พระอภิธรรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 1 พระอภธิ รรมปฎ ก เลมท่ี ๗ ปฏ ฐาน ภาคท่ี ๔๑ ขอนอบนอมแดพ ระผูมีพระภาคอรหันตสมั มาสมั พุทธเจา พระองคน้นั อนุโลมทกุ ปฏฐาน ๑. เหตโุ คจฉกะ ๑. เหตุทกุ ะ ปฏิจจวาระ อนุโลมนยั ๑. เหตปุ จจยั [๑] ๑. เหตธุ รรม อาศยั เหตธุ รรม เกิดขนึ้ เพราะเหตปุ จจยั คอื อโทสะ อโมหะ อาศยั อโลภะ, อโลภะ อโมหะ อาศัยอโทสะ,อโลภะ อโทสะ อาศัยอโมหะ โมหะ อาศยั โลภะ, โลภะ อาศัยโมหะ,โมหะ อาศยั โทสะ, โทสะ อาศัยโมหะ. ในปฏิสนธขิ ณะ ฯลฯ ๒. นเหตธุ รรม อาศยั เหตุ ธรรม เกดิ ขึน้ เพราะเหตุปจ จัย๑. บาลเี ลม ๔๒.
พระอภธิ รรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 2 คือ สัมปยุตตขันธท ้ังหลาย และจติ ตสมุฏฐานรูป อาศัยเหตุธรรม. ในปฏสิ นธิขณะ ฯลฯ ๓. เหตธุ รรม และนเหตุธรรม อาศัยเหตธุ รรม เกดิ ข้นึเพราะเหตปุ จจัย คือ อโทสะ อโมหะ, สัมปยตุ ตขันธท ้ังหลาย และจติ ตสมุฏฐานรปูอาศัยอโลภะ. พงึ ผูกจกั รนัย. โมหะ, สัมปยตุ ตขนั ธท ัง้ หลาย และจติ ตสมุฏฐานรูป อาศัยโลภะ ฯลฯ.ในปฏิสนธขิ ณะ ฯลฯ ๔. นเหตธุ รรม อาศยั นเหตุธรรม เกิดขึน้ เพราะเหตุปจ จยั คือ ขนั ธ ๓ และจติ ตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ ๑ ที่เปน นเหตุธรรม ฯลฯขนั ธ ๒ และจติ ตสมฏุ ฐานรูป อาศัยขันธ ๒. ในปฏสิ นธิ หทยั วตั ถุ อาศัยขันธทั้งหลาย, ขันธท ้ังหลาย อาศัยหทยวัตถ.ุ ฯลฯ อาศยั มหาภตู รปู ๑ ฯลฯ ๕. เหตธุ รรม อาศยั นเหตุธรรม เกิดขนึ้ เพราะเหตุปจจยั คือ เหตธุ รรมท้งั หลาย อาศัยขนั ธทัง้ หลาย ทเ่ี ปน นเหตุธรรม. ในปฏสิ นธขิ ณะ เหตุธรรมท้งั หลาย อาศัยหทัยวัตถุ.
พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 3 ๖. เหตุธรรม และนเหตธุ รรม อาศยั นเหตธุ รรม เกิดข้นึเพราะเหตุปจจยั คือ ขันธ ๓, เหตธุ รรม และจติ ตสมุฏฐานรูป อาศยั ขันธ ๑ ท่เี ปนนเหตุธรรม ฯลฯ ขนั ธ ๒, เหตธุ รรม และจิตตสมุฏฐานรปู อาศัยขนั ธ ๒. ในปฏิสนธิขณะ เหตุธรรม และสมั ปยตุ ตขันธท้งั หลาย อาศยั หทยวัตถุ ๗. เหตุธรรม อาศัยเหตธุ รรม และนเหตธุ รรม เกดิ ขึน้เพราะเหตปุ จจัย คอื อโทสะ อโมหะ อาศัยอโลภะ และสัมปยุตตขันธทงั้ หลาย. พงึ ผกู จกั รนยั . โมหะ อาศัยโลภะ และสมั ปยตุ ตขันธท้งั หลาย, โมหะ อาศยั โทสะและสัมปยตุ ตขันธท ้ังหลาย. ในปฏสิ นธขิ ณะ อโทสะ อโมหะ อาศยั อโลภะ และหทยวตั ถุ ฯลฯ. ๘. นเหตธุ รรม อาศัยเหตุธรรม และนเหตธุ รรม เกิดข้ึนเพราะเหตุปจ จัย คือ ขนั ธ ๓ และจิตตสมฏุ ฐานรปู อาศยั ขันธ ๑ ที่เปนนเหตุธรรมและเหตธุ รรม ฯลฯ ขนั ธ ๒ และจิตตสมฏุ ฐานรปู อาศัยขันธ ๒ และเหตุธรรม. ในปฏสิ นธิขณะ สมั ปยตุ ตขนั ธท ง้ั หลาย อาศยั หทัยวัตถแุ ละเหตธุ รรม. ๙. เหตธุ รรม และนเหตธุ รรม อาศัยเหตธุ รรม และนเหตธุ รรม เกดิ ข้นึ เพราะเหตปุ จจัย
พระอภธิ รรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 4 คือ ขนั ธ ๓, อโทสะ, อโมหะ และจติ ตสมุฏฐานรปู อาศัยขนั ธ ๑ทีเ่ ปนนเหตุธรรม และอโลภะ ฯลฯ ขนั ธ ๒, อโทสะ, อโมหะ และจติ ตสมุฏ-ฐานรูป อาศยั ขนั ธ ๒ และอโลภะ. พึงผูกจักรนัย. ขันธ ๓, โมหะ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศยั ขันธ ๑ ท่ีเปน นเหตุธรรมและโสภะ ฯลฯ ขนั ธ ๒ ฯลฯ. ในปฏิสนธิขณะ อโทสะ, อโมหะ และสมั ปยตุ ตขนั ธท ัง้ หลาย อาศยัหทยวตั ถุ และอโลภะ ฯลฯ. ๒. อารมั มณปจจัย [๒] ๑. เหตธุ รรม อาศยั เหตุธรรม เกิดขน้ึ เพราะอารมั มณ-ปจจยั ท้ิงรปู ภูมเิ สยี พงึ กระทาํ เปน ๙ วาระ ในอรปู ภูมเิ ทา นน้ั . ๓. อธิปติปจจยั เพราะอุปตปิ จ จัย ปฏิสนธิไมม ี พงึ กระทําใหบ ริบูรณ. ฯลฯ อาศยั มหาภูตรปู ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรปู ที่เปน อปุ าทารูป อาศยัมหาภตู รูปทง้ั หลาย. นเี้ ปนขอท่ีตา งกัน.
พระอภิธรรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 5 ๔. อนันตรปจ จัย ฯลฯ ๖.สหชาตปจจัย เพราะอนันตรปจ จยั เพราะสมนันตรปจ จัย เพราะสหชาต-ปจ จยั มมี หาภูตรูปทั้งหมดตลอดถงึ อสัญญสตั ว. ๗. อัญญมัญญปจ จัย ฯลฯ ๑๓. วิปากปจจยั เพราะอญั ญมัญญปจ จัย เพราะนสิ สยปจจยั เพราะอุปนสิ สย-ปจ จัย เพราะปเุ รชาตปจจยั เพราะอาเสวนปจจัย ปฏสิ นธไิ มม ี แมในภูมิท้งั สอง. เพราะกัมมปจจยั เพราะวิปากปจจัย เกิดขนึ้ . เพราะอวิคตปจจยัปจจัย. การนับจาํ นวนวาระในอนโุ ลม [๓] ในเหตปุ จ จยั มี ๙ วาระ ในอารัมมณปจ จัย มี ๙ วาระ ปจ จัยทงั้ ปวง มี ๙ วาระ ในอวิคตปจ จยั มี ๙ วาระ. พงึ นบั อยา งน้.ี อนุโลมนัย จบ ปจ จนียนยั ๑. นเหตุปจจยั [๔] ๑. นเหตธุ รรม อาศัยนเหตุธรรม เกดิ ขน้ึ เพราะนเหตุ-ปจจัย
พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 6 คือ ขนั ธ ๓ และจิตตสมุฏฐานรปู อาศยั ขนั ธ๑ ทเี่ ปน นเหตุธรรมซ่ึงเปน อเหตุกะ ฯลฯ ขันธ ฯลฯ ในอเหตุกปฏสิ นธขิ ณะ หทัยวัตถุ อาศยั ขนั ธท้ังหลาย, ขนั ธท ั้งหลายอาศยั หทยวัตถ.ุ ฯลฯ อาศยั มหาภตู รปู ๑ ฯลฯ พาหิรรปู ... อาหารสมฏุ ฐานรูป...อตุ ุสมุฏฐานรูป ฯลฯ. สวนอสญั ญสตั วท ัง้ หลาย ฯลฯ. ๒. เหตธุ รรม อาศยั นเหตธุ รรม เกดิ ขนึ้ เพราะนเหตุ-ปจจยั คือ โมหะ ทส่ี หรคตดวยวิจกิ จิ ฉา .ทส่ี หรคตดว ยอทุ ธัจจะ อาศัยขนั ธทงั้ หลายท่ีสหรคตดว ยวจิ ิกิจฉา ทีส่ หรคตดว ยอุทธัจจะ. ๒. นอารัมมณปจ จัย [๕] ๑. นเหตธุ รรม อาศัยเหตุธรรม เกิดขึ้น เพราะนอารัมมณปจจยั คอื จติ ตสมฏุ ฐานรูป อาศยั เหตุธรรม. ในปฏสิ นธิขณะ ฯลฯ ๒. นเหตุธรรม อาศัยเหตธุ รรม เกดิ ข้นึ เพราะนอารัมมณปจ จยั คอื จติ ตสมฏุ ฐานรูป อาศัยขันธท ั้งหลายท่ีเปนเหตุธรรม. ในปฏสิ นธขิ ณะ มหาภตู รปู ทง้ั หมด. ฯลฯ
พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 7 ๓. นเหตุธรรม อาศยั เหตุธรรม และนเหตุธรรม เกิดข้ึนเพราะนอารมั มณปจ จยั คือ จิตตสมุฏฐานรปู อาศัยเหตุธรรม และขนั ธทัง้ หลายทเ่ี ปน นเหต-ุธรรม. ในปฏสิ นธขิ ณะ ฯลฯ ๓. นอธิปติปจ จัย ฯลฯ ๗. นอุปนิสสยปจ จยั เพราะนอธปิ ปจ จยั พงึ กระทาํ ใหบ ริบรู ณ. เพราะนอนนั ตรปจจยั เพราะนสมนนั ตรปจ จัย เพราะนอัญญ-มัญญปจ จยั เพราะนอปุ นิสสยปจจยั ๘.นปเุ รชาตปจ จยั [๖] ๑. เหตุธรรม อาศัยเหตธุ รรม เกดิ ขึ้น เพราะนปุเรชาตปจจัย คือ ในอรูปภมู ิ อโทสะ อโมหะ อาศัยอโลภะ. พึงผกู จกั รนัย โมหะ อาศยั โลภะ, โลภะ อาศัยโมหะ ฯลฯ. ในปฏสิ นธิขณะ ฯลฯ ๒. นเหตุธรรม อาศยั เหตธุ รรม เกิดข้นึ เพราะนปเุ รชาต-ปจจัย
พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 8 คอื ในอรูปภมู ิ สัมปยตุ ตขันธท ง้ั หลาย อาศยั เหตุธรรม, จติ ตสมุฏ-ฐานรูป อาศยั เหตธุ รรม. ในปฏสิ นธขิ ณะ ฯลฯ ๓. เหตุธรรม และนเหตธุ รรม อาศยั เหตุธรรม เกดิ ขึ้นเพราะนปเุ รชาตปจจยั คอื ในอรูปภมู ิ อโทสะ, อโมหะ และสมั ปยุตตขันธทงั้ หลาย อาศัยอโลภะ. พงึ ผูกจกั รนยั . โมหะ และสมั ปยตุ ตขันธท้ังหลาย อาศัยโลภะ. พงึ ผกู จกั รนัย. ในปฏิสนธขิ ณะ ฯลฯ ๔. นเหตธุ รรม อาศยั นเหตุธรรม เกดิ ข้ึน เพราะนปเุ รชาตปจจยั คือ ในอรปู ภูมิ ขนั ธ ๓ อาศยั ขันธ ๑ ทีเ่ ปน เหตธุ รรม ฯลฯ ขันธ๒ อาศยั ขันธ ๒. จติ ตสมุฏฐานรปู อาศัยขนั ธท้งั หลายที่เปน นเหตุธรรม. ในปฏสิ นธขิ ณะ ฯลฯ มหาภตู รปู ๑ ฯลฯ. ๕. เหตุธรรม อาศยั นเหตธุ รรม เกดิ ขน้ึ เพราะนปุเรชาตปจจัย
พระอภิธรรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 9 คอื ในอรูปภูมิ เหตธุ รรมท้งั หลาย อาศัยขนั ธท งั้ หลายทีเ่ ปนนเหตุ.ธรรม. ในปฏสิ นธขิ ณะ ฯลฯ ๖. เหตุธรรม และนเหตุธรรม อาศยั นเหตธุ รรม เกดิ ขึ้นเพราะนปเุ รชาตปจจยั คอื ในอรูปภูมิ ขันธ ๓ และเหตธุ รรมท้ังหลาย อาศยั ขนั ธ ๑ ท่ีท่เี ปน นเหตุธรรม ฯลฯ ขนั ธ ๒ ฯลฯ. ในปฏสิ นธิขณะ ฯลฯ ๗. เหตธุ รรม อาศัยเหตธุ รรม และนเหตธุ รรม เกดิ ขึ้นเพราะนปุเรชาตปจ จัย คือ ในอรูปภูมิ อโทสะ อโมหะ อาศัยอโลภะ และสมัปยตุ ตขันธทั้งหลาย. พึงผูกจักรนัย. ในอรูปภูมิ โมหะ อาศัยโลภะ และสมัปยุตตขันธทงั้ หลาย พึงผกู จักรนยั ในปฏสิ นธิขณะ ฯลฯ ๘. นเหตธุ รรม อาศยั เหตุธรรม และนเหตธุ รรม เกิดขึน้เพราะนปุเรชาตปจจยั คือ ในอรปู ภมู ิ ขนั ธ ๓ อาศยั ขันธ ๑ ท่เี ปนนเหตธุ รรมและเหตุ-ธรรม ฯลฯ ขนั ธ ๒ ฯลฯ.
พระอภิธรรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 10 จิตตสมฏุ ฐานรปู อาศัยขนั ธท้ังหลายที่เปน นเหตุธรรม และเหต-ุธรรม จิตตสมฏุ ฐานรูป อาศยั เหตธุ รรม และมหาภตู รูปทง้ั หลาย. ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ๙. เหตธุ รรม และนเหตธุ รรม อาศยั เหตธุ รรมและนเหต-ุธรรม เกดิ ข้ึน เพราะนปุเรชาตปจ จยั คือ ในอรูปภูมิ ขนั ธ ๓, อโทสะและ อโมหะ อาศัยขันธ ๑ ทเี่ ปนนเหตธุ รรม และอโลภะ ฯลฯ ขนั ธ ๒. ฯลฯ. พึงผกู จกั รนัย. ขันธ ๓ และโมหะ อาศัยขนั ธ ที่เปนนเหตุธรรม และโลภะ. พงึ ผกู จักรนัย. ในปฏสิ นธขิ ณะ ฯลฯ ๙. นปจ ฉาชาตปจจัย ๑๐.นอาเสวนปจ จยั [๗] ๑. เหตธุ รรม อาศยั เหตุธรรม เกดิ ขน้ึ เพราะนปจฉา-ชาตปจ จยั ฯลฯ เพราะนอาเสวนปจ จยั (มี ๙ วาระ). ๑๑.นกมั มปจจยั [๘] ๑. นเหตุธรรม อาศัยเหตุธรรม เกดิ ขึ้น เพราะนกมั มปจ จยั คอื สมั ปยตุ ตเจตนา อาศยั เหตธุ รรม.
พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 11 ๒. นเหตุธรรม อาศัยนเหตธุ รรม เกดิ ขนึ้ เพราะน-กมั มปจจยั คอื สมั ปยตุ ตเจตนา อาศัยขันธท้งั หลายทเ่ี ปน นเหตธุ รรม. พาหิรรูป . . . อาหารสมฏุ ฐานรปู .. . อตุ สุ มฏุ ฐานรูป ฯลฯ. ๓. นเหตุธรรม อาศยั เหตุธรรม และนเหตุธรรม เกดิ ข้นึเพราะนกัมมปจ จัย คอื สัมปยุตตเจตนา อาศยั เหตธุ รรม และสัมปยตุ ตขันธท งั้ หลาย. ๑๒. นวปิ ากปจจยั [๙] ๑. เหตุธรรม อาศัยเหตธุ รรม เกดิ ขึน้ เพราะนวิปาก-ปจ จยั มี ๙ วาระ. ๑๓. นอาหารปจจัย [๑๐] ๑. นเหตุธรรม อาศัยนเหตธุ รรม เกิดขน้ึ เพราะน-อาหารปจจัย คอื พาหริ รปู ... อุตุสมฏุ ฐานรูป ฯลฯ สวนอสญั ญสตั วท ้งั หลาย มหาภูตรปู ๓ อาศัยมหาภตู รปู ๑ ฯลฯ กฏตั ตารปู ทีเ่ ปนอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทง้ั หลาย. ๑๔. นอินทริยปจ จัย [๑๑] ๑. ฯลฯ เพราะนอนิ ทริยปจจยั
พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 12 คือ พาหิรรูป . . . อตุ สุ มุฏฐานรูป ฯลฯ อาศัยมหาภตู รูป ๑ ฯลฯ อุปาทารปู อาศัยมหาภตู รปู ทง้ั หลาย. สวนอสัญญสตั วท ั้งหลาย รปู ชวี ิตนิ ทรยี อาศยั มหาภตู รปู ทงั้ หลาย. ๑๕. นฌานปจ จยั [๑๒] ๑. ฯลฯ เพราะนฌานปจ จัย คอื ขันธ ๑ ทเ่ี ปนสหรคตดวยปญ จวิญญาณ ฯลฯ พาหิรรูป ฯลฯอาหารสมฏุ ฐานรปู . . . อุตสุ มฏุ ฐานรูป ฯลฯ. สว นอสญั ญสัตวท งั้ หลาย ฯลฯ ๑๖.นมัคคปจ จัย [๑๓] ๑. ฯลฯ เพราะนมคั คปจ จัย คอื ฯลฯ อาศัยขนั ธ ๑ ท่เี ปนนเหตธุ รรม ซ่ึงเปน อเหตกุ ธรรม ฯลฯ. ในอเหตปุ ฏิสนธขิ ณะ ฯลฯ พาหริ รปู . . . อาหารสมุฏฐานรปู . . . อตุ ุสมฏุ ฐานรูป ฯลฯ สว นอสญั ญสัตวทัง้ หลาย ฯลฯ ๑๗.นสัมปยุตตปจ จยั ฯลฯ ๒๐.โนวคิ ตปจ จยั เพราะนสัมปยุตตปจ จัย ฯลฯ เพราะนวปิ ปยุตตปจจัยเหมอื นนปุเรชาตปจจยั พงึ กระทําหวั ขอ ปจ จยั ในอรปู ภมู เิ ทาน้ัน ฯลฯ เพราะ-โนนตั ถิปจ จัย ฯลฯ เพราะโนวิคตปจจัย.
พระอภธิ รรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 13 การนับจาํ นวนวาระปจจนียะ [๑๔] ในนเหตปุ จ จัย มี ๒ วาระ ในนอารมั มณปจ จยั มี ๓ วาระในนอธิปติปจ จยั มี ๙ วาระ ในนอนันตรปจจยั มี ๓ วาระ ในนสมนันตร-ปจ จยั มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปจ จัย มี ๓ วาระ ในนอปุ นิสสยปจ จัยมี ๓ วาระ ในนปเุ รชาตปจ จัย มี ๙ วาระ ในนปจ ฉาชาตปจ จยั มี ๙ วาระในนอาเสวนปจจยั มี ๙ วาระ ในนกัมมปจ จัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปจ จัยมี ๙ วาระ ในนอาหารปจจัย มี ๑ วาระ ในนอนิ ทริยปจจยั มี ๑ วาระในนฌานปจ จยั มี ๑ วาระ ในนวปิ ปยตุ ตปจ จยั มี ๑ วาระ ในนสมั ปยุตตปจ จัยมี ๓ วาระ ในนวิปปยตุ ตปจ จยั มี ๙ วาระ ในโนวคิ ตปจ จัย ๓ วาระในโนวคิ ตปจ จยั มี ๓ วาระ. พงึ นบั อยางนี้ ปจ จนยี นยั จบ อนุโลมปจ จนยี นยั การนบั จํานวนวาระในอนุโลมปจ จนยี ะ [๑๕] เพราะเหตปุ จ จยั ในนอารมั มณปจจัย มี ๓ วาระ. . . ในน-อธิปตปิ จ จัย มี ๙ วาระ ในนอนนั ตรปจจยั มี ๓ วาระ ฯลฯ ในนอปุ นสิ สย-ปจจยั มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปจ จัย มี ๙ วาระ ในนปจฉาชาตปจจยั มี ๙วาระ ในนอาเสวนปจจัย มี ๙ วาระ ในนกมั มปจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปจ จัย มี ๙ วาระ ในนสัมปยตุ ตปจ จยั มี ๓ วาระ ในนวปิ ปยตุ ตปจจยัมี ๙ วาระ ในโนนัตถิปจจัย มี ๓ วาระ ในโนวิคตปจ จัย มี ๓ วาระ. อนุโลมปจ จนยี นัย จบ
พระอภธิ รรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 14 ปจจนยี านโุ ลมนยั การนับจาํ นวนวาระในปจ จนียานุโลม [๑๖] เพราะนเหตุปจ จัย ในอารมั มณปจจยั มี ๒ วาระ . . . ในอนันตรปจ จยั มี ๒ วาระ ฯลฯ ในกมั มปจ จัย มี ๒ วาระ ในวิปากปจ จยัมี ๑ วาระ ในอาหารปจ จัย มี ๒ วาระ ในอินทริยปจ จัย มี ๒ วาระ ในฌานปจ จยั มี ๒ วาระ ในมัคคปจ จยั มี ๑ วาระ ในสมั ปยุตตปจจยั มี ๒วาระ ฯลฯ ในอวิคตปจจยั มี ๒ วาระ. ปจ จานยี านโุ ลมนยั จบ แมสหชาตวาระ ก็เหมอื นกบั ปฏิจจวาระ. ปจ จยวาระกด็ ี นสิ สยวาระก็ดี มี ๕ วาระ เหมือนกบั ปฏิจจวาระ. หัวขอปจ จัย เมือ่ มหาภตู รูปทัง้ หลายจบแลว พึงกระทาํ วา \"อาศยัหทยวตั ถุ\" อายตนะ ๕ ยอ มไดใ นอนโุ ลมกด็ ี ในปจจนียะกด็ ี ฉนั ใด พึงกระทาํ ฉันน้ัน. สงั สัฏฐวาระก็ดี สมั ปยตุ ตวาระกด็ ี พงึ ทําใหบริบรู ณ รูปภูมิไมมี มแี ตอ รปู ภูมเิ ทา นน้ั .
พระอภิธรรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 15 ปญหาวาระ อนโุ ลมนัย ๑. เหตุปจ จยั [๑๗] เหตุธรรม เปนปจ จยั แกเหตธุ รรม ดวยอาํ นาจของเหตุปจ จยั คอื อโลภะ เปนปจ จัยแกอ โทสะ แกอโมหะ ดวยอํานาจของเหต-ุปจ จยั . พงึ ผูกจักรนัย. โลภะ เปน ปจจยั แกโ มหะ ดวยอํานาจของเหตุปจจัย โทสะ เปนปจจยั แกโมหะ ดวยอาํ นาจของเหตปุ จจยั ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ๒. เหตธุ รรม เปนปจ จัยแกน เหตธุ รรม ดวยอาํ นาจของเหตปุ จ จยั คือ เหตุธรรม เปน ปจจยั แกสัมปยุตตขนั ธ แลจิตตสมุฏฐานรปูท้ังหลาย ดว ยอาํ นาจของเหตปุ จจยั . ในปฏิสนธณิ ะ ฯลฯ ๓. เหตธุ รรม เปน ปจ จยั แกเหตธุ รรม และนเหตุธรรมดวยอาํ นาจของเหตปุ จจัย
พระอภธิ รรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 16 คือ อโลภะ เปน ปจ จัยแกอ โทสะ อโมหะ, สัมปยุตตขนั ธแ ละจติ ต-สมุฏฐานรูปทงั้ หลาย ดว ยอํานาจของเหตปุ จ จัย. พึงผูกจกั รนยั . โลภะ เปน ปจ จัยแกโมหะ ฯลฯ ในปฏสิ นธิขณะ ฯลฯ ๒. อารมั มณปจ จัย [๑๘] ๑. เหตธุ รรม เปนปจจยั แกเ หตธุ รรม ดว ยอาํ นาจของอารมั มณปจจัย คอื เหตุธรรมทง้ั หลาย เกิดขน้ึ เพราะปรารภเหตธุ รรม. ๒. เหตุธรรม เปนปจจยั แกนเหตุธรรม ดวยอํานาจของอารมั มณปจ จยั คอื ขันธท ั้งหลายท่เี ปน เหตธุ รรม เกดิ ข้ึน เพราะปรารภเหตุธรรม. ๓. เหตธุ รรม เปนปจ จัยแกนเหตธุ รรมและนเหตุธรรมดว ยอาํ นาจของอารัมมณปจ จยั คอื เหตุธรรมทง้ั หลาย และสัมปยตุ ตขันธท้ังหลาย เกดิ ขึน้ เพราะปรารภเหตุธรรม. ๔. นเหตุธรรม เปนปจจยั แกนเหตุธรรม ดวยอํานาจของอารัมมณปจจัย
พระอภิธรรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 17 คอื ๑บุคคลใหทาน สมาทานศลี ทาํ อุโบสถกรรมแลว พจิ ารณาซงึ่กุศลกรรมน้ัน. บุคคลพิจารณากศุ ลกรรมท้งั หลายทเ่ี คยส่ังสมไวแลวในกาลกอ น. บุคคลออกจากฌานแลว พจิ ารณาฌาน. พระอรยิ ะทงั้ หลายออกจากมรรคแลว พิจารณา ฯลฯ ผล ฯลฯนิพพาน ฯลฯ. นิพพาน เปน ปจจัยแกโ คตรภู แกโวทาน, แกมรรค, แกผล, แกอาวัชชนะ ดวยอาํ นาจของอารัมมณปจ จัย. ๒พระอริยะท้งั หลาย พิจารณากเิ ลสท้งั หลายทล่ี ะแลว ท่เี ปน เหตธุ รรม,กิเลสทขี่ ม แลว ฯลฯ รซู ึ่งกิเลสท้ังหลายทเี่ คยเกิดขน้ึ มาแลว ในกาลกอน. บคุ คลพิจารณาเหน็ จกั ษุ ฯลฯ หทยั วัตถุ ฯลฯ ขันธทงั้ หลายที่เปนนเหต-ุธรรม โดยความเปน ของไมเ ท่ยี ง เปน ทุกข เปน อนตั ตา ฯลฯ โทมนสัยอมเกิดข้นึ . บุคคลเหน็ รูปดว ยทพิ ยจกั ษุ ฟง เสยี งดว ยทิพโสตธาตุ. บคุ คลรูจิตชอบบุคคลผพู รอมเพรียงดว ยจิต ทีเ่ ปน นเหตุธรรม ดว ยเจโตปรยิ ญาณ. อากาสานญั จายตนกิรยิ า เปนปจ จยั แกวญิ ญาณญั จายตนกริ ยิ า,อากญิ จญั ญายตนกริ ิยา เปน ปจจยั แกเ นวสญั ญานาสัญญายตนกริ ยิ า. รปู ายตนะ เปน ปจจัยแกจกั ขุวญิ าณ ฯลฯ โผฏฐพั พายตนะ เปนปจ จัยแกกายวญิ ญาณ ดวยอํานาจของอารมั มณปจ จัย.๑. หมายความวา บาลตี อนท่ี ๑, ๒. หมายความวา บาลตี อนที่ ๒.
พระอภิธรรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 18 ขันธทง้ั หลายที่เปน นเหตุธรรม เปนปจ จัยแกอ ิทธิวิธญาณ, แกเ จโต-ปริยญาณ, แกป พุ เพนิวาสานสุ สติญาณ, แกย ถากมั มปู คญาณ, แกอ นาคตงั ส-ญาณ, แกอาวัชชนะ ดวยอํานาจของอารมั มณปจ จัย. ๕. นเหตุธรรม เปนปจจัยแกเหตุธรรม ดว ยอํานาจของอารัมมณปจ จัย พงึ ยกเอาเฉพาะขอความในบาลี ตอนท่ี ๑ วา \"บคุ คลใหท าน\" เทานัน้ มาใสใ นที่น้ี แตอาวชั ชนะ และขอความที่วา \"รูปายตนะเปนปจจยั แกจกั ขวุ ิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เปนปจ จยั แกกายวญิ ญาณ นก้ี ไ็ มมี. ๖. นเหตุธรรม เปนปจจยั แกเหตธุ รรม และนเหตธุ รรมดวยอํานาจของอารัมมณปจ จัย คอื บุคคลใหท าน สมาทานศีล ฯลฯ อโุ บสถกรรมฯลฯ แลวพจิ ารณาซึ่งกุศลกรรมนน้ั เพราะปรารภกศุ ลกรรมนั้น เหตธุ รรมท้งั หลายและสัมปยตุ ต-ขันธท งั้ หลาย ยอมเกดิ ข้ึน. พึงยกเอาขอความทง้ั อยูในบาลีนั้นมาใสท ่ีน้ี ใหเหมือนกบั ขอความในบาลตี อนที่ ๒. ๗. เหตธุ รรม และนเหตุธรรม เปน ปจจยั แกเ หตธุ รรมดวยอาํ นาจของอารัมมณปจจัย คือ เหตธุ รรมท้งั หลาย เกดิ ขึ้นเพราะปรารภเหตุธรรมและสัมปยุตตขนั ธท้งั หลาย. ๘. เหตธุ รรมและนเหตธุ รรม เปนปจจัยแกเหตธุ รรมดวยอํานาจของอารัมมณปจจยั
พระอภิธรรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 19 คือ ขันธท งั้ หลายท่ีเปนเหตุธรรม ยอมเกิดขึ้น เพราะปรารภเหต-ุธรรม และสัมปยุตตขนั ธท ั้งหลาย. ๙. เหตธุ รรมและนเหตธุ รรม เปน ปจ จัยแกเ หตธุ รรมและนเหตธุ รรม ดวยอาํ นาจของอารมั มณปจจยั คอื เหตุธรรมท้งั หลาย และสมั ปยุตตขันธทัง้ หลาย ยอมเกดิ ขึ้นเพราะปรารภเหตธุ รรม และสัมปยตุ ตขันธทง้ั หลาย. ๓. อธิปติปจจัย [๑๙] ๑. เหตุธรรม เปน ปจจัยแกเ หตธุ รรม ดวยอํานาจของอธิปตปิ จ จยั มี ๒ อยาง คือทเ่ี ปน อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ ทเี่ ปน อารัมมณาธปิ ติ ไดแก เพราะกระทาํ เหตุธรรมใหหนักแนน เหตธุ รรมทงั้ หลาย ยอมเกดิ ขึน้ . ทีเ่ ปน สหชาตาธิปติ ไดแ ก อธิปตธิ รรมทเี่ ปน เหตุธรรม เปน ปจจยั แกสัมปยุตตเหตุทัง้ หลาย ดวยอํานาจของอธปิ ตปิ จ จัย. ๒. เหตธุ รรม เปนปจ จยั แกเ หตธุ รรม ดวยอาํ นาจของอธิปตปิ จ จัย มี ๒ อยา ง คอื ทเ่ี ปน อารมั มณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ ที่เปน อารัมมณาธิปติ ไดแ ก
พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 20 เพราะการกระทําเหตธุ รรมใหอ ารมณอ ยา งหนกั แนน ขนั ธท้ังหลายที่เปนนเหตุธรรม ยอ มเกิดขึน้ . ที่เปน สหชาตาธิปติ ไดแ ก อธิปติธรรมท่ีเปน เหตธุ รรม เปนปจจัยแกสัมปยุตตขันธ และจิตต-สมฏุ ฐานรูปทัง้ หลาย ดว ยอํานาจของอธิปติปจ จัย. ๓. เหตธุ รรม เปน ปจจัยแกเ หตธุ รรม และนเหตุธรรมดว ยอาํ นาจของอธิปตปิ จ จยั มี ๒ อยา ง คือที่เปน อารมั มณาปจ จัย และ สหชาตาธปิ ติ ที่เปน อารัมมณาธปิ ติ ไดแ ก เพราะการกระทําเหตุธรรมใหเปน อารมณอ ยางหนกั แนน เหตธุ รรมทง้ัหลาย และสัมปยตุ ตขนั ธท ัง้ หลาย ยอมเกิดขึ้น. ทเ่ี ปน สหชาตาธิปติ ไดแก อธิปติธรรมที่เปน เหตธุ รรม เปนปจ จัยสมั ปยุตตขันธ, เหตุธรรมและจิตตสมุฏฐานรปู ท้ังหลาย ดวยอํานาจของอธปิ ติปจจยั . ๔. นเหตธุ รรม เปน ปจจัยแกเหตุธรรม ดว ยอํานาจของอธปิ ติปจ จัย มี ๒ อยา ง คือทีเ่ ปน อารมั มณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ ทเ่ี ปน อารัมมณาธิปติ พึงยกเอาขอความตามบาลที ี่วา \"บุคคลใหทานแลว \" ใสใหพิสดาร จนถงึ คาํ วา \"ขนั ธท้ังหลายท่ีเปนนเหตุธรรม\". ทเ่ี ปน สหชาตาธิปติ ไดแก
พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 21 อธปิ ติธรรมทีเ่ ปนนเหตุธรรม เปน ปจจยั แกสมั ปยุตตขนั ธ และจิตต-สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ดวยอํานาจของอธิปตปิ จจยั . ๕. นเหตธุ รรม เปนปจจยั เหตธุ รรม ดว ยอาํ นาจของอธิปติปจ จยั มี ๒ อยา ง คือทเี่ ปน อารัมมณาธปิ ติ และ สหชาตาธปิ ติ ท่ีเปน อารัมมณาธปิ ติ ไดแ ก บคุ คลใหท าน ฯลฯ พึงยกเอาขอความตามบาลขี างตน มาใสจนถึงหทยั วัตถุ และขันธท งั้ หลายท่ีเปนนเหตุธรรม. ทเี่ ปน สหชาตาธิปติ ไดแก อธิปติธรรมที่เปน นเหตธุ รรม เปน ปจจยั แกส มั ปยตุ ตเหตุทง้ั หลายดวยอาํ นาจของอธิปติปจ จัย. ๖. นเหตุธรรม เปน ปจ จยั แกเ หตุธรรม และนเหตธุ รรมดว ยอํานาจของอธิปติปจ จัย มี ๒ อยา ง คอื ทีเ่ ปน อารมั มณาธปิ ติ และ สหชาตาธิปติ ทีเ่ ปน อารัมมณาธปิ ติ ไดแ ก บคุ คลใหท าน สมาทานศลี กระทาํ อโุ บสถกรรมแลว กระทํากศุ ล-กรรมนน้ั ใหเ ปน อารมณอยางหนกั แนน แลว พจิ ารณา เพราะกระทํากศุ ลกรรมนน้ั ใหเ ปนอารมณอ ยา งหนกั แนน ขนั ธทง้ั หลายที่เปน นเหตุธรรม และเหตุ-ธรรมทั้งหลาย ยอมเกิดขนึ้ .
พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 22 พงึ ยกเอาขอความตามบาลีทีว่ า \" บุคคลพิจารณากศุ ลกรรมทั้งหลายที่เคยสงั่ สมไวแ ลวในกาลกอน จนถงึ หทยวตั ถุ และขนั ธท้ังหลายท่เี ปน นเหตุ-ธรรม \" มาใส. ท่เี ปน สหชาตาธิปติ ไดแ ก อธิปติธรรมที่เปนนเหตธุ รรม เปนปจจยั แกส ัมปยตุ ตขนั ธท ้งั หลายเหตธุ รรมทัง้ หลาย และจิตตสมุฏฐานรูปทงั้ หลาย ดวยอํานาจของอธปิ ติปจจัย. ๗. เหตธุ รรม และนเหตธุ รรม เปนปจ จัยแกเหตธุ รรมดว ยอํานาจของอธปิ ตปิ จ จยั มอี ยา งเดียว คือทีเ่ ปน อารมั มณาอธิปติ ไดแก เพราะกระทําเหตุธรรม และสัมปยุตตขนั ธท ้งั หลายใหเปน อารมณอยางหนักแนน เหตธุ รรมทงั้ หลาย ยอ มเกิดขน้ึ . ๘. เหตุธรรม และนเหตธุ รรม เปนปจ จัยแกนเหตุธรรมดวยอํานาจของอธปิ ติปจจัย มีอยา งเดียว คือท่เี ปน อารมั มณาอธิปติ ไดแก เพราะกระทาํ เหตุธรรม และสมั ปยุตตขนั ธท ้งั หลายใหเปน อารมณอยา งหนักแนน ขนั ธท ัง้ หลายท่ีเปน นเหตธุ รรม ยอมเกดิ ขนึ้ . ๙. เหตุธรรม และนเหตธุ รรม เปนปจจยั แกเหตธุ รรมและนเหตธุ รรม ดว ยอาํ นาจของอธิปติปจจยั มีอยางเดยี ว คอื ท่ีเปน อารัมมณาอธิปติ ไดแ ก เพราะกระทาํ เหตธุ รรม และสมั ปยตุ ตขนั ธท ง้ั หลายใหเ ปนอารมณอยางหนักแนน เหตธุ รรมทง้ั หลาย และสัมปยุตตขันธท ้ังหลาย ยอมเกดิ ข้นึ .
พระอภิธรรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 23 ๔. อนันตรปจ จยั [๒๐] ๑. เหตุธรรม เปนปจจัยแกเหตธุ รรม ดว ยอาํ นาจของอนนั ตรปจจยั คือ เหตธุ รรมทง้ั หลายทีเ่ กดิ กอ น ๆ เปน ปจจัยแกเ หตุธรรมทง้ั หลายท่ีเกิดหลงั ๆ ดวยอาํ นาจของอนนั ตรปจ จยั . ๒. เหตุธรรม เปน ปจจัยแกนเหตธุ รรม ดว ยอาํ นาจของอนันตรปจจัย คอื เหตุธรรมท้ังหลายเกดิ กอ น ๆ เปน ปจ จัยแกข นั ธท งั้ หลายทเี่ ปนนเหตธุ รรม ทีเ่ กดิ หลงั ๆ ดวยอาํ นาจของอนันตรปจ จัย. ๓. เหตุธรรม เปนปจจัยแกเหตุธรรม และนเหตธุ รรมดว ยอํานาจของอนันตรปจจยั คอื เหตุธรรมทงั้ หลาย ท่ีเกดิ กอ น ๆ เปนปจจัยแกเ หตธุ รรมทัง้ หลายที่เกิดหลงั ๆ และสมั ปยตุ ตขนั ธท ง้ั หลาย ดวยอาํ นาจของอนนั ตรปจจยั . ๔. นเหตุธรรม เปน แกนเหตธุ รรม ดวยอํานาจของอนันตรปจ จยั คอื ขันธทงั้ หลายท่ีเปน นเหตุธรรม ท่เี กิดกอ น ๆ เปน ปจ จยั แกข นั ธทง้ั หลายท่ีเปน นเหตธุ รรม ท่ีเกิดหลัง ๆ ดว ยอํานาจของอนันตรปจ จยั . อนโุ ลม เปน ปจจยั แกโคตรภู ฯลฯ เนวสญั ญาณาสัญญายตนะ เปนปจ จัยแกผ ลสมาบัติ ดว ยอํานาจของอนนั ตรปจจัย. ๕. นเหตุธรรม เปนปจจยั แกเ หตธุ รรม ดว ยอาํ นาจของอนนั ตรปจจัย
พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 24 ๖. นเหตธุ รรม เปน ปจจยั แกเ หตธุ รรม และนเหตธุ รรมดว ยอาํ นาจอนนั ตรปจ จยั นเหตุมลู กนยั เปนอยา งเดียวกันท้งั ๓ วาระ. ๗. เหตธุ รรม และนเหตธุ รรม เปนปจจัยแกเหตุธรรมดว ยอาํ นาจอนนั ตรปจ จยั คอื เหตธุ รรมทัง้ หลาย ทเ่ี กิดกอ น ๆ และสมั ปยุตตขันธทั้งหลาย เปนปจจัยแกเหตุธรรมท้งั หลายทีเ่ กดิ หลงั ๆ ดว ยอาํ นาจของอนันตรปจ จัย. ๘. เหตุธรรม และนเหตุธรรม เปน ปจ จยั แกนเหตธุ รรมดวยอํานาจของอนันตรปจจยั คอื เหตธุ รรมท้งั หลาย ที่เกิดกอ น ๆ และสมั ปยตุ ตขันธทง้ั หลาย เปนปจ จัยแกข ันธท้ังหลายทีเ่ ปนเหตุธรรม ท่เี กิดหลงั ๆ ดว ยอํานาจของอนันตร-ปจ จัย. ๙. เหตุธรรม และนเหตุธรรม เปนปจจัยแกเหตุธรรมและนเหตธุ รรม ดวยอํานาจอนนั ตรปจจยั คอื เหตธุ รรมทัง้ หลาย ท่เี กดิ กอ น ๆ และสมั ปยตุ ตขันธทั้งหลาย เปนปจ จัยแกเหตุธรรมทั้งหลาย ทเี่ ปนหลัง ๆ และสัมปยุตตขันธทั้งหลาย ดวยอาํ นาจของอนันตรปจจัย. ๕. สมนนั ตรปจจัย ฯลฯ ๘. นสิ สยปจจยั [๒๑] ๑. เหตธุ รรม เปนปจจยั แกเหตธุ รรม ดวยอาํ นาจของสมนันตรปจ จยั เหมอื นกบั อนนั ตรปจจัย.
พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 25 เปน ปจ จยั ดว ยอาํ นาจของสหชาตปจจัย. เปนปจจัย ดวยอาํ นาจของอญั ญมัญญปจ จัย ท้ัง ๒ ปจ จยั นี้เหมือนปจจยวาระ. เปนปจ จยั ดว ยอาํ นาจของนสิ สยปจ จยั เหมือนกับนิสสยปจ จยัในปจ จัยวาระ. ๙.อปุ นิสสยปจจยั [๒๒] ๑. เหตุธรรม เปน ปจ จยั แกเ หตธุ รรม ดวยอาํ นาจของอุปนสิ สยปจ จัย มี ๓ อยาง คือทเ่ี ปน อารมั มณปู นิสสยะ อนนั ตรปู นิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ท่ีเปน ปกตปู นสิ สยะ ไดแก เหตุธรรมท้ังหลาย เปน ปจจัยแกเ หตุธรรมทงั้ หลาย ดวยอํานาจของอปุ นสิ สยปจ จยั . ๒. เหตธุ รรม เปนปจ จยั แกเ หตธุ รรม ดว ยอํานาจของอปุ นสิ สยปจ จยั มี ๓ อยา ง คอื ท่ีเปน อารมั มณปู นสิ สยะ อนนั ตรปู นิสสยะ และปกตปู นสิ สยะ ทเ่ี ปน ปกตปู นสิ สยะ ไดแก เหตุธรรมทงั้ หลาย เปน ปจจยั แกข ันธทั้งหลายทเ่ี ปนนเหตธุ รรม ดวยอํานาจของอุปนิสสยปจจยั .
พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 26 ๓. เหตุธรรม เปนปจจยั แกเ หตุธรรม และนเหตธุ รรมดวยอาํ นาจของอปุ นสิ สยปจจัย มี ๓ อยาง คือท่ีเปน อารมั มณปู นสิ สยะ อนันตรปู นิสสยะ และปกตนู ิสสยะ ทเ่ี ปน ปกตปู นิสสยะ ไดแ ก เหตุธรรมทั้งหลาย เปน ปจจัยแกนเหตธุ รรมทั้งหลาย และสมั ปยตุ ตขันธทง้ั หลาย ดว ยอํานาจของอปุ นิสสยปจ จยั . ๔. นเหตธุ รรม เปนปจจยั แกนเหตุธรรม ดวยอํานาจของอุปนิสสยปจจยั มี ๓ อยา ง คือท่ีเปน อารมั มณูปนิสสยะ อนนั ตรปู นิสสยะ และปกตูปนสิ สยะ ท่เี ปน ปกตปู นสิ สยะ ไดแ ก บคุ คลเขา ไปอาศยั ศรทั ธาแลว ใหทาน ฯลฯ ยังสมาบตั ิใหเกิดข้นึกอ มานะ ถอื ทิฏฐิ. บคุ คลเขา ไปอาศัยศลี ฯลฯ เสนาสนะแลว ใหท าน ฯลฯ ทําลายสงฆ. ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เปน ปจ จัยแกศรทั ธา ฯลฯ แกความปรารถนาแกมรรค แกผ ลสมาบตั ิ ดว ยอํานาจของอุปนสิ สยปจ จัย. ๕. นเหตธุ รรม เปน ปจจยั แกเหตธุ รรม ดว ยอาํ นาจของอุปนสิ สยปจ จยั มี ๓ อยา ง คือทเี่ ปน อารมั มณูปนิสสยะ อนนั ตรปู นสิ สยะ และปกตนู สิ สยะ
พระอภธิ รรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 27 ทเ่ี ปน ปกตปู นสิ สยะ ไดแ ก บุคคลเขา ไปอาศยั ศรทั ธา ฯลฯ เสนาสนะแลว ใหทาน ฯลฯ ทําลายสงฆ. ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เปน ปจ จัยแกศ รัทธา ฯลฯ แกความปรารถนาแกม รรค แกผ ลสมาบตั ิ ดว ยอํานาจของอปุ นิสสยปจจยั ๖. นเหตธุ รรม เปน ปจจยั แกเหตธุ รรม และนเหตุธรรมดวยอํานาจของอปุ นิสสยปจ จัย มี ๓ อยา ง คอื ท่ีเปน อารัมมณปู นสิ สยะ อนันตรปู นสิ สยะ และปกตปู นิสสยะ ท่เี ปน ปกตปู นสิ สยะ เหมือนกับอปุ นิสสยปจ จยั ตอนท่ี ๒. ๗. เหตุธรรม และนเหตุธรรม เปน ปจ จัยแกเหตธุ รรมดวยอํานาจของอุปนสิ สยปจ จัย. มี ๓ อยา ง คือท่ีเปน อารมั มณปู นสิ สยะ อนันตรูปนสิ สยะ และปกตูปนิสสยะ ท่ีเปน ปกตูปนสิ สยะ ไดแ ก เหตธุ รรมทงั้ หลาย และสัมปยุตตขันธทง้ั หลาย เปนปจจัยแกเหตธุ รรมท้ังหลาย ดว ยอํานาจของอปุ นิสสยปจจยั . ๘. เหตธุ รรม และนเหตธุ รรม เปนปจจัยแกนเหตธุ รรมดวยอาํ นาจของอปุ นสิ สยปจจัย.
พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 28 มี ๓ อยาง คอื ที่เปน อารัมมณปู นสิ สยะ อนันตรปู นสิ สยะ และปกตูปนิสสยะ ที่เปน ปกตปู นิสสยะ ไดแก เหตธุ รรมทัง้ หลาย และสัมปยุตตขนั ธท ั้งหลาย เปนปจจยั แกข ันธท้งั หลายทีเ่ ปน นเหตุธรรม ดว ยอํานาจของอุปนิสสยปจจัย. ๙. เหตธุ รรม และนเหตุธรรม เปนปจจัยแกเ หตธุ รรมและนเหตธุ รรม ดว ยอาํ นาจของอปุ นิสสยปจ จยั . มี ๓ อยาง คือทเ่ี ปน อารัมมณปู นิสสยะ อนันตรปู นิสสยะ และปกตปู นสิ สยะ ทีเ่ ปน ปกตปู นสิ สยะ ไดแก เหตธุ รรมทั้งหลาย และสัมปยตุ ตขันธท งั้ หลาย เปน ปจจยั แกเหตุธรรมทงั้ หลาย และสัมปยตุ ตขันธท ้งั หลาย ดวยอาํ นาจของอปุ นสิ สยปจจยั . ๑๐. ปุเรชาตปจจยั [๒๓] ๑. นเหตธุ รรม เปนปจจยั แกนเหตุธรรม ดวยอํานาจของปเุ รชาตปจ จัย. มี ๒ อยา ง คือทเี่ ปน อารมั มณปุเรชาตะ และ วตั ถุปเุ รชาตะ ท่เี ปน อารมั มณปุเรชาตะ ไดแก บุคคลพจิ ารณาเห็นจกั ษุ ฯลฯ หทยวตั ถุ โดยความเปนของไมเทยี่ งเปนทุกข เปน อนัตตา ฯลฯ โทมนสั ยอมเกดิ ข้ึน.
พระอภิธรรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 29 บคุ คลเห็นรปู ดวยทิพยจักษุ ฟง เสยี งดว ยทิพโสตธาตุ. รูปายตนะ เปนปจ จยั แกจกั ขุวญิ ญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เปนปจจยั แกกายวิญญาณ ดวยอาํ นาจของปุเรชาตปจ จยั . ท่เี ปน วัตถุปุเรชาตะ ไดแก จักขายตนะ เปนปจ จยั แกจ กั ขุวิญญาณ ดว ยอํานาจของปเุ รชาตปจจยัฯลฯ กายายตนะ เปนปจจยั แกก ายวิญญาณ ดว ยอํานาจของปเุ รชาตปจ จยั . หทยวตั ถุ เปน ปจจัยแกข ันธทง้ั หลาย ทเ่ี ปนนเหตุธรรม ดวยอํานาจของปุเรชาตปจจยั . ๒. นเหตธุ รรม เปน ปจจัยแกเหตุธรรม ดว ยอาํ นาจของปเุ รชาตปจ จยั . มี ๒ อยาง คือท่เี ปน อารัมมณปุเรชาตะ และ วตั ถปุ ุเรชาตะ ท่เี ปน อารมั มณปเุ รชาตะ ไดแก บุคคลพจิ ารณาเหน็ จักษุ ฯลฯ หทยั วัตถุ โดยความเปนของไมเ ทีย่ งฯลฯ โทมนสั ยอมเกิดขึน้ . บุคคลเห็นรปู ดวยทพิ ยจักษุ ฟง เสียงดว ยทพิ โสตธาตุ. ทเี่ ปน วัตถปุ เุ รชาตะ ไดแก หทยวัตถุ เปน ปจจัยแกเหตุธรรมท้งั หลาย ดวยอํานาจของปเุ รชาต-ปจ จยั . ๓. นเหตธุ รรม เปนปจจยั แกเหตุธรรม และนเหตธุ รรมดวยอาํ นาจของปุเรชาตปจจัย.
พระอภิธรรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 30 มี ๒ อยา ง คือทเ่ี ปน อารมั มณปุเรชาตะ และ วตั ถปุ ุเรชาตะ ที่เปน อารมั มณปุเรชาตะ ไดแก บุคคลพจิ ารณาเหน็ จกั ษุ ฯลฯ หทัยวตั ถุ โดยความเปน ของไมเท่ียงฯลฯ โทมนัส ฯลฯ ทิพยจักษุ ฯลฯ ทเี่ ปน วตั ถุปเุ รชาตะ ไดแ ก หทยวตั ถุ เปน ปจ จยั แกเหตุธรรมทง้ั หลาย และสัมปยตุ ตขันธทั้งหลายดว ยอํานาจของปุเรชาตปจ จยั . ๑๑. ปจ ฉาชาตปจ จัย [๒๔] ๑. เหตุธรรม เปน ปจจัยแกน เหตุธรรม ดว ยอาํ นาจของปจ ฉาชาตปจจัย. คือ เหตุธรรมทง้ั หลาย ทเี่ กดิ ภายหลงั เปน ปจจัยแกก ายน้ีที่เกิดกอนดวยอํานาจของปจ ฉาชาตปจ จยั . ๒. นเหตธุ รรม เปนปจจัยแกน เหตธุ รรม ดวยอาํ นาจของปจฉาชาตปจ จยั . คอื ขนั ธท ้ังหลายทีเ่ ปน นเหตุธรรม ท่ีเกิดภายหลงั เปน ปจจยั แกกายนี้ที่เกดิ กอน ดว ยอาํ นาจของปจฉาชาตปจ จัย. ๓. เหตุธรรม และนเหตธุ รรม เปนปจจัยแกน เหตุ-ธรรม ดวยอาํ นาจของปจฉาชาตปจ จยั . คอื เหตธุ รรมทัง้ หลาย ท่เี กิดภายหลัง และสัมปยตุ ตขนั ธท้ังหลายเปน ปจจยั แกก ายน้ี ที่เกดิ กอน ดวยอํานาจของปจ ฉาชาตปจ จยั .
พระอภธิ รรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 31 ๑๒. อาเสวนปจจยั [๒๕] ๑. เหตธุ รรม เปนปจ จยั แกเหตธุ รรม ดว ยอํานาจของอาเสวนปจจัย เหมอื นกบั อนันตรปจจัย. ๑๓. กมั มปจจัย [๒๖] ๑. นเหตุธรรม เปนปจจัยแกนเหตุธรรม ดว ยอาํ นาจของกมั มปจจัย. มี ๒ อยา ง คอื ทเี่ ปน สหชาตะ และ นานาขณิกะ ทเี่ ปน สหชาตะ ไดแ ก เจตนาทเี่ ปนนเหตุธรรม เปนปจจัยแกสมั ปยตุ ตขนั ธ และจิตต-สมฏุ ฐานรูปทง้ั หลาย ดว ยอาํ นาจของกัมมปจ จยั . ท่เี ปน นานาขณกิ ะ ไดแก เจตนาท่เี ปนนเหตุธรรม เปน ปจจัยแกว ิบากขนั ธ และกฏัตตารูปทั้งหลาย ดว ยอํานาจของกัมมปจจยั . ๒. นเหตุธรรม เปน ปจ จยั แกเ หตุธรรม ดวยอํานาจของกัมมปจ จัย. มี ๒ อยา ง คือทเ่ี ปน สหชาตะ และ นานาขณิกะ ทเ่ี ปน สหชาตะ ไดแก เจตนาท่เี ปนนเหตธุ รรม เปนปจ จัยแกส ัมปยตุ ตเหตทุ ้ังหลาย ดว ยอํานาจของกมั มปจจยั .
พระอภิธรรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 32 ทเ่ี ปน นานาขณิกะ ไดแ ก เจตนาทเ่ี ปนนเหตธุ รรม เปนปจ จัยแกวิบากเหตุทง้ั หลาย ดวยอํานาจของกมั มปจ จยั . ๓. นเหตธุ รรม เปนปจ จัยแกเ หตธุ รรม และนเหตุ-ธรรม ดวยอํานาจของกัมมปจจยั . มี ๒ อยาง คือที่เปน สหชาตะ และ นานาขณกิ ะ ทเี่ ปน สหชาตะ ไดแก เจตนาที่เปน นเหตุธรรม เปน ปจ จยั แกสมั ปยุตตขันธท้ังหลาย, เหตุ-ธรรมทงั้ หลาย และจิตตสมุฏฐานรูปทงั้ หลาย ดวยอํานาจของกัมมปจจยั . ที่เปน นานาขณิกะ ไดแก เจตนาท่เี ปนนเหตุธรรม เปน ปจจัยแกวิบากขนั ธท้ังหลาย ทเี่ ปนเหตุธรรมท้ังหลาย แกกฏัตตารปู ท้งั หลาย ดว ยอาํ นาจของกัมมปจ จัย. ๑๔. วิปากปจ จัย [๒๗] ๑. เหตธุ รรม เปนปจจยั แกเหตธุ รรม ดว ยอาํ นาจของวิปากปจ จัย. คือ อโลภะ ทเี่ ปน วบิ าก เปนปจ จยั แกอ โทสะ, แกอโมหะ ดว ยอาํ นาจของวปิ ากปจจัย. พึงกระทาํ เปน ๙ วาระ ในการจําแนกวิปากปจจัย เหมือนในปฏจิ จ-วาระ.
พระอภิธรรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 33 ๑๕. อาหารปจ จยั [๒๘] ๑. นเหตธุ รรม เปน ปจจยั แกนเหตธุ รรม ดวยอาํ นาจของอาหารปจ จัย. คือ อาหารทั้งหลายทีเ่ ปนนเหตุธรรม เปน ปจจยั แกส มั ปยตุ ตขนั ธและจติ ตสมฏุ ฐานรปู ท้งั หลาย ดว ยอาํ นาจของอาหารปจ จยั . ในปฏิสนธขิ ณะ กวฬกี าราหาร เปน ปจจยั แกกายนี้ ดวยอาํ นาจของอาหารปจจยั . ๒. นเหตุธรรม เปนปจจัยแกเหตธุ รรม ดวยอาํ นาจของอาหารปจจยั . คอื อาหารทง้ั หลายท่ีเปน นเหตุธรรม เปนปจ จยั แกสัมปยตุ ตเหตุทั้งหลาย ดวยอํานาจของอาหารปจจยั . ในปฏสิ นธิขณะ ฯลฯ ๓. นเหตธุ รรมเปน ปจจัยแกเหตธุ รรม และนเหตุธรรมดว ยอํานาจของอาหารปจ จยั . คือ อาหารทั้งหลายทีเ่ ปน นเหตุธรรม เปนปจจยั แกสมั ปยตุ ตขันธทัง้ หลาย แกเ หตธุ รรมทง้ั หลาย และจิตตสมฏุ ฐานรปู ทัง้ หลาย ดวยอาํ นาจของอาหารปจจัย. ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
พระอภธิ รรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 34 ๑๖. อนิ ทรยิ ปจจยั [๒๙] ๑. เหตุธรรม เปน ปจ จัยแกเ หตธุ รรม ดว ยอํานาจของอินทริยปจจยั . ในเหตุมลู กนัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๑ - ๓) ๒. นเหตธุ รรม เปนปจ จยั แกนเหตธุ รรม ดวยอาํ นาจของอนิ ทรยิ ปจจัย. คอื อินทรียท ั้งหลายทีเ่ ปน นเหตุธรรม เปนปจ จัยแกสมั ปยตุ ตขนั ธและจติ ตสมุฏฐานรูปท้ังหลาย ดว ยอํานาจของอนิ ทริยปจ จยั . ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ จกั ขนุ ทรยี เปนปจ จยั แกจ ักขวุ ญิ ญาณ ฯลฯ กายินทรยี เปนปจจัยแกกายวญิ ญาณ. รปู ชวี ิตินทรยี เปนปจ จยั แกก ฏัตตารูปท้งั หลาย ดวยอาํ นาจของอินทรยิ ปจ จัย. อินทริยปจจัย พงึ ใหพ สิ ดารอยา งน้ี และมี ๙ วาระ. ๑๗. ฌานปจจัย [๓๐] นเหตุธรรม เปน ปจจัยแกน เหตธุ รรม ดว ยอาํ นาจของฌานปจ จัย มี ๓ วาระ. ๑๘. มคั คปจจยั [๓๑] เหตธุ รรม เปน ปจจยั แกเ หตุธรรม ดวยอาํ นาจของมคั คปจ จัย.
พระอภิธรรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 35 ๑๙. สมั ปยตุ ตปจ จยั ฯลฯ เปน ปจ จยั ดว ยอาํ นาจของสมั ปยุตตปจ จยั . ใน ๒ ปจ จัยน้ี มี ๙ วาระ. ๒๐. วิปปยุตตปจจัย [๓๒] ๑. เหตุธรรม เปน ปจ จยั แกนเหตธุ รรม ดวยอาํ นาจของวปิ ปยตุ ตปจจัย. มี ๒ อยา ง คอื ทเี่ ปน สหชาตะ และ ปจฉาชาตะ ท่เี ปน สหชาตะ ไดแ ก เหตธุ รรมท้งั หลาย เปน ปจ จัยแกจ ติ ตสมฏุ ฐานรูปทงั้ หลาย ดวยอํานาจของวิปปยตุ ตปจ จัย. ในปฏิสนธขิ ณะ เหตุธรรมทง้ั หลาย เปน ปจ จัยแกก ฏตั ตารปู ท้ังหลายดวยอาํ นาจของวิปปยตุ ตปจ จยั , เหตุธรรมท้ังหลาย เปน ปจจยั แกหทัยวตั ถุ ดวยอํานาจของวปิ ปยุตตปจ จัย. ทเ่ี ปน ปจ ฉาชาตะ ไดแก เหตธุ รรมทั้งหลาย เปน ปจจัยแกก ายน้ีทเ่ี กดิ กอน ดวยอํานาจของวิปปยุตตปจจัย. ๒. นเหตุธรรม เปนปจจัยแกน เหตธุ รรม ดวยอํานาจของวิปปยตุ ตปจจยั . มี ๓ อยาง คือทีเ่ ปน สหชาตะ ปเุ รชาตะ และ ปจฉาชาตะ ท่เี ปน สหชาตะ ไดแ ก
พระอภธิ รรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 36 ขันธท ้งั หลายท่ีเปน นเหตุธรรม เปนปจจยั แกจ ติ ตสมุฏฐานรปู ท้ังหลายดวยอํานาจของวปิ ปยุตตปจจยั . ในปฏสิ นธิขณะ ขันธท ั้งหลายที่เปนเหตุธรรม เปน ปจ จัยแกก ฏตั ตารปูท้งั หลาย ดวยอาํ นาจของวิปปยตุ ตปจจยั . ขนั ธทั้งหลาย เปน ปจจยั แกห ทยั วตั ถ,ุ หทัยวัตถุเปนปจจยั แกข นั ธท้งั หลาย ดวยอํานาจของวิปปยตุ ตปจจยั . ทเี่ ปน ปุเรชาตะ ไดแ ก จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ เปนปจจัยแกกายวิญญาณ. หทยวตั ถุ เปนปจ จยั แกขนั ธท ัง้ หลายทีเ่ ปนนเหตธุ รรม ดวยอํานาจของวปิ ปยตุ ตปจ จยั . ทีเ่ ปน ปจฉาชาตะ ไดแ ก ขนั ธท้ังหลายที่เปนนเหตธุ รรม ที่เกิดภายหลงั เปนปจ จัยแกกายน้ีท่ีเกดิ กอ น ดวยอํานาจของวิปปยุตตปจ จยั . ๓. นเหตธุ รรม เปนปจ จัยแกเ หตุธรรม ดว ยอํานาจของวิปปยุตตปจจยั . มี ๒ อยา ง คือท่ีเปน สหชาตะ และ ปเุ รชาตะ ทีเ่ ปน สหชาตะ ไดแ ก ในปฏิสนธขิ ณะ หทยวตั ถุ เปนปจจยั แกเหตธุ รรมทั้งหลาย ดว ยอาํ นาจของวิปปยตุ ตปจจัย. ที่เปน ปเุ รชาตะ ไดแ ก
พระอภธิ รรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 37 หทยวัตถุ เปนปจจัยแกเหตธุ รรมท้งั หลาย ดว ยอํานาจของวปิ ปยุตต-ปจจัย. ๔. นเหตุธรรม เปนปจ จัยแกเ หตธุ รรม และนเหตุ-ธรรม ดวยอาํ นาจของวปิ ปยตุ ตปจ จัย. มี ๒ อยา ง คือที่เปน สหชาตะ และ ปเุ รชาตะ ที่เปน สหชาตะ ไดแก ในปฏิสนธขิ ณะ หทยวัตถุ เปน ปจ จยั แกเ หตุธรรมทง้ั หลาย และสมั ปยตุ ตขนั ธทงั้ หลาย ดว ยอํานาจของวปิ ปยตุ ตปจจยั . ทเ่ี ปน ปุเรชาตะ ไดแก หทยวัตถุ เปนปจจัยแกเหตธุ รรมทั้งหลาย และสมั ปยุตตขันธท้ังหลายดวยอาํ นาจของวปิ ปยตุ ตปจจัย. ๕. เหตุธรรมและนเหตุธรรม เปน ปจ จยั แกน เหตุธรรมดว ยอํานาจของวปิ ปยตุ ตปจจยั . มี ๒ อยาง คอื ทเี่ ปน สหชาตะ และ ปจ ฉาชาตะ ทเ่ี ปน สหชาตะ ไดแก เหตธุ รรมทัง้ หลาย และสัมปยุตตขนั ธทง้ั หลาย เปน ปจ จัยแกจติ ต-สมุฏฐานรูปท้ังหลาย ดวยอํานาจของวปิ ปยตุ ตปจ จัย. ในปฏสิ นธิขณะ เหตุธรรมท้งั หลาย และสัมปยตุ ตขนั ธท งั้ หลาย เปนปจจยั แกกฏตั ตารปู ท้งั หลาย ดวยอํานาจของวิปปยุตตปจ จยั .
พระอภิธรรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 38 ท่เี ปน ปจฉาชาตะ ไดแก เหตธุ รรมท้งั หลาย และสัมปยตุ ตขันธทง้ั หลาย ท่ีเกดิ ภายหลัง เปนปจจัยแกก ายน้ี ท่เี กดิ กอน ดวยอาํ นาจของวปิ ปยุตตปจ จยั . ๒๑. อตั ถิปจจัย [๓๓] ๑. เหตุธรรม เปน ปจจยั แกเหตุธรรม ดวยอํานาจของอัตถิปจจัย. คือ อโลภะ เปน ปจจยั แกอโทสะ, แกอโมหะ ดว ยอาํ นาจของอตั ถิปจจยั . พงึ ผูกจักรนยั . โลภะ เปนปจจัยแกโ มหะ ดว ยอํานาจของอตั ถปิ จจัย. พงึ ผกู จกั รนัย ในปฏสิ นธขิ ณะ ฯลฯ ๒. เหตธุ รรม เปน ปจ จัยแกนเหตธุ รรม ดวยอาํ นาจของอตั ถปิ จ จยั มี ๒ อยา ง คอื ท่ีเปน สหชาตะ และ ปจฉาชาตะ ท่เี ปน สหชาตะ ไดแก เหตุธรรมท้ังหลาย เปนปจจัยแกสมั ปยุตตขันธ และจติ ตสมฏุ ฐานรูปท้ังหลาย ดว ยอาํ นาจของอัตถิปจจัย. ในปฏสิ นธิขณะ ฯลฯ
พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 39 ทีเ่ ปน ปจฉาชาตะ ไดแ ก เหตธุ รรมท้ังหลาย ที่เกดิ ภายหลงั เปน ปจจัยแกกายน้ี ทีเ่ กดิ กอ นดว ยอาํ นาจของอตั ถิปจจัย. ๓. เหตธุ รรม เปน ปจ จยั แกเหตธุ รรม และนเหต-ุธรรม ดวยอาํ นาจของอัตถิปจ จยั คือ อโลภะ เปนปจจัยแกอ โทสะ แกอโมหะ แกสัมปยตุ ตขนั ธ และจิตตสมฏุ ฐานรูปทง้ั หลาย ดวยอํานาจของอตั ถิปจ จัย. พึงผกู จกั รนัย โลภะ เปน ปจจัยแกโมหะ แกส ัมปยตุ ตขันธ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ดวยอํานาจของอัตถิปจจัย. พึงผูกจักรนยั ในปฏสิ นธิขณะ ฯลฯ ๔. นเหตธุ รรม เปนปจจยั แกนเหตธุ รรม ดวยอาํ นาจของอัตถปิ จจยั มี ๕ อยาง คอื ท่เี ปน สหชาตะ ปุเรชาตะ ปจ ฉาชาตะ อาหาระและอนิ ทรยิ ะ ทีเ่ ปน สหชาตะ ไดแ ก ขนั ธ ๑ ทเ่ี ปน นเหตุธรรม เปน ปจ จยั แกข นั ธ ๓ และจติ ตสมุฏฐานรปูทั้งหลาย ดวยอาํ นาจของอตั ถิปจจัย ฯลฯ ขนั ธ ๒ ฯลฯ. ในปฏสิ นธิขณะ ขนั ธ ๑ ทเ่ี ปนนเหตธุ รรม เปนปจ จยั แกขันธ ๓และกฏัตตารปู ทั้งหลาย ฯลฯ.
พระอภิธรรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 40 พึงผูกจกั รนัย. ขันธท งั้ หลาย เปนปจ จัยแกห ทัยวัตถุ ดว ยอํานาจของอตั ถิปจ จยั . หทยวตั ถุเปนปจจยั แกขันธทงั้ หลาย ดวยอํานาจของอตั ถปิ จจัย. มหาภูตรปู ๑ ฯลฯ พาหริ รปู ...อาหารสมุฏฐานรูป...อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ. อสญั ญสตั วท ้งั หลาย ฯลฯ. ทเี่ ปน ปุเรชาตะ ไดแ ก บคุ คลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯ บุคคลเหน็ รูปดวยทิพยจกั ษุ ฟง เสียงดว ยทิพโสตธาตุ ฯลฯ. รูปายตนะ ฯลฯ โผฏฐพั พายตนะ เปนปจจัยแกก ายวิญญาณ. จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ เปน ปจ จยั แกกายวญิ ญาณ ดวยอาํ นาจของอตั ถิปจ จัย. หทยวตั ถุ เปนปจ จัยแกขันธทง้ั หลายท่ีเปนนเหตธุ รรม ดวยอาํ นาจของอัตถิปจจยั . ที่เปน ปจฉาชาตะ ไดแก ขนั ธท ้งั หลายทเี่ ปนนเหตธุ รรม ทีเ่ กดิ ภายหลงั เปน ปจจัยแกก ายนี้ทีเ่ กิดกอ น ดวยอาํ นาจของอตั ถิปจ จัย. กวฬกี าราหาร เปน ปจจยั แกก ายนี้ ดว ยอาํ นาจของอัตถปิ จจัย. รปู ชวี ติ ินทรยี เปน ปจ จัยแกกฏัตตารปู ทงั้ หลาย ดวยอํานาจของอัตถิ-ปจจยั .
พระอภิธรรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 41 ๕. นเหตุธรรม เปน ปจจยั แกเหตุธรรม ดวยอํานาจของอัตถิปจจยั มี ๒ อยาง คือทเ่ี ปน สหชาตะ และ ปเุ รชาตะ ทีเ่ ปน สหชาตะ ไดแ ก ขันธท งั้ หลายที่เปน นเหตธุ รรม เปนปจ จยั แกสัมปยุตตเหตทุ ้ังหลายดว ยอาํ นาจของอตั ถปิ จ จยั . ในปฏสิ นธขิ ณะ หทยวตั ถุ เปนปจจยั แกเหตธุ รรมทงั้ หลาย ดว ยอาํ นาจของอตั ถิปจจัย. ท่เี ปน ปเุ รชาตะ ไดแก บุคคลพจิ ารณาเหน็ จกั ษุ ฯลฯ หทัยวตั ถุ โดยความเปน ของไมเ ท่ียงฯลฯ โทมนัส ยอมเกิดข้ึน. บคุ คลเห็นรปู ดว ยทิพยจักษุ ฟง เสียงดว ยทพิ โสตธาตุ หทยวัตถุเปนปจจัยแกเ หตธุ รรมทง้ั หลาย ดวยอาํ นาจของอัตถปิ จจยั . ๖. นเหตุธรรม เปนปจ จยั แกเ หตธุ รรมและนเหต-ุธรรม ดว ยอํานาจของอัตถิปจจยั มี ๒ อยา ง คอื ที่เปน สหชาตะ และ ปเุ รชาตะ ขนั ธ ๑ ทเี่ ปน นเหตธุ รรม เปนปจ จัยแกขันธ ๓, แกเหตธุ รรมทงั้ หลายและจิตตสมฏุ ฐานรปู ท้งั หลาย ดวยอํานาจของอตั ถิปจ จยั . ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เปนปจ จัยแกเหตธุ รรมทัง้ หลาย และสัมปยุตตขนั ธท ้งั หลาย ดวยอํานาจของอตั ถิปจจยั .
พระอภิธรรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 42 ทีเ่ ปน ปุเรชาตะ ไดแ ก บคุ คลพจิ ารณาเหน็ จักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ โดยความเปน ของไมเ ทยี่ งฯลฯ โทมนสั ยอมเกดิ ขน้ึ . บุคคลเห็นรปู ดว ยทิพยจกั ษุ, ฟงเสียงดว ยทพิ โสตธาต.ุ หทยวตั ถุ เปนปจ จยั แกเ หตธุ รรมทั้งหลาย และสมั ปยุตตขันธทง้ัหลาย ดว ยอาํ นาจของอตั ถปิ จ จยั . ๗. เหตธุ รรม และนเหตธุ รรม เปนปจ จัยแกเ หตุธรรม ดว ยอํานาจของอัตถิปจ จัย มี ๒ อยาง คอื ท่เี ปน สหชาตะ และ ปเุ รชาตะ อโลภะและสมั ปยตุ ตขันธทัง้ หลาย เปน ปจ จัย แกอโทสะ แกอ โมหะดวยอํานาจของอัตถปิ จจยั . พึงผูกจกั รนยั . โลภะ และสมั ปยุตตขันธทง้ั หลาย เปน ปจจัยแกโ มหะ ดวยอาํ นาจของอัตถปิ จ จยั . พึงผูกจกั รนัย. ในปฏสิ นธขิ ณะ อโลภะ และหทยั วตั ถุ เปนปจจัยแกอ โทสะ อโมหะดวยอาํ นาจของอัตถิปจ จัย. พงึ ผกู จกั รนัย. ๘. เหตุธรรมและนเหตธุ รรม เปนปจ จยั แกน เหตุธรรม ดว ยอาํ นาจของอัตถปิ จจัย
พระอภิธรรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 43 มี ๓ อยา ง คือทเ่ี ปน สหชาตะ, ปจฉาชาตะ รวมกบั อาหาระและรวมกับ อินทริยะ ทีเ่ ปน สหชาตะ ไดแ ก ขันธ ๑ ที่ เปน นเหตธุ รรม และเหตุธรรม เปน ปจจยั แกข นั ธ ๓และจิตตสมุฏฐานรปู ทงั้ หลาย ดว ยอาํ นาจของอตั ถิปจจยั ฯลฯ ขนั ธ ๒ ฯลฯ. ในปฏิสนธิขณะ เหตธุ รรมและหทัยวตั ถุ เปน ปจจัยแกขันธท ั้งหลายท่ีเปน นเหตุธรรม ดวยอํานาจของอัตถปิ จ จยั . เหตุธรรมท้ังหลาย และมหาภูตรปู ทง้ั หลายทีเ่ กดิ พรอ มกนั เปน ปจจัยแกจ ติ ตสมุฏฐานรูปท้งั หลาย ดวยอาํ นาจของอัตถิปจ จัย. ท่ีเปน ปจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ไดแก เหตุธรรมทัง้ หลายท่ีเกดิ ภายหลงั และกวฬกี าราหาร เปน ปจ จัยแกกายน้ี ดวยอาํ นาจของอัตถิปจจยั . ที่เปน ปจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ ไดแ ก เหตธุ รรมท้งั หลายท่ีเกดิ ภายหลัง และรปู ชวี ติ นิ ทรยี เปน ปจจัยแกกฏตั ตารปู ท้งั หลาย ดว ยอํานาจของอัตถิปจจัย. ๙. เหตุธรรม และนเหตธุ รรม เปน ปจจยั แกเ หต-ุธรรมและนเหตุธรรม ดวยอาํ นาจของอัตถปิ จ จัย มี ๒ อยา ง คือทเ่ี ปน สหชาตะ และ ปุเรชาตะ ท่ีเปน สหชาตะ ไดแก ขนั ธ ๑ ทเ่ี ปน นเหตุธรรม และอโลภะ เปน ปจจยั แกขันธ ๓, แกอโทสะ, แกอโมหะ และจติ ตสมุฏฐานรปู ทงั้ หลาย ดว ยอํานาจของอัตถปิ จ จยั .
พระอภิธรรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 44 พงึ ผกู จักรนัย. ขันธ ๑ ทเ่ี ปนนเหตธุ รรม และโลภะ เปน ปจ จยั แกขันธ ๓, แกโ มหะและจิตตสมฏุ ฐานรปู ท้ังหลาย ดวยอํานาจของอตั ถปิ จ จัย. พงึ ผกู จักรนัย. ในปฏสิ นธิขณะ ขนั ธ ๑ ท่เี ปน นเหตุธรรม และอโลภะ ฯลฯ พึงผกู จกั รนยั . ในปฏิสนธิขณะ อโลภะ และหทยวัตถุ เปนปจจยั แกอโทสะ, แกอโมหะและสัมปยุตตขนั ธท ั้งหลาย ดวยอํานาจของอตั ถิปจจัย. โลภะ และหทยวัตถุ เปนปจจยั แกโ มหะ และสัมปยุตตขันธท ้ังหลายดวยอํานาจของอตั ถิปจจยั . ๒๒. นตั ถิปจ จัย ฯลฯ ๒๔. อวิคตปจ จยั ฯลฯ เปน ปจจยั ดว ยอํานาจของอตั ถปิ จ จยั . ฯลฯ เปนปจ จัย ดว ยอาํ นาจของวิคตปจจยั . ฯลฯ เปนปจ จยั ดวยอํานาจของอวคิ ตปจจัย. การนบั จาํ นวนวาระในอนโุ ลม สุทธมูลกนยั [๓๔] ในเหตุปจจยั มี ๓ วาระ ในอารมั มณปจ จัย มี ๙ วาระในอธปิ ตปิ จ จยั มี ๙ วาระ ในอนันตรปจจยั มี ๙ วาระ ในสมนันตรปจ จยั
พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 45มี ๙ วาระ ในสหชาตปจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมญั ญปจ จัย มี ๙ วาระในนิสสยปจจยั มี ๙ วาระ ในอุปนิสสยปจจัย มี ๙ วาระ ในปุเรชาตปจจยัมี ๓ วาระ ในปจฉาชาตปจจยั มี ๓ วาระ ในอาเสวนปจ จัย มี ๙ วาระในกัมมปจ จยั มี ๓ วาระ ในวปิ ากปจจัย มี ๙ วาระ ในอาหารปจจยั มี ๓วาระ ในอินทรยิ ปจ จยั มี ๙ วาระ ในฌานปจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปจ จยัมี ๙ วาระ ในสัมปยตุ ตปจ จัย มี ๙ วาระ ในวิปปยุตตปจจัย มี ๕ วาระในอตั ถปิ จ จยั มี ๙ วาระ ในนตั ถิปจจยั มี ๙ วาระ ในวคิ ตปจจัย มี ๙วาระ ในอวคิ ตปจ จัย มี ๙ วาระ. ผูม ปี ญญาพึงนับอยา งน.ี้ อนโุ ลมนยั จบ ปจ จนยี นยั การยกปจจัยในปจ จนยี ะ [๓๕] ๑. เหตธุ รรม เปนปจ จยั แกเ หตุธรรม ดว ยอํานาจของอารมั มณปจจยั , เปนปจจัย ดวยอํานาจของสหชาตปจจัย, เปนปจ จยัดวยอาํ นาจของอุปนสิ สยปจจัย. ๒. เหตุธรรม เปน ปจจยั แกน เหตธุ รรม ดวยอาํ นาจของอารมั มณปจ จยั , เปนปจจัย ดวยอาํ นาจของสหชาตปจจัย, เปนปจ จัย ดวยอาํ นาจของอปุ นสิ สยปจจยั , เปนปจ จัย ดว ยอํานาจของปจฉาชาตปจ จยั .
พระอภธิ รรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 46 ๓. เหตุธรรม เปนปจจัยแกเ หตุธรรม และนเหตุธรรมดว ยอาํ นาจของอารัมมณปจ จยั เปนปจจัย ดวยอํานาจของสหชาต-ปจจยั , เปนปจจัย ดว ยอาํ นาจของอุปนสิ สยปจจัย. ๔. นเหตุธรรม เปน ปจ จัยแกนเหตุธรรม ดวยอํานาจของอารมั มณปจ จัย, เปน ปจจยั ดว ยอาํ นาจของสหชาตปจ จัย, เปนปจ จยั ดว ยอํานาจของอุปนิสสยปจจยั , เปนปจจยั ดว ยอํานาจของปเุ รชาตปจ จัย, เปน ปจจัย ดว ยอาํ นาจปจ ฉาชาตปจ จยั , เปน ปจ จัยดวยอาํ นาจของกมั มปจจัย, เปนปจจัย ดว ยอํานาจของอาหารปจ จยั ,เปนปจจัย ดว ยอํานาจของอนิ ทริยปจจยั . ๕. นเหตุธรรม เปน ปจจยั แกเ หตุธรรม ดวยอาํ นาจของอารมั มณปจจัย, เปน ปจจยั ดวยอํานาจของสหชาตปจ จัย, เปนปจ จยั ดวยอํานาจของอปุ นสิ สยปจ จัย, เปนปจ จยั ดว ยอาํ นาจของปุเรชาตปจ จัย, เปน ปจ จยั ดวยอาํ นาจของกมั มปจ จยั . ๖. นเหตธุ รรม เปน ปจจยั แกเ หตุธรรม และนเหต-ุธรรม ดว ยอาํ นาจของอารมั มณปจ จัย, เปนปจจยั ดวยอาํ นาจของสหชาตปจ จัย เปน ปจ จยั ดว ยอํานาจของอปุ สสยปจจยั , เปน ปจ จัยดวยอาํ นาจขงปุเรชาตปจจัย, เปนปจ จัย ดวยอํานาจของกมั มปจจัย. ๗. เหตุธรรม และนเหตุธรรม เปนปจจยั แกเ หตุธรรมดวยอํานาจของอารัมมณปจจัย, เปน ปจ จยั ดวยอาํ นาจของสหชาต-ปจจยั , เปนปจ จัย ดว ยอํานาจของอปุ นิสสยปจ จัย.
พระอภธิ รรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ที่ 47 ๘. เหตธุ รรม และนเหตธุ รรม เปน ปจจัยแกนเหตุ-ธรรม ดวยอาํ นาจของอารมั มณปจจยั , เปน ปจ จยั ดวยอาํ นาจของสหชาตปจจัย, เปนปจจัย ดว ยอาํ นาจของอปุ นิสสยปจ จยั , เปน ปจจัยดวยอํานาจของปจฉาชาตปจจัย. ๙. เหตธุ รรม และนเหตุธรรม เปนปจจัยแกเหตธุ รรมและนเหตุธรรม ดวยอํานาจของอารัมมณปจจยั , เปนปจจยั ดว ยอาํ นาจของสหชาตปจจยั , เปนปจ จยั ดว ยอํานาจของอปุ นิสสยปจ จยั . การนับจํานวนวาระในปจจนียะ [๓๖] ในนเหตปุ จ จัย มี ๙ วาระ ในนอารมั มณปจ จยั มี ๙ วาระฯลฯ ในโนอวิคตปจจยั มี ๙ วาระ. พงึ นบั อยางน้.ี ปจจนียนยั จบ อนุโลมปจจนียนัย การนบั จาํ นวนวาระในอนโุ ลมปจ จนยี ะ [๓๗] เพราะเหตุปจจยั ในนอารัมมณปจจยั มี ๓ วาระ ...ในนอธิปตปิ จจยั มี ๓ วาระ ในนอนันตรปจจัย มี ๓ วาระ ในนสมนันตร-ปจ จัย มี ๓ วาระ ในนอัญญมัญญปจจยั มี ๑ วาระ ในนอปุ นิสสยปจจยั มี ๓วาระ ฯลฯ ในนมัคคปจ จัย มี ๓ วาระ ในนสมั ปยุตตปจ จัย มี ๑ วาระ ใน
พระอภธิ รรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาท่ี 48นวิปปยตุ ตปจจัย มี ๓ วาระ ในโนนัตถปิ จจยั มี ๓ วาระ ในโนวิคตปจ จยัมี ๓ วาระ. พึงนับอยา งนี้. อนุโลมปจ จนียนยั จบ ปจ จนียานุโลม การนับจํานวนวาระในปจจนียานโุ ลม [๓๘] เพราะนเหตปุ จ จยั ในอารมั มณปจจยั มี ๙ วาระ . . . ในอธปิ ติปจจัย มี ๙ วาระ ในอนนั ตรปจ จัย มี ๙ วาระ ในสมนันตรปจจัยมี ๙ วาระ ในสหชาตปจ จยั มี ๓ วาระ ในอัญญมญั ญปจ จยั มี ๓ วาระ ในนสิ สยปจจัย มี ๓ วาระ ในอุปนสิ สยปจ จัย มี ๙ วาระ ในปเุ รชาตปจจัยมี ๓ วาระ ในปจฉาชาตปจ จัย มี ๓ วาระ ในอาเสวนปจ จัย มี ๓ วาระ ในกัมมปจจัย มี ๓ วาระ ในวปิ ากปจจยั มี ๓ วาระ ในอาหารปจจยั มี ๓ วาระในอินทริยปจจยั มี ๓ วาระ ในฌานปจ จัย มี ๓ วาระ ในมคั คปจจัย มี ๓ วาระในสมั ปยตุ ตปจจยั มี ๓ วาระ ในวปิ ปยตุ ตปจ จยั มี ๓ วาระ ในอตั ถิปจ จัยมี ๓ วาระ ในนัตถปิ จ จยั มี ๙ วาระ ในวคิ ตปจ จัย มี ๙ วาระ ในอวิคตปจ จยัมี ๓ วาระ. พึงนับอยา งนี.้ ปจ จนียานโุ ลมนยั จบ เหตุทุกะ จบ
พระอภิธรรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนา ท่ี 49 อรรถกถาทุกปฏ ฐาน เหตทุ ุกะ เปน ตน แมใ นทุกปฏ ฐาน ผศู กึ ษา พงึ ทราบปญ หาวสิ ชั นาและการนบั ในทกุ ะทง้ั หมด ตามนัยที่กลาวมาแลว ในบาลนี ่นั เอง. อกี อยา งหนง่ึ ในทกุ ปฏ ฐานน้ีการวิสัชนา สเหตกุ ทุกะ และเหตสุ ัมปยุตตทุกะ เหมอื นกับการวสิ ัชนาเหตุทุกะ. เหตุและสเหตกุ เหตุ แหงเหตสุ มั ปยุตตทุกะ และสัปปจ จยทุกะสงั ขตทกุ ะ ก็เหมอื นกัน ฯ คํานวี้ า อิม ทกุ ยถา สปฺปจจฺ ยทกุ เอว กาตพพฺ พระผูมพี ระภาคตรัสไว เพราะแมสังขตธรรมยอมประกอบรวมกบั อสงั ขตธรรมไมไ ด. เหมอื นสัปปจจยธรรมประกอบกับอปั ปจ จยธรรมไมไ ดฉ ะน้ันสารัมมณทกุ ะ จติ ตสัมปยุตตทุกะ และสังสัฏฐทุกะ มวี ิสชั นาเหมือนกบัอาสวโคจฉกะ โอฆโคจฉกะ และโยคโคจฉกะ ซ่งึ เหมือนกัน เพราะวาธรรม๓ เหลา น้ี มวี สิ ชั นาเหมอื นกัน. อรรถกถาเหตุทุกะเปนตน จบ
พระอภิธรรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๔ - หนาที่ 50 ๒. สเหตุกทุกะ ปฏิจจวาระ อนโุ ลมนยั ๑. เหตุปจจัย [๓๙] ๑. สเหตุกธรรม อาศัยสเหตกุ ธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตปุ จจยั คือ ขันธ ๓ อาศัยขันธ ๑ ที่เปนสเหตุกธรรม ฯลฯ ขนั ธ ๒ อาศัยขันธ ๒. ในปฏสิ นธิขณะ ฯลฯ ๒. อเหตกุ ธรรม อาศัยสเหตุกธรรม เกิดขึน้ เพราะเหตปุ จจยั คอื จิตตสมฏุ ฐานรปู อาศยั ขนั ธทั้งหลายทเี่ ปนสเหตุกธรรม. ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ๓. สเหตกุ ธรรม และอเหตกุ ธรรม อาศัยสเหตุกธรรมเกดิ ขน้ึ เพราะเหตปุ จ จยั คอื ขันธ และจติ ตสมฏุ ฐานรูป อาศัยขันธ ๑ ท่ีเปน สเหตกุ ธรรมฯลฯ ขนั ธ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 517
- 518
- 519
- 520
- 521
- 522
- 523
- 524
- 525
- 526
- 527
- 528
- 529
- 530
- 531
- 532
- 533
- 534
- 535
- 536
- 537
- 538
- 539
- 540
- 541
- 542
- 543
- 544
- 545
- 546
- 547
- 548
- 549
- 550
- 551
- 552
- 553
- 554
- 555
- 556
- 557
- 558
- 559
- 560
- 561
- 562
- 563
- 564
- 565
- 566
- 567
- 568
- 569
- 570
- 571
- 572
- 573
- 574
- 575
- 576
- 577
- 578
- 579
- 580
- 581
- 582
- 583
- 584
- 585
- 586
- 587
- 588
- 589
- 590
- 591
- 592
- 593
- 594
- 595
- 596
- 597
- 598
- 599
- 600
- 601
- 602
- 603
- 604
- 605
- 606
- 607
- 608
- 609
- 610
- 611
- 612
- 613
- 614
- 615
- 616
- 617
- 618
- 619
- 620
- 621
- 622
- 623
- 624
- 625
- 626
- 627
- 628
- 629
- 630
- 631
- 632
- 633
- 634
- 635
- 636
- 637
- 638
- 639
- 640
- 641
- 642
- 643
- 644
- 645
- 646
- 647
- 648
- 649
- 650
- 651
- 652
- 653
- 654
- 655
- 656
- 657
- 658
- 659
- 660
- 661
- 662
- 663
- 664
- 665
- 666
- 667
- 668
- 669
- 670
- 671
- 672
- 673
- 674
- 675
- 676
- 677
- 678
- 679
- 680
- 681
- 682
- 683
- 684
- 685
- 686
- 687
- 688
- 689
- 690
- 691
- 692
- 693
- 694
- 695
- 696
- 697
- 698
- 699
- 700
- 701
- 702
- 703
- 704
- 705
- 706
- 707
- 708
- 709
- 710
- 711
- 712
- 713
- 714
- 715
- 716
- 717
- 718
- 719
- 720
- 721
- 722
- 723
- 724
- 725
- 726
- 727
- 728
- 729
- 730
- 731
- 732
- 733
- 734
- 735
- 736
- 737
- 738
- 739
- 740
- 741
- 742
- 743
- 744
- 745
- 746
- 747
- 748
- 749
- 750
- 751
- 752
- 753
- 754
- 755
- 756
- 757
- 758
- 759
- 760
- 761
- 762
- 763
- 764
- 765
- 766
- 767
- 768
- 769
- 770
- 771
- 772
- 773
- 774
- 775
- 776
- 777
- 778
- 779
- 780
- 781
- 782
- 783
- 784
- 785
- 786
- 787
- 788
- 789
- 790
- 791
- 792
- 793
- 794
- 795
- 796
- 797
- 798
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 550
- 551 - 600
- 601 - 650
- 651 - 700
- 701 - 750
- 751 - 798
Pages: