Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore tripitaka_34

tripitaka_34

Published by sadudees, 2017-01-10 01:15:35

Description: tripitaka_34

Search

Read the Text Version

พระสตุ ตันตปฎก อังคตุ รนกิ าย ติกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ที่ 1 พระสุตตนั ตปฎก อังคตุ ตรนกิ าย ตกิ นบิ าต เลม ที่ ๑ ภาคที่ ๓ขอนอบนอมแดพระผมู ีพระภาคเจา อรหนั ตสัมมาสัมพุทธเจาพระองคน ัน้ ปฐมปณ ณาสก พาลวรรคที่ ๑ ๑. ภยสตู ร วาดว ยผเู ปนภยั และไมเปนภยั [๔๔๐] ขา พเจา ไดส ดับมาอยา งน้ี :- สมยั หนงึ่ พระผูมีพระภาคเจา ประทับอยู ณ พระเชตวัน อารามของอนาถบณิ ฑกิ ะ คฤหบดี พระนครสาวตั ถี พระผูมพี ระภาคเจาตรสั เรยี กภิกษทุ ั้งหลายในท่นี ้นั แล ดว ยพระพุทธพจนวา ภกิ ขฺ โว (แนะภกิ ษุทั้งหลาย)ภกิ ษเุ หลา น้นั กราบทลู ขานรับตอ พระผูมีพระภาคเจา ดว ยคาํ วา ภทนเฺ ต(พระพุทธเจา ขา) แลว พระผมู พี ระภาคเจาไดต รสั พระธรรมเทศนาน้ีวา ดูกอนภกิ ษทุ ้งั หลาย ภัยอยา งใดอยางหน่ึงเกิดข้นึ ภยั ทัง้ ปวงนัน้ยอมเกดิ แตคนพาล หาเกิดแตบ ัณฑติ ไม อปุ ท วะอยา งใดอยางหน่ึงเกิดขึน้อปุ ทวะทงั้ ปวงนัน้ ยอมเกิดแตคนพาล หาเกิดแตบ ณั ฑิตไม อปุ สรรคอยา งใดอยางหนง่ึ เกดิ ขึน้ อุปสรรคทัง้ ปวงนน้ั ยอ มเกิดแตค นพาล หาเกิดแตบ ณั ฑิตไม.

พระสตุ ตันตปฎ ก อังคุตรนิกาย ติกนิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ที่ 2 ดูกอ นภิกษุทั้งหลาย เปรียบเหมือนไฟลุกจากเรอื นที่มุงบงั ดว ยตนออหรือจากเรอื นท่มี งุ บงั ดว ยหญาแลว ยอมไหมก ระทง่ั เรือนยอดทฉ่ี าบปนู ทั้งภายในทงั้ ภายนอกจนลมลอดไมไ ด มปี ระตอู ันลงกลอนสนิท มีหนาตางปด ไดฉนั ใด ดูกอนภิกษุทงั้ หลาย ภัย. . .อปุ ท วะ. . .อุปสรรคอยางใดอยางหน่ึงเกิดขน้ึ ยอมเกดิ แตค นพาล หาเกดิ แตบ ัณฑิตไม ฉันนนั้ ดังนแ้ี ล ภกิ ษุทง้ั หลาย คนพาลมภี ยั บัณฑติ ไมมีภยั คนพาลมีอปุ ท วะ บัณฑิตไมม อี ุปทวะ คนพาลมอี ปุ สรรค บณั ฑิตไมม อี ปุ สรรคภิกษุทั้งหลาย ภยั . . .อปุ ทวะ. . .อุปสรรคแตบณั ฑติ หามีไม. เพราะเหตุน้ัน ทานทง้ั หลายพงึ สาํ เหนยี กในขอนี้อยางนวี้ า บุคคลประกอบดว ยธรรม ๓ ประการ เหลาใด พึงรวู า เปนพาล เราท้งั หลายจักละเสียซึ่งธรรม ๓ ประการนนั้ บุคคลประกอบดวยธรรม ๓ ประการ เหลา ใด พึงรูวาเปนบณั ฑติ เราทงั้ หลายจักถือธรรมนนั้ ประพฤติ ภิกษทุ ้งั หลาย ทานท้ังหลายพึงสาํ เหนียกอยางนีแ้ ล. จบภยสูตรที่ ๑

พระสตุ ตันตปฎก องั คุตรนกิ าย ติกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ท่ี 3 อรรถกถาอังคตุ ตรนกิ าย ชือ่ มโนรถปรู ณี ตกิ นิปาตวรรณนา พาลวรรควรรณนาที่ ๑ อรรถกถาภยสูตร พึงทราบวนิ ิจฉัยในภยสูตรที่ ๑ แหง ตกิ นิบาต ดงั ตอไปนี้ :- ในบทวา ภยานิ เปนตน ความท่จี ิตสะดุง กลวั ชือ่ วา ภยั . อาการท่ีจติ ไมเปนสมาธิ ชื่อวา อุปทวะ. อาการท่จี ิตตดิ ขัด คอื อาการท่ีจิตของอยูในอารมณน้นั ๆ ชือ่ วา อปุ สรรค. พึงทราบความแตกตา งกนั แหงภยั อปุ ท วะ และอุปสรรคเหลานั้นดงั ตอไปนี้ พวกโจรอาศยั อยตู ามภูเขา และถ่ินทุรกนั ดาร สงขา วไปถึงชาวชนบทวา พวกเราจกั เขาปลนหมูบานของพวกทา นในวันโนน ต้ังแตเวลาที่ไดสดบัขาวนั้น ชาวชนบทเหลาน้นั กพ็ ากันหวาดกลัว. อาการอยางนี้ ช่ือวา อาการทจี่ ิตสะดุง กลวั . ชาวชนบทก็พากนั คิดวา ทาํ อยางไรดเี ลา พวกโจรโกรธพวกเราแลวจะพึงนาํ ความฉบิ หายมาใหเราเปนแน ดังนแ้ี ลว ฉวยควาทรพั ยส มบัตทิ ่ีพอหยิบฉวยติดมอื ไปได เขาปาพรอ มกบั ฝูงสัตวทวบิ ทจตบุ าท นอนตามพน้ื ดนิอยูในปานั้น ๆ ถูกแมลงมเี หลอื บและยุงเปน ตนกดั ก็พากันหลบเขาไปยังระหวา งพมุ ไม เหยยี บตอไมแ ละหนาม. ความฟุงซา นของชาวชนบทเหลา น้ันผูทอ งเที่ยวไปอยอู ยางนน้ั ช่อื วา อาการทจ่ี ติ ไมเ ปน สมาธิ.

พระสุตตันตปฎ ก องั คุตรนกิ าย ติกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ท่ี 4 หลังจากนน้ั เม่อื พวกโจรไมม าตามวนั ทีไ่ ดบ อกไว ชาวชนบทก็คดิกนั วา ชะรอยจกั เปนขาวลวง พวกเราจักกลับเขาหมบู าน ดงั น้แี ลว พากนัขนขา วของกลับเขาหมูบาน. คร้ังนนั้ พวกโจรทราบวา ชาวชนบทเหลานัน้พากันกลับเขาหมบู านแลว จึงพากันมาลอมหมูบานไว จดุ ไฟเผาที่ประตูสงั หารผูคนจาํ นวนมาก ปลนเอาทรัพยสมบัตทิ ้งั หมดไป. บรรดาชาวชนบทเหลานัน้ พวกทเี่ หลือจากถูกโจรสังหาร กพ็ ากนั ดบั ไฟ แลว นงั่ จบั เจา อยูในทีน่ นั้ ๆ มรี มเงาซมุ ประตู และเงาฝาเรอื นเปนตน หวนโศกเศรา ถึงสง่ิ ที่สูญเสยี ไป. อาการทีจ่ ิตขอ งอยอู ยา งนี้ ชอื่ วา อาการทจี่ ิตเก่ยี วของอยูใ นอารมณนน้ั . บทวา นฬาคารา ไดแก เรอื นทีม่ งุ และบังดว ยไมออ สวนเคร่ืองเรอื นทเ่ี หลือในเรือนไมอ อ นี้ ทําจากไม. แมในเรือนหญา กม็ นี ัย น้ีแล. บทวากูฏาคารานิ ไดแ ก เรอื นทยี่ กยอด. บทวา อุลลฺ ิตตฺ าวลติ ฺตานิ ไดแ กฉาบท้งั ขางในและขา งนอก. บทวา นิวาตานิ ไดแ ก ลมเขา ไปไมได. บทวาผสุ ิตคคฺ ฬานิ ไดแก บานประตทู ่ีติดเขา สนทิ ที่กรอบเชด็ หนา เพราะเปนของท่นี ายชางผูฉลาดทําไว. บทวา ปห ติ กวาฏานิ ไดแก ตดิ บานประตแู ลว .ดวยสองบทน้ี พระผมู ีพระภาคเจา มไิ ดตรสั หมายถึงบานประตแู ละหนาตางทป่ี ดไวประจาํ แตต รสั คณุ สมบัตเิ ทา น้นั . ก็บานประตูและหนา ตางเหลา นน้ัยอมปดและเปด ไดท ุกขณะทตี่ องการ. บทวา พาลโต อุปฺปชชฺ นตฺ ิ ความวา อปุ สรรคทั้งหลายยอมเกิดข้ึนเพราะอาศยั คนพาลทัง้ นั้น. เปนความจริง คนทไี่ มเ ปน บณั ฑติ เปนพาล เมอื่ปรารถนาความเปนพระราชา ความเปน อุปราช หรอื ปรารถนาตาํ แหนงใหญอยา งอ่ืน กจ็ ะชกั ชวนเอาลกู กําพราพอ ผโู งเงาเหมอื นตน จาํ นวนเลก็ นอยแลวเกล้ยี กลอ มวา มาเถิดเธอท้ังหลาย ฉันจักทําพวกเธอใหเปน ใหญ ซอ งสุม

พระสตุ ตนั ตปฎ ก องั คุตรนิกาย ตกิ นิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 5อยตู ามภเู ขาและปาทึบเปน ตน แลว บกุ เขาที่หมูบานแถวชายแดน ทาํ หมูบานใหเ สียหายแลว ตีทง้ั นิคม ทั้งชนบทตามลาํ ดบั . ผูคนปรารถนาสถานที่ ๆ ปลอดภัย จงึ พากันทิง้ บานเรอื นหลกี หนีไป.ทั้งภกิ ษุ ภกิ ษุณี ท่อี าศัยคนเหลา นั้นอยู กพ็ ากันละท้งิ สถานท่อี ยูข องตน ๆหลีกไป. ในสถานท่ีท่ีทานเหลา นั้นไปแลว ทงั้ ภิกษา ทัง้ เสนาสนะกห็ าไดยาก.ภยั ยอมมาถงึ บรษิ ัททงั้ ๔ อยางน้ีแล. แมใ นบรรพชิตท้งั หลาย ภิกษุผูเปนพาล ๒ รปู วิวาทกันแลวตา งเร่มิโจทกนั และกัน จงึ เกดิ ความวนุ วายใหญห ลวงขึ้น เหมอื นพวกภิกษชุ าวเมืองโกสมั พี ฉะนั้น. ภัยยอ มมาถงึ บรษิ ทั ๔ เหมือนกนั ก็ภยั เหลา ใดเกิดขนึ้ดงั วามาน้ี ภัยเหลานนั้ ทัง้ หมด ยอ มเกดิ ขึน้ มาจากคนพาล พระผูมีพระภาคเจาทรงยังเทศนาใหจบลงตามอนุสนธิ ดงั วา มานี้แล. จบอรรถกถาภยสตู รท่ี ๑ ๒. ลกั ขณสูตร วา ดว ยลกั ษณะของพาลและบณั ฑติ [๔๔๑] ดูกอ นภกิ ษุทัง้ หลาย คนพาลมีกรรมเปนลกั ษณะ บณั ฑิตก็มีกรรมเปนลักษณะ ปญ ญาปรากฏในอปทาน (ความประพฤต)ิ ภิกษุทั้งหลาย บุคคลผปู ระกอบดวยธรรม ๓ ประการ พงึ ทราบไดวาเปน คนพาล ธรรม ๓ ประการคอื อะไรบาง คือ กายทจุ ริต วจีทุจริตมโนทุจริต ผูป ระกอบดว ยธรรม ๓ ประการนี้แล พงึ ทราบเถดิ วา เปน พาล

พระสุตตันตปฎก องั คุตรนิกาย ติกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ท่ี 6 ภกิ ษุทั้งหลาย บุคคลผูป ระกอบดวยธรรม ๓ ประการ พึงทราบไดวาเปนบณั ฑติ ธรรม ๓ ประการคืออะไรบา ง คอื กายสุจริต วจสี ุจรติ มโน-สุจรติ ผปู ระกอบดวยธรรม ๓ ประการนี้แล พึงทราบเถิดวา เปนบัณฑติ เพราะเหตุนัน้ ทานทงั้ หลายพงึ สําเหนยี กในขอ นี้อยา งนี้วา บคุ คลประกอบดว ยธรรม ๓ ประการเหลา ใด พงึ ทราบไดวา เปนคนพาล เราทัง้ หลายจกั ละเสียซง่ึ ธรรม ๓ ประการนัน้ บุคคลประกอบดวยธรรม ๓ ประการเหลาใดพงึ ทราบไดว าเปน บณั ฑิต เราทั้งหลายจักถือธรรม ๓ ประการนนั้ ประพฤติภิกษุท้งั หลาย ทา นท้งั หลายพงึ สําเหนียกอยางนี้แล. จบลกั ขณสตู รท่ี ๒ อรรถกถาลักขณสูตร พึงทราบวนิ จิ ฉัย ในลักขณสูตรท่ี ๒ ดงั ตอไปน:ี้ - กรรมท่ีเปน ไปทางกายทวารเปน ตน เปนลกั ษณะ คอื เปนเหตุใหหมายรูบคุ คลนั้น เหตุนน้ั บุคคลน้ัน จึงชอ่ื วา มีกรรมเปนลักษณะ. ปญญาทง่ี ามดว ยความประพฤติ (จรติ ) ชอื่ วา อปทานโสภนปี ญญา.อธบิ ายวา พาลและบัณฑติ ยอมปรากฏดวยกรรมท่ีตนประพฤตมิ าแลวนั่นแล. จรงิ อยู ทางทคี่ นพาลไปแลว ยอ มเปน เหมือนทางไปของไฟปา ซึง่ ลามไปเผาไหมต นไม กอไม คามนคิ มเปนตน ฉะนน้ั . ปรากฏเหลือกแ็ ตเ พียงสถานที่ที่ปลูกบานเทานน้ั ซึ่งเตม็ ไปดว ย ถาน เขมา และเถา. สวน ทางทีบ่ ัณฑิตไป เหมอื นทางทเี่ มฆฝน ซ่ึงตงั้ เคาขน้ึ ท้งั ๔ ทิศ แลว ตกลงมา เตม็ หลมุ และบอเปนตน นาํ ความงอกงามของรวงขาวกลาชนดิ ตา ง ๆ มาใหฉ ะนนั้ . สถาน

พระสตุ ตันตปฎก องั คุตรนิกาย ติกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 7ทีท่ มี่ นี า้ํ เตม็ และมผี ลาผลของขาวกลา ชนิดตา ง ๆ งอกงาม ปรากฏอยูในทางท่เี มฆฝน ซง่ึ ต้ังเคาขึน้ ฉนั ใด ในทางทบี่ ณั ฑิตดาํ เนนิ ไป กม็ สี มบัติอยางเดียวเทานน้ั ไมม ีวบิ ัติเลยฉันนนั้ . บทท่ีเหลือในสูตรน้ี มีความหมายงา ยท้ังน้นั . จบอรรถกถาลกั ขณสตู ร ๓. จินตสูตร วา ดวยลกั ษณะแตกตางระหวางบัณฑติ กับคนพาล [๔๔๒] ดูกอ นภกิ ษทุ ง้ั หลาย น่ีลักษณะ นิมิต อปทานของคนพาลมี ๓ อยาง ๓ อยา งคืออะไรบาง คือ คนพาลในโลกนี้ ยอมเปนผคู ิดอารมณชั่วโดยปกติ พดู คําช่ัวโดยปกติ และทาํ การชวั่ โดยปกติ ก็ถาคนพาลจักไมเปนผคู ดิ อารมณช วั่ โดยปกติ พดู คําช่วั โดยปกติ และทาํ การช่ัวโดยปกตแิ ลวไซรคนฉลาดทง้ั หลายจะพงึ รูจักเขาไดอยา งไรวา อสัตบรุ ษุ ผนู เี้ ปนคนพาล ก็เพราะเหตุทค่ี นพาลยอ มเปน ผคู ดิ อารมณช วั่ โดยปกติ คาํ ชว่ั โดยปกติ และทาํ การชว่ั โดยปกติน่นั แล คนฉลาดทั้งหลายจงึ รจู กั เขาไดว า อสัตบรุ ุษผูน ีเ้ ปนคนพาลน่แี ล ภิกษุทั้งหลาย ลักษณะ นิมติ อปทาน ๓ อยา งของคนพาล ดูกอ นภิกษทุ ั้งหลาย นี่ลักษณะ นมิ ิต อปทาน ของบัณฑติ มี ๓ อยาง๓ อยาง คืออะไรบาง คอื บณั ฑติ ในโลกน้ี ยอ มเปน ผคู ิดอารมณดโี ดยปกติพูดคําดีโดยปกติ และทําการดีโดยปกติ กถ็ า บัณฑิตจกั ไมเ ปน ผคู ิดอารมณดีโดยปกตพิ ดู คําดีโดยปกติ และทาํ การดีโดยปกตแิ ลว ไซร คนฉลาดท้งั หลายจะพงึ รูจกั

พระสุตตนั ตปฎ ก อังคุตรนิกาย ตกิ นบิ าต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาท่ี 8เขาไดอยา งไรวา สตั บุรษุ ผนู ้เี ปนบัณฑิต กเ็ พราะเหตุท่ีบณั ฑิตยอ มเปนผคู ิดอารมณด โี ดยปกติ พดู คาํ ดโี ดยปกติ และทําการดีโดยปกตนิ น่ั แล คนฉลาดทั้งหลายจึงรูจักเขาไดว า สัตบรุ ษุ ผนู ้ีเปน บณั ฑิต นแ่ี ล ภิกษทุ ัง้ หลาย ลกั ษณะนมิ ิต อปทาน ๓ อยา งของบณั ฑติ เพราะเหตนุ นั้ ทา นทงั้ หลายพงึ สําเหนยี กในขอ นี้อยางนว้ี า บคุ คลประกอบดวยธรรม ๓ ประการเหลา ใด พึงทราบไดวาเปนคนพาล เราทัง้ หลายจักละเสยี ซงึ่ ธรรม ๓ ประการนน้ั บคุ คลประกอบดวยธรรม ๓ ประการเหลา ใดพึงทราบไดว าเปน บัณฑติ เราทั้งหลายจักถอื ธรรม ๓ ประการนน้ั ประพฤติภกิ ษุทัง้ หลาย เธอทง้ั หลายพงึ สาํ เหนยี กอยางนแี้ ล. จบจินตสูตรท่ี ๓ อรรถกถาจินตสูตร พึงทราบวินจิ ฉยั ในจนิ ตสตู รท่ี ๓ ดังตอไปนี้:- บทวา พาลลกขฺ ณานิ ไดแ ก ที่ช่ือวา พาลลกั ษณะ (ลักษณะของคนพาล) เพราะเปน เครอ่ื งใหคนทง้ั หลายกาํ หนด คือรูไดว าผนู เ้ี ปน พาล.ลักษณะเหลาน้นั แล เปนเหตใุ หห มายรูคนพาลน้ัน เพราะเหตนุ น้ั จึงชือ่ วาเคร่อื งหมายของคนพาล. บทวา พาลาปทานนิ ไดแก ความประพฤตขิ องคนพาล. บทวา ทจฺ จฺ นิ ตฺ ิตจนิ ตฺ ี ความวา คนพาลเมอื่ คดิ ยอ มคิดแตเรื่องที่

พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย ติกนิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 9ไมด ี ดวยอาํ นาจ อภิชฌา พยาบาท และมิจฉาทฏิ ฐ.ิ บทวา ทพุ ฺภาสิ-ตภาสี ความวา แมเ มอ่ื จะพูด ก็ยอ มพดู แตค ําพูดที่ไมดี แยกประเภทเปนมุสาวาทเปนตน . บทวา ทกุ กฺ ฏกมฺมารี ความวา แมเมอ่ื ทํายอ มทาํ แตสิ่งที่ไมดี ดว ยอาํ นาจปาณาติบาตเปนตน . บทมอี าทวิ า ปณฺฑิตลกฺขณานิพงึ ทราบตามทํานองลักษณะท่กี ลาวแลว น่ันแล. สวนบททั้งหลายมีบทวา สจุ นิ ตฺ ิตจินตฺ ี เปน ตน ในสตู รนี้ พึงประกอบดวยอาํ นาจแหงสจุ รติ ทั้งหลาย มีมโนสุจริตเปน ตน. จบอรรถกถาจนิ ตสูตรที่ ๓ ๔. อัจจยสูตร วาดวยธรรมทีบ่ งบอกวา เปน พาลหรือบณั ฑติ [๔๔๓] ดูกอนภกิ ษุทง้ั หลาย บคุ คลประกอบดว ยธรรม ๓ ประการพึงทราบไดว าเปนคนพาล ธรรม ๓ ประการคืออะไรบาง คอื ไมเหน็ ความลวงเกินโดยเปน ความลว งเกนิ เห็นความลวงเกนิ แลว ไมท ําคนื ตามวธิ ีท่ชี อบอนงึ่ เม่ือคนอ่ืนแสดงโทษทล่ี วงเกนิ กไ็ มร ับตามวธิ ที ่ีชอบ บุคคลประกอบดว ยธรรม ๓ ประการนี้แล พงึ ทราบเถิดวา เปน คนพาล ดูกอ นภกิ ษุท้งั หลาย บคุ คลประกอบดวยธรรม ๓ ประการ พึงทราบไดว า เปนบณั ฑติ ธรรม ๓ ประการคืออะไรบาง คือ เห็นความลวงเกินโดยเปนความลว งเกิน เหน็ ความลวงเกนิ โดยเปนความลว งเกินแลวทาํ คืนตามวิธี

พระสตุ ตันตปฎ ก อังคุตรนิกาย ติกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาท่ี 10ที่ชอบ อนึง่ เมื่อคนอน่ื แสดงโทษทีล่ วงเกินก็รับตามวิธที ่ีชอบ บุคคลประกอบดวยธรรม ๓ ประการน้ีแล พึงทราบเถิดวา เปน บัณฑิต. จบอัจจยสูตรท่ี ๔ อรรถกถาอัจจยสูตร พึงทราบวินจิ ฉยั ในอจั จยสูตรท่ี ๔ ดังตอ ไปน:้ี - บทวา อจจฺ ย อจฺจยโต น ปสฺสติ ความวา คนพาลยอ มไมเหน็ ความผดิ ของตนวา เปน ความผิด. บทวา อจฺจยโต ทิสวฺ า ยถาธมฺมน ปฏิกโรติ ความวา คนพาลแมทราบแลววา เราทําผดิ กไ็ มยอมทาํ ตามธรรมคือรับทัณฑกรรมมาแลว ก็ไมยอมแสดงโทษ คือไมยอมขอโทษคนอืน่ .* บทวา อจฺจย เทเสนฺตสสฺ ยถาธมฺม ปฏคิ ฺคณหฺ าติ ความวา เม่ือคนอืน่ ทราบวา เราทาํ ผิด รบั ทณั ฑกรรมมาแลวใหข อขมา คนพาลก็จะไมย อมยกโทษให. ธรรมฝายขาว ( ของบัณฑิต ) พึงทราบโดยนยั ทตี่ รงกันขามกบั ที่กลา วแลว . จบอรรถกถาอจั จยสตู รท่ี* ปาฐะวา อจฺจย น เทเสติ ฉบบั พมา เปน อจจฺ ย น เทเสติ นกขฺ มาเปติ แปลตามฉบบั พมา

พระสุตตันตปฎ ก องั คุตรนกิ าย ติกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาท่ี 11 ๕. อโยนิโสสตู ร วา ดวยธรรมทบ่ี งบอกวา เปน พาลหรือบัณฑติ [๔๔๔] ดกู อ นภิกษทุ ้งั หลาย บุคคลประกอบดวยธรรม ๓ ประการพงึ ทราบไดว า เปนพาล ธรรม ๓ ประการคืออะไรบา ง คือ ตั้งปญหาโดยไมแยบคาย แกป ญ หาโดยไมแยบคาย อน่งึ คนอน่ื แกปญ หาไดแยบคาย ดว ยถอยคําอนั กลมกลอ มสละสลวยไดเ หตุผลแลว ไมอ นโุ มทนา บุคคลประกอบดว ยธรรม ๓ ประการนแ้ี ล พึงทราบเถิดวา เปนคนพาล ดูกอ นภกิ ษุท้ังหลาย บคุ คลประกอบดว ยธรรม ๓ ประการ พงึ ทราบไดวาเปน บัณฑติ ธรรม ๓ ประการคอื อะไรบาง คอื ตงั้ ปญ หาโดยแยบคายแกปญ หาโดยแยบคาย อนง่ึ คนอนื่ แกป ญหาไดแ ยบคาย ดวยถอ ยคาํ อันกลมกลอ มสละสลวยไดเหตผุ ลแลว อนโุ มทนา บคุ คลประกอบดวยธรรม ๓ประการนีแ้ ล ภกิ ษทุ ้งั หลาย พงึ ทราบเถดิ วา เปน บัณฑติ . จบอโยนิโสสตู รท่ี ๕

พระสุตตันตปฎ ก อังคุตรนิกาย ติกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาท่ี 12 อรรถกถาอโยนโิ สสตู ร พงึ ทราบวินจิ ฉัยในอโยนิโสสูตรที่ ๕ ดังตอ ไปนี:้ - บทวา อโยนโิ ส ปฺห กตฺตา โหติ ความวา คนพาลยอ มทาํส่งิ ท่ไี มเ ปนปญ หานั่นแลใหเ ปน ปญ หา เพราะคดิ ไมถ ูกวธิ ี เหมอื นพระโลฬุ-ทายีเถระ เมือ่ ถูกถามวา อทุ ายี ที่ตัง้ ของอนสุ ตมิ เี ทาไรหนอแล กค็ ดิ วาขนั ธทีเ่ คยอาศัยอยใู นภพกอน จักเปน ทต่ี ั้งของอนสุ ติ ดังน้แี ลว ทําสิ่งท่ไี มเปน ปญ หาใหเ ปน ปญหาฉะนนั้ . บทวา อโยนโิ ส ปหฺ  วิสชเฺ ชตา โหติ ความวา กค็ นพาลแมเมื่อจะวิสชั นาปญหาทคี่ ดิ ไดอยางน้ี* กก็ ลบั วิสัชนาโดยไมแยบคาย คลายพระเถระน้ันนัน่ แล โดยนยั มอี าทิวา ขา แตพ ระองคผเู จริญ ภิกษุในธรรม-วินัยน้ี ยอมระลึกถงึ ขันธท ่อี าศยั อยูใ นภพกอ นไดม ากมาย คอื ระลึกไดช าติหน่ึงบา ง คือยอมกลาวสิ่งทีไ่ มเ ปนปญ หานัน่ แล วาเปนปญหา. ในบทวา ปรมิ ณฺฑเลหิ ปทพยฺ ฺชเนหิ นี้ พึงทราบวินิจฉัยดังตอ ไปนี้ บทนน่ั แล ชอ่ื วา บทพยญั ชนะ เพราะทําความหมายใหป รากฏ บทพยญั ชนะน้ันท่ีกลาวทาํ อกั ษรใหบ ริบรู ณ ไมใหเสยี ความหมายของพยัญชนะ๑๐ อยา ง ชอื่ วา เปน ปริมณฑล (กลมกลนื ). อธบิ ายวา ดวยบทพยญั ชนะเห็นปานนี.้ บทวา สลิ ฏิ เหิ ไดแ ก ทช่ี ื่อวา สละสลวย เพราะมีบทอนั สละสลวย. บทวา อปุ คเตหิ ไดแก เขา ถงึ ผลและเหตุ.* ปาฐะวา จินฺตติ  ปนุ ฉบับพมาเปน เอว จนิ ตฺ ติ  ปน แปลตามฉบบั พมา

พระสุตตันตปฎ ก อังคุตรนิกาย ติกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ท่ี 13 บทวา นาพฺภนุโมทิตา* ความวา คนพาลยอมไมอนุโมทนา คือไมยินดีปญ หาของบคุ คลอนื่ ท่วี ิสชั นาโดยแยบคายอยา งน้ี คอื ทวี่ สิ ชั นาทําใหสมบูรณ ดว ยอาการทกุ อยาง. เหมอื นพระโลฬุทายเี ถระ ไมอ นโุ มทนาปญ หาของพระสารีบุตร ฉะนน้ั . เหมือนอยา งท่ีทานกลา วไววา อาวโุ สสารีบตุ ร ไมใชฐานะ ไมใชโอกาสเลยทีพ่ ระอนาคามนี น้ัลวงเลยความเปน สหายของเหลาเทพผูม ีกวฬิงการาหารเปน ภักษา เขาถงึ หมูเทพท่ีเปนมโนมยะหมูใ ดหมหู นงึ่ แลว จะพงึ เขาสญั ญาเวทยติ นิโรธกไ็ ด จะพึงออกจากสญั ญาเวทยิตนิโรธกไ็ ด ฐานะนีไ้ มม ีเลย. ในคาํ วา โยนิโส ปฺห กตฺตา เปน ตน พงึ ทราบวนิ ิจฉัยดงัตอไปน้ี บณั ฑิตคดิ ปญหาโดยแยบคายแลว ยอ มวสิ ัชนาปญหาโดยแยบคายเหมือนพระอานนทเถระฉะนน้ั . เปน ความจรงิ พระเถระถกู พระศาสดาตรัสถามวา ดูกอ นอานนท ทต่ี ้งั ของอนสุ ตมิ ีเทา ไรหนอแล กค็ ดิ โดยแยบคายกอ นวา น้ีจกั เปน ปญ หา เมื่อจะวสิ ชั นาโดยแยบคาย จึงทูลวา ขาแตพระองคผูเ จริญ ภกิ ษใุ นศาสนานี้ สงดั แลว เทยี วจากกามทง้ั หลาย ฯลฯ แลวเขาจตตุ ถฌานอยู ขาแตพระองคผเู จรญิ ท่ีตง้ั ของอนสุ ตนิ ี้ท่เี จริญแลวอยางนี้ทาํ ใหมากแลวอยางน้ี ยอมเปนไปเพอ่ื ความอยเู ปนสขุ ในปจ จบุ ัน. บทวา อพฺภานุโมทิตา โหติ ความวา บณั ฑิตยอมอนุโมทนาโดยแยบคาย เหมอื นพระตถาคตอนุโมทนาฉะนั้น. เปน ความจรงิ พระตถาคตเมอื่ พระอานนทเถระวิสัชนาปญ หาแลว กต็ รสั พระดํารัสมอี าทวิ า ดแี ลว* ปาฐะวา นาพฺภนุโมทิตา เปนบาลเี ดิม แตใ นอรรถกถาเปน นาภนิ โุ มทต.ิ

พระสตุ ตนั ตปฎ ก อังคุตรนกิ าย ตกิ นิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ท่ี 14ดีแลว อานนท ถาอยางน้ัน อานนท เธอจงทรงจําทตี่ ั้งแหง อนสุ ตทิ ี่ ๖ น้ีไวเถดิ อานนท ภกิ ษุในธรรมวินยั น้ี มสี ตกิ าวไปขางหนา มสี ตถิ อยหลงั กลบั . จบอรรถกถาอโยนโิ สสตู รที่ ๕ ๖. อกุสลสตู ร วาดวยธรรมท่ีบง บอกวา พาลหรือบัณฑติ [๔๔๕] ดกู อนภกิ ษทุ ้ังหลาย บคุ คลประกอบดวยธรรม ๓ ประการพงึ ทราบไดวาเปน พาล ธรรม ๓ ประการ คอื อะไรบาง คอื กายกรรมเปนอกศุ ล วจีกรรมเปน อกศุ ล มโนกรรมเปนอกุศล บุคคลประกอบดว ยธรรม ๓ ประการนแ้ี ล พงึ ทราบเถดิ วา เปน คนพาล. จบอกสุ ลสูตรที่ ๖ สตู รท่ี ๖-๗-๘ ความหมายงา ยทัง้ นั้น.

พระสุตตนั ตปฎ ก อังคตุ รนิกาย ตกิ นบิ าต เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ที่ 15 ๗. สาวชั ชสตู ร วาดว ยธรรมที่บง บอกวา เปนพาลหรอื บัณฑติ [๔๔๖] ดูกอ นภกิ ษทุ ้ังหลาย บคุ คลผปู ระกอบดวยธรรม ๓ ประการพึงทราบวา เปน คนพาล ธรรม ๓ ประการเปน ไฉน คอื กายกรรมท่ีเปนโทษ ๑ วจกี รรมท่ีเปน โทษ ๑ มโนกรรมทเ่ี ปนโทษ ๑ ดกู อ นภิกษทุ ้งั หลายบุคคลผูประกอบดว ยธรรม ๓ ประการนแ้ี ล พึงทราบวาเปนคนพาล ดกู อ นภิกษุทั้งหลาย บุคคลผปู ระกอบดว ยธรรม ๓ ประการ พึงทราบวาเปน บัณฑิตธรรม ๓ ประการเปนไฉน คือ กายกรรมท่ไี มเปน โทษ ๑ วจีกรรมทีไ่ มเปน โทษ ๑ มโนกรรมที่ไมเ ปน โทษ ๑ ดูกอนภิกษุท้ังหลาย บุคคลผูประกอบดว ยธรรม ๓ ประการน้แี ล พึงทราบวา เปน บัณฑิต. จบสาวชั ชสตู รที่ ๗ ๘. สัพยาปช ชสูตร วา ดว ยธรรมทบ่ี ง บอกวาเปนพาลหรือบัณฑติ [๔๔๗] ดูกอ นภกิ ษุทง้ั หลาย บุคคลผปู ระกอบดวยธรรม ๓ ประการพึงทราบวาเปนคนพาล ธรรม ๓ ประการเปนไฉน คอื กายกรรมทเี่ ปนการเบยี ดเบียน ๑ วจกี รรมทเ่ี ปน การเบยี ดเบียน ๑ มโนกรรมที่เปนการเบยี ดเบยี น ๑ ดกู อ นภกิ ษทุ ั้งหลาย บุคคลผูประกอบดว ยธรรม ๓ ประการนแ้ี ล พึงทราบวาเปน คนพาล ดกู อนภิกษุท้งั หลาย บคุ คลผปู ระกอบดวยธรรม

พระสตุ ตันตปฎก อังคุตรนกิ าย ตกิ นิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาท่ี 16๓ ประการ พงึ ทราบวา เปน บัณฑิต ธรรม ๓ ประการเปนไฉน คือ กายกรรมทไี่ มเ ปน การเบียดเบียน ๑ วจกี รรมท่ีไมเปนการเบยี ดเบียน ๑ มโนกรรมที่ไมเปน การเบียดเบยี น ๑ ดูกอ นภกิ ษุทั้งหลาย บุคคลผปู ระกอบดว ยธรรม๓ ประการน้ีแล พงึ ทราบวาเปนบัณฑติ ดูกอนภิกษุทงั้ หลาย เพราะฉะนนั้แหละ เธอทง้ั หลายพึงศึกษาอยา งน้ีวา บุคคลประกอบดวยธรรม ๓ ประการเหลา ใด อันเราพงึ รูวาเปนคนพาล เราจักประพฤตเิ วน ธรรม ๓ ประการนั้นบคุ คลประกอบดว ยธรรม ๓ ประการเหลาใด อนั เขาพึงรูว า เปน บัณฑติ เราจักประพฤติสมาทานธรรม ๓ ประการนน้ั ดูกอ นภกิ ษทุ ง้ั หลาย เธอท้งั หลายพงึ ศึกษาอยางนแ้ี ล. จบสพั ยาปชชสตู รท่ี ๘ ๙. ขตสตู ร วาดว ยการบริหารตนแบบพาลและบัณฑิต [๔๔๘] ดูกอนภกิ ษุท้ังหลาย บุคคลประกอบดว ยธรรม ๓ ประการเปน คนพาล ไมฉ ลาด เปน อสัตบรุ ุษ ครองตนอนั ขาด (แกนสาร) ถกูประหาร (เสียจากคุณธรรม) แลวอยู เปน คนประกอบดวยโทษ ผรู ูตเิ ตยี นและไดป ระสบส่ิงอนั ไมเปน บุญมากดวย ธรรม ๓ ประการคืออะไรบา ง คือกายทุจริต วจีทุจรติ มโนทุจริต บุคคลประกอบดว ยธรรม ๓ ประการนแ้ี ลเปน คนพาล ฯลฯ

พระสตุ ตันตปฎ ก อังคตุ รนิกาย ตกิ นบิ าต เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ท่ี 17 ดกู อ นภิกษุทง้ั หลาย บคุ คลประกอบดว ยธรรม ๓ ประการ เปนบัณฑติ ฉลาด เปน สัตบุรษุ ครองตนอันไมข าด (แกนสาร) ไมถ กู ประหาร(จากคณุ ธรรม) อยู เปน ผไู มม ีโทษ ผูรไู มติเตยี น และไดบุญมากดว ยธรรม ๓ ประการคอื อะไรบาง คอื กายสุจริต วจสี จุ รติ มโนสุจรติ บุคคลประกอบดว ยธรรม ๓ ประการนแ้ี ล เปน บัณฑิต ฯลฯ จบขตสตู รที่ ๙ อรรถกถาขตสตู ร พึงทราบวนิ ิจฉยั ในสตู รท่ี ๙ ดังตอ ไปนี้:- ธรรมฝา ยขาว ในสว นเบือ้ งตน กําหนดดวยกุศลกรรมบถ ๑๐ ในสวนเบอื้ งสงู ยอมได จนถงึ อรหัตมรรค. ในบทวา พหุจฺ ปุฺ ปสวติ นี้ พระผมู พี ระภาคเจาตรสั ถึงบญุ ท่คี ละกันไป ทัง้ โลกิยะ และโลกตุ ระ. จบอรรถกถาขตสตู รท่ี ๙

พระสตุ ตันตปฎก อังคตุ รนิกาย ตกิ นบิ าต เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ที่ 18 ๑๐. มลสูตร วา ดว ยมลทิน ๓ ประการ [๔๔๙] ดกู อนภกิ ษุทง้ั หลาย บุคคลประกอบดว ยธรรม ๓ ไมละมล-ทนิ ๓ ยอมเปนผูอุบตั ิในนรก เหมือนถูกนาํ ตวั ไปเกบ็ ไวฉะนัน้ ธรรม ๓ประการคืออะไรบา ง คือ เปนผทู ุศลี และไมละมลทินคอื ความทุศีลดวย เปนผูรษิ ยาและไมล ะมลทินคือความริษยาดว ย เปนผูตระหนี่และไมล ะมลทินคอื ความตระหน่ีดวย บุคคลประกอบดวยธรรม ๓ น้ีไมละมลทนิ ๓ น้แี ล ยอมอุบตั ิในนรก เหมอื นถูกนําตวั ไปเก็บไว ฉะน้ัน ดกู อนภิกษทุ ั้งหลาย บุคคลประกอบดว ยธรรม ๓ ละมลทนิ ๓ ยอ มอบุ ัตใิ นสวรรค เหมอื นเขาเชญิ ตวั ไปประดษิ ฐานไวฉะนน้ั ธรรม ๓ ประการคอื อะไรบา ง คอื เปน ผูม ศี ีลและมลทินคือความทุศลี กล็ ะไดแลวดวย เปนผไู มรษิ ยาและมลทนิ คือความริษยาก็ละไดแ ลวดวย เปนผไู มตระหน่แี ละมลทินคือความตระหนกี่ ล็ ะไดแลว ดวย บคุ คลประกอบดวยธรรม ๓ น้ี ละมลทิน๓ นแ้ี ล ยอ มอบุ ตั ใิ นสวรรค เหมอื นเขาเชิญตัวไปประดิษฐานไวฉะน้นั . จบมลสตู รท่ี ๑๐ จบพาลวรรคท่ี ๑

พระสุตตนั ตปฎ ก อังคตุ รนกิ าย ติกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ที่ 19 อรรถกถามลสตู ร พงึ ทราบวนิ จิ ฉยั ในมลสตู รที่ ๑๐ ดงั ตอ ไปน:้ี - ภาวะของบคุ คลทุศลี ชอ่ื วา ทสุ สียะ. ทสุ สลี ยะน้ันแหละเปนมลทิน จงึ ชอ่ื วา ทุสสีลยมละ. ความหมายของมลทิน ถามวา ทชี่ ่อื วามลทนิ เพราะหมายความวาอยางไร. ตอบวา เพราะหมายความวาตามเผาไหม ๑ เพราะหมายความวา มีกล่ินเหมน็ ๑ เพราะหมายความวา ทําใหเ ศราหมอง ๑. อธบิ ายวา มลทินน้ัน ยอมตามเผาไหมส ตั ว ในอบายท้งั หลายมีนรกเปน ตน เพราะเหตนุ ้ัน จงึ ชอื่ วาเปนมลทิน เพราะหมายความวา ตามเผาไหมบ า ง. บุคคลเกลอื กกลว้ั ดว ยมลทินน้ัน เปนทีน่ า รงั เกยี จ ทงั้ ในสาํ นักมารดาบดิ า ทัง้ ภายในภกิ ษุสงฆ ทง้ั ในโพธสิ ถาน และเจดียสถาน และกลิ่นอนั เกดิจากความไมดีของเขา ยอมฟงุ ไปในทุกทิศวา ผนู ้นั ทาํ บาปกรรมเห็นปานนี้เหตุนัน้ จงึ ช่อื วา เปน มลทนิ เพราะหมายความวา มีกลน่ิ เหม็นบาง. บุคคลผเู กลือกกลั้วดว ยมลทนิ น้ัน ยอมไดรับความเดอื ดรอนในที่ที่ไปถึง และกายกรรมเปนตน ของเขากไ็ มส ะอาด ไมผองใส เพราะเหตนุ ้นั จึงช่ือวาเปน มลทิน เพราะหมายความวา ทําใหเศรา หมองบา ง. อีกอยางหน่งึ มลทนิ นนั้ ยอมทําเทวสมบัติ มนุษยสมบตั ิ และนพิ พานสมบตั ใิ หเ หย่ี วแหงไป เพราะเหตุนัน้ พึงทราบวาเปนมลทิน เพราะหมายความวา ทาํ ใหเ ห่ยี วแหง บา ง.

พระสตุ ตันตปฎก องั คุตรนิกาย ติกนิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 20 แมในมลทนิ คือรษิ ยา และมลทินคือความตระหนี่ ก็มีนยั อยา งน้ีเหมือนกนั . จบอรรถกถามลสตู รท่ี ๑๐ จบพาลวรรควรรณนาที่ ๑ รวมพระสูตรทมี่ ใี นพาลวรรคนี้ คือ ๑. ภยสูตร ๒. ลกั ขณสตู ร ๓. จนิ ตสูตร ๔. อจั จยสตู ร ๕.อโยนโิ สสตู ร ๖. อกสุ ลสตู ร ๗. สาวชั ชสูตร ๘. สัพยาปชชสตู ร ๙.ขตสตู ร ๑๐. มลสตู ร และอรรถกถา.

พระสตุ ตนั ตปฎก องั คตุ รนิกาย ตกิ นบิ าต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 21 รถการวรรคท่ี ๒ ๑. ญาตกสตู ร วาดว ยปฏิบัติเพอ่ื ประโยชนและมิใชประโยชน [๔๕๐] ดกู อ นภิกษทุ ัง้ หลาย ภิกษุผูมีช่ือเสียง ประกอบดวยธรรม๓ ประการ ชือ่ วาปฏบิ ัตเิ พอื่ สิง่ อันไมเ กอื้ กูลแกช นมาก เพื่อส่ิงอันมใิ ชค วามสุขแกชนมาก เพ่ือความเสื่อม เพอ่ื ไมเปน ประโยชน เพื่อทุกขแกชนมากทัง้เทวดาทงั้ มนษุ ย ธรรม ๓ ประการเปนไฉน คือ ชกั ชวนในกายกรรมอันไมสมควร ชกั ชวนในวจีกรรมอันไมส มควร ชกั ชวนในธรรมทง้ั หลายอนั ไมสมควรภกิ ษผุ ูม ชี ื่อเสยี ง ประกอบดวยธรรม ๓ ประการน้แี ล ชื่อวาปฏิบัติเพอื่ สงิ่ อนัไมเก้ือกลู แกช นมาก ฯลฯ ดูกอ นภกิ ษุทัง้ หลาย ภกิ ษุผูมีชื่อเสยี ง ประกอบดว ยธรรม ๓ ประการช่อื วาปฏบิ ตั ิเพอื่ เกือ้ กูลแกชนมาก เพื่อความสขุ แกชนมาก เพ่อื ความเจริญเพอ่ื ประโยชน เพ่อื สุขแกช นมากท้งั เทวดาทง้ั มนุษย ธรรม ๓ ประการเปนไฉน คอื ชกั ชวนในกายกรรมอันสมควร ชกั ชวนในวจกี รรมอันสมควรชักชวนในธรรมอนั สมควร ภิกษผุ มู ชี อ่ื เสียงประกอบดวยธรรม ๓ประการนี้แลช่อื วา ปฏบิ ัตเิ พ่ือเกอ้ื กูลแกช นมาก ฯลฯ จบญาตกสูตรท่ี ๑

พระสตุ ตันตปฎก อังคุตรนิกาย ตกิ นิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ที่ 22 รถการวรรควรรณนาที่ ๒ อรรถกถาญาตกสตู ร พงึ ทราบวนิ ิจฉยั ในญาตกสตู ร แหง รถการวรรคที่ ๒ ดงั ตอไปน:้ี - กายกรรม-วจกี รรม-มโนกรรม บทวา าตโก ไดแ ก ภิกษุผมู ีชื่อเสียง คอื ประชาชนรจู กั กนั ทวั่แลว ไดแก ปรากฏแลว . บทวา อนนุโลมิเก ความวา กายกรรม ช่ือวา อนนุโลมิกะ เพราะหมายความวา ไมเ หมาะสมแกศ าสนา. ในกายกรรมอนั ไมเหมาะสมนัน้ . บทวา กายกมฺเม ไดแ ก ในกายทจุ รติ มปี าณาตบิ าตเปนตน . อีกอยางหนง่ึ กายทุจริตนนั้ เปนของหยาบ แกภิกษสุ ามารถจะชกั ชวนใหสมาทาน ในกายทจุ รติ เปน ตนนไี้ ด คอื ชักชวนใหส มาทานคอื ใหย ึดถอื ในกรรมเห็นปานนีว้ า การนอบนอมทิศท้งั หลายสมควร การทําพลกี รรมใหภ ูตยอ มควร แมในวจีกรรม มุสาวาทเปน ตน เปนของหยาบ แตภิกษุน้นั จะชกั ชวนใหสมาทานในวจีกรรมเห็นปานนี้ วา ขึ้นชือ่ วา การพูดเทจ็ แกค นโงนีว้ าไมม ี เพราะไมป ระสงคจะให* ของ ๆ ตนแกผ อู นื่ กค็ วรพดู ได. แมในมโนกรรม อภิชฌาเปน ตนกเ็ ปนของหยาบ แตภิกษุเมือ่ บอกกมั มัฏฐานผดิพลาดไป กไ็ มช อ่ื วาชกั ชวนใหสมาทานในมโนกรรมอันสมควร เหมือนพระ-เถระชาวทกั ษิณวหิ าร ฉะน้ัน.* ปาฐะวา อทาตุกาโม ฉบบั พมาเปน อทาตกุ าเมน แปลตามฉบับพมา

พระสตุ ตันตปฎก อังคุตรนิกาย ตกิ นิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 23 พระเถระชาวทกั ษิณวหิ าร เลากนั มาวา บตุ รขุนนางคนหนงึ่ เขา ไปหาพระเถระนัน้ แลว ถามวาบุคคลเมอ่ื จะเจรญิ เมตตา ควรเจรญิ เมตตาในบุคคลเชน ไรกอน. พระเถระไมยอมบอกถงึ บคุ คลผูเปนสภาคและวิสภาคกัน แตกลบั บอกวา ในบุคคลผูเ ปนทรี่ ัก. บุตรขนุ นางนั้น มีภรรยาเปน ท่รี ักใคร. เขาจงึ แผเ มตตาไปหานางพลางถึงความคลมุ คลง่ั . ถามวา ก็ภกิ ษุ ผบู อกกัมมัฏฐาน น้ี เปน ผปู ฏิบัติเพ่ือมใิ ชป ระโยชนเกื้อกลู แกช นเปนอันมากอยางไร. ตอบวา กเ็ พราะ บริวารชนของภกิ ษุเหน็ ปานน้ีมสี ทั ธิวิหาริกเปนตน และมอี ปุ ฏ ฐากเปน ตน รวมท้ังเทวดาทเ่ี หลอื ผูเปนมติ รของเทวดาเหลาน้ัน ๆ เริ่มตนต้ังแตอ ารกั ขเทวดาของบริวารชนเหลา นัน้ จนกระทง่ั ถงึ พรหมโลกตา งจะพากนั ทาํ ตามทภ่ี กิ ษนุ ัน้ ทาํ แลวเทียว ดว ยคดิ วา ภิกษนุ ี้ไมร ูแลวจักไมทาํ ภิกษนุ ้ีชอื่ วาเปน ผูปฏิบัติเพอ่ื มใิ ชประโยชนเกือ้ กูลแกชนเปนอนั มาก ดวยประการดังพรรณนามาฉะน้ี. ในธรรมฝา ยขาว พงึ ทราบกายกรรมและวจกี รรม ดวยสามารถแหงเจตนาท้งั หลาย มีเจตนาเปนเครื่องงดเวน จากปาณาติบาตเปน ตนนน่ั แล. ฝายภิกษุผบู อกกมั มัฏฐานมใิ หคลาดเคลอ่ื น ช่ือวา สมาทานใหดํารงอยูในธรรมที่เหมาะสม เหมือนพระตสิ สเถระผชู าํ นาญใน ๔ นิกาย ชาวโกลติ วิหารฉะน้ัน. พระตสิ สเถระ เลากันวา พระทตั ตาภยเถระ ผูเ ปน พี่ชายคนโตของพระติสสเถระน้นัอยูในเจติยวิหาร เม่ือโรคชนดิ หนงึ่ เกิดข้ึน ใหเ รยี กพระนองชายมาแลวบอกวา คุณ คณุ ชว ยบอกกัมมัฏฐานสกั ขอหนงึ่ ที่เบา ๆ แกผมทีเถดิ .

พระสตุ ตนั ตปฎก อังคตุ รนกิ าย ตกิ นบิ าต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 24 พระนองชายเรยี นวา หลวงพข่ี อรบั ประโยชนอะไรดวยกัมมฏั ฐานขอ อ่ืน หลวงพี่ควรกําหนดกวฬิงการาหาร. พระพ่ชี ายถามวา คุณ กวฬงิ การาหารน้ีมีประโยชนอยางไร. พระนอ งชายตอบวา หลวงพี่ขอรบั กวฬิงการาหารเปน อุปาทายรปูและเม่ือเหน็ อุปาทายรปู อยางหนึ่งแลว อปุ าทายรูป ๒๓ ก็ยอมปรากฏชัดดว ย. พระพีช่ ายนั้น ไดฟงดังนี้นั้นแลว ตอบวา คณุ กัมมฏั ฐานเทา นกี้ เ็ ห็นจะพอเหมาะแหละนะ ดังน้แี ลว สง พระนองชายน้นั กลบั ไป กําหนดกวฬิง-การาหาร แลว กาํ หนดอุปาทายรปู กลบั ไปกลับมา ก็ไดสําเรจ็ เปน พระอรหนั ต. ทันใดนัน้ พระพ่ชี ายกเ็ รยี กพระเถระ นองชายน้ัน ผูซง่ึ ยังไมท ันออกไปพนนอกวหิ ารเลย มาบอกวา คณุ คณุ เปน ทพี่ งึ่ อยา งใหญหลวงของผมแลว นะ ดงั นีแ้ ลว บอกคุณทตี่ นไดแลวแกพ ระเถระนอ งชาย. บทวา พหุชนหิตาย ความวา ก็บริวารชนของภกิ ษแุ มนี้ มสี ัทธิ-วิหารกิ เปนตน ตางพากันทาํ ตามส่ิงทภี่ ิกษุน้ันทําแลว เทียวดวยคิดวา ภกิ ษนุ ้ีไมรแู ลวจกั ไมทาํ อปุ ฏฐากเปน ตนกเ็ หมอื นกนั เทวดาทัง้ หลาย คอื อารกั ข-เทวดาของบรวิ ารชนเหลา น้นั ภุมมเทวดาผูเปนมติ รของอารักขเทวดาเหลา น้ันและอากาศเทวดาผูเปน มิตรของภมุ มเทวดาเหลา นน้ั รวมถึงเทวดาท่ีบังเกดิในพรหมโลก กพ็ ากันทําตามสงิ่ ทภ่ี ิกษุนัน้ ทาํ แลว เหมอื นกัน ภิกษชุ อ่ื วา เปนผูปฏบิ ตั เิ พอื่ เก้อื กลู แกช นเปนอนั มาก ดว ยประการฉะน.้ี จบอรรถกถาญาตกสูตรท่ี ๑

พระสตุ ตนั ตปฎ ก อังคตุ รนกิ าย ติกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาท่ี 25 ๒. สรณยี สูตรวาดวยสถานทที่ ีก่ ษตั รยิ แ ละภิกษพุ งึ ระลึกถึงตลอดชวี ติ [๔๕๑] ดูกอ นภกิ ษทุ ั้งหลาย สถานท่ี ๓ ตําบลนยี้ อมเปน ท่รี ะลกึตลอดชพี แหงพระราชาผเู ปนกษตั ริยมุรธาภิเษก สถานที่ ๓ ตาํ บลไหนบา ง ?พระราชาผูเปน กษตั ริยมุรธาภเิ ษกประสูติ ณ ตาํ บลใด ตําบลนี้เปน ทีร่ ะลกึตลอดชีพแหงพระราชาผเู ปนกษัตริยมุรธาภิเษก เปนตําบลท่ี ๑ อีกขอ หนึ่ง พระราชาไดเปน กษตั รยิ ม รุ ธาภเิ ษก ณ ตาํ บลใด ตําบลนีเ้ ปน ที่ระลกึ ตลอดชีพแหงพระราชาผูเ ปน กษัตรยิ ม ุรธาภิเษก เปน ตาํ บลที่ ๒ อีกขอหน่ึง พระราชาผูเ ปน กษตั ริยม ุรธาภิเษก ทรงผจญสงครามไดชัยชนะแลวยดึ สนามรบนนั้ ไวได ณ ตําบลใด ตําบลน้เี ปน ท่รี ะลกึ ตลอดชีพแหง พระราชาผเู ปนกษตั ริยม ุรธาภิเษก เปน ตาํ บลที่ ๓ นแ้ี ล ภกิ ษทุ ง้ั หลายสถานท่ี ๓ ตําบล เปนทร่ี ะลกึ ตลอดชีพแหงพระราชาผูเปนกษตั รยิ มุรธาภิเษก ดกู อ นภกิ ษุทัง้ หลาย สถานที่ ๓ ตาํ บลนกี้ ็เปน ทร่ี ะลึกตลอดชพี แหงภิกษุฉนั นั้นเหมือนกัน สถานท่ี ๓ ตําบลไหนบา ง ดูกอนภิกษทุ งั้ หลาย ภิกษุปลงผมและหนวด ครองผา กาสายะ ออกจากเรอื น บวชเปน อนคาริยะ ณตาํ บลใด ตําบลน้เี ปนที่ระลึกตลอดชีพแหง ภิกษุ เปนตาํ บลที่ ๑ อกี ขอหน่งึ ภกิ ษุรูต ามจรงิ วา นี่ทุกข ... น่เี หตเุ กดิ ทกุ ข ... นค่ี วามดบั ทุกข ... นี่ขอปฏิบตั ิใหถ ึงความดบั ทกุ ข ณ ตาํ บลใด ตาํ บลน้เี ปน ทร่ี ะลึกตลอดชีพแหง ภกิ ษุ เปน ตําบลท่ี ๒

พระสุตตันตปฎ ก อังคุตรนิกาย ติกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาท่ี 26 อกี ขอหน่งึ ภกิ ษุกระทาํ ใหแ จงเขา ถงึ พรอ มซ่ึงเจโตวมิ ตุ ติ ปญ ญา-วมิ ตุ ติ อันหาอาสวะมิได เพราะส้ินอาสวะท้งั หลาย ดวยความรูย ่ิงดว ยตนเองอยูใ นปจจบุ ันนี้ ณ ตําบลใด ตําบลนเ้ี ปน ทรี่ ะลกึ ตลอดชพี แหง ภิกษุ เปน ตําบลที่ ๓ นี้แล ภิกษุท้งั หลาย สถานที่ ๓ ตําบลเปนทร่ี ะลึกตลอดชีพแหง ภกิ ษ.ุ จบสรณยี สตู รที่ ๒ อรรถกถาสรณยี สูตร พึงทราบวนิ จิ ฉยั ในสารณยี สูตรที่ ๒ ดงั ตอ ไปนี้ :- สิง่ ประทบั ใจ ๓ ประการ บทวา ขตฺตยิ สสฺ ไดแก เปน กษตั ริยโ ดยกําเนดิ . บทวา มทุ ธฺ าภิสิตฺตสสฺ ไดแ ก ผูไ ดรบั มรุ ธาภเิ ษกแลว ดว ยการอภเิ ษกเปน พระราชา.บทวา สรณียานิ โหนฺติ ความวา ไมถ ูกลืม. บทวา ชาโต แปลวาบังเกิดแลว. บทวา ยาวชวี  สรณยี  ความวา ในเวลาท่ียงั ทรงพระเยาวอยูพระมหากษัตริยไมส ามารถจะทรงทราบอะไร ๆ ทเ่ี ก่ียวกบั พระองคไดเ ลย(ก็จริง) แตวาในเวลาตอ มา ทรงสดับเรือ่ งราวทเี่ หลา พระประยูรญาติ มีพระชนกชนนเี ปนตน หรอื ผูทอี่ ยดู ว ยกันทูลวา พระองคทรงพระราชสมภพในชนบทโนน ในนครโนน ในวันโนน ในนกั ษัตรโนน ตั้งแตวนั นั้นมา(เร่ืองราวท่พี ระประยรู ญาติตรัสเลาใหฟง) เปนเรอื่ งราวที่พระองคจะตอ งระลึกไว คือไมทรงลมื ตลอดพระชนมช ีพทีเดียว.

พระสตุ ตันตปฎ ก อังคุตรนิกาย ตกิ นิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ที่ 27 ความจรงิ พระเจา ปากิตนันทะ ไมม กี ิจที่จะตองกระทําดว ยชาติ และฐานะเปน ตน เลย. แตว าพระผมู ีพระภาคเจา ทรงนําเหตกุ ารณน ีม้ ากเ็ พือ่ ทรงแสดงบุคคล ๓ จาํ พวก ซ่ึงเปรยี บดวยพระราชาน้ัน เพราะฉะนน้ัพระผมู ีพระภาคเจา เมอ่ื จะทรงแสดงบคุ คลเหลา นน้ั จึงตรัสคาํ วา เอวเมวโข ภกิ ขเว เปน ตน. บรรดาบทเหลาน้ัน ในบทวา อนคาริย ปพพฺ ชโิ ต โหติ นี้พึงทราบวา จตุปารสิ ุทธศิ ลี อาศยั บรรพชาน่นั แล. บทวา สรณยี  โหติความวา (สถานท่ีทีภ่ ิกษปุ ลงผมและหนวดแลว ครองผา กาสาวพสั ตร ออกจากเรือนบวชเปน ผไู มมเี รือนน้)ี เปน สถานทีท่ ่ภี ิกษุจะตอ งระลึกไว คอื ไมลมืตลอดชีวติ เลยทเี ดยี ว อยางนีว้ า เราบวชแลว ท่โี คนตนไมโ นน ในทีจ่ งกรมโนน ในโรงอุปสมบทโนน ในวิหารโนน ในชนบทโนน ในรฐั โนน . บทวา อทิ  ทกุ ข ความวา ทกุ ขม ีเพียงเทา นี้ ไมมที ุกขนอกเหนือไปจากน้.ี บทวา อย ทุกฺขสมุทโย ความวา เหตเุ กิดทกุ ขมเี พียงเทาน้ีไมม ีเหตุเกิดทุกขนอกเหนอื ไปจากนี้. แมใ นสองบททเ่ี หลือ กม็ นี ยั นแ้ี ล. พระผมู ีพระภาคเจา ตรัสโสดาปตติมรรคไวดว ยสจั จะ ๔ ในสูตรนี้ดงั พรรณนามาฉะน้.ี สวนกสิณบริกรรม และวิปสสนาญาณ อาศยั มรรคท้งั น้ัน. บทวา สรณยี  โหติ ความวา (สถานทท่ี ีภ่ ิกษุไดสําเร็จเปน พระ-โสดาบัน) เปน สถานที่ท่ภี ิกษจุ ะตอ งระลึกไว คือ ไมล มื ตลอดชีวติ วา เราสาํ เรจ็ เปน พระโสดาบนั ที่ควงตนไมโนน ฯลฯ ในรฐั โนน . บทวา อาสวานขยา แปลวา เพราะความส้นิ ไปแหง อาสวะทัง้ หลาย. บทวา อนาสว เจโตวิมุตตฺ ึ ไดแก ผลสมาธ.ิ บทวา ปฺ าวิมตุ ตฺ ึ ไดแ กผ ลปญญา. บทวาสย อภิ ฺ า สจฉฺ ิกตฺวา ความวา การทําใหป ระจกั ษด ว ยปญ ญาอนั

พระสุตตันตปฎ ก องั คตุ รนกิ าย ตกิ นิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ที่ 28วิเศษยงิ่ ดวยตนเองทเี ดยี ว. บทวา อุปสมปฺ ชฺช วิหรติ ไดแก ไดอ ย.ูบทวา สรณยี  ความวา ธรรมดาวา สถานทีท่ ต่ี นเองไดสําเรจ็ เปน พระอรหันตเปน สถานท่ีที่ภกิ ษุจะตอ งระลึกไว คอื ไมล มื ตลอดชีวติ วา เราไดส าํ เรจ็ เปนพระอรหนั ต ท่ีควงตนไมโนน ฯลฯ ในรัฐโนน. พระผูมพี ระภาคเจา ทรงจบพระธรรมเทศนาตามอนสุ นธิ ดังวามาน้แี ล. จบอรรถกถาสรณียสตู รที่ ๒ ๓. ภกิ ขสุ ูตร วา ดว ยบุคลล ๓ จาํ พวกในทางโลกและทางธรรม [๔๕๒] ดกู อนภิกษุทง้ั หลาย บุคคล ๓ จําพวกนี้มอี ยูในโลก บคุ คล๓ จําพวกไหน คอื บคุ คลผไู รความหวัง บุคคลผูมีสว นแหงความหวัง บุคคลผูส้ินความหวงั แลว กบ็ คุ คลอยา งไร ชือ่ วา ผูไรค วามหวงั ? ดกู อ นภิกษุท้ังหลาย บคุ คลบางคนในโลกนี้เกดิ ในตระกูลตํ่า คอื ตระกูลจณั ฑาลกด็ ี ตระกูลคนดีดพณิ กด็ ีตระกูลพรานกด็ ี ตระกลู ชางทาํ รถกด็ ี ตระกูลคนรบั จางเทขยะกด็ ี ทัง้ ยากจนขัดสนขา วน้าํ โภชนะ เปน อยูอยา งแรน แคน หาอาหารและเคร่ืองนุงหม ไดโดยฝด เคือง ซาํ้ เปน คนข้รี วิ้ ข้เี หร เตี้ยแคระ มากไปดว ยโรค คือ ตาบอดบางเปน งอ ยบา ง กระจอกบาง เปลย้ี บาง ไมใครไดขาว นา้ํ ผา ยวดยาน ระเบยี บ

พระสุตตันตปฎ ก องั คุตรนกิ าย ติกนิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ท่ี 29ดอกไม ของหอม เครือ่ งลบู ไล ท่นี อน ทอ่ี ยู และเคร่ืองประทีป บคุ คลผนู ั้นไดย ินขา ววา เจา ผมู พี ระนามอยา งน้ี อนั เจาทั้งหลายอภิเษกใหเ ปนกษัตริยแ ลว ความหวังอยา งน้ียอ มไมม แี กบ ุคคลนน้ั วา เม่ือไรหนา เจาทงั้ หลายจกั อภิเษกเราใหเ ปนกษตั ริยบ าง นี่ ภกิ ษุทั้งหลาย เราเรียกวา บคุ คลผไู รความหวงั กบ็ คุ คลอยา งไร ชอ่ื วาผูมีสว นแหง ความหวัง ดกู อนภกิ ษทุ ั้งหลายพระโอรสองคใหญของพระราชาผเู ปน กษัตริยมรุ ธาภเิ ษก ยงั มิไดร ับอภเิ ษกดวยนํ้าอภเิ ษก เปน ผูม ั่นคงแลว พระโอรสนน้ั ไดสดับขาววา เจา ผมู ีพระนามอยางน้ี อันเจา ทงั้ หลายอภเิ ษกใหเ ปน กษตั ริยแ ลว ความหวงั อยา งน้ียอมมีไดแกพระโอรสน้นั วา เมือ่ ไรหนา เจาท้ังหลายจกั อภิเษกเราใหเ ปนกษัตรยิ บ า ง น่ี ภิกษุทงั้ หลาย เราเรียกวา บุคคลผมู ีสว นแหงความหวงั ก็บคุ คลอยางไร ช่อื วาผสู น้ิ ความหวงั แลว ดกู อ นภิกษุทงั้ หลายพระราชาไดเ ปนกษตั รยิ ม รุ ธาภเิ ษกแลว พระราชานัน้ ทรงสดับขา ววา เจาผมู ีพระนามอยา งน้ี อันเจา ทง้ั หลายอภิเษกใหเปนกษตั รยิ แ ลว ความหวังอยางน้ีไมมแี กพ ระราชานั้นวา เมอ่ื ไรหนา เจาทงั้ หลายจักอภเิ ษกใหเ ราเปนกษตั รยิ บาง น่นั เพราะเหตอุ ะไร เพราะความหวงั ในการอภิเษกของพระองคเมอ่ื ครัง้ยังมไิ ดอภเิ ษกนน้ั รํางบั ไปแลว น่ี ภิกษทุ ้ังหลาย เราเรยี กวาบคุ คลผูสิน้ความหวงั แลว นแ้ี ล ภิกษทุ ง้ั หลาย บคุ คล ๓ จําพวกมอี ยใู นโลก ฉันนน้ั เหมอื นกันแล ภิกษุทงั้ หลาย บคุ คล ๓ จาํ พวกก็มีอยใู นหมูภิกษุ บุคคล ๓ จาํ พวกไหนบา ง คือ บุคคลผไู รความหวัง บคุ คลผมู สี ว นแหงความหวงั บุคคลผูส้ินความหวงั แลว

พระสุตตนั ตปฎ ก อังคุตรนกิ าย ติกนิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาท่ี 30 ก็บคุ คลอยา งไร ชอ่ื วาผูไรความหวงั ? ดูกอ นภิกษุทงั้ หลาย บุคคลลางคนในโลกนี้ เปน ผทู ศุ ลี มีธรรมอันลามก (มีการกระทํา) ไมส ะอาดมีความประพฤตินา รังเกยี จ มีการงานอนั ปกปด ไมเปน สมณะ แตปฏิญญาวา เปน สมณะ ไมเปน พรหมจารี แตปฏญิ ญาวาเปนพรหมจารี เปน คนเนาในเปย กชน้ื รกเร้ือ (ดว ยกเิ ลสโทษ) บคุ คลนัน้ ไดย ินขา ววา ภิกษุชอื่ น้กี ระทําใหแจง เขาถงึ พรอ มซ่งึ เจโตวิมตุ ติ ปญ ญาวิมุตติ อันหาอาสวะมไิ ด เพราะสิ้นอาสวะทง้ั หลาย ดวยความรูยิ่งดวยตนเองอยูในปจ จบุ ันน่ี ความหวงั อยา งนี้ยอมไมมแี กบคุ คลนั้นวา เมอื่ ไรเลา เราจกั กระทําใหแจง เขา ถึงพรอมซง่ึเจโตวิมตุ ติ ปญญาวมิ ุตติ ฯลฯ อยใู นปจจบุ ันน้บี าง น่ี ภิกษุทัง้ หลาย เราเรยี กวา บุคคลผไู รค วามหวงั กบ็ ุคคลอยา งไร ชอ่ื วาผูม สี ว นแหง ความหวงั ? ดูกอ นภกิ ษทุ ้งั หลายภิกษใุ นธรรมวนิ ัยนี้ เปน ผูม ศี ีล มีธรรมอนั งาม ภกิ ษุนั้นไดย ินขาววา ภกิ ษุช่อื นี้ กระทําใหแจง เขาถึงพรอมซงึ่ เจโตวมิ ุตติ ปญญาวิมตุ ติ ฯลฯ อยใู นปจ จบุ นั น้ี ความหวังอยา งนย้ี อ มมีไดแ กภ ิกษนุ ้ันวา เมือ่ ไรเลา เราจกั กระทําใหแ จงเขาถึงพรอ มซง่ึ เจโตวิมุตติ ปญญาวิมุตติ ฯลฯ อยใู นปจจุบนั น้บี า ง น่ีภกิ ษุทั้งหลาย เราเรียกวา บคุ คลผูม ีสว นแหง ความหวัง ก็บคุ คลอยา งไร ชือ่ วาผูสนิ้ ความหวงั แลว ? ดูกอนภกิ ษทุ ง้ั หลายภกิ ษุในธรรมวินยั น้ีเปน พระอรหนั ตสิน้ อาสวะแลว เธอไดย นิ ขาววา ภิกษุชื่อนี้ การทําใหแจง เขาถึงพรอมซงึ่ เจโตวิมตุ ติ ปญ ญาวิมตุ ติ ฯลฯ อยูในปจ จุบนั นี่ ความหวงั อยางนี้ยอมไมมแี กเ ธอวา เมอ่ื ไรเลา เราจักกระทาํ ใหแจง เขา ถึงพรอ มซงึ่ เจโตวิมุตติ ปญญาวมิ ุตติ ฯลฯ อยูในปจ จุบนั นบี้ าง นั่น

พระสตุ ตันตปฎก อังคุตรนิกาย ตกิ นบิ าต เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ที่ 31เพราะเหตุอะไร เพราะความหวังในวมิ ตุ ติของเธอ เม่อื ครง้ั ยังไมวมิ ตุ ตินนั้ราํ งบั ไปแลว น่ี ภิกษุทั้งหลาย เราเรยี กวา บุคคลผูส ้ินความหวังแลว นแี้ ล ภกิ ษทุ ง้ั หลาย บคุ คล ๓ จําพวกมอี ยูใ นหมภู กิ ษ.ุ จบภกิ ขุสตู รท่ี ๓ อรรถกถาภกิ ขสุ ูตร พึงทราบวนิ จิ ฉัย ในภิกขสุ ูตรท่ี ๓ ดังตอ ไปน:ี้ - บทวา สนโฺ ต แปลวา มีอยู คอื หาไดอย.ู บทวา ส วิชฺชมานาเปนไวพจนข องบทวา สนฺโต นน้ั นั่นแล. บทวา โลกสมฺ ึ ไดแ ก ในสัตวโ ลก. บทวา นิราโส ไดแกบ ุคคลผูไมม คี วามหวงั คือ ไมมคี วามปรารถนา. อธิบายบทวา อาส โส - วคิ ตาโส บทวา อาส โส ไดแก บุคคลยงั หวงั อยู คือยงั ปรารถนาอยู. บทวาวคิ ตาโส ไดแ ก บุคคลผูเลิกหวังแลว . บทวา จณฺฑาลกุเล ไดแก ในตระกลู ของคนจณั ฑาลท้งั หลาย. บทวา เวณกเุ ล ไดแ ก ในตระกลู ของชา งสาน.๑ บทวา เนสาทกเุ ล ไดแก ในตระกลู ของนายพราน มนี ายพรานเน้ือเปน ตน . บทวา รถการกเุ ล ไดแ กใ นตระกลู ชา งหนัง. บทวา ปกุ ฺกสุ กเุ ลไดแก ในตระกลู ของคนเทขยะ. ครน้ั ทรงแสดงความวบิ ัตขิ องตระกูลดว ยเหตเุ พียงเทานี้แลว บัดน้ีเพราะเหตทุ ่ีบคุ คลลางคน แมเกิดในตระกูลต่าํ กย็ งั ม่ังค่งั มที รพั ยมาก แตบคุ คล๑. ปาฐะวา วิวนิ นฺ การกเุ ล ฉบับพมาเปน วิลีวการกเุ ล แปลตามฉบับพมา.

พระสุตตันตปฎก องั คตุ รนกิ าย ตกิ นิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ที่ 32ผูไมม ีหวังน้ี หาเปนเชน นัน้ ไม ฉะน้นั เพ่อื จะทรงแสดงถึงความวบิ ัตแิ หง โภคะของเขา จึงตรัสคําวา ทลทิ ฺเท เปน ตน. บรรดาบทเหลานนั้ บทวา ทลิทเฺ ท ไดแ ก ผูป ระกอบดวยความเปนผูย ากจน. บทวา อปฺปนนฺ ปานโภชเน ไดแ ก ตระกูล ทมี่ ีขาวน้ําและของบรโิ ภคอยูนอย. บทวา กสิรวตุ ฺติเก ไดแ ก ตระกูล ทีม่ กี ารเลี้ยงชีพลําบาก อธบิ ายวา ในตระกูลที่คนทั้งหลาย ใชค วามพยายาม พากเพยี รอยางยงิ่ สําเรจ็ การเล้ียงชีวิต. บทวา ยตฺถ กสิเรน ฆาสจฺฉาโท ลพฺภติความวา คนในตระกลู ใด ทาํ มาหากนิ ไดของกนิ คือ ขาวยาคแู ละภตั รและเครอ่ื งนุงหมทพี่ อปกปดอวยั วะท่ีนา ละอายโดยยาก. บดั นี้ เพราะเหตทุ บี่ ุคคลลางคนแมเ กิดในตระกูลตํา่ มีอุปธิสมบัติคอื ดาํ รงอยใู นการทม่ี ีรางกายสมประกอบ แตว าบุคคลนไ้ี มเปน เชนนน้ั ฉะน้นัเพือ่ จะทรงแสดงความวบิ ัตแิ หง รา งกายของเขา พระผูมีพระภาคเจา จงึ ตรสัคําวา โส จ โหติ ทุพพฺ ณโฺ ณ เปน ตน. บรรดาบทเหลา น้ัน บทวา ทพุ ฺพณโฺ ณ ความวา มผี ิวพรรณดังตอถกู ไฟไหม คลายปศาจคลุกฝุน. บทวา ททุ ทฺ สโิ ก ไดแ ก ไมเ ปน ทเ่ี จริญตา แมของมารดา บงั เกดิเกลา . บทวา โอโกฏิมโก ไดแ กคนเตย้ี . บทวา กาโณ ไดแกค นตาบอดขา งเดยี วบาง คนตาบอดสองขางบา ง. บทวา กณุ ิ ไดแก คนมือเปน งอ ยขางเดียวบาง งอ ยทั้งสองขา งบา ง. บทวา ขโฺ ช ไดแก คนขาเขยกขา งเดยี วบาง คนขาเขยกท้ังสองขา งบา ง. บทวา ปกขฺ หโต ไดแ ก คนเปลยี้คอื คนงอย. บทวา ปทีเปยฺยสฺส ไดแก อปุ กรณแ สงสวา ง มีนํ้ามันและกระเบื้องเปน ตน . บทวา ตสฺส น เอว โหติ ความวา คนนัน้ ยอ มไมม ีความคดิ อยางนี้. ถามวา เพราะเหตไุ ร จึงไมมี.

พระสตุ ตนั ตปฎก อังคตุ รนกิ าย ตกิ นบิ าต เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ท่ี 33ตอบวา เพราะเขาเกิดในตระกูลตํ่า. บทวา เชฏโ  ความวา เม่อื พระราชโอรสอกี พระองคหน่ึงทเ่ี ปนองคโตยงั มีอยู พระราชโอรสองคเ ลก็ ก็ไมท รงทําความหวงั เพราะเหตนุ ั้นพระผมู ีพระภาคเจา จงึ ตรสั วา เชฏโ  ดงั น.ี้ บทวา อภิเสโก ความวาแมพ ระราชโอรสองคโตกย็ งั ไมควรอภิเษก จงึ ไมท รงทาํ ความหวัง เพราะเหตุนน้ั พระผมู ีพระภาคเจาจงึ ตรัสวา อภิเสโก ดงั นี้. บทวา อนภสิ ิตโฺ ตความวา แมพระราชโอรสที่ควรแกก ารอภิเษกซึ่งเวนจากโทษ มีพระเนตรบอดและพระหตั ถหงกิ งอยเปนตน ไดรบั อภเิ ษกคร้ังเดยี วแลว กไ็ มท รงทําความหวังในการอภิเษกอีก เพราะเหตนุ ั้น พระผมู พี ระภาคเจา จงึ ตรสั วาอนภิสิตโฺ ต ดังน้ี. บทวา มจลปฺปตฺโต๑ ความวา ฝา ยพระราชโอรสองคโตก็ยงั เปน เด็กออนนอนแบเบาะ มไิ ดรับการอภเิ ษก พระราชโอรสแมน้นัมิไดทําความหวังในการอภิเษก แตตอ มา ทรงมพี ระชนมายุ ได ๑๖ พรรษาเรมิ่มพี ระมสั สปุ รากฏ ช่ือวาทรงบรรลุนิตภิ าวะ สามารถจะวา ราชการใหญไดเพราะเหตนุ ้นั พระผมู พี ระภาคเจา จึงตรสั วา มจลปฺปตฺโต ดงั น.ี้ บทวาตสสฺ เอว โหติ ไดแ ก ถามวา เพราะเหตุไร พระราชโอรสนน้ั จึงมีพระ-ดํารอิ ยางน.้ี ตอบวา เพราะพระองคม พี ระชาติสูง. บทวา ทสุ ฺสีโล ไดแก ผูไมมีศีล. บทวา ปาปธมโฺ ม ไดแก ผูมีธรรมอันลามก. บทวา อสุจิ ไดแกผ ปู ระกอบดว ยกรรมท้งั หลาย มีกายกรรมเปนตนอันไมสะอาด. บทวา สงฺกสฺสรสมาจาโร ความวา ผมู ีสมาจารอันบคุ คลอืน่ พึงระลึกถงึ ดวยความรงั เกียจ คอื มีสมาจารเปนทต่ี ้งั แหงความรงั เกยี จของคนอ่ืนอยางนีว้ า ผนู ้ชี ะรอยจกั ทาํ บาปกรรมน้ี เพราะเขาไดเห็นบาปกรรม๑. ในพระบาลี เปน อจลปฺปตโฺ ต.

พระสุตตันตปฎ ก องั คตุ รนกิ าย ติกนบิ าต เลม ๑ ภาค ๓ - หนาที่ 34บางอยา งทไ่ี มเ หมาะสม. อีกอยางหนึ่ง อธบิ ายวา มสี มาจารทต่ี นน่ันแล พึงระลกึ ถงึ ดว ยความระแวง ชื่อวา สงกฺ สสฺ รสมาจาโร. จริงอยู ภกิ ษุนน้ัเห็นภกิ ษุท้ังหลายประชมุ ปรกึ ษากันถงึ เรอ่ื งบางเรอื่ งในท่ีทง้ั หลายมีทพี่ ักกลางวันเปน ตน แลวก็มคี วามคดิ อยางนว้ี า ภิกษเุ หลา น้ีจบั กลมุ กนั ปรกึ ษา พวกเธอรกู รรมท่ีเราทาํ แลวจึงปรึกษากนั หรือหนอแล อยางน้ี เธอชื่อวา มีสมาจารทตี่ นเองพงึ ระลึกถงึ ดว ยความระแวง. บทวา ปฏจิ ฺฉนฺนกมมฺ นฺโต ความวาผปู ระกอบดวยบาปกรรมท่ีตอ งปด บงั . บทวา อสฺสมโณ สมณปฏิฺโความวา บุคคลไมเปน สมณะเลย แตก ลบั ปฏญิ ญาอยา งนี้วา เราเปน สมณะเพราะเขาเปน สมณะเทียม. บทวา อพรฺ หฺมจารี พรฺ หฺมจารปี ฏิ ฺโ ความวา บคุ คลไมเ ปนพรหมจารเี ลย แตเหน็ ผูอนื่ ท่ีเปนพรหมจารนี งุ หม เรียบรอ ย ครองผา สีดอกโกสมุเท่ยี วบิณฑบาต เลย้ี งชวี ิตอยใู นคามนคิ มราชธานี ก็ทาํ เปน เหมอื นใหป ฏญิ ญาวา เราเปนพรหมจารี เพราะแมต นเองก็ปฏบิ ัติดวยอาการเชน นัน้ คืออยา งนัน้ . แตเม่ือกลา ววา เราเปน ภกิ ษุ แลว เขา ไปยังโรงอโุ บสถเปนตน ชอื่ วาปฏญิ ญาวา เปน พรหมจารี แททีเดียว. เม่ือจะรับลาภของสงฆกท็ ํานองเดยี วกันคือปฏิญญาวา เปน พรหมจาร.ี บทวา อนโฺ ตปูติ ไดแ ก มภี ายในหมกั หมมดว ยกรรมเสีย. บทวาอวสสฺ โุ ต ไดแ ก ผูเ ปย กชุมดวยกิเลสทงั้ หลายมรี าคะเปนตน ทเ่ี กดิ อยเู สมอบทวา ตสสฺ น เอว โหติ ความวา บคุ คลน้นั ไมม คี วามคิดอยา งน้ีเพราะเหตไุ ร เพราะเขาไมม ีอปุ นสิ ัยแหง โลกตุ รธรรม. บทวา ตสฺส เอวโหติ ความวา เพราะเหตุไร เธอจึงมีความคดิ อยา งนี้ เพราะเธอเปน ผมู ีปกตทิ ําใหบ ริบรู ณในมหาศีล. จบอรรถกถาภกิ ขสุ ูตรที่ ๓

พระสตุ ตนั ตปฎ ก องั คตุ รนิกาย ตกิ นิบาต เลม ๑ ภาค ๓ - หนา ท่ี 35 ๔. จกั กวัตตสิ ูตร วา ดวยราชาของพระเจาจักรพรรดแิ ละของพระพทุ ธองค [๔๕๓] ดกู อนภกิ ษทุ ง้ั หลาย แมพ ระเจา จกั รพรรดิ ผทู รงธรรมเปน ธรรมราชา ยอมไมย งั จักรอนั ไมมพี ระราชาใหเ ปน ไป ครน้ั พระผมู ีพระ-ภาคเจา ตรสั อยางนี้แลว ภิกษุรูปหนึ่งไดก ราบทูลถามพระผูมพี ระภาคเจา วาขาแตพ ระองคผ ูเจรญิ ก็ใครเปน พระราชาของพระเจาจกั รพรรดิผูท รงธรรมเปนธรรมราชา พระผมู พี ระภาคเจาตรัสวา ดูกอ นภิกษุ ธรรม เปน พระราชาของพระเจาจกั รพรรดิ พระเจาจกั รพรรดิ ... ทรงอาศัยธรรมนัน่ แล ทรงสักการะ ... เคารพ ... นบนอบธรรม มธี รรมเปนธง มธี รรมเปนตรา มีธรรมเปน อธปิ ไตย จัดการรกั ษาปองกนั คมุ ครองอยา งยุติธรรม ในอันโตชน๑... ในกษตั รยิ  ... ในอนยุ นต๒ ... ในทหาร ... ในพราหมณคฤหบดี ... ในชาวนคิ มชนบท ... ในสมณพราหมณ ... ในเน้อื และนกท้ังหลาย ดกู อ นภิกษุพระเจาจักรพรรดิ ... นั้นแล ครน้ั ทรงอาศยั ธรรม ทรงสกั การะ ... เคารพ ...นบนอบธรรม มีธรรมเปนธง มีธรรมเปนตรา มีธรรมเปนอธปิ ไตย จัดการรกั ษาปองกนั คมุ ครองอยา งยตุ ธิ รรม ในอันโตชน ... ในกษัตริย ... ในอนยุ นต ... ในทหาร ... ในพราหมณคฤหบดี ... ในชาวนคิ มชนบท ... ในสมณพราหมณ ... ในเน้ือและนกท้ังหลายแลว ทรงยงั จกั รใหเ ปน ไปโดยธรรมนัน้ เทียว จกั รนนั้ จึงเปนจกั รอันขา ศกึ ผูเ ปนมนษุ ยไร ๆ ใหเปนไปตอบไมไ ด(คอื ตา นทานคัดคา นไมไ ด) ดูกอนภกิ ษุ พระตถาคตอรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธะก็อยางน้ันเหมอื นกนัเปนผูทรงธรรม เปนพระธรรมราชา ทรงอาศัยธรรมเทา นนั้ ทรงสกั การะ ...๑. คนในครัวเรือน คือ ในราชสาํ นัก ๒. ราชบรพิ าร






























Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook