลก สตเิ ปน เครือ่ งก้ันกระแส เหลา น้ัน เรากลา วธรรมเปนเครื่องก้ันกระแสท้ังหลาย กระแสเหลานี้ อันปญ ญายอมปดก้ันได. [๘๐] (ทานอชิตะทูลถามวา ) ขา แตพ ระองคผ นู ิรทกุ ข ปญ ญา สติ และนามรูป ยอ มดบั ไป ณ ท่ไี หน ขา พระองคทูลถามแลว ขอพระ องคจงตรัสบอกความขอน้ันแกข าพระองคเถดิ . [๘๑] ความรูชดั กิริยาทีร่ ชู ัด ความเลือกเฟน ความเลอื กเฟน ทว่ัความกาํ หนดพรอม ความเขาไปกาํ หนด ความเขา ไปกาํ หนดเฉพาะ ความเปน บัณฑิต ความเปน ผูฉ ลาด ความเปนผูละเอยี ดออ น ปญ ญาเปน เครื่องจาํ แนกความคดิ ความพจิ ารณา ปญญาดังแผนดิน ความปรชี า ปญญาอันนอมไป ความเหน็ แจง ความรูทว่ั พรอม ปญ ญาอันเจาะแทงเหมอื นประตกัปญญนิ ทรยี ปญญาเปนกาํ ลัง ปญญาเพยี งดังศาสตรา ปญญาเปนเพียงดังปราสาท ปญญาเพยี งดงั แสงสวาง ปญญาเพียงดังรัศมี ปญ ญาเพียงดังประทปี ปญญาเพยี งดังรัตนะ ความไมห ลง ความเลือกเฟนธรรม สมั มา-ทฏิ ฐิ. ช่อื วา ปญญา ในอุเทศวา \"ปฺา เจว สติ จาป\" ความระลึกความตามระลึก ฯ ล ฯ สัมมาสติ ชื่อวา สติ เพราะฉะนน้ั จงึ ช่อื วาอชติ มาณพทูลถามวา ปญญา สติ. [๘๒] คําวา ขาแตพระองคผูนิรทุกข ... นามรปู ความวา อรูป-ขันธ ๔ ชอ่ื วา นาม. มหาภตู รปู ๔ และรูปอาศัยมหาภตู รูป ๔ ช่อื วารปู . บทวา มาริส เปนเคร่ืองกลาวดว ยความรกั เปน เครอ่ื งกลา วโดย
พระสุตตันตปฎก ขุททกนกิ าย จฬู นเิ ทส เลม ๖ - หนาท่ี 25เคารพ. บทวา มารสิ นี้ เปนเครื่องกลาวเปน ไปกับดวยความเคารพและความยาํ เกรง เพราะฉะนัน้ จึงช่ือวา ขาแตพ ระองคผนู ริ ทกุ ข ...นามรูป. [๘๓] คาํ วา เอตมเฺ ม ในอเุ ทศวา \"เอตมฺเม ปุฏโ ปพฺรหู ิ \"ความวา ขา พระองคข อทูลถาม ทลู วงิ วอน เชอื้ เชญิ ใหประสาทขอความใด. บทวา ปุฏโ ความวา ขา พระองคท ูลถามแลว คือ ทูลวิงวอนทูลขอเชิญใหประสาท. บทวา ปพฺรหู ิ ความวา ขอจงตรสั จงบอก จงแสดง บญั ญตั ิ แตง ตงั้ เปด เผย จาํ แนก ทําใหต นื้ ประกาศ เพราะ-ฉะน้ัน จึงชอื่ วา ขาพระองคทูลถามแลว ขอพระองคจ งตรัสบอกความขอ นนั้ แกข าพระองค. [๘๔] คาํ วา กตเฺ ถต อปุ รชุ ฌฺ ติ ความวา นัน่ ยอ มดบั คือ ยอมสงบ ยอ มถึงความตั้งอยูไมไ ด ยอ มระงบั ณ ทไี่ หน เพราะฉะน้ัน จงึ ช่ือวา นน่ั ยอมดบั ณ ทีไ่ หน. เพราะเหตุนน้ั พราหมณน้นั จึงกลา ววา ขาแตพ ระองคผ นู ิรทุกข ปญญา สติ และนามรปู ยอมดบั ไป ณ ท่ไี หน ขาพระองคท ูลถามแลว ขอพระ- องคจงตรัสบอกขอ ความน้ันแกข า พระองคเ ถิด. [๘๕] (พระผูม ีพระภาคเจาตรัสตอบวา ) ดูกอ นอชติ ะ ทา นไดถ ามปญ หาขอใดแลว เราจะแก ปญ หาขอนัน้ แกทา น นามและรูปดบั ไปไมม สี วนเหลอื ณ
พระสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย จฬู นเิ ทส เลม ๖ - หนา ท่ี 26 ท่ใี ด นามรูปนนั้ กด็ บั ณ ท่นี น้ั เพราะความดับแหง วิญญาณ. [๘๖] บทวา ยเมต ในอุเทศวา \" ยเมต ปฺห อปจุ ฺฉ\"ิ คือปญญา สติ และนามรูป. บทวา อปจุ ฉฺ ิ คือ มาถาม มาวิงวอน เชือ้ เชิญใหประสาทแลว เพราะฉะนนั้ จึงชอ่ื วา ทา นไดถามปญ หาใดแลว . [๘๗] พระผมู ีพระภาคเจา ตรัสเรียกพราหมณนัน้ โดยชอื่ วา \" อชิ-ตะ\" ในอเุ ทศวา \"อชิต ต วทามิ เต.\" บทวา ต คือ ปญญา สติและนามรูป. บทวา วทามิ ความวา เราจะกลาว จะบอก จะแสดงจะบญั ญัติ แตงตัง้ เปดเผย จาํ แนก ทาํ ใหตน้ื ประกาศปญ หานัน้เพราะฉะน้นั จึงชอ่ื วา ดูกอ นอชติ ะ เราจะกลาวปญหานนั้ แกทา น. [๘๘] อรปู ขนั ธ ๔ ช่อื วา นาม ในอุเทศวา \" ยตฺถ นามจฺรปู ฺจ อเสส อปุ รุชฌฺ ต.ิ \" มหาภูตรูป ๔ รูปอนั อาศยั มหาภูตรปู ๔ชอื่ วา รูป. คาํ วา อเสส ความวา ไมเหลอื คือทงั้ หมด โดยกําหนดทั้งหมด ทัง้ หมดโดยประการทั้งหมด ไมเหลือ ไมมีสว นเหลือ. คําวาอเสส น้ี เปนเคร่อื งกลาวรวมหมด. คาํ วา อปุ รุชฺฌติ ความวา ยอ มดบัคือสงบ ถงึ ความตงั้ อยไู มได ยอมระงบั ไป เพราะฉะน้นั จึงช่อื วา นาม-รปู ยอ มดบั ไมเหลือ ณ ท่ีใด. [๘๙] คาํ วา นามรูปน้นั ดบั ณ ทนี่ ั้น เพราะความดบั แหงวญิ ญาณความวา ธรรมเหลาใด คอื นามและรปู พึงเกดิ ขึ้นในสงสารมสี ว นเบ้ืองหนา และที่สุดอนั รไู มไ ด เวน ภพ ๗ ธรรมเหลา น้ันยอมดับ คอื ยอมสงบ ถึงความตัง้ อยูไมได ระงบั ไป ณ ทน่ี น้ั เพราะความดับแหง วญิ ญาณอนั สัมปยตุ ดวยอภสิ ังขารธรรม ดวยโสดาปต ตมิ รรคญาณ.
พระสตุ ตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย จูฬนเิ ทส เลม ๖ - หนาท่ี 27 ธรรมเหลาใด คือ นามและรปู พึงเกดิ ขน้ึ ในภพ ๕ เวนภพ ๒ธรรมเหลา นัน้ ยอมดับ คือ ยอ มสงบ ถึงความตง้ั อยูไมได ระงบั ไปณ ท่ีนน้ั เพราะความดับแหงวญิ ญาณอนั สมั ปยุตดวยอภิสงั ขารธรรม ดว ยสกทาคามิมรรคญาณ. ธรรมเหลาใด คอื นามและรปู พึงเกดิ ขึ้นในกามธาตุ รูปธาตุหรืออรปู ธาตุ เวน ภพ ๑ ธรรมเหลาน้ันยอมดับ คอื ยอมสงบ ถึงความตั้งอยไู มได ระงับไป ณ ท่ีนน้ั เพราะความดับแหง วิญญาณอนั สัมปยตุดว ยอภสิ งั ขารธรรม ดวยอนาคามมิ รรคญาณ. ธรรมเหลา ใด คือ นามและรปู พึงเกดิ ขน้ึ ธรรมเหลา นั้นยอมดบัคอื ยอมสงบ ถึงความตงั้ อยไู มไ ด ระงบั ไป ณ ท่นี ้ัน เพราะความดับแหงวญิ ญาณอนั สมั ปยุตดว ยอภิสงั ขารธรรม ดวยอรหัตมรรคญาณ เมอื่ พระ-อรหนั ตป รนิ ิพพาน ดวยปรินพิ พานธาตอุ ันเปน อนปุ าทเิ สส ธรรมเหลาน้ีคอื ปญ ญา สตแิ ละนามรูป ยอมดบั คอื ยอมสงบ ยอ มถึงความตง้ั อยไู มไ ดยอ มระงับไป ณ ท่ีนั้น เพราะความดบั แหงวญิ ญาณดวงสดุ ทาย๑ เพราะฉะนน้ัจงึ ชื่อวา นามรปู นนั้ ยอ มดบั ณ ท่ีนน้ั เพราะความดับแหง วญิ ญาณ. เพราะเหตนุ ้นั พระผมู ีพระภาคเจาจงึ ตรสั วา ดกู อ นอชิตะ ทานไดถ ามปญ หาขอใดแลว เราจะ แกป ญ หาขอนน้ั แกทา น นามและรปู ดบั ไมม ีสวนเหลอื ณ ท่ใี ด นามรูปนัน้ กด็ บั ณ ทน่ี ้นั เพราะความดับแหง วญิ ญาณ.๑. บาลีไทยเปนปรุ ิมวิ ฺญาณสฺส วญิ ญาณดวงกอน อรรถกถาเปนจริมวิฺญาณสฺส ไดแ กวิญญาณดวงสุดทาย แปลตามอรรถกถา เพราะตรงตามสภาวะ.
พระสุตตนั ตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย จูฬนเิ ทส เลม ๖ - หนาที่ 28 [๙๐] (ทานอชติ ะทูลถามวา ) พระอรหนั ตขณี าสพเหลา ใดผมู สี ังขาตธรรม และ พระเสขบุคคลเหลา ใดในทีน่ ม้ี มี าก ขาแตพ ระองคผ ู นิรทกุ ข ขาพระองคทูลถามแลว ขอพระองคผมู ปี ญ ญา ไดโปรดตรสั บอกความดําเนินของพระขีณาสพและเสข- บุคคลเหลา นั้นแกข า พระองคเ ถิด. [๙๑] คําวา \"เย จ สงขฺ าตธมฺมา เส\" ความวา พระอรหนั ต-ขีณาสพ ทานกลา ววามสี ังขาตธรรม เพราะเหตุไร พระอรหันตขณี าสพทานจงึ กลา ววา มีสังขาตธรรม เพราะเหตวุ า พระอรหนั ตขณี าสพเหลา น้นัมีธรรมอนั นับแลว คอื มธี รรมอันรแู ลว มธี รรมอันพินิจแลว มธี รรมอันพจิ ารณาแลว มธี รรมอันเปนแจง แลว มธี รรมอันแจมแจง แลว คอืมธี รรมอันนับแลว วา สงั ขารท้งั ปวงไมเทย่ี ง ... สงั ขารท้ังปวงเปนทกุ ข ...ธรรมท้ังปวงเปน อนตั ตา ... เพราะอวชิ ชาเปนปจ จัย จึงมีสังขาร ฯ ลฯสิง่ ใดสงิ่ หนง่ึ มีความเกิดขึ้นเปนธรรมดา ส่ิงนนั้ ทั้งมวลลว นมีความดับไปเปน ธรรมดา. อนึ่ง ขันธ ธาตุ อายตนะ คติ อุบตั ิ ปฏิสนธิ ภพ สงสารวัฏฏะ อันพระอรหนั ตขีณาสพเหลา นัน้ นบั พรอมแลว อนง่ึ พระอรหนั ต-ขีณาสพเหลา นนั้ ต้ังอยูแลวในทีส่ ดุ แหง ขันธ ในทส่ี ุดแหงธาตุ ในที่สุดแหงอายตนะ ในท่ีสุดแหงคติ ในท่ีสดุ แหงอุบัติ ในทีส่ ุดแหง ปฏสิ นธิในท่สี ุดแหง ภพ ในท่สี ดุ แหงสงสาร ในที่สุดแหง วฏั ฏะ ตงั้ อยูในภพอันมใี นที่สดุ ต้ังอยูในอตั ภาพอนั มใี นท่ีสุด เปน พระอรหนั ตผ ทู รงไวซ งึ่กายอันมใี นทสี่ ุด.
พระสุตตนั ตปฎก ขุททกนิกาย จูฬนเิ ทส เลม ๖ - หนาท่ี 29 ภพและอตั ภาพ คือความเกิด ความตาย และสงสาร น้ขี องพระอรหันตขณี าสพเหลา น้นั มีเปนคร้งั สุดทา ย ทา น ไมม ีการเกิดในภพใหมอีก. เหตุนน้ั พระอรหันตขีณาสพ ทานจึงกลาววา มสี ังขาตธรรมเพราะฉะนัน้ จึงชอื่ วา พระอรหนั ตขณี าสพเหลาใด ผูมสี ังขาตธรรม. [๙๒] คาํ วา \"เสกฺขา\" ในอเุ ทศวา \"เย จ เสกขฺ า ปุถู อธิ \"ความวา เพราะเหตไุ ร จึงเรยี กวา พระเสขะ เพราะยังตอ งศกึ ษาตอ ไปศึกษาอะไร ศึกษาอธิศีลสิกขาบา ง อธจิ ิตตสิกขาบา ง อธปิ ญ ญาสกิ ขาบา ง. ก็ อธศิ ีลสกิ ขาเปนไฉน ภกิ ษุในธรรมวนิ ัยนี้ เปน ผมู ศี ลี สํารวมในปาตโิ มกขสังวร ถึงพรอมดวยอาจาระและโคจร มปี กติเห็นภยั ในโทษแมมีประมาณนอย สมาทานศึกษาอยใู นสิกขาบททงั้ หลาย ศีลขันธแมเล็กศีลขนั ธแมใหญ ศีลเปนที่พ่ึง เปน เคร่ืองกัน้ เปนความสาํ รวม เปนความระวงั เปน ประมขุ เปนประธานแหง ความถึงพรอ มแหง กุศลธรรมทั้งหลายนี้ชอื่ วา อธศิ ีลสิกขา. ก็ อธิจติ ตสิกขาเปนไฉน ภิกษุในธรรมวนิ ยั นี้ สงดั จากกาม สงัดจากอกศุ ลธรรม บรรลุปฐมฌาน มวี ิตก วิจาร มีปต ิและสุขเกิดแตว ิเวกอยู บรรลุทตุ ิฌาน ตติยฌาน จตตุ ถฌาน นีช้ ื่อวา อธิจิตตสกิ ขา. ก็ อธิปญญาสกิ ขาเปน ไฉน ภกิ ษใุ นธรรมวนิ ยั น้ี เปน ผมู ปี ญญาประกอบดวยปญ ญาเครอ่ื งพจิ ารณา เห็นความเกิดและความดบั เปนอริยะเปน เครอื่ งชาํ แรกกเิ ลส ใหถ ึงความส้ินทุกขโ ดยชอบ ภิกษยุ อ มรชู ัดตาม
พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนิกาย จฬู นเิ ทส เลม ๖ - หนาท่ี 30ความเปนจรงิ วา นี้ทกุ ข นที้ กุ ขสมทุ ยั น้ที ุกขนิโรธ นี้ทุกขนโิ รธคามนิ ี-ปฏิปทา เหลา นีอ้ าสวะ นี้เหตุใหเกดิ อาสวะ น้คี วามดบั อาสวะ นปี้ ฏปิ ทาเครื่องใหถ งึ ความดบั อาสวะ น้ีช่ือวา อธปิ ญ ญาสิกขา. พระเสขะท้งั หลาย คํานงึ ถงึ ไตรสกิ ขานศี้ ึกษาอยู รูศึกษาอยู อธิษ-ฐานจิตศึกษาอยู นอมใจไปดว ยศรัทธาศกึ ษาอยู ประคองความเพยี รศึกษาอยู ต้ังสติไวศ กึ ษาอยู ตัง้ จิตศกึ ษาอยู รูท ั่วดว ยปญ ญาศกึ ษาอยูรูยิง่ ซงึ่ ธรรมท่ีควรรยู ง่ิ ศกึ ษาอยู กําหนดรธู รรมที่ควรกําหนดรศู กึ ษาอยูละธรรมท่คี วรละศึกษาอยู เจรญิ ธรรมทค่ี วรเจรญิ ศึกษาอยู ทาํ ใหแ จงซง่ึ ธรรมทีค่ วรทาํ ใหแจงศกึ ษาอยู ประพฤตเิ อือ้ เฟอ ประพฤตเิ ต็มใจสมาทานประพฤตไิ ป เพราะเหตนุ น้ั จงึ เรยี กวา พระเสขะ. บทวา ปถุ ู ความวา มีมาก คือ พระเสขะเหลา นี้ ไดแก พระ-โสดาบัน ทา นผปู ฏบิ ัติเพ่อื โสดาปต ตผิ ล พระสกทาคามี ทานผปู ฏิบัติเพ่ือสกทาคามิผล พระอนาคามี ทานผปู ฏบิ ัตเิ พ่ืออนาคามผิ ล พระอรหันตและทานผปู ฏบิ ัตเิ พื่ออรหตั ผล. บทวา อิธ ในท่ีน้ี คือ ในทฏิ ฐินี้ ในความควรน้ี ในความชอบใจนี้ ในความถือน้ี ในวนิ ัยน้ี ในธรรมน้ีในธรรมวนิ ยั น้ี ในปาพจนน ้ี ในพรหมจรรยน้ี ในสตั ถศุ าสนน้ี ในอัตภาพน้ี ในมนุษยโลกนี้ เพราะฉะนนั้ จึงชื่อวา และพระเสขะทงั้ หลายในท่นี ี้มมี าก. [๙๓] อเุ ทศวา \"เตส เม นิปโก อริ ยิ ปฏุ โ ปพฺรหู ิ มารสิ \"ความวา แมพ ระองค มีปญญา เปนบัณฑติ มคี วามรู มคี วามตรัสรูมฌี าน มปี ญ ญาแจมแจง มปี ญญาทาํ ลายกเิ ลส อันขาพระองคทลู ถามแลวคือ ไตถ าม ทูลวงิ วอน ทูลอาราธนา ทูลเชอ้ื เชิญ ใหป ระสาทแลว
พระสตุ ตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย จูฬนิเทส เลม ๖ - หนา ท่ี 31ขอจงตรัส คอื จงบอก แสดงบญั ญัติ แตงตัง้ เปด เผย จําแนก ทาํ ใหต้นื ประกาศซงึ่ ความดาํ เนิน คอื ความประพฤติ ความเปนไป ความประพฤตโิ ดยเอ้ือเฟอ ธรรมอันเปนโคจร ธรรมเปน เครื่องอยู ขอปฏบิ ตั ิของพระอรหนั ตขณี าสพผมู สี ังขาตธรรมและพระเสขะเหลานัน้ . บทวามารสิ น้ี เปน เคร่อื งกลา วดวยความรัก เปน เครื่องกลา วโดยเคารพ เปนเคร่อื งกลา วเปน ไปกับดว ยความเคารพและความยําเกรง เพราะฉะนั้น จงึชอ่ื วา ขา แตพ ระองคผนู ิรทุกข ขาพระองคท ูลถามแลว ขอพระองคผูม ปี ญ ญาจงตรัสบอกถงึ ความดาํ เนนิ ของพระอรหันตขีณาสพ และพระ-เสขะเหลานนั้ แกข าพระองคเ ถดิ . เพราะเหตนุ ัน้ พราหมณน ้ันจงึ กลา ววา พระอรหันตขณี าสพเหลา ใดผูม สี ังขาตธรรม และ พระเสขบุคคลเหลา ใดในท่ีน้มี มี าก ขา แตพระองคผ ูน ริ - ทุกข ขา พระองคทลู ถามแลว ขอพระองคผ มู ปี ญ ญา จง ตรสั บอกความดําเนนิ ของพระอรหนั ตขณี าสพ และพระ- เสขบคุ คลเหลา นน้ั แกข า พระองคเ ถิด. [๙๔] (พระผมู พี ระภาคเจา ตรสั ตอบวา ) ดูกอ นอชติ ะ ภกิ ษไุ มพ ึงติดใจในกามทง้ั หลาย มใี จ ไมข ุนมัว ฉลาดในธรรมท้งั ปวง พึงมสี ติเวน รอบ. [๙๕] โดยอทุ านวา กามา ในอุเทศวา \"กาเมสุ นาภคิ ชิ ฺเฌยฺย\"ดังนี้ กามมี ๒ อยาง คอื วัตถุกาม ๑ กิเลสกาม ๑.
พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนิกาย จฬู นเิ ทส เลม ๖ - หนาท่ี 32 วตั ถถุ ามเปน ไฉน รูป เสยี ง กลิ่น รส โผฏฐพั พะ อันนา พอใจเครอ่ื งลาด เครอื่ งนงุ หม ทาสี ทาส แพะ แกะ สกุ ร ชา ง โค มาลา นา ทีด่ ิน เงนิ ทอง บา น นคิ ม ราชธานี แวนแควน ชนบทฉางขาว เรือนคลัง วตั ถุอันชวนใหกําหนดั อยา งใดอยา งหนง่ึ ชือ่ วาวัตถุกาม. อกี อยา งหน่ึง กามสวนอดตี กามสว นอนาคต กามสว นปจ จุบนักามภายใน กามภายนอก กามทัง้ ภายในภายนอก กามเลว กามปานกลางกามประณีต กามมใี นอบาย กามมใี นมนษุ ย กามอนั เปนทพิ ย กามที่ปรากฏ กามทีน่ ิรมติ เอง กามท่ผี ูอืน่ นริ มติ กามทีห่ วงแหน กามที่ไมหวงแหน กามที่ถือวาของเรา กามท่ีไมถ อื วา ของเรา กามาวจรธรรมทั้งปวง รปู าวจรธรรมทัง้ ปวง อรปู าวจรธรรมแมท ัง้ ปวง ธรรมอันเปนวัตถุแหงตณั หา ธรรมอนั เปนอารมณแหงตณั หา ชอ่ื วา กาม เพราะอรรถวา เปน ท่ีตงั้ แหง ความใคร เพราะอรรถวา เปน ที่ตัง้ แหง ความกาํ หนัด เพราะอรรถวา เปนที่ตัง้ แหงความมวั เมา เหลา นี้เรยี กวา วตั ถุกาม. กิเลสกามเปนไฉน ฉนั ทะ ราคะ ฉนั ทราคะ สงั กปั ปะ ราคะสังกัปปราคะ เปนกาม ความพอใจในกาม ความกาํ หนดั ในกาม ความเพลดิ เพลนิ ในกาม ตัณหาในกาม เสนหาในกาม ความกระหายในกามความเรา รอนในกาม ความติดใจในกาม ความหลงในกาม ความพวั พนัในกาม ในกามทั้งหลาย กามโอฆะ กามโยคะ กามุปาทาน กามฉนั ท-นวิ รณ ดกู อ นกาม เราไดเ ห็นรากเหงาของเจาแลว . ดูกอ นกาม เจา เกิดเพราะความดํารถิ ึง เราจกั ไมด าํ ริ ถงึ เจา ละ ดกู อ นกาม เจา จักไมม ีดว ยอาการอยางน.ี้
พระสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทกนิกาย จูฬนเิ ทส เลม ๖ - หนาที่ 33 เหลานเี้ รียกวา กเิ ลสกาม. ตณั หา ราคะ สาราคะ ฯ ล ฯ อภชิ ฌาโลภะ อกศุ ลมูล เรียกวา ความติดใจ. คาํ วา ไมต ดิ ใจในกามทั้งหลาย ความวา ไมต ิดใจ คือ ไมพัวพนัเปนผูไมตดิ ใจ ไมถงึ ความติดใจ ไมหลงใหล ไมพวั พนั ปราศจากความตดิ ใจ สละความตดิ ใจ คายความตดิ ใจ ปลอ ยความติดใจ ละความติดใจ สลดั ความติดใจ ปราศจากความกาํ หนัด สละความกําหนัด คายความกําหนดั ปลอ ยความกําหนัด ละความกําหนัด สลัดความกาํ หนดัในกเิ ลสกามท้ังหลาย ในวตั ถุกามทงั้ หลาย เปนผูไมห ิว ดบั สนทิ เยน็ แลวเปนผเู สวยสุข มตี นอันประเสริฐอยู เพราะฉะน้ัน จึงชื่อวา ไมติดใจในกามทงั้ หลาย. [๙๖] จิต มนะ มานัส หทัย ธรรมชาติขาวผอง อายตนะคือใจ อินทรียค ือใจ วิญญาณ วิญญาณขนั ธ มโนวญิ ญาณธาตุ ช่ือวาใจ ในอุเทศวา \"มนสานาวิโล สิยา\" จติ เปนธรรมชาตขิ นุ มัว ยุงไปเปนไป สบื ตอ หวัน่ ไหว หมุนไป ไมสงบ เพราะกายทจุ ริต วจที ุจริตมโนทจุ ริต ราคะ โทสะ โมหะ โกธะ อปุ นาหะ มกั ขะ ปลาสะอิสสา มจั ฉริยะ มายา สาเถยยะ ถมั ภะ สารมั ภะ มานะ อติมานะ มทะปมาทะ จติ เปน ธรรมชาตขิ ุน มัว ยุงไป เปน ไป สบื ตอ ไป หว่ันไหวหมุนไป ไมส งบ เพราะกเิ ลสทัง้ ปวง ทุจริตทัง้ ปวง ความกระวนกระวายทงั้ ปวง ความเรา รอนท้งั ปวง ความเดือดรอนทงั้ ปวง อกสุ ลาภสิ งั ขารท้งั ปวง. คาํ วา พงึ เปน ผูม ใี จไมขนุ มวั ความวา พึงเปนผูไมขุนมวั คอื ไมยุงไป ไมเปน ไป ไมสบื ตอ ไป ไมหวัน่ ไหว ไมหมนุ ไป สงบแลวดวยจิต
พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนิกาย จฬู นเิ ทส เลม ๖ - หนา ท่ี 34คอื พึงละ สละ บรรเทา กระทาํ ใหม ีในท่ีสุด ใหถึงความไมมีซ่งึ กเิ ลสท้งั หลาย อันทาํ ความขนุ มวั พึงเปนผงู ด เวน เวน ขาด ออกไป สลดัสงบ ระงับ หลดุ พน ไมเ กย่ี วขอ งกับกเิ ลสทง้ั หลาย อนั ทําความขนุ มัวพึงเปน ผูมีใจปราศจากเขตแดนอยู เพราะฉะนน้ั จงึ ชื่อวา พึงเปนผมู ใี จไมข ุนมวั อย.ู [๙๗] คําวา กสุ โล สพฺพธมฺมาน ความวา เปน ผฉู ลาดในธรรมทงั้ ปวงวา สังขารทัง้ ปวงไมเทีย่ ง ... สังขารทัง้ ปวงเปนทุกข ... ธรรมทัง้ ปวงเปนอนัตตา ... เพราะอวิชชาเปนปจจัย จึงมสี งั ขาร ฯ ล ฯ สิ่งใดส่งิ หน่งึ มคี วามเกิดขึน้ เปน ธรรมดา สิ่งน้ันทง้ั มวลลวนมคี วามดบั ไปเปนธรรมดา พึงเปน ผูฉลาดในธรรมท้งั ปวงแมด วยอาการอยางนี้. อีกอยางหน่งึ พึงเปนผูฉลาดในธรรมทัง้ ปวง โดยเปนสภาพทไ่ี มเทย่ี ง เปนทุกข เปน โรค เปน ดงั ฝ เปน ดงั ลกู ศร เปน ความลําบากเปนอาพาธ เปน อยางอ่ืน เปนสภาพชํารดุ เปน เสนียด เปนอุบาทวเปน สภาพไมส ําราญ เปนภยั เปน อปุ สรรค หว่ันไหว ผุพงั ไมยัง่ ยนืไมม ีอะไรตา นทาน ไมม ที ่ีเรน ไมม ีสรณะ ไมเปนท่พี ่ึง วา ง เปลา สูญเปน อนตั ตา มโี ทษ มีความแปรปรวนไปเปน ธรรมดา ไมเปนแกน สารเปนมูลแหงทุกข เปนผฆู า เปนสภาพปราศจากความเจรญิ มีอาสวะมปี จจัยปรงุ แตง เปนเหยอื่ แหง มาร มชี าตเิ ปนธรรมดา มชี ราเปนธรรมดามีพยาธิเปน ธรรมดา มีมรณะเปนธรรมดา มีโสกะ ปรเิ ทวะ ทุกข โทมนสัและอุปายาสเปน ธรรมดา มีความเศรา หมองเปนธรรมดา โดยความเกิดโดยความดับ ไมม คี ุณ มโี ทษ ไมมีอบุ ายเปน เครื่องออกไป พงึ เปนผฉู ลาดในธรรมท้ังปวงแมดวยอาการอยา งนี้.
พระสุตตนั ตปฎก ขทุ ทกนิกาย จูฬนเิ ทส เลม ๖ - หนา ท่ี 35 อกี อยา งหนง่ึ พงึ เปน ผฉู ลาดในขนั ธ ... ธาตุ ... อายตนะ ...ปฎจิ จสมปุ บาท ... สติปฏ ฐาน ... สัมมปั ปธาน ... อิทธบิ าท ... อนิ ทรยี ...พละ ... โพชฌงค ... มรรค ... ผล ... นิพพาน พงึ เปน ผฉู ลาดในธรรมทัง้ ปวงแมดว ยอาการอยา งน้.ี อีกอยา งหน่ึง อายตนะ ๑๒ คือ จกั ษุ รปู หู เสียง จมูก กล่นิล้ิน รส กาย โผฏฐัพพะ ใจ ธรรมารมณ เรียกวา ธรรมท้งั ปวง.กภ็ ิกษุเปน ผูละความกาํ หนดั ในอายตนะภายในภายนอก คอื ตัดรากขาดแลว ทาํ ไมใหมีที่ตง้ั เหมือนตาลยอดดวน ถึงความไมมใี นภายหลงั มีความไมเ กดิ ตอ ไปเปน ธรรมดา ดวยเหตุใด ภกิ ษพุ งึ เปนผูฉลาดในธรรมทั้งปวงแมด วยเหตุประมาณเทา นี้ เพราะฉะนน้ั จงึ ช่ือวา ฉลาดในธรรมทง้ั ปวง. [๙๘] บทวา สโต ในอุเทศวา \"สโต ภกิ ขุ ปรพิ ฺพเช\" ความวา ภกิ ษุมีสติดว ยเหตุ ๔ ประการ คอื มีสตเิ จรญิ กายานุปสสนาสติปฏ ฐานในกาย ๑ มีสติเจริญเวทนานุปสสนาสตปิ ฏ ฐานในเวทนาท้งั หลาย ๑ มสี ติเจริญจติ ตานุปสสนาสติปฏฐานในจติ ๑ มสี ตเิ จรญิ ธมั มานุปส สนาสติ-ปฏ ฐานในธรรมทั้งหลาย ๑. ภิกษุมสี ตดิ วยเหตุ ๔ ประการแมอ นื่ อีก คอื มสี ติเพราะเวน ความเปนผไู มม สี ติ ๑ เพราะทําธรรมเปน ทต่ี ัง้ แหงความทาํ สติ ๑ เพราะละธรรมเปน ขาศึกแกส ติ ๑ เพราะไมหลงลมื ธรรมอันเปน นมิ ิตแหงสติ ๑. ภกิ ษุมสี ติดว ยเหตุ ๔ ประการแมอ น่ื อกี คอื มีสตเิ พราะความเปนผูประกอบดว ยสติ ๑ เพราะถงึ ความชาํ นาญดว ยสติ ๑ เพราะความเปน ผูคลอ งแคลวดวยสติ ๑ เพราะไมก ลบั ปลงจากสติ ๑.
พระสตุ ตันตปฎ ก ขทุ ทกนกิ าย จฬู นิเทส เลม ๖ - หนา ท่ี 36 ภิกษมุ สี ตดิ ว ยเหตุ ๔ ประการแมอ ืน่ อกี คือ มีสติเพราะความเปนผมู ีสติเสมอ ๑ เพราะความเปน ผสู งบ ๑ เพราะความเปน ผรู ะงบั ๑เพราะความเปนผปู ระกอบดว ยธรรมของผูสงบ ๑. มีสตเิ พราะพุทธานสุ สติ เพราะธัมมานสุ สติ เพราะสังฆานสุ สติเพราะสีลานุสสติ เพราะจาคานุสสติ เพราะเทวตานสุ สติ เพราะอานา-ปานัสสติ เพราะมรณานุสสติ เพราะกายคตาสติ เพราะอปุ สมานุสสติสติ ฯ ล ฯ สมั มาสติ สตสิ มั โพชฌงค เอกายนมรรค นเ้ี รียกวา สติ ภิกษุเปนผูเขา ไป เขาไปพรอม เขามา เขามาพรอ ม เขาถึง เขา ถึงพรอมประกอบดวยสตนิ ้ี ภิกษนุ น้ั เรยี กวา มสี ต.ิ คาํ วา \"ภกิ ขุ\" คอื ชอ่ื วาภกิ ษุ เพราะเปน ผูท าํ ลายธรรม ๗ ประการคอื เปนผูทาํ ลายสกั กายทิฏฐิ วิจกิ ิจฉา สีลัพพตปรามาส ราคะ โทสะโมหะ มานะ ภกิ ษนุ นั้ เปน ผทู าํ ลายอกุศลธรรมอนั ลามก อนั ทําใหเศรา -หมอง ใหเ กดิ ในภพใหม มีความกระวนกระวาย มีวบิ ากเปน ทกุ ข เปนท่ีต้ังแหงชาติ ชรา และมรณะตอไป. (พระผูม พี ระภาคเจา จงึ ตรสั วา ดูกอน๑สภยิ ะ) ภกิ ษนุ นั้ บรรลุถงึ ปรนิ ิพพานแลว เพราะธรรมเปน หนทางทีต่ นทาํ (ดาํ เนนิ ) แลว ขา มพน ความสงสยั ได แลว ละแลวซ่ึงความเสอ่ื มและความเจรญิ อยูจบ พรหมจรรยแ ลว มีภพใหมสนิ้ แลว . คําวา ภกิ ษุพึงมีสติเวน รอบ ความวา ภกิ ษุพึงมีสตเิ วนรอบ คือพึงมสี ติเดิน พึงมีสติยืน พึงมีสตนิ ั่ง พงึ มีสตินอน พึงมสี ติกาวไปขา งหนา๑. ขุ. สุ. ๒๕/ขอ ๓๖๖.
พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนิกาย จูฬนเิ ทส เลม ๖ - หนาท่ี 37พึงมีสตถิ อยกลับ พงึ มสี ตแิ ลดู พึงมีสติเหลยี วดู พึงมีสติคเู ขา พึงมสี ติเหยยี ดออก พงึ มีสตทิ รงผาสงั ฆาฏิ บาตร และจีวร พึงมสี ตเิ ทยี่ วไป พงึมีสตอิ ยู คือ เปน ไป เปลี่ยนแปลง รกั ษา บํารุง เยียวยา ใหเ ยยี วยาเพราะเหตนุ ้นั จึงชอื่ วา ภิกษุพงึ มีสติเวนรอบ. เพราะเหตุนน้ั พระผมู ีพระภาคเจาจงึ ตรสั วา ภกิ ษุไมพ ึงตดิ ใจในกามทั้งหลาย มใี จไมขุนมวั ฉลาดในธรรมทั้งปวง พึงมสี ติเวน รอบ. [๙๙] พรอ มดว ยเวลาจบพระคาถา ธรรมจกั ษุ (โสดาปตติมรรค)ปราศจากธุลี ปราศจากมลทนิ เกิดขึ้นแลวแกเทวดาและมนุษยห ลายพันผูมีฉันทะรวมกัน มีประโยครว มกัน มีความประสงคร วมกนั มีความอบรมวาสนารว มกัน กับอชติ พราหมณน้ันวา ส่ิงใดส่งิ หนง่ึ มีความเกิดขึ้นเปน ธรรมดา ส่งิ น้ันท้งั มวลลว นมีความดบั ไปเปนธรรมดา และจติ ของอชติ พราหมณน ัน้ พนแลว จากอาสวะทั้งหลายเพราะไมถอื มนั่ หนงั เสอืชฎา ผาคากรอง ไมเทา ลกั จน่ั นํา้ ผม และหนวดของอชิตพราหมณหายไปแลว พรอมดวยการบรรลุอรหัต. อชิตพราหมณนนั้ เปน ภิกษุครองผากาสายะเปน บรขิ าร ทรงสงั ฆาฏิ บาตร และจวี ร เพราะการปฏิบัติตามประโยชน นัง่ ประนมอญั ชลนี มสั การพระผูม ีพระภาคเจา ประกาศวาขาแตพระองคผ ูเ จรญิ พระผมู พี ระภาคเจา เปนศาสดาของขาพระองค ขาพระองคเ ปนสาวก ดังน้.ี จบอชิตมาณวกปญ หานิทเทสที่ ๑
พระสุตตันตปฎ ก ขุททกนกิ าย จูฬนเิ ทส เลม ๖ - หนาที่ 38 สทั ธมั มปช โชติกา อรรถกถาขทุ ทกนิกาย จฬู นทิ เทส อรรถกถาปารายนวรรค อรรถกถาอชิตมาณวกปญ หานทิ เทสที่ ๑ พงึ ทราบวินิจฉัยในอชติ สตุ ตนทิ เทส๑ท่ี ๑ แหง ปารายนวรรค ดงัตอไปน้ี. อชติ มาณพไดทูลถามปญ หาวา โลกอนั อะไรหุมหอ ไว โลกไมป รากฏ เพราะเหตุ อะไร อะไรเลา เปน เครอื่ งฉาบทาโลกนัน้ ขอพระองคจง ตรสั บอก อะไรเลา เปน ภยั ใหญข องโลกนนั้ . เราจะเวนบททีก่ ลาวแลวในปญหาท่ี ๑ ท่ีอชติ มาณพทลู ถามในปญหาทส่ี งู ข้นึ ไป และในนทิ เทสท้ังหลาย และบททงี่ าย จักกลาวเฉพาะความตางกันเทา น้นั . ในบทเหลานัน้ บทวา นิวุโต คือหุม หอ ไว. บทวา กสิ สฺ าภเิ ลปนพรฺ ูสิ คอื อะไรเลา เปน เคร่ืองฉาบทาโลก ขอพระองคจงตรัสบอก. บทวาอาวุโต คือ ปกปด. บทวา โอผโุ ฏ ปดบงั คือปดเบ้อื งลา ง. บทวาปหโิ ต ปกคลมุ คือคลุมสวนบน. บทวา ปฏิจฉฺ นฺโน หุม หอ คอื ไม๑. ในปารายนวรรกนี้ อรรถกถาใชคําวา สุตตนทิ เทส แทนปญหานทิ เทสทง้ั ๑๖ ปญหา เพราะอธบิ ายพระสตู รในสตุ ตนิบาต ขุ. สุ. ๒๕/ขอ ๔๒๕ - ๔๔๓.
พระสตุ ตันตปฎก ขทุ ทกนกิ าย จูฬนิเทส เลม ๖ - หนา ท่ี 39เปด ออก. บทวา ปฏิกุชฺชิโต ครอบไว คอื ครอบใหมหี นา คว่ําลง.บทวา นปปฺ กาสติ คอื ไมปรากฏ. บทวา นปฺปภาสติ ไมส วา ง คือไมทาํ ความสวางดว ยญาณ. บทวา น ตปติ ไมรุง เรอื ง คอื ไมท ําความรงุ เรืองดวยญาณ. บทวา น วโิ รจติ ไมไ พโรจน คอื ไมทาํ ความไพโรจนดวยญาณ. บทวา น สฺายติ คือ ไมแ จม. บทวา น ปฺายติคอื ไมกระจา ง. บทวา เกน ลิตฺโต คอื อะไรเลาเปนเคร่ืองฉาบทา.เพ่มิ อปุ สัคเปน ปลติ ฺโต อปุ ลติ โฺ ต คอื ฉาบทาทั่ว เขาไปฉาบทา. พงึเห็นความอยา งนีว้ า ขอพระองคจ งตรสั บอกดวยอเุ ทศ(ยกหัวขอข้นึ แสดง)จงทรงแสดงดวยนิเทศ (การจําแนกแสดง) ทรงบัญญตั ิดวยปฏนิ ิเทศ(การรวมแสดง) เมื่อรูอ รรถโดยประการน้ัน ๆ จงทรงแตง ตั้ง เมอ่ืแสดงเหตแุ หง มรรคน้ัน ๆ จงทรงเปดเผย เมอ่ื แสดงความเปนพยัญชนะจงทรงจําแนก เมื่อนาํ ออกเสยี ไดซ่งึ ความครอบไวและความลกึ ซึง้ แลวใหเกิดทด่ี ังของญาณทางหู จงทรงทําใหต ้นื เมอื่ กาํ จดั ความมดื คอื ความไมร ทู างหดู ว ยอาการเหลา น้นั แมท ั้งหมด จงทรงประกาศดงั น้ี. บทวา เววิจฉฺ า นปปฺ กาสติ โลกไมปรากฏเพราะความตระหนี่คือไมปรากฏเพราะความตระหน่เี ปน เหตุ และเพราะความประมาทเปนเหตุ. จริงอยู ความตระหนี่ ยอ มไมใหเพือ่ ประกาศคุณทั้งหลายมีทานเปนตนแกเขา และความประมาทมวั เมายอมไมใหเ พ่ือประกาศคุณทั้งหลายมีศลี เปนตน. บทวา ชปปฺ าภิเลปน ตัณหาเปน เครื่องฉาบทาโลกนน้ั ไวดจุ ตงั ดักลิง เปนเคร่ืองฉาบทาของลงิ ฉะนน้ั . บทวา ทกุ ฺข ไดแ ก ทกุ ขมีชาตเิ ปนตน . บทวา เยส ธมฺมาน ไดแก ธรรมมรี ูปเปนตนเหลาใด.บทวา อาทโิ ต สมุทาคมน ปฺ ายติ คือ ความเกดิ ข้นึ ยอ มปรากฏ
พระสตุ ตนั ตปฎก ขทุ ทกนกิ าย จูฬนิเทส เลม ๖ - หนาท่ี 40ตง้ั แตข ณะแรก (อปุ าทขณะ ). บทวา อตฺถงฺคมโต นิโรโธ คือ เมื่อแตกดับ ความดบั ยอ มปรากฏ. บทวา กมมฺ นิสสฺ โิ ต วปิ าโก วิบากอาศัยกรรม คือกศุ ลวบิ ากและอกุศลวิบาก ทา นเรยี กวา วบิ ากอาศยั กรรมเพราะไมล ะกรรมเปน ไป. บทวา วิปากนสิ ฺสิต กมฺม กรรมอาศยั วบิ ากคือกุศลกรรมและอกุศลกรรม ทา นเรียกวา กรรมอาศัยวิบาก เพราะกระทําโอกาสแกวิบากตง้ั อย.ู บทวา นามนิสสฺ ิต รปู รูปอาศัยนามคอื รปู ในปญจโวการภพ (ภพที่มขี นั ธ ๕ ) ทานเรยี กวา รปู อาศยั นามเพราะไมละนามเปนไป. บทวา รูปนสิ สฺ ิต นาม นามอาศัยรูป คอืนามในปญ จโวการภพ ทา นเรียกวา นามอาศยั รปู เพราะไมละรปู เปนไป. บทวา สวนฺติ สพฺพธิ โสตา กระแสทัง้ หลายยอมไหลไปในอายตนะท้ังปวง คอื กระแสทัง้ หลายมีตัณหาเปน ตน ยอ มไหลไปในอายตนะมีรปู เปนตน ทง้ั ปวง. บทวา โสตาน กึ นิวารณ คอื อะไรเปน เคร่ืองก้นั อะไรเปน เคร่ืองรกั ษากระแสเหลานั้น. บทวา ส วร พฺรูหิ ขอพระองคจ งตรสั บอกธรรมเปน เครือ่ งก้นั กระแสทง้ั หลายเหลานั้น. อชิต-มาณพทูลถามถึงการละธรรมทีเ่ ปนเครือ่ งกัน้ กระแสท่ีเหลือดวยบทนี.้ บทวา เกน โสตา ปถ ยิ ยฺ เร กระแสทงั้ หลายอนั อะไรปดก้นั ไว คือกระแสเหลา นนั้ อนั ธรรมอะไรปดกน้ั ไว คอื ตดั ขาด. ดวยบทนี้ อชติ มาณพทลูถามถึงการละกระแสทไี่ มเ หลอื . บทวา สวนตฺ ิ ยอ มไหลไป คือยอมเกิดขนึ้ . บทวา อาสวนตฺ ิ ยอมไหลหลั่ง คือไหลลงเบ้อื งตํา่ . บทวาสนฺทนฺติ ยอ มเลื่อนไป คอื ไหลไปไมม ีสน้ิ สดุ . บทวา ปวตตฺ นฺติ ยอมเปนไป คือเปนไปบอย ๆ. บทวา สติ เตส นิวารณ สตเิ ปน เครอื่ งกัน้ กระแสเหลา น้นั คอื
พระสุตตนั ตปฎก ขุททกนกิ าย จูฬนเิ ทส เลม ๖ - หนา ที่ 41สตอิ าศยั เสมอ ๆ ซง่ึ คติแหง กศุ ลธรรมและอกศุ ลธรรมท้งั หลายอนั ประกอบดว ยวปิ ส สนา เปน เครอ่ื งกั้นกระแสเหลา นนั้ . บทวา โสตาน ส วร พฺรูมิเรากลาวธรรมเปน เครอ่ื งกัน้ กระแสทัง้ หลาย อธิบายวา เรากลา วสตนิ ั่นแลวาเปน ธรรมเครือ่ งกน้ั กระแสทั้งหลาย. บทวา ปฺ าเยเต ปถิยยฺ เรกระแสเหลาน้นั อันปญญายอมปดก้ันไว คือกระแสเหลา นอ้ี นั มรรคปญญาท่ีสําเร็จดวยการแทงตลอดความเปน ของไมเ ท่ยี งในรูปเปน ตน ปด กน้ั ไวโดยประการทง้ั ปวง. บทวา ปจฉฺ ชิ ชฺ นตฺ ิ คือ ตดั ขาด. บทวา สมุทยฺจความเกิด คือปจ จยั . บทวา อตฺถงคฺ มจฺ ความดับ คอื เมอื่ เกิดขน้ึ แลวก็ถึงความไมม ี หรือเมือ่ ยงั ไมเ กิดขึ้นกไ็ มเกดิ . บทวา อสฺสาท ความพอใจ คืออานสิ งส. บทวา อาทนี ฺจ คอื โทษ. บทวา นิสฺสรณจฺคือ อุบายเปนเคร่อื งออกไป. พึงทราบความแหง คาถาท่ีเปน ปญ หาวา ปฺาเจว ดังนเ้ี ปน ตนตอ ไป. พึงทราบความสังเขปอยา งนี้วา ปญ ญา สติ และนามรูป ตามท่ีพระองคต รัสไวแ ลวทัง้ หมดน้ัน ยอมดับไป ณ ที่ไหน. ขอพระองคจ งตรสับอกปญหาทีข่ า พระองคท ลู ถามเถดิ . บทวา กตฺเถต นิรชุ ฌฺ ติ คือ นาม-รปู น้นั ดบั ณ ทไี่ หน. บทวา วปู สมติ คอื ยอมดบั . บทวา อตถฺ งคฺ จฺฉติยอมถงึ ความต้งั อยูไมได คอื ถึงความไมม .ี บทวา ปฏปิ สสฺ มฺภติ ยอ มระงับ คอื ยอมสงบ. อนง่ึ พึงทราบคาถาวสิ ชั นาปญ หาของอชิตมาณพนัน้ ตอไป. เพราะปญ ญาและสตสิ งเคราะหเ ขาเปนนามเทานัน้ ฉะนัน้ จะไมกลาวถึงปญ ญาและสติไวต า งหาก. ความยอในบทวิสัชนานมี้ ดี งั น้ี. ดกู อ นอชติ ะ ทา นไดถามปญหาขอใดกะเราวา นามรปู น้ันยอ มดบั ณ ท่ไี หน เพราะเหตุนน้ั
พระสตุ ตันตปฎ ก ขุททกนกิ าย จฬู นเิ ทส เลม ๖ - หนาท่ี 42เราจะบอกปญ หาน้ันกะทานวา นามและรูปใดดบั ไมมีสว นเหลือ ณ ที่ใดนามและรปู น้นั ก็ดบั ณ ท่นี น้ั พรอมกบั ความดับแหงวญิ ญาณนั้น ๆ นัน่ เองไมกอนไมห ลงั คือยอมดับในเพราะวิญญาณดบั นเี้ อง เพราะวิญญาณดับในภายหลังอยา งนี้ นามและรปู นนั้ จึงเปนอันดบั ไปดวย. ทานอธบิ ายวานามและรูปนน้ั ไมเ ลยไป. บทวา โสตาปตตฺ ิมคคฺ าเณน อภสิ งฺขาร-วิ ฺาณสสฺ นโิ รเธน เพราะความดับแหงวิญญาณอันสมั ปยุตดว ยอภ-ิสงั ขารดวยโสดาปต ติมรรคญาณ คือเพราะความดับจติ ทส่ี ัมปยุตดวยกศุ ลและอกศุ ลเจตนา ดว ยอาํ นาจการเกดิ ขน้ึ อนั ไมสมควรเสียได ดวยปญญาอนั สมั ปยตุ ดวยโสดาปต ตมิ รรค. ในบทน้นั นโิ รธ มี ๒ อยา ง คอื อนปุ าทินนกนิโรธ ๑ อุปา-ทินนกนโิ รธ ๑ จิต ๕ ดวง คอื จิตท่ีสมั ปยตุ ดวยทิฏฐิ ๔ ดวง จิตทสี่ หรคตดวยวิจกิ ิจฉา ๑ ดวง ยอ มดับไปดวย โสดาปตตมิ รรค. จติ เหลา นั้นใหรปูเกิดขนึ้ . รูปนั้นเปนรปู ขนั ธท่ีไมมีใจครอง. จติ เหลา นั้นเปน วิญญาณขันธ.เวทนา สญั ญา สงั ขาร ทส่ี ัมปยตุ กับวญิ ญาณขนั ธน ้ันเปน อรูปขันธ ๓. ในอรปู ขนั ธนน้ั หากพระโสดาบนั ไมไดอ บรมโสดาปต ตมิ รรคแลวไซร จิต๕ ดวงเหลา นน้ั พงึ ถึงความแผซานไปในอารมณ ๖. แตโ สดาปต ตมิ รรคหามความเกดิ แหงความแผซา นไปของจิตเหลานัน้ กระทําการเพกิ ถอนซง่ึความเกดิ อนั ไมสมควรเสีย ดวยอรยิ มรรค ชื่อวา อนปุ าทนิ นกนิโรธดบั อนุปาทนิ นกะ. จติ ๖ ดวง ดว ยอํานาจแหงกามราคะและพยาบาทอันหยาบ คือจิต
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 517
- 518
- 519
- 520
- 521
- 522
- 523
- 524
- 525
- 526
- 527
- 528
- 529
- 530
- 531
- 532
- 533
- 534
- 535
- 536
- 537
- 538
- 539
- 540
- 541
- 542
- 543
- 544
- 545
- 546
- 547
- 548
- 549
- 550
- 551
- 552
- 553
- 554
- 555
- 556
- 557
- 558
- 559
- 560
- 561
- 562
- 563
- 564
- 565
- 566
- 567
- 568
- 569
- 570
- 571
- 572
- 573
- 574
- 575
- 576
- 577
- 578
- 579
- 580
- 581
- 582
- 583
- 584
- 585
- 586
- 587
- 588
- 589
- 590
- 591
- 592
- 593
- 594
- 595
- 596
- 597
- 598
- 599
- 600
- 601
- 602
- 603
- 604
- 605
- 606
- 607
- 608
- 609
- 610
- 611
- 612
- 613
- 614
- 615
- 616
- 617
- 618
- 619
- 620
- 621
- 622
- 623
- 624
- 625
- 626
- 627
- 628
- 629
- 630
- 631
- 632
- 633
- 634
- 635
- 636
- 637
- 638
- 639
- 640
- 641
- 642
- 643
- 644
- 645
- 646
- 647
- 648
- 649
- 650
- 651
- 652
- 653
- 654
- 655
- 656
- 657
- 658
- 659
- 660
- 661
- 662
- 663
- 664
- 665
- 666
- 667
- 668
- 669
- 670
- 671
- 672
- 673
- 674
- 675
- 676
- 677
- 678
- 679
- 680
- 681
- 682
- 683
- 684
- 685
- 686
- 687
- 688
- 689
- 690
- 691
- 692
- 693
- 694
- 695
- 696
- 697
- 698
- 699
- 700
- 701
- 702
- 703
- 704
- 705
- 706
- 707
- 708
- 709
- 710
- 711
- 712
- 713
- 714
- 715
- 716
- 717
- 718
- 719
- 720
- 721
- 722
- 723
- 724
- 725
- 726
- 727
- 728
- 729
- 730
- 731
- 732
- 733
- 734
- 735
- 736
- 737
- 738
- 739
- 740
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 550
- 551 - 600
- 601 - 650
- 651 - 700
- 701 - 740
Pages: