Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานวิจัยเพื่อท้องถิ่นฉบับสมบูรณ์

รายงานวิจัยเพื่อท้องถิ่นฉบับสมบูรณ์

Published by นายศตวรรษ จัตุมาศ, 2022-05-16 09:32:38

Description: รายงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น

Search

Read the Text Version

364 ภาพท่ี 367 รถไถนาปัจจบุ ัน การตกกลา้ หมายถงึ การเอาเมล็ดไปหว่านให้งอก และเจริญเติบโตขึ้นมาเป็นต้นกล้า เพื่อ เอาไปปกั ดา้ ภาพที่ 368 กล้านาดา้ การปกั ดา้ เม่อื ตน้ กลา้ มอี ายุประมาณ 30 วนั จากการตกกลา้ ในดนิ เปียกหรือการตกกล้าใน ดินแห้ง ก็จะโตพอท่ีจะถอนเอาไปปักด้าได้ในพื้นท่ีนาของเรา ข้ันแรกให้ถอนต้นกล้าข้ึนมาจากแปลง

365 แลว้ มดั รวมกนั เปน็ มัด ๆ ถ้าต้นกล้าสูงมากก็ให้ตัดปลายใบทิง้ ส้าหรับต้นกลา้ ทไ่ี ด้มาจากการตกกล้าใน ดินเปยี ก จะตอ้ งสลดั เอาดินโคลนทีร่ ากออกเสยี ดว้ ย แลว้ เอาไปปกั ด้าในพื้นที่นาท่ีได้เตรียมไว้ พ้ืนท่ีนา ทใ่ี ชป้ ักดา้ ควรมนี ้าขังอยูป่ ระมาณ 5-10 เซนตเิ มตร เพราะต้นขา้ วอาจถูกลมพัดล้มจนพับลงได้ เมื่อนา นนั้ ไม่มีน้าอย่เู ลย ถา้ ระดบั น้าในนานนั้ ลกึ มาก ตน้ ข้าวท่ีปักด้าอาจจมน้าในระยะแรก และท้าให้ต้นข้าว จะตอ้ งยึดตน้ มากกวา่ ปกติ จนมีผลใหแ้ ตกกอน้อย การปักด้าท่ีจะให้ได้ผลผลิตสูง จะต้องปักด้าให้เป็น แถวเป็นแนว และมีระยะห่างระหว่างกอพอสมควร โดยทั่วไปแล้วการปักด้ามักใช้ต้นกล้าจ้านวน 4-5 ตน้ ภาพที่ 369 ปกั ขา้ วนาด้า ภาพที่ 370 ขา้ วนาดา้

366 2. ขา้ วนาหวา่ น การปลูกข้าวนาหว่าน เป็นการปลูกข้าวโดยเอาเมล็ดพันธุ์หว่านลงไปในพ้ืนที่นาท่ีได้ไถ เตรยี มดินไวโ้ ดยตรง การเตรยี มดินก็มีการไถดะและไถแปร ปกตชิ าวนาจะเรมิ่ ไถนาส้าหรับปลูกข้าวนา หว่านตง้ั แตเ่ มษายน เนอ่ื งจากพ้ืนทีน่ าส้าหรับปลูกข้าวนาหว่านไม่มีค้นนากั้น จึงสะดวกแก่การไถด้วย รถแทร็กเตอรข์ นาดใหญ่ ในสมัยก่อนชาวนาจะใช้ แรงววั และแรงควายไถนา ภาพที่ 371 ควายไถน่ า ภาพท่ี 372 รถไถนาปัจจบุ ัน

367 ภาพที่ 373 ขา้ วนาหว่าน ภาพที่ 374 เคยี วเกีย่ วข้าว การเกบ็ เก่ียวหลังจากทีข่ ้าวออกดอกหรือออกรวงประมาณ 20 วัน ชาวนาจะเร่งระบายน้า ออก เพื่อเปน็ การเร่งให้ขา้ วสกุ พร้อมๆ กนั และทา้ ใหเ้ มลด็ มีความช้ืนไม่สูงเกินไป จะสามารถเก็บเกี่ยว ไดห้ ลังจากระบายน้าออกประมาณ 10 วัน ระยะเวลาท่ีเหมาะสมส้าหรับการเก็บเกี่ยว สังเกตท่ีปลาย รวงจะมีสีเหลือง กลางรวงเป็นสีตองอ่อน การเก็บเกี่ยวในระยะนี้จะได้เมล็ดข้าวที่มีความแข็งแกร่ง มี นา้ หนัก และมคี ุณภาพในการสี โดยการใช้เคยี วเก็บเก่ียวข้าว วิธีใช้เคียว จบั ส่วนด้ามให้มั่นด้วยมือขวา หรือมือท่ีถนัดและมือซ้ายจับรวงข้าวสอดเคียวเข้าไปใต้รวงข้าว แล้วบิดคมนั้นให้ตัดรวงข้าวออกมา ในปัจจุบนั นน้ี ิยมใช้รถมาเกี่ยวขา้ ว ไดร้ ับความสะดวก ไม่ต้องหาแขกเกี่ยวข้าว และไม่ต้องเสียเวลาน้า

368 ข้าวมานวดในลานเหมือนสมัยก่อน เท่ากับว่าเป็นการตัดขั้นตอนเดิมๆ และระยะเวลาของชาวนาการ นวดขา้ ว ภาพที่ 375 รวงข้าวสเี หลอื งหรือสีทอง ภาพที่ 376 การเกบ็ เกี่ยวขา้ ว

369 ภาพที่ 377 การลงแขกเกบ็ เก่ยี วข้าว ภาพท่ี 378 รถเกย่ี วขา้ ว การนวดข้าว หลังจากตากข้าว ชาวนาจะขนเข้ามาในลานนวด จากนั้นก็นวดเอาเมล็ดข้าว ออกจากรวง บางแห่งใช้แรงงานคน บางแห่งใช้ควายหรือวัวย้่า ต้องมียาลานให้เรียบ โดยการน้าเอาข้ี วัวหรือขี้ควายมาละลายน้า มาทาลานไว้ ปล่อยให้แห้ง ปักหลักไว้ 1 หลัก กลางลาน น้าเอาฟางข้าว มาเรียงให้รอบแล้วน้าวัว หรือควาย มาผูกเรียงเข้าด้วยกันประมาณหลาย ๆ ตัว ไล่วนเสาหลักน้ันไป เร่ือยๆ จนกว่าเม็ดข้าวจะหลุดออกจากรวงข้าวออกมา เมล็ดข้าวจะไม่จมดินลานเพราะมันจะค้างอยู่ บนข้ีวัว ขคี้ วายทช่ี าวนานา้ มายาลานไว้ สวนฟางขา้ วจะนา้ มาเก็บไวใ้ หว้ ัว ควายกนิ ยามหนา้ แลง้ แต่

370 ปัจจุบันมีการใช้เคร่ืองนวดข้าวมาช่วยในการนวด และจากนั้นจะใช้ สีฝัด เป็นเครื่องฝัด ข้าว ท่ีชาวนาใช้ส้าหรับแยกเมล็ดข้าวเสีย (ข้าวลีบ) และผงฝุ่นละอองออกจากข้าวดี ชาวนาก็จะน้า เมล็ดข้าวดีที่ผ่านเคร่ืองสีฝัดแล้ว น้าไปจ้าหน่ายหรือน้าไปเก็บในยุ้งฉาง ไว้สีรับประทาน หรือเก็บไว้ เพาะปลูกต่อไป สีฝัดเป็นเคร่ืองเป่าลมทีมีชุดใบพัดหลายใบอยู่ในตัวสีฝัด ท้าด้วยไม้ผสมเครื่อง เหล็ก รูปทรง มีลกั ษณะเปน็ กล่อง มขี า 4 ขา ดา้ นหลงั กลมมน อีกด้านหนึ่งโปรง่ ด้านบนมีท่ีส้าหรับใส่ ขา้ วเปลอื กใหไ้ หลลงสตู่ ระแกงเหล็ก ที่มีลักษณะห่างๆ ด้านหน้ามีใบพัดหมุนด้วยมือ ใบพัด จะพัดเศษ ผงและขา้ วลบี ออกไปด้านหลงั ขา้ วดที ม่ี ีนา้ หนกั มากกว่า จะตกลงด้านหน้าสีฝัด กรรมวิธีการท้าเคร่ือง สีฝัดน้ัน เป็นภูมิปัญญาชาวบ้าน ที่ส่ังสมสืบทอดกันมาจากรุ่น สู่รุ่น แต่สภาพปัจจุบันมีการผลิต เครื่องมือเครื่องใช้ในการท้านา ท่ีทันสมัย เป็นเคร่ืองจักร เช่นเครื่องนวดข้าว เครื่องฝัดข้าว มีความ สะดวกสบาย และรวดเร็ว ท้าใหเ้ ครื่องสฝี ัดลดบทบาทลง รถเกี่ยวข้าวพร้อมกระพ้อมที่เก็บข้าวเป็นรถ รุ่นใหม่ ภาพท่ี 379 มัดขา้ วด้วยตอกหลังเกี่ยวขา้ วเปน็ ข้าวฟอน

371 ภาพที่ 380 การฟาดข้าว ภาพที่ 381 การสงฟางข้าวหลงั จากยา้่ ข้าวเสรจ็ แลว้ ในอดตี

372 ภาพที่ 382 การใช้ไม้กระดานชกั ข้าวข้นึ เปน็ กองใหญ่ เพอ่ื รอการฟัดละอองออกจากข้าวใน อดตี ภาพที่ 283 การใชไ้ ม้กระดานชักขา้ วขึ้นเป็นกองใหญ่หลงั จากการยา้่ ขา้ วของชาวนาในอดตี

373 ภาพ 384 เคร่ืองสีฝดั ข้าวในอดีต 4. การเก็บรักษา เมล็ดข้าวที่นวดฝัดท้าความสะอาดแล้วควรตากให้แห้ง แล้วใส่กระบุง กระบุงเป็นภาชนะสานทึบ รูปกลมสูง ปากกลมก้นลึกเป็นเหลี่ยม มักเสริมขอบ และมุมก้นด้วยหวาย มีหูส้าหรับสอดเชือกเพื่อคล้องกับคานหามก่อนน้าเข้าเก็บในยุ้งฉางหรือในกระพ้อม กระพ้อม เป็น ภาชนะสานทึบขนาดใหญ่ ใช้ส้าหรับเก็บเมล็ดข้าวเปลือก เพ่ือรอโอกาสน้าออกมาสี บริโภคในเวลา อันสมควร หรือรอเวลาเพ่ือจะน้าออกขาย กระพ้อมจะสานด้วยไม้ไผ่ ใช้ขี้ควายหรือขี้วัวยา วัว หรือ ข้ีควายเปียก รูปทรงกลมป้อม ปากกว้างส้าหรับใส่ข้าวเปลือก, พ้อม ก็เรียก ภาชนะจักสานชนิดหนึ่ง คล้ายกระบุง แต่เล็กกว่าเป็นเท่าตัว โดยรอบ เพื่อปิดรอยห่างให้สนิทอันจะป้องกันเมล็ดข้าวไหล ออกมาและกนั แมลง เชน่ มอดเขา้ ไปกนิ เมล็ดข้าว และเม่ือใส่ข้าวเตม็ กระพ้อมแล้ว ก็จะใช้ขี้ควายหรือ ขี้วัวยาปิดปากกระพ้อมท้ังหมดเพ่ือป้องกันแมลงต่าง ๆ เข้าไปกินเมล็ดข้าว กระพ้อมมีขนาดต่าง ๆ ก้นเล็กบ้าง ใหญ่บ้าง แต่ถ้ามีข้าวเปลือกมาก ใช้กระพ้อมเก็บไม่พอก็จะใช้ยุ้งฉางแทน แต่มาในยุค ปัจจุบันไม่ต้องเก็บข้าวในยุ้งฉางแล้วเพราะเทคโนโลยีท่ีทันสมัยมีรถเกี่ยวข้าวสามารถแยกเมล็ดข้าว และฟางออกจากกันลดขั้นตอนในการนวดข้าว ตากแห้ง เก็บข้าวเข้ายุ้งฉาง ชาวนาสามารถน้าข้าวไป ขายที่ท่าขา้ วหรือโรงสีได้เลย

374 ภาพท่ี 385 รถเกย่ี วขา้ วพร้อมกระพ้อมท่เี กบ็ ขา้ วและฟัดข้าวเป็นรถรุน่ ใหม่ ภาพที่ 386 ลานตากข้าว

375 ภาพท่ี 387 กระบุงหาบข้าว ภาพที่ 388 กระพอ้ มใสข่ ้าว

376 ภาพที่ 389 ยงุ้ ขา้ ว ภาพที่ 390 โรงสีไฟภัทรพนั ธ์ุ 5. สถานีส่งน้า สถานีส่งน้า ต้าบลหัวดงเป็นการน้าน้าจากแหล่งน้าเข้าระบบส่งน้าเพื่อเข้าพื้นท่ีเพาะปลูก ให้เพียงพอกับพืชผลทางการเกษตร และขนาดพ้ืนท่ีเพาะปลูก ของชาวไร่ ชาวนาในต้าบลหัวดงมี ความตอ้ งการโครงการสบู นา้ ดว้ ยไฟฟ้า เพอื่ น้านา้ จากแมน่ ้าน่านน้าส่งให้แก่เกษตรกรได้ท้าการเกษตร ในฤดูแล้ง และแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้าในการเกษตรในพื้นที่ การด้าเนินการก่อสร้างโครงการ สถานีสูบน้าด้วยไฟฟ้าบ้านหัวดงมีวัตถุประสงค์ ดังนี้ เพื่อให้เกษตรกรได้มีผลผลิตทางการเกษตร ตลอดท้ังปี เพื่อเพิ่มรายได้ขอเกษตรกรในเขตพ้ืนที่โครงการ เพื่อแก้ไขปัญหาขาดแคลนน้าเพื่อ การเกษตรและอุปโภค-บริโภค ในเขตโครงการฯ และบรเิ วณใกลเ้ คียง เพือ่ เพมิ่ พ้ืนท่ีท้าการเกษตรและ ผลผลติ ในพนื้ ท่ีเกษตรกรรมของพน้ื ท่โี ครงการฯ

377 ภาพที่ 391 สถานีสง่ นา้ หนา้ เขื่อนริมนา่ นตา้ บลหัวดง 6. ฝายนา้ ล้น ฝายน้าล้นในต้าบลหัวดงในปัจจุบันเป็นโครงสร้างแบบถาวรทางชลประทานที่มักจะสร้าง โดยหนว่ ยราชการมีลักษณะเป็นเข่ือนน้าล้นท่ีสามารถเปลี่ยน ขนาด และ รูปแบบ การไหลของแม่น้า ได้ เมื่อน้าบริเวณต้นน้าหรือแม่น้า มีปริมาณน้อยกว่าความสูงของฝายน้าก็จะถูกกักเก็บไว้ แต่เม่ือ ระดบั นา้ ในแมน่ ้าเพิ่มสงู ขึ้นน้าจะไหลขา้ มฝายไปยงั ท้ายน้า ฝายน้าล้นยังช่วยกักเก็บน้าและชะลอการ ไหลเวียนของน้าได้ดี ป้องกันน้าท่วมจากแม่น้าล้าธารได้ดี โดยเฉพาะฤดูฝนที่เส่ียงต่อกระแสน้าที่ รนุ แรง

378 ภาพที่ 392 ฝายน้าล้นที่บ้านล้าชะล่า 7. ประตรู ะบายน้า ประตูระบายน้า (ปตร.) คือ ส่ิงก่อสร้างในบริเวณทางน้าท่ีใช้ควบคุมการไหลของน้าใน แมน่ ้าลา้ คลอง ประตูระบายนา้ จะใช้สา้ หรับในการปรับปรมิ าณน้าท่ีต้องการให้ไหลผ่าน ปรับความเร็ว ของนา้ หรอื ใชใ้ นการกักเกบ็ นา้ ได้ ในขณะเดียวกันประตูระบายน้ายังช่วยป้องกันในกรณีท่ีมีพายุ เพื่อ ชว่ ยเหลือบรรเทา ความทุกข์ยากเดือดร้อนของประชาชนในพ้ืน และพื้นท่ีใกล้เคียง ช่วยแก้ปัญหาน้า ท่วม น้าแล้ง และปัญหา ความเส่ือมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ ตลอดจนการยกระดับและพัฒนา คุณภาพชีวิต ในกรณีของระบบป้องกันน้าท่วม ประตูระบายน้าใช้ในการลดระดับของผิวน้าส้าหรับ แมน่ า้ หรือ ลา้ คลองเสน้ หลัก โดยใหน้ ้าไหลผ่านคลองลดั น้า เม่ือปรมิ าณระดับนา้ ใกลร้ มิ ตลิง่ ภาพท่ี 393 ประตูระบายนา้ คลองคนั

379 ภาพที่ 394 ประตรู ะบายนา้ คลองคนั

380 7. กระบวนการเรียนรแู้ ละพฤติกรรมการเรยี นรู้ การถ่ายทอดภมู ิปญั ญา ประชาชนในพ้นื ทต่ี ําบลหัวดง มีภูมปิ ัญญาความเชื่อและพธิ ีกรรมจาํ แนกได้เป็น 4 ประเภท ดังต่อไปน้ี 7.1 การแพทย์แผนไทยจีน (โบราณ) การนําสมุนไพรไทยจีนมารักษาโรค ในช่วงปี พ.ศ. 2504 นายคุ้ม เมืองเหลือ ได้ดํารงตําแหน่งแพทย์ประจําตําบลเป็นคน แรกของตําบลหวั ดง โดยเปน็ ผู้มใี บอนุญาตประกอบโรคศลิ ปะแผนไทย สาขาเวชกรรมและเภสัชกรรม โดยท่านไดม้ ชี ่ือเสยี งในการรกั ษาโรคเปน็ อย่างมากมีผคู้ นท่ีเจบ็ ปุวยเข้ามารักษาโรคทุกวัน โดยหมอคุ้ม ได้สรา้ งบ้านหลังมีขนาดใหญ่ ซึ่งสามารถรับคนเจ็บปวุ ยมาอยู่ในการรักษาอย่นู ับ 10 กว่าครอบครัว ซ่ึง ในสมยั นนั้ การคมนาคมไมส่ ะดวกคนเจบ็ ปวุ ยเดินทางมาไกลด้วยความลําบากจึงไม่สามารถเดินทางไป กลับได้ทา่ นหมอคมุ้ ทา่ นสงสารผูค้ นทเี่ จบ็ ปวุ ยจึงให้การอนุเคราะห์ ทั้งนี้ ท่านหมอคุ้ม เมืองเหลือ ท่านรักษาคนเจ็บปุวยด้วยยาสมุนไพรไทยและสมุนไพรจีน โดยไดด้ ําเนนิ การปรุงยาทบี่ า้ นเจ๊กฉ่ัว และนํามาทาํ การรักษาให้ผู้เจ็บปุวยท่ีบ้านท่าน โดยท่านหมอคุ้ม เมืองเหลือ มีช่ือเสียงมากในการรักษาโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต มีตัวยาสูตรพิเศษ บางกรณีคนไข้ท่ีไป รักษาโรงพยาบาลแล้วอาการไม่ดีขึ้นส่งกลับมานอนท่ีบ้านญาติพ่ีน้องนํามาให้หมอคุ้มรักษาสามารถ รกั ษาใหช้ ่วยเหลือตนเองได้ไม่เปน็ ภาระใหแ้ กค่ รอบครวั ทา่ นจึงเป็นผู้ท่ีประชาชนทั่วไปให้ความเคารพ นับถือเป็นอย่างมากท่านหมอคุ้ม เมืองเหลือ ได้ถึงแก่กรรมเม่ือวันท่ี 11 กุมภาพันธ์ 2524 ซึ่งตลอด ชีวติ การทํางานในการเป็นหมอรักษาคนเจ็บปุวยมาเป็นเวลา 27 ปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2497 ท่านได้ทุ่มเท รักษาคนเจ็บปุวยโดยมิได้หวังค่ารักษาแต่อย่างใดท่านเก็บค่ารักษาน้อยมากหรือไม่เก็บเลยโดยจิตใจ ของท่านเป่ียมไปด้วยเมตตาปราณีแก่ผยู้ ากจนท่เี ดนิ ทางมาจากพื้นที่ไกลต่าง ๆ โดยท่ีในปัจจุบันผู้ที่สืบทอดวิชาแพทย์แผนไทยจีน (โบราณ) ได้แก่นายช่อ เมืองเหลือ ซึ่งเป็นหลานชายโดยเปรียบเสมือนบุตรคนหน่ึง ได้นําตําราและวิชาความรู้จากการเล่าเรียนจากหมอ คุ้ม เมืองเหลือ มารักษาผู้เจ็บปุวยเป็นเวลากว่า 30 ปี และก็เป็นผู้มีช่ือเสียงโด่งดังไม่แพ้ท่านหมอคุ้ม เมืองเหลือ โดยเฉพาะท่านเก่งในเรื่องรักษาโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต เป็นพิเศษสามารถช่วยเหลือผู้ เจ็บปุวยให้มีอาการดีขึ้นมาเป็นจํานวนมาก และขอยกตัวอย่างพืชสมุนไพรท่ีรักษาโรคตามตําราของ หมอค้มุ เมอื งเหลือ มาเปน็ บางสว่ น ดังตอ่ ไปนี้ 1) ยาแก้หญิงตกเลือด ท่านให้เอาหญ้าปากควาย หญ้าแพรก ใบคนดินสอ คัดค้า ว ใบสะหริด พรกิ ไทย ขิง กระเทียม ตม้ กินแก้ตกเลือด 2) ยาบํารุงเลือด ร่างกายผอมตัวเป็นสะเก็ด ท่านให้เอา เจตมูลเพลิง ดองดึง พริกไทย ขิง แหง้ เลือดแรต ตม้ ก็ได้ บดกไ็ ด้ กนิ หายแล 3) ยาบํารุงเลือดหญิงประจําเดือนมาผิดปกติ เอาแก่นมะหาด แก่นปรู ฝักส้มปุอย ใบมะขาม ต้มเอานาํ้ 3 ทะนาน เอาเหลา้ 1 ทะนาน ดองไวก้ นิ ปลกู เลอื ดดนี กั แล

381 4) ยาบํารุงเลือดนารายณ์แหกอก เอาพริกไทย ขิง ดีปรี กระทือ กระเทียม ไพล ข่า ขม้ิน ออ้ ย ใบไฝปุ าุ ตาํ ผงละลายในสุราก็ได้ นํา้ สม้ ก็ได้ ทานหายแล 5) ยาแก้หญิงอยู่ไฟไม่ได้เป็นบ้าเลือดดังผีเข้า เอาเบ็งญะมาด ไพล ใบไฝุปุา ตําลายน้ํากิน หาย ขับเลอื ดด้วย 6) ยาอายุวัฒนะ สมอพิเภก ดีปรี โสมไทย ตากแหง้ บดผสมน้าํ ผึ้งปนั ลูกกรอนกินอายยุ ืน 7) ลูกประคบแผนโบราณรักษาโรคอัมพฤกต์ อัมพาต ท่านให้เอาใบยอ ใบผักเสี้ยนผี ใบ พลับพลึง พิมเสน การบูร ตําผสมกันทําลูกประคบ น่ึงน้ําร้อนนํามาประคบส่วนท่ีอ่อนแรงดีข้ึนนักแล (กอ่ นนาํ มาทําลูกประคบตอ้ งขออนุญาตต้นไม้ก่อนเด็ดใบมาทาํ ยาบอกชื่อผู้ปวุ ยด้วย) รายการที่ 1-5 ก่อนนํามาต้มหรือบด ต้องต้ังอธิษฐานสวด พุทธังสะระนังคัชฉามิ ธัมมังสะ ระนังคัชฉามิ สังฆังสะระนังคัชฉามิ หรือ อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสพุทธนาเมอิ อิเมนิ พุทธตังโสอิ อิโสตัง พุทธปิตอิ ิ ภาพที่ 395 ตําลาแกเ้ ลือดบาํ รงุ เลอื ดของนายคุ้ม เมืองเหลือ

382 ภาพที่ 396 ตําลาแกเ้ ลือดบํารงุ เลอื ดของนายคุม้ เมืองเหลือ ภูมปิ ญั ญาดา้ นสมุนไพรพื้นถ่นิ ในเขตชุมชนบ้านหัวดง มีพืชสมุนไพรพ้ืนถิ่น ท่ีชาวบ้านในชุมชนนํามาใช้ในการรักษาโรค รวมท้ังใช้ในการปรุงอาหาร จากการสัมภาษณ์คุณวีรภรณ์ กันฟัก แพทย์แผนไทย หมู่ท่ี 8 หัวดงได้ บนั ทกึ ข้อมูลพชื ผกั สมุนไพรในชมุ ชนตาํ บลหัวดง ดังน้ี รปู ภาพ ชอ่ื คุณลักษณะ สรรพคณุ สมนุ ไพร ไพล เป็นพชื จาํ พวกเหง้าใต้ดิน เหง้า รสฝาดข่ืนเอียน ไม้ลม้ ลุก สูงประมาณ 0.7–1.5 แก้ปวดเมื่อยกล้ามเน้ือ เมตร เน้ือในเหง้ามีสเี หลอื งอ่อน แก้บิดมูกเลือด แก้ปวด ทอ้ ง บํารงุ โลหิตขับเลือด ร้าย ขมน้ิ ชัน เป็นพืชจาํ พวกเหง้าสูง 50-70 เ ห ง้ า ข อ ง ข มิ้ น ชั น จ ะ มี ซม. เนอื้ ในเหง้ามสี สี ้ม กล่นิ ฉุน รสฝาดหวานเอียน ใช้ใน ก า ร ส ม า น แ ผ ล แ ก้ ท้องอืดท้องเฟูอ อาหาร ไม่ย่อย และยังรักษา แผลในกระเพาะอาหาร ขับผายลมได้ดี ซึ่งคนหัว ดงนิยมปลูกกันมาก

383 รปู ภาพ ช่อื คุณลกั ษณะ สรรพคณุ สมนุ ไพร ยอบา้ น เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง ลําต้น ใบรสขมเฝ่ือน ใช้ใบสด สีน้ําตาลเทาเรียบ มีดอกเล็กๆสี ย่ า ง ไ ฟ ป รุ ง เ ป็ น ย า ขาวออกช่อตามง่ามใบ ผลรวม ประคบ แก้ปวดบวม กลมมีตารอบเป็นตุ่มๆสีเขียว อักเสบ หรือนํามาต้มดื่ม ผลสุกสีเหลือง เมล็ดสีน้ําตาล แก้ไข้ บํารุงธาตุ ลูกดิบ ไหม้ รสร้อนปร่า ต้มด่ืมแก้ คลื่นเหียนอาเจียน หรือ ต้มด่ืม ขับโลหิตระดู ขับ เลอื ดลม ขบั ลมในลาํ ไส้ ย่านาง เป็นไมเ้ ถาเล้ือยพันต้นไม้อื่น ใบสี ใบ รสขมจืด เขียวขอบเรยี บ รับประทานดบั พษิ ร้อน ถอนพษิ ไข้ แก้ไข้ตัวรอ้ น มะกรูด เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง กิ่งก้าน ใบ รสปร่าหอม แก้ไอ มีหนามแหลม ใบหนาแข็งมีต่อม หรือนํามาปรุงเป็นยา น้ํามันหอม ขอบข้างใบเว้าลึก ประคบ ผิวมะกรูด รส ผลขรขุ ระ ปร่าหอมร้อน ขับลมใน ลําไส้ ขับผายลม หรือ นํามาปรุงเป็นยาประคบ น้ํามะกรูด รสเปร้ียว แก้ ศอเสมหะ กัดเสมหะ ฟอกโลหิตระดู ขับลมใน ลาํ ไส้ พรกิ ไทย เป็นไม้เถาเล้ือย มีรากเกาะตาม ใบ รสเผ็ดร้อน แก้ลมจุก ขอ้ คลา้ ยใบชา้ พลูแต่ใบเรียวกว่า เสียด แก้ปวดมวนท้อง เล็กน้อยและใบแขง็ กวา่ ช้าพลู เมล็ด รสเผ็ดร้อน บํารุง ธาตุ แก้ลมลั่นในท้อง แก้ทอ้ งอืดเฟอู

384 รูปภาพ ช่อื คุณลักษณะ สรรพคุณ สมนุ ไพร ดีปลี เป็นไม้เถา มีรากช่วยยึดเกาะ ผลตามตํารับยานิยม งอกตามข้อ ใบเด่ียวรูปหอก มี เรียกว่า ดอกดีปลี รส ผลเป็นแท่งขรุขระสีเขียว พอสุก เผ็ดร้อนขม แก้ปถวีธาตุ เป็นสสี ม้ แดง พิการ ขับลมในลําไส้ ช่วยเจริญอาหาร ขับ ระดูแก้ปวดกล้ามเน้ือ รักษาอาการอักเสบ ชา้ พลู เป็นพืชจําพวกผัก ต้นสูง1-2 ใบรสเผด็ รอ้ น ขับเสมหะ ฟุต มใี บเดีย่ วเป็นรูปหัวใจ มีดอก ขับลม ดอก รสเผ็ดร้อน เหมือนดีปลี แต่ส้ันกว่าและเป็น แ ก้ ศ อ เ ส ม ห ะ ทํ า ใ ห้ ดอกสีขาว เสมหะแห้ง ช่วยย่อย อาหาร รางจืด เป็นไม้เถาขนาดเล็ก เถาอ่อนสี ใบ ราก เถา รสเย็นจืด เขยี ว เถาแกส่ ีนํ้าตาล ใบผิวเรียบ ตําคั้นหรือเอารากฝนกับ เป็นมัน ดอกมีสีขาวและสมี ่วง น้ําหรือต้มเอาน้ํายาด่ืม ช่วยดับพิษร้อนถอนพิษ ไข้ ถอนพิษยาเบ่ือเมา แกร้ อ้ นในกระหายนํ้า สาบเสอื เป็นไม้ล้มลุก ลําต้นกลมเล็ก ใบ ใบรสฝาดร้อน ขย้ีบีบ รปู ไข่ใบหยักและมีขนนุ่มที่ลําต้น เอานํ้าใส่แผลสดหรือตํา และใบ พอกแผลเพือ่ ห้ามเลอื ด

385 เจตมูล เป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก สําต้นสี ราก รสร้อน บํารุงธาตุ เพลงิ เขียวออกแดงเข้ม ใบสีเขียวอม บํารุงโลหิต ขับลมใน แดง แดง ดอกช่อสแี ดง กระเพาะอาหารและ ลําไส้ กระจายเลือดลม มีฤทธิ์บีบมดลูก ทําให้ แทง้ บุตรได้ รปู ภาพ ช่อื คณุ ลักษณะ สรรพคุณ สมนุ ไพร กระบือ เป็นไม้พุ่มขนาดย่อม ใบมันหน้า ใบรสร้อนเฝ่ือนข่ืน ตํา เจ็ดตวั ใบสีเขียว ท้องใบสีแดงเข้ม ดอก ผสมเหล้าขาว คั้นเอาน้ํา เลก็ สีเหลอื ง ดื่ม แก้สันนิบาตหน้า เพลิง ขับโลหิตร้าย ขับ น้ําคาวปลาหลังคลอด บุตร สม้ ปอุ ย เป็นไม้พุ่มเล้ือย ตามลําต้นก่ิง ใบ รสเปรี้ยวฝาดร้อน ก้านมีหน าม ใบเ ล็กกว่าใ บ เล็กน้อย นํามาต้มด่ืม มะขาม ฝักแบนสนี ํา้ ตาลดํา ถา่ ยเสมหะ ล้างเมือกมัน ในลําไส้ ฟอกโลหิตระดู หรือ โสมไทย เป็นพืชล้มลุกขนาดเล็ก ใบรูปไข่ หัวหรือเหง้า รสหวาน กลับ ปลายโตแหลมโคนสอบ รอ้ น บํารุงร่างกาย บํารุง ดอกเลก็ สชี มพู กาํ ลัง ผักเส้ยี น เปน็ ไมล้ ม้ ลุก ลําต้นต้ังตรง มีขน ท้ังต้น รสร้อนขม แก้ฝี ผี สีเหลืองอ่อน มีกลิ่นเหม็นเขียว ภ า ย ใ น ขั บ หน อ ง ใ น ฉุน ใบเล็กรูปไข่ มีขนอ่อนปก ร่างกาย แก้ไข้ตรีโทษ คลุม มีดอกสีเหลือง แก้โรคไขข้ออักเสบ ขับ นา้ํ เหลืองเสยี

386 เสลด มีทั้งเสลดพังพอนตวั ผแู้ ละตวั เมีย ใบ รสเย็นจดื ตํากบั สรุ า พังพอน เป็นไม้พุ่มกึ่งเลื้อย ลํา คั้นเอาน้ําดื่มเอากาก ตัวผู้ ต้นกลมผวิ เป็นปล้อง ถ้าเป็นตัวผู้ พอก แก้พิษงู ไฟลามทุ่ง ลําต้นจะมีหนามแหลม มีเส้นใบ แก้พิษ แมลงสัตว์กัด และก้านสีแดง ถ้าเป็นตัวเมีย ไม่ ต่อย มหี นาม เสน้ ใบและก้านสเี ขยี ว รปู ภาพ ชอื่ คุณลักษณะ สรรพคุณ สมนุ ไพร เสลด มที ้ังเสลดพงั พอนตวั ผแู้ ละตวั เมีย ใบ รสเย็นจืด ตํากับสุรา พังพอน เปน็ ไม้พุม่ กึ่งเลอื้ ย ลําต้นกลมผิว คั้นเอาน้ําดื่มเอากาก ตัวเมีย เป็นปล้อง ถ้าเป็นตัวผู้ลําต้นจะ พอก แก้พิษงู ไฟลามทุ่ง มีหนามแหลม มีเส้นใบและก้าน แก้พิษ แมลงสัตว์กัด สีแดง ถ้าเป็นตัวเมีย ไม่มีหนาม ต่อย เส้นใบและก้านสีเขียว ตารางที่ 11 สมนุ ไพรในตําบลหัวดง

387 7.2 การขดุ เรือยาว ด้วยพ้ืนท่ีตําบลหัวดงมีแม่นํ้าน่านไหลผ่านประชาชนมีความนิยมการแข่งขันเรือยาว หลังจากการเพาะปลูกข้าวนาปีเสร็จจะมีประเพณีการแข่งขันเรือยาวชิงถ้วยพระราชทานของสมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลท่ี 9 เป็นประจําทุกปีในเดือนสิงหาคม ณ บริเวณ แม่นา้ํ นา่ นหน้าวัดหัวดง โดยเปน็ การแข่งขันที่มีเรือยาวจากจังหวัดต่างๆ มาร่วมแข่งขันจํานวนมากซึ่ง เป็นงานแข่งขันเรือยาวที่ย่ิงใหญ่ของจังหวัดพิจิตรเป็นรองแต่งานแข่งขันเรือยาวชิงถ้วยพระราชทาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช บริเวณแม่น้ําน่านหน้าวัดท่าหลวงพระอารามหลวงท่ี จดั ประจาํ ทุกปี ในเดือนตุลาคม ทั้งน้ีในเขตพืน้ ทตี่ ําบลหัวดงมีช่างขุดเรือยาวท่ีมีชื่อเสียงได้แก่ ช่างเลิศ โพนามาศ โดยได้รับการคัดเลือกให้เป็นช่างขุดเรือยาวดีเด่นประจําปี พ.ศ. 2533 รับโล่แสดงเกียรติ คณุ จากผวู้ ่าราชการจงั หวดั พจิ ิตร ในขณะนนั้ โดยท่ใี นสมัยโบราณกาลทผี่ า่ นมาการท่จี ะได้เรือยาวมาทาํ การแข่งขนั ได้สักหนง่ึ ลํามีความ เชือ่ และพิธีกรรมทจี่ ะต้องดาํ เนินการหลายข้นั ตอน ดังต่อไปนี้ 1. ข้นั ตอนการหาและคดั เลอื กตน้ ไม้ การหาและคัดเลือกต้นไม้เป็นส่ิงสําคัญโดยเฉพาะการหาต้นไม้ในปัจจุบันที่กําลังถูกปิดปุา นั้นหายากต้นไมท้ างภาคเหนือยังพอจะมีขุดเรืออีกมากมาย แต่ส่วนใหญ่ไม้จะเติบโตอยู่ตามภูเขาหรือ หุบเขา ต้นไม้ท่ีจะนํามาขุดเรือยาวได้ส่วนใหญ่จะเป็นไม้ตะเคียนทุกชนิด ไม้สําโรง ไม้มะหาดหรือ อาจจะเป็นไม้ยางก็ได้ ส่วนใหญใ่ ชไ้ มต้ ะเคียนทองขุดเรือ เพราะไม้ตะเคยี นทองเป็นไม้ประเภทเน้ือแข็ง นอกจากนย้ี ังมีสีออกเหลืองทําให้เมื่อขดุ เรือแลว้ จะดูสวยงามมากทีเดียว เม่ือช่างขุดเรือหรือชาวเรือพบต้นไม้แล้ว ก็จะทําการวัดความโตของไม้ว่าจะพอขุดเรือแต่ ละประเภทได้หรอื ไม่ โดยใชเ้ ชือกวัดรอบลําต้นบริเวณหัวของช่างขุดเรือ เม่ือไปยืนเทียบกับโคนต้นไม้ แล้วนําเชือกทวี่ ัดมาทดสอบความยาว ดงั น้ี - ถา้ ความยาวรอบโคนต้นไม้ 5 ศอกขึ้นไป ขดุ เรอื ประเภทยาวใหญ่ได้ - ถา้ ความยาวรอบโคนตน้ 4 ศอกข้ึนไป ขุดเรือประเภทเรอื กลางหรือเรอื เล็กได้ เม่ือวัดความยาวของโคนต้นไม้แล้วก็จะทราบว่าต้นไม้ต้นนั้นพอจะขุดเรือประเภทไหนได้ ช่างก็จะทําการคํานวณความสูง ในสมัยปัจจุบันการวัดความสูงของต้นไม้เพื่อจะทราบว่าไม้ยาว พอท่ีจะขุดเรือแต่ละประเภทได้หรือไม่ ช่างจะใช้ลูกโปุงสวรรค์ผูกเชือกแล้วปล่อยให้ลอยไปถึงยอดท่ี เราต้องการจะตัดแล้วนําลูกโปุงสวรรค์ลงมาวัดความยาวของเชือกว่ามีความยาวพอจะขุดเรือแต่ละ ประเภทไดห้ รือไม่ - เรือยาวใหญต่ ้องใชไ้ ม้ยาวต้งั แต่ 13 วา 2 ศอกข้ึนไป - เรอื ยาวกลางต้องใช้ไม้ยาวตงั้ แต่ 12 วาขึ้นไป - เรือยาวเล็กต้องใช้ไมย้ าวตั้งแต่ 9 วาขึน้ ไป

388 การวัดความสูงของต้นไม้เพ่ือหาความยาวของไม้ท่ีจะนํามาขุดเรือในสมัยโบราณนั้นเขามี หลายวิธีดว้ ยกนั คือ วิธีที่ 1 นําลูกศรหน้าไปผูกด้ายแล้วใช้หน้าไม้ยิงไปตรงบริเวณยอดไม้ที่เราจะตัดปลายแล้ว ดึงเอาด้ายทต่ี ิดหางลูกศรมาวัดความยาวของตน้ ไม้วา่ ยาวพอหรือไม่ วิธีที่ 2 ใช้วธิ ีลูกเสอื เขา้ ชว่ ยคาดคะเนความสูงของต้นไม้ นน่ั คอื ใช้ขวานบากตรงท่ีเราจะตัด แลว้ ใช้ไมว้ างทาบติดกบั ลาํ ตน้ โดยให้โคนไมว้ างทีจ่ ดุ บาก แล้วบากต้นไม้ตรงปลายไม้วา เราจะได้ระยะ ความสูงของต้นไม้ว่าสูง 1 วา แล้วถอยออกมายืนให้ห่างลําต้นคาดคะเนความสูงว่าต้นไม้สูง 1 วาน้ัน ได้ระยะเท่าน้ี เราก็คาดคะเนไปเรื่อย ๆ ว่า 2 วา 3 วา สูงขนาดไหนกะไปจนทราบว่าต้นไม้มีความสูง เท่าไรการคาดคะเนสูงตามวิชาลูกเสือ ต้องคาดคะเนเผื่อขาดไว้นิดหน่อย เพราะเป็นหลักการ คาดคะเนความสงู ของวชิ าลูกเสอื ซึ่งอาจผดิ พลาดได้แตไ่ ม่เกนิ หนงึ่ วา วิธีท่ี 3 เป็นวิธีโบราณแท้ คนโบราณคํานวณความสูงโดยวัดจากโคนต้นไม้ออกไปตามแนว ระนาบ ถ้าต้องการไม้ขุดเรือยาวใหญ่ซึ่งใช้ไม้ยาว 14 วา ต้องวัดห่างต้นออกไป 15 วา แล้วทดลองไป ยืนโก้งโคงมองลอดหว่างขามายังปลายยอดไม้ท่ีเราต้องการตัดทอน ถ้ามองเห็นตรงไหนของต้นไม้ แสดงว่าจุดท่ีเรามองเห็นน้ันสูง 14 วา ตํารานี้ไม่แน่ใจสําหรับคนปัจจุบันเพราะคนปัจจุบันที่อ้วนๆจะ มองไม่ค่อยเห็นเพราะก้มตัวลําบาก เม่ือคํานวณได้ความใหญ่ และความสูงของต้นไม้พอกับการนําไป ขุดเรอื ชา่ งจะดําเนนิ การตัด 2. ขน้ั ตอนตดั หรือโคน่ ตน้ ไม้ พิธีกรรมในการตัดต้นไม้เพอ่ื นํามาทาํ เรือ ช่างขุดเรือจะต้ังศาลเพียงตาข้ึนใกล้เคียงกับต้นไม้ที่จะโค่น นําดอกไม้ในปุาจํานวน 3 ดอก 3 สี แล้วนําธูป 9 ดอก และเทียนหนักบาท 1 บาท 1 ดอก จุดแล้วบอกขออภัยรุกขเทวดาและนางไม้ ที่สิงสถิตย์อยู่กับต้นไม้นี้ว่าจะนําเอาไปทําเรือให้สวยงามเอาไปอยู่คู่บ้านเมืองสวย ๆ งาม ๆ คือพูดใน สิ่งท่ีดีงาม เม่ือตัดแล้วจะปลูกทดแทนให้ใหม่ พูดจบนําดอกไม้ธูปเทียนไปวางท่ีศาลแล้วกราบไหว้ จึง เรมิ่ พิธีการทางช่างได้ พธิ ีกรรมทางช่างขุดเรือ ช่างในสมยั โบราณใช้เลือ่ ยยมบาล โค่นต้นไม้ท่ีจะมาใช้ขุดเรือ การโค่นจะให้ไม้ล้มไปทางใด ใหต้ ดั ดา้ นนัน้ เข้าไปครงึ่ ต้นเศษๆ แลว้ ถอดเลื่อยออกมาใช้ขวานบากด้านบนของรอยตัด เพ่ือให้ล้มง่าย แล้วเลื่อยด้านตรงขา้ มให้สูงกว่าด้านที่เราตัดครั้งแรกประมาณ 1 คืบ เมื่อรอยเล่ือยจรดกัน 2 ด้าน ไม้ จะโค่นไปทางที่เราต้องการ และไม้จะไม่ฉีก แต่ท้ังน้ีต้องดูกิ่งไม้ว่าหนักไปทางไหนด้วย เพราะไม้ อาจจะเบนทศิ ทางไปตามน้าํ หนักของกิง่ ไม้ ช่างขุดเรือสมัยปัจจุบันใช้เลื่อยไฟฟูาโค่นต้นไม้ ซ่ึงสะดวกมากใช้เวลาไม่เกิน 10 นาทีก็ล้ม เม่อื ไม้ล้มลงชา่ งจะตรวจสอบว่าไมแ้ ตกหรือฉกี หรอื กลวง ถ้าโคนและปลายแตกหรือฉีกหรือกลวงจะใช้

389 ขุดเรือไม่ได้ต้องไปหาต้นใหม่ แต่บางต้นถ้าความยาวของต้นไม้เหลือก็ลองทอนโคน เพ่ือให้ฟันรอย แตกหรือฉกี กข็ ุดได้ ถา้ โชคดีล้มลงแลว้ ไมส้ มบูรณท์ กุ ประการก็วดั จากโคนไปหาปลายให้เหลือเผ่ือไว้นิด หน่อยแลว้ ตัดปลาย 3. ข้นั ตอนชักลาก พิธีกรรมในการชกั ลาก ก่อนจะนําไม้บรรทุกรถยนต์ ช่างจะจุดธูป 3 ดอก และเทียน 1 ดอก พร้อมดอกไม้ที่พอหา ได้ในปุาจํานวน 3 ดอก 3 สี เพื่อบอกทางนางไม้และเจ้าท่ีเจ้าทาง เจ้าปุาเจ้าเขา เพื่อให้ไม้ท่ีจะนํามา ขุดเรือเดินทางสะดวกและปลอดภัย ถ้าหาธูปเทียนไม่ได้ก็อาจจะใช้เพียงดอกไม้ 3 ดอก หรือเพียงแต่ พนมมือบอกนางไมห้ รือเจ้าปาุ เจา้ เขาก็ได้ แต่พยายามพูดให้เป็นมงคล เคยมีบรรดาพวกไม่เชื่อในเร่ือง ผีสางนางไม้พูดจาไม่เป็นมงคล ซึ่งต้องโดนมาหลายรอบ บางรายถึงกับโดนไม้ร่วงทับถึงชีวิต บางราย แขนขาหัก บางรายปากบวม บางรายบรรทกุ รถยนตม์ าแลว้ ไม้ยงั สะบดั รว่ งรถยนตไ์ ด้ เมื่อไม้เดินทางมาถึงวัดหรือท่ีท่ีจะทําการขุดก็ทําพิธีอัญเชิญนางไม้ลงจากรถยนต์ โดยทํา คล้ายกับนําไม้ข้ึนรถยนต์ คือจุดธูปเทียน 3 ดอก หาดอกไม้ 3 สี จํานวน 3 ดอก บอกให้นางไม้ลง รถยนต์อย่าให้กระทบกระแทกแตกหัก ให้ลงรถยนต์ด้วยความปลอดภัย เพราะจะนํามาสร้างให้มี ชอ่ื เสียง คอื พยายามพูดในสิง่ ทดี่ งี ามนัน่ เอง พธิ กี ารทางช่างในการชกั ลากไม้ ในสมัยโบราณการชักลากไม้จะใช้ช้างเป็นส่วนใหญ่ ถ้าไม่ตกลงไปในเหวก็จะใช้หวายโปง พันลําดึงไม้ข้ึน หรือจะพลิกไม้ก็จะใช้วิธีเอาหวายพันลําพลิก แต่ในสมัยปัจจุบันวิวัฒนาการทาง เทคโนโลยเี จริญขนึ้ การชักลากไม้จึงใช้รถยกข้ึน หรือดึงจากเหว แลว้ ยกใสร่ ถลากไปขุดตามวัดตา่ งๆ 4. ขั้นตอนขุดเรอื พธิ ีกรรมในการขุดเรอื ยาว ก่อนท่ีจะทําการขุดเรือช่างจะต้ังศาลเพียงตา แล้วนําเคร่ืองกระยาบวชมี หัวหมู ไก่ต้ม ไข่ ต้ม ข้าวปากหม้อ ขนมต้มแดง ขนมต้มขาว ขนมปลากิม ขนมหูช้าง ข้าวเหนียวหัวหงอก และใช้ บายศรีปากชาม 6 ตัว จํานวน 2 ท่ี เพื่อจะใส่ข้าวปากหม้อและไข่ต้ม เมื่อดําเนินการเสร็จแล้วช่างขุด เรือจะจุดธูปเทียนพร้อมด้วยดอกไม้ 3 สี บอกนางไม้ที่จะขุดและเป็นการบอกครูเพชรฉลูกรรม ว่าใน การดําเนินการขุดขอให้ขุดง่าย ขุดแล้วเป็นไปตามสูตรทุกประการ เม่ือบอกนางไม้และครูเพชรฉลู กรรม1 ช่างจะนําบายศรีปากชาม 2 ท่ี ไปวางบนปลายและโคนไม้ที่จะขุดอย่างละที่ แล้วเริ่ม ดาํ เนนิ การขดุ พธิ ีการทางชา่ ง ช่างจะดูลักษณะของไม้ที่จะนํามาขุดเรือ ช่างบางคนนําไม้ไปลอยนํ้าเพ่ือทดลองว่าไม้จะ พลกิ ดา้ นใด

390 ขึ้นบนกข็ ุดด้านนั้น ด้านใดตรงขา้ มกจ็ ะเป็นท้องเรือ แต่ช่างบางคนใช้วิธีการสังเกตเน้ือไม้และลักษณะ การเหยียดของไม้ท่ีวางขอนอยู่ ถ้าไม้มีลักษณะงอนหรือโอนก็จะขุดด้านน้ัน ส่วนด้านตรงข้ามจะเป็น ท้องเรือ (ขุดแล้วจะเหมือนกาบมะพรา้ วโดยใช้เปลือกกาบมะพร้าวเปน็ ท้องเรือ) ก่อนลงมือขุดช่างจะใช้เล่ือยไฟฟูาเปิดปีกด้านบนท่ีจะขุด และด้านล่างที่จะทําท้องเรือรวม 2 ปกี เมอื่ เปดิ ปีกแล้วช่างขุดเรอื จะตเี สน้ ศนู ยเ์ พื่อแบ่งไม้ออกเป็น 2 ซีกเท่า ๆ กันแล้วตีกรอบด้านข้าง อีกข้างละเส้นเรียกว่า เส้นมาด แล้วใช้เล่ือยเจาะก้ามปูตามเส้นมาดเพื่องัดเอาเนื้อไม้ออกมาตลอดท้ัง ลํา เมื่อเอาเนื้อไม้ออกแล้วช่างจะเร่ิมปอกเปลอื กไม้ตลอดลาํ เส้นมาด เสน้ ศนู ย์ ภาพที่ 397 ลกั ษณะการขดุ เรอื เหลาเรือด้วยเคร่ืองมือทางช่างอันได้แก่ ขวานโยน ขวานลาง กบไฟฟูาในการเหลาเรือช่าง จะทราบวา่ เรือมีความหนามากนอ้ ยเพยี งใด โดยการใชส้ ว่านเจาะเรือให้ทะลุเป็นแนวตามขวางแถวละ 9 รู แตล่ ะแนวจะหา่ งกนั ประมาณ 1 เมตร เจาะตลอดทั้งลํา แล้วใช้ลูกประสกั ปาุ วัดความหนาของเน้ือ เรอื เมอื่ เหลาเรอื ด้านนอกแลว้ ช่างก็เรมิ่ สางใน โดยการใช้ขวานถากเน้ือเรือตลอดลําให้มีความหนาเท่า ๆ กัน โดยยึดลูกประสักปุาเป็นเคร่ืองวัดความยาว เสร็จแล้วควํ่าเรือย่างไฟในการย่างไฟช่างจะให้ แกลบผสมขี้เล่ือยเป็นเชือ้ เพลงิ ตอ้ งยา่ งให้ไฟรอ้ นเทา่ ๆ กันและตลอดทง้ั ลาํ ให้ทั่วใช้เวลาย่างประมาณ 16 ชวั่ โมง การย่างไฟแรกใช้ไฟเวลานานกว่าไฟตอ่ ๆ ไป เม่ือเห็นว่าเนือ้ เรอื ถกู ไฟเหลืองทั่วกันดีแล้ว ก็ หงายเรือใช้ปากกาท่ีทําด้วยกระบอกไม้ไผ่จับมาดเรือทั้ง 2 ด้านตลอดลําระยะห่างกันตัวละ 2 ศอก แล้วใชห้ วายคลอ้ งปากกา นําขอไมไ้ ผย่ าวประมาณ 5 ศอก สอดกับห่วงหวายใช้เชือกโทนงัดให้เนื้อเรือ ถ่างออก เม่ืองัดให้เนื้อเรือถ่างออกแล้วจะใช้ไม้ไผ่ผ่าซีกค้ํายันเนื้อเรือไม่ให้หุบเข้าการดําเนินการถ่าง คํ้ายันตลอดลํา เพื่อให้เรือได้รูปทรงแล้วคลํ่าเรือเหลานอกด้วยกบไฟฟูาให้ได้รูปทรงเช่นกัน สางนอก เสรจ็ หงายเรือแลว้ ใช้ขวานลางสางในใหไ้ ด้ความหนาบางพอเหมาะ จากน้ันคว่ําเรือเรือแล้วย่างไฟที่ 2 ใช้เวลาย่างให้ทั่วลําเหมือนเดิม แต่ใช้เวลาเพียง 12 ชั่วโมง ได้เวลาหงายเรือใช้ปากกาถ่างเรือออก นําไม้ไผ่คํ้ายันกันเรือหุบเข้า เริ่มควํ่าเรือสางนอกแล้ว หงายสางในจากน้ันกค็ วํ่าเรือ การย่างไฟ 3 และ 4 ก็ปฏิบัติเช่นเดียวกับการย่างไฟที่ 1 แต่การย่างไฟ 3 และ 4 ใช้เวลา ย่างไฟละ 6 ชั่วโมงเทา่ น้ัน เมอื่ ย่างไฟ 4 สางนอกสางในแล้วก็จะได้รูปลักษณะเรือครบสูตรการขุดเรือ

391 แต่ละช่าง จากนั้นหงายเรือติดห่วงเหล็กด้านข้างทั้ง 2 ข้างตลอดลํา ระยะห่างกัน 2-3 ศอกต่อห่วงท่ี ติดทั้งสองข้างน้ันจะเฉลียงกัน เพ่ือสะดวกในการใช้ไม้งัดแบะเรือการติดห่วงแต่ละห่วงจะติดใต้มาด ประมาณ 10-12 นิ้ว ประโยชน์ในการติดห่วงก็เพื่อดัดวงดึงเน้ือเรือให้ออกเท่า ๆ กันพร้อมที่จะลงกง ต่อไป 5. ขั้นตอนวางกง พธิ กี รรมในการวางกงเรือ การวางกงเรือไม่มีพิธีกรรมอะไรดําเนินการต่อไปได้เลยเม่ือสางนอกสางในหลังไฟที่ 4 เรียบร้อย พิธีการทางชา่ ง การวางกงนนั้ ช่างจะวัดความยาวของตัวเรือตลอดลําแล้วจะขีดเส้นแบ่งระยะห่างของกงแต่ ละตัว ไม้ท่ีนํามาทํากงมีหลายชนิดได้แก่ ไม้สัก ไม้ตะเคียน ไม้ประดู่ หรือไม้พะยอม แต่ช่างหลายคน บอกไมป้ ระดู่ดีทส่ี ดุ เพราะทนแดดทนน้ําได้ดีกว่าไม้อ่นื ไม้ทจ่ี ะมาทํากงต้องใช้ไม้หนา 2-2 ½ น้ิว กว้าง ประมาณ 20 น้ิว ยาวไม่ต่ํากว่า 40 นิ้ว (ข้ึนอยู่กับความกว้างของห้องเรือ) กงแต่ละตัวจะหนา 2-2 ½ น้ิว กว้าง 3 นิ้ว การติดกงจะติดกลางลําเรือเป็นตัวแรก โดยใช้สว่านเจาะกงเรือไปทะลุตัวเรือทาง ด้านข้างแล้วตอกด้วยลูกประสัก เสร็จจากน้ันใช้สว่านเจาะกงทะลุตัวเรือด้านข้างตรงข้ามกับลูก ประสักลูกแรกแล้วก็ตอกด้วยลูกประสัก เจาะกงทะลุเนื้อเรืออัดลูกประสักสลับซ้ายขวาจนกว่าได้ลูก ประสักจํานวน 9 ลูก ลกู ประสักลกู ที่ 1 ลูกประสักลูกที่ 2 ลูกประสกั ลกู ที่ 3 ลูกประสกั ลกู ที่ 4 ลกู ประสักลูกที่ 5 ลูกที่ 6 ลูกประสัก ลกู ประสกั ลูกท่ี 7 ท่ี 8 ลูกประสักลูก ลูกประสกั ลูกท่ี 9 ภาพที่ 398 ลักษณะการตดิ กงเรือ ในการวางกงตัวที่ 2 จะวางห่างจากกงตัวแรกไปทางท้ายเรือหรือหัวเรือประมาณ 32 น้ิว เพื่อให้คนนั่งพายสบาย การติดกงจะติดสลับไปทางท้ายเรือ 1 ตัว หัวเรือ 1 ตัว จนกว่าจะครบตลอด

392 ลําซ่ึงถ้าเป็นเรือยาวใหญ่จะติดกงประมาณ 31 ตัว เรือยาวกลาง 27 ตัว และเรือเล็ก 23 ตัว กง ตวั กลางจะกวา้ งประมาณ 39 นวิ้ ถ้าเปน็ เรอื กลางหรือเรอื เล็ก กลางลาํ เรือจะกว้างประมาณ 35 น้วิ จากนั้นก็ดําเนินการวางกระทงสําหรับนั่งพาย ไม้ท่ีจะนํามาวางกระทงจะใช้ไม้สักกว้าง 6 นิ้ว หนา 1 นิ้ว ยาวเท่ากับความกว้างของเรือท่ีเราวางกระทงแต่ละตัวไว้ การติดกระทงเรือจะใช้ไม้ กระทงวางเทินหัวกงทั้ง 2 หัว แล้วเจาะกระทงทะลุตัวเรืออัดด้วยลูกประสักข้างละ 2 ลูก ดังนั้น กระทงตัวหนึ่งจะใช้ลูกประสักอัด 4 ลูก และถ้าเรือลําหนึ่งติดกง 31 ตัว ก็ต้องติดกระทงเรือ 31 ตัว เช่นกัน เมื่อวางกระทงเรือเสร็จก็เริ่มติดไม้แอนวางใต้กระทงน่ังตลอดท้ังลํา ไม้แอนจะใช้ไม้เน้ือแข็ง กว้าง 2 น้ิว หนา 3 นิ้ว แล้วใช้น็อตอัดติดกับกระทง การติดไม้แอนก็เพื่อประโยชน์ในการตอกตอม่อ เพอ่ื ใหเ้ รือแขง็ หรอื ออ่ นตามตอ้ งการ เสร็จจากน้ันก็คว่ําเรือเหลาด้านนอกให้ได้ท่ีขัดด้วยกระดาษทราย หยาบ และละเอียด เม่ือขัดเรียบร้อยแล้วหงายเรือติดกาบซ่ึงยาวตลอดลําจํานวน 2 กาบ กาบเรือจะ ใชไ้ ม้เนอื้ แข็งคอื ไม้ตะเคยี นกว้าง 6 นิ้ว หนา 1 ½นิว้ การตดิ กาบใช้ตาปูตอกติดกับกระทงเรือหรือมาด เรือ จากนั้นก็ติดโขนหัว โขนท้าย ไม้ท่ีนํามาทําโขนเรือเป็นไม้สักดีที่สุด ถ้าหาไม่ได้จะเป็นไม้ขนุน ไม้ ตะเคียน ไมพ้ ยอมก็ได้ ขนาดของไมท้ ี่จะนาํ มาขดุ โขนหวั ทา้ ย ตอ้ งใชไ้ ม้ท่ีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 24 นิ้ว โขนหัว-ท้าย ต้องเป็นช่างฝีมือจริงๆ เพราะการเข้าไม้ยากมาก ต้องเข้าไม้ให้สนิท นอกจากนี้การ ติดโขนหัวท้ายน้ันต้องให้ถอดออกได้เพื่อสะดวกในการเคล่ือนย้ายเรือ โดยใช้น็อตร้ังติดเรือ แล้วติด สายยูเหล็กจากหัวจรดท้ายเรือระยะห่างกันเท่ากับกงเรือ แต่ติดข้างๆ กงเรือเหล็กสายยูที่ติดน้ีมี ประโยชน์ในการขันเรือ เมื่อเรียบร้อยแล้วก็ขัดอีกครั้งหนึ่งแล้วลงน้ํามันยูรีเทนให้ข้ึนมัน ก็สามารถลง แขง่ ได้ 6. ขัน้ ตอนตง้ั ชอื่ พธิ ีกรรมการตงั้ ช่ือเรอื การต้ังช่ือเรือมีวิธีการหลายอย่าง เรือบางลําก่อนลงแข่งจะใช้คนทรงแม่ย่านางว่าต้ังช่ือว่า อะไร เมื่อแข่งแล้วจะชนะ และจะถามว่าแม่ย่านางเรือชอบตกแต่งอย่างไร ชอบรับประทานอาหาร อะไรเพื่อจะได้เซ่นไหว้ได้ถูกต้อง การต้ังช่ือเรือบางลําใช้ชื่อบ้านเป็นชื่อเรือ บางรายใช้ช่ือพระท่ีเคย เปน็ เกจอิ าจารย์ บางลําตั้งช่ือตามวรรณคดไี ทย เป็นตน้ พิธกี ารทางชา่ ง เมื่อทราบว่าต้ังชื่อว่าอะไรแล้ว ช่างก็จะแกะตัวอักษรเป็นโลหะสีเงินทําเป็นชื่อติดหัวเรือ ด้านข้างทั้งสองด้าน บางลําอาจเขียนด้วยแผ่นพลาสติกติดด้านข้างหรือตั้งบนโขนหัวเรือสําหรับโขน ท้ายก็เขียนเปน็ ช่อื วัดหรอื ช่อื บา้ นทเี่ รอื ลํานั้นอาศัยอยู่ก็ได้ 7. ขนั้ ตอนการลงนํ้า พิธกี รรมการนาํ เรือลงนํา้

393 พธิ ีกรรมทจี่ ะนาํ เรือลงนา้ํ ครงั้ แรกต้องมกี ารบวงสรวงเหมือนกบั การเบิกเรือ คือตั้งศาลเพียง ตาเสร็จแลว้ ใช้เครอ่ื งเซน่ ไหว้เมือ่ ไดฤ้ กษ์ยกเรือลงนาํ้ ก็จะไชโยโหร่ อ้ ง จดุ ประทัดหรอื ยิงปนื พิธกี ารทางชา่ ง เมื่อเรือลงนํ้าแล้วช่างจะตรวจสอบว่าเรือเอียงหรือไม่ ลอยนํ้าดีหรือไม่ ขันได้ถูกจุดไหมโขน หวั และโขนทา้ ยยกลอยนาํ้ ได้ดีไหม แล้วกจ็ ะให้ลูกพายลงเรือให้ครบทดลองพายเพื่อดูการแล่นของเรือ ว่าวิ่งราบเรียบดีหรือไม่ ถ้าแข็งหรืออ่อนไปต้องเพิ่มลดตอม่อ เพื่อให้เรือวิ่งเข้าที่ เม่ือเรือว่ิงดีแล้วก็จะ เร่ิมซ้อมเรือ การซ้อมเรืออาจซ้อมเช้าเย็น บางวัดซ้อมกลางคืน บางหมู่บ้านซ้อมพายลูกบวบ เพื่อให้ พละกําลังแข็งแกร่งก่อนเข้าสนามแข่งขัน แต่ถ้าเรือเอียงหรือแล่นไม่สวยงามช่างจะยกขึ้นมาตกแต่ง ใหม่ ทดลองจนกว่าจะแล่นได้ดี 8. ขั้นตอนการทําพาย พธิ กี รรมทางการทาํ พาย การทําพายหรอื การสรา้ งพายไมม่ ีพิธกี รรมใดๆ ขอให้มีไม้ก็ทําพายได้ พิธีการทางชา่ ง ไม้ที่จะนํามาทําพายควรเป็นไม้สัก ไม้โมกมันหรือไม้ตะแบก ซึ่งใช้ไม้กว้าง 6 นิ้ว หนา 1½ น้ิว ยาว 1.90 เมตร เม่ือเหลาขัดเสร็จเรียบร้อยแล้วจะได้รูปลักษณะพายคือความกว้างปลายใบพาย ประมาณ 6 นวิ้ ความยาวของใบพายประมาณ 50 เซนติเมตร ความยาวของด้ามที่ถือ ถ้าเป็นพายคน จ้ํายาว 1 เมตร ถา้ พายทา้ ยจะยาว 1.25 เมตร 50 ซ.ม. พายสาํ หรับจา้ํ เรือ 6 นิ้ว 1.00 เมตร 50 ซ.ม. พายท้าย 6 นว้ิ 1.25 เมตร ภาพท่ี 399 ลกั ษณะการทาํ ไม้พาย ผลงานดเี ด่นระดับจังหวัด ได้รบั การคดั เลือกให้เปน็ ช่างในการขดุ เรอื ยาวดีเด่นประจําปี 2533 รับโล่จากผูว้ ่าราชการ จังหวัดพจิ ิตร

394 5.3 ภมู ิปญั ญาการประกอบอาชีพทาํ นาข้าว ชาวหวั ดงสว่ นใหญ่ประกอบอาชพี ทาํ นาขา้ วหรืออาชพี รับจ้าง ที่เกยี่ วเน่ืองกับการทํานาข้าว เป็นหลกั เนอ่ื งจากมสี ภาพภมู ิศาสตรแ์ ละลกั ษณะดิน นํ้าท่ีเหมาะสม คือ พ้ืนทน่ี าข้าวมีลักษณะราบลุ่ม แอง่ กระทะดนิ เหนยี วอุ้มนา้ํ ไดด้ ีทําให้เพาะปลูกข้าวได้ผลผลิตท่ีมีปริมาณมาก โดยมีการเพาะปลูกข้าว ประมาณ 20,000 ไร่ ในพ้ืนท่ีหมู่ท่ี 2, 4, 5, 6 และหมู่ที่ 9 ซ่ึงอาชีพทํานาข้าวได้ตกทอดมาหลายช่ัว อายคุ นและไดส้ ืบทอดภูมิปญั ญาความเช่ือและพิธีกรรมต่าง ๆ ที่สร้างความอยู่เย็นเป็นสุขให้กับชุมชน ตลอดมา โดยการปลกู ขา้ วในสมยั โบราณมขี น้ั ตอนพธิ ีกรรม ดังต่อไปน้ี 1. ก่อนท่ีจะเริม่ เพาะปลกู ขา้ วจะมกี ารเล้ยี งเจ้าไร่เจ้านา โดยมีเคร่ืองเซ่นสังเวย ได้แก่ เหล้า ไก่ต้ม และพูดบอกกลา่ วให้การทํานาประสบผลสาํ เร็จไดผ้ ลผลติ ดีมีราคาสูง 2. พอเวลาผ่านไปข้าวตั้งทอ้ งก็มีพธิ รี บั ขวัญแม่โพสพ โดยนําผลไมร้ สเปรีย้ ว หวาน ใส่ฉลอม มาเซน่ สังเวย 3. เมื่อถึงเวลาเก็บเก่ียวข้าวก็จะมีพิธีการขอขมาแม่โพสพซ่ึงในสมัยก่อนจะใช้แรงงานคน เกยี่ วข้าวและมัดเปน็ ฟุอน ๆ วางไว้ในนากอ่ นท่จี ะนาํ มานวดแยกเมลด็ 4. การจัดเตรียมลานนวดข้าวมีการใช้ข้ีควายมาทาให้ท่ัวลานนวดข้าวให้เรียบเป็นพ้ืนท่ี เดยี วในการปอู งกนั มใิ ห้เมล็ดขา้ วติดพื้นหรือลอดลงดนิ ที่แตกระแหง 5. ก่อนทีจ่ ะมีการนวดข้าว ก็จะมีการนําเครื่องสังเวยมาไหว้ซ่ึงประกอบด้วย บายศรี เหล้า ไก่ ขนมหวาน ซ่ึงนวดข้าวในสมัยก่อนจะใช้ควายเดินวนยํ่าข้าวแยกเมล็ดข้าวกับฟางข้าว หรือจะใช้ วิธีการฟาดข้าวหรือตีข้าว ทั้งนี้การนวดข้าวจะต้องใช้แรงงานคนจํานวนมาก จึงต้องมีการลงแขกช่วย แรงกนั ทําจนเสรจ็ ทุกคน 6. พิธกี ารเรยี กขวัญข้าวเขา้ ยงุ้ ในสมัยกอ่ นจะมีการเก็บข้าวเปลอื กท่ีนวดแล้วเข้ายุ้งฉางก่อน นําไปขาย โดยจะทาํ พธิ ีในลานนวดข้าวโยมกี ารพูดแต่สิ่งทด่ี เี ป็นสิรมิ งคลตอ่ ครอบครวั 7. พิธีปลงขวัญข้าว โดยจะกระทําก่อนท่ีจะนําข้าวเปลือกออกขายจะทําในยุ้งฉาง โดยจะ ทาํ ชะลอมพาดผ้าขาวใส่รูปป้ันหรอื รปู หล่อแม่พระโพสพ พร้อมจัดเครื่องเซ่นสังเวย หม้อน่ึง (หวด) ถัง กระบงุ โกย ข้าวเหนียว ข้าวเจ้า ไข่ต้ม กล้วย ไก่ต้ม ปลาช่อนนึ่ง ขนมหวานต่าง ๆ โดยเจ้าของยุ้งฉาง หรือพราหมณ์ เป็นผู้กล่าวขออภัยแม่พระโพสพท่ีทําให้ตกใจและขอพรให้ข้าวราคาดีมีความสุขใน ครอบครัว โดยหลงั จากเสรจ็ พิธีกรรมแล้วก็จะมานัง่ รับประทานอาหารท่เี ป็นเครือ่ งเซน่ สังเวยรว่ มกัน

395 ภาพท่ี 400 พิธีเรียกขวัญข้าวของชาวนาตาํ บลหวั ดง ภาพที่ 401 การยาํ่ ขา้ ว

396 ภาพที่ 402 การใช้ไมก้ ระดานชักข้าวขึ้นเป็นกองใหญ่หลังจากการยํา่ ข้าวของชาวนา ภาพที่ 403 กวาดเศษฟางออกจากเมล็ดข้าว เพอ่ื เตรยี มการฟดั เอาละอองออกจากขา้ ว

397 ภาพท่ี 404 การใชไ้ ม้กระดานชักขา้ วขน้ึ เป็นกองใหญ่ เพอื่ รอการฟัดละอองออกจากข้าว 5.4 ภูมปิ ัญญาเคร่อื งมอื การประมงจากหตั ถกรรมจักรสาน ดว้ ยสภาพภูมิศาสตร์ของตําบลหัวดง เป็นท่ีราบลุ่มแอ่งกระทะมีแหล่งน้ําธรรมชาติ คู คลอง หนอง บึง จํานวนมาก ทําให้มีปลาและสัตว์อ่ืนชุกชุม ซึ่งหลังจากประกอบอาชีพทํานาเสร็จส้ิน ประชาชนก็จะจบั สัตว์นาํ้ รบั ประทานในครัวเรอื นหรอื ถา้ มมี ากกจ็ ะจาํ หน่ายสรา้ งรายได้เป็นอาชีพเสริม ซ่ึงเคร่ืองมือจับปลาส่วนใหญ่จะทําจากไม้ไผ่จักสานเป็นหลัก โดยจะยกตัวอย่างเคร่ืองมือจับสัตว์นํ้าที่ เปน็ หัตถกรรมจกั สาน ดงั ตอ่ ไปนี้ ไซดักปลา ก่อนจะนําไซไปวางดักปลาต้องไปขุดหลุมวางไซตามคันคลอง กระทงนา คันบึง ไว้ก่อน กอ่ นทจี่ ะนําไซไปวางตอ้ งเตรียมปลวกมาทบุ ใหล้ ะเอยี ดคลกุ เคลา้ กนั แล้วไปใส่หลุมที่ขุดไว้แล้วค่อยเดิน เงียบๆ นําไซไปวางเพื่อดักปลาที่มากินปลวกท่ีใส่ล่อไว้ สักครู่ปลาก็จะว่ิงเข้าไซทาง งาไซ หรือทางเข้า ไซเมื่อเข้าแล้วปลาออกไม่ได้ก็ถูกจับมาทําอาหารต่อไป เคล็ดลับในการขุดหลุมวางไซห้ามข้ามหลุม ถา้ ขา้ มหลมุ ปลาจะโดดหนีจากไซดกั ปลาหมดจับปลาไม่ได้เลย

398 ภาพที่ 405 ไซดักปลา การทําไซดักปลาเป็นหัตถกรรมพื้นบ้านอุปกรณ์ทําด้วยไม้ไผ่อายุ 2 ปี ยิ่งเป็นไผ่สีสุขย่ิงดี ท่ีสุดไผ่ 1 ต้นสานไซดกั ปลาได้ 1 ลกู เหลาเป็นซีเ่ ลก็ ๆ แลว้ เอามาขดเป็นวงกลมเพ่ือเป็นตัวยึดสําหรับ ถกั ตวั ไซเรียกวา่ วงไซ ไม้ทเี่ หลาเรยี กว่าเส้นตอกนํามาถักไซ มัดปลายข้างหน่ึงของเส้นตอกรวมกันแล้ว พับกลับไปด้านหลัง ใช้เส้นตอกอีกส่วนหน่ึงสานขวางถักไปเร่ือย ๆ ทําฝากั้นไซ 2 ช้ัน ให้มีช่องตรง กลาง และนํางาไซท่ีสานไว้มามัดที่ฝาข้ันเป็นรูปสามเหลี่ยมเฉียงไปข้างในหันไปคนละด้านทั้ง 2 ชั้น ของฝาข้ันเพ่ือบังคับปลาเข้าไปข้างในและออกไม่ได้ การถักไซเป็นหัตถกรรมท่ีต้องใช้ความอดทนสูง มากท่กี วา่ จะมาเป็นไซ ตุ้มดักปลาดกุ ชาวบ้านหัวดง จะสานตุ้มที่ส่วนบนด้วยไม้ไผ่ ส่วนล่างเป็นป๊ีบ ทํางาหรือทางเข้า ปลาเข้า แล้วออกไม่ได้ ตุ้มจะใหญ่และหนักมากเวลาขนย้ายต้องกลิ้งไป การผสมเหย่ือใส่ป๊ีบล่อปลามีขี้ควาย ลําข้าว ขา้ วคว่ั ป้นั ขี้ควายเหนยี ว ๆ กบั ลาํ ข้าว ขา้ วค่วั ใส่ในตุม้ ลอ่ ดกั ปลาดกุ

399 ภาพท่ี 406 ตุม้ ดักปลาดุก ลนั ลัน เป็นเครื่องมือดักปลาไหล ทําจากไม้ไผ่บ้านท้ังลํา ตัดแบ่งเป็นช่วง ช่วงละประมาณ 4 ข้อไม้ ตัดหลังข้อแรกออกได้ปากกระบอก ข้ามไป 3 ข้อแล้วตัดหลังข้อที่ 3 เป็นก้น เจาะบากช่องบน ปลอ้ งสุดท้ายยาวประมาณหนง่ึ คบื ใหเ้ ปน็ ช่องหายใจใชเ้ หลก็ ทะลวงข้อภายในเว้นสุดท้าย ทํางาเป็นรูป กรวย สวมหันปลายงาเข้าที่ปากกระบอก ให้ก้นงาคับพอดีกับปากกระบอก เจาะรูด้านริมบนข้างปาก ด้านเดียวกับช่องหายใจที่ก้นกระบอกให้ทะลุลงไปด้านล่างเหลาไม้เสียบยาวประมาณ 30 เซนติเมตร เสียบพอดีกับรูที่เจาะผ่านข้างงาทะลุเลยลงด้านล่างใช้เป็นไม้เสียบช่วยยึดให้งาติดแน่นกับ ปาก กระบอกและใชย้ ดึ เสยี บดิน ภาพท่ี 407 ลนั

400 ภาพท่ี 408 อแี อ๊บดบั กบ อีแอ๊บดับกบ เป็นเครื่องมือดักกบท่ีสานด้วยไม้ไผ่ลูกใหญ่พอประมาณ นําไปต้ังตามนํ้าไหล หรือน้ําขังนําปลาหมอเป็น ๆ ประมาณ 3-5 ตัวใส่ไว้ใน \"อีแอ๊บ\" แล้วนําไปวางไว้บริเวณท่ีกล่าวมา ขา้ งตน้ เอาหญ้าคลุมไว้เปิดปาก \"อแี อ๊บ\" ไว้ทิ้งไว้ 1 คืน รุ่งเช้าเปิด \"อีแอ๊บ\" ดูเจอกบจํานวนมากเข้าไป อยู่ใน \"อีแอ๊บ\" อีแอ๊บ ก็เป็นหัตถกรรมพ้ืนบ้านภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ต้องใช้ความอดทนสูงในการทํา เช่นกนั ภาพท่ี 409 อแี อ๊บดกั กบ

401 ภาพท่ี 410 อีแอ๊บดักกบ ลอบดักปลา การทําลอบก็เป็นหัตถกรรมภูมิปัญญาเช่นเดียวกัน การใช้หวาย ใช้เชือกมาสานถักทอเป็น ลอบข้ึนมาทํางานเหมือนไซ ใส่เหยื่อเช่นเดียวกันจะใช้วางนอนตามนํ้าแล้วมัดทิ้งไว้กลางคืนเช้าก็มา เกบ็ ปลาท่ีตดิ ลอบกันไปทาํ อาหารกัน ภาพท่ี 411 ลอบดักปลา

402 เครอ่ื งมอื อนื่ ๆ ภาพที่ 412 ฉมวกแทงปลา แทงกบ ภาพท่ี 413 สะระโอขดี จบั ปลาหลด

403 ภาพท่ี 414 สุ่มจับปลา ภาพที่ 415 ข้องใสป่ ลา

404 ภาพที่ 416 การยกยอ การยกยอ ต้องใช้เหยื่อล่อเช่นเดียวกัน ประกอบด้วย ลําข้าว ปลวก ป้ันกับดินเหนียวใส่ใน ยกยอล่อปลามากิน ตอนที่ 2 การสร้างการมีส่วนร่วมของเครือข่ายชุมชนเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวมรดก วฒั นธรรมชุมชนหัวดง เพอื่ ให้ได้มาซ่ึงคําตอบ ตามวัตถุประสงค์ข้อท่ี 1 ทีมวิจัยได้ดําเนินกิจกรรมต่าง ๆ เช่น ภาคี ในระดับชุมชน ใช้วิธีลงพื้นที่ 9 หมู่บ้าน/ชุมชน เพื่อไปสานสัมพันธ์และขอความร่วมมือกับสมาชิกใน ชุมชนโดยการนัดพบเชิญประชุม ซ่ึงทีมวิจัยจะบอกเล่าเร่ืองราวสาเหตุวิธีการทํางานวิจัยและ ประโยชน์ท่ีคนในชุมชนหัวดง จะได้รับรู้ร่วมกัน จากนั้นจึงเชิญชวนผู้สนใจเข้าร่วมทีมทํางาน ใน บางคร้ังขณะเข้าไปซ้ืออาหารในชุมชน ได้เจอผู้สูงอายุน่ังอยู่ในร้านจึงสอบถามถึงเรื่องอาหารในสมัย โบราณ วิถีชีวิตแบบเดิม ๆ และอีกหลายเร่ืองราวก็ผุดออกมาจากผู้สูงอายุน้ัน ต่อมาทีมวิจัยได้เชิญ ภาคเี ครือข่ายในพน้ื ท่ีรว่ มประชุมโดยการเปดิ ตวั โครงการ เพ่ือให้ภาคีเครือข่ายรับรู้และรับทราบว่าชม ชนตําบลหัวดง โดยนายพีระโรจน์ ภัทรประสิทธิ์ และคณะทีมวจัย กําลังทําอะไรและภาคีเครือข่าย ผู้เข้าร่วมมหี นา้ ทแี่ ละมีบทบาทสําคัญอย่างไรในการดําเนินการโครงการ รวมไปถึงการประชาสัมพันธ์ และเชิญชวน พร้อมกับแจ้งถึงวัตถุประสงค์ของการดําเนินงานและประโยชน์ที่ชุมชนหัวดง จะได้รับ หลังจากการดําเนินงานเสร็จส้ิน ต่อมาทีมวิจัยเข้าไปพูดกับผู้รู้ข้อมูลในพ้ืนท่ี เช่น ผู้นําท้องที่ ผู้นํา ท้องถน่ิ หนว่ ยงานภาครัฐ ประชาชน ปราชญชุ์ มุ ชน แกนนาํ กลุ่มต่าง ๆ จะได้นําข้อมูลมาตอบคําถาม งานวิจัย ส่วนลักษณะวิธีการเข้าไปสร้างความร่วมมือภาคีเครือข่ายในโรงเรียนท่ีอยู่ในตําบลหัวดง ทั้ง 7 แห่ง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จํานวน 2 ศูนย์ รวมถึงการจัดเวทีคืนข้อมูลในวัดที่อยู่ในเขตตําบลหัวดง โดยใช้วิธกี ารสรา้ งความสมั พนั ธ์ระหว่างทีมวจิ ยั กับภาคีเครือข่ายเพ่ือต้องการได้ร่วมเป็นภาคีเครือข่าย ในการสนับสนนุ การเกบ็ ขอ้ มูล ซ่งึ กระบวนการเก็บข้อมูลครั้งนี้จะทําให้ผู้ที่เก่ียวข้องได้เรียนรู้ไปพร้อม ๆ กันและเช่ือว่าในการไปเก็บข้อมูลของเด็ก ๆ และทีมงานวิจัยจะทําให้เด็กได้ฝึกการเป็นนักวิจัยตัว น้อย ๆ ซ่ึงถือได้ว่าเป็นการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน นอกจากนี้ทีมเราได้เข้าร่วมการประชุมผู้นํา กลุ่มผู้สูงอายุ เพ่ือประชาสัมพันธ์และเชิญชวนผู้สูงอายุได้สนับสนุนการให้ข้อมูลที่สําคัญ ๆ เม่ือ

405 ดําเนินงานไประยะหน่งึ ก็ไดม้ ตี วั แทนชมรมคนรักในหลวง กลุ่มรําวง 3 ส เพื่อสุขภาพ (สนุก สุขภาพดี สามคั คีเกิด) กลุ่มผู้สูงอายุ เครือข่ายหัวดงไม่ถอดทิ้งกัน ได้เข้ามาร่วมในการให้ข้อมูลมรดกวัฒนธรรม ชุมชนหัวดง ซึ่งเป็นเร่ืองท่ีน่าสนใจและเป็นประโยชน์ต่อการดําเนินงาน ภาคีในระดับจังหวัด ทีมเรา ได้ใช้วิธีการทาบทาม การประสานขอความร่วมมือและรวมถึงการประชาสัมพันธ์เชิญชวนผู้ท่ีมีส่วน เก่ียวข้อง ท่ีสามารถให้การสนับสนุนในการดําเนินงานได้อย่างเหมาะสม และในการสร้างภาคี เครือข่ายระดับจังหวัด ทีมเราได้ใช้วิธีการประสานขอความร่วมมือเข้าร่วมเป็นทีมสนับสนุน ทีมท่ี ปรึกษาคณะทํางาน ทีมวิจัยมีวิธีการสานสัมพันธ์และสร้างการมีส่วนร่วมในการพัฒนาการท่องเที่ยว ชมุ ชนหัวดง สรุปผลไดด้ งั นี้ 1) เชิญประชุมเพื่อสร้างความเข้าใจวัตถุประสงค์ วิธีการและผลประโยชน์จากการทํางาน วิจยั ท่ีชาวหัวดง จะไดร้ ับร่วมกนั ถือเปน็ โอกาสท่จี ะสอบถามข้อมลู และทบทวนข้อมูล 2) เชญิ ชวนเขา้ รว่ มทมี วิจยั เพอ่ื ช่วยกันการพัฒนาการทอ่ งเทย่ี วชมุ ชนหัวดง 3) ทาบทามผูร้ ้เู ข้ามาร่วมให้ขอ้ มลู และเข้าร่วมทีมวจิ ยั 4) เขา้ ไปพบเป็นการส่วนตวั ใช้สายสัมพันธญ์ าตมิ ติ รของคนหัวดง 5) ให้ความรแู้ ล้วชวนเข้าร่วมทําวจิ ัยชมุ ชนหัวดง 6) มผี ู้เหน็ คุณค่าของการทาํ งานวจิ ยั เดนิ เข้ามาหาและขอเข้ารว่ มทมี วิจัย นอกจากนี้ ได้เข้าร่วมการประชุมสภาองค์การบริหารส่วนตําบลหัวดง เพื่อประชาสัมพันธ์ เชิญชวนเข้าร่วมเป็นภาคีเครือข่ายในการสนับสนุนทีมวิจัยชุมชน เพ่ือสร้างการมีส่วนร่วมของ เครอื ข่ายชมุ ชนเพอื่ การพฒั นาการท่องเทีย่ วมรดกวฒั นธรรมชุมชนหวั ดง จนได้ผลการศกึ ษาวิจยั ดังน้ี ระดับชุมชน มีการสร้างการมีส่วนร่วมของเครือข่ายชุมชนเพ่ือการพัฒนาการท่องเท่ียว มรดกวฒั นธรรมชมุ ชนหัวดง ในระดับชมุ ชนหัวดง ดังนี้ 1) กาํ นนั และผ้ใู หญ่บา้ น 9 หม่บู ้าน 2) สมาชิก สภาเทศบาลตาํ บลหวั ดง จํานวน 3 หมูบ่ ้าน 3) สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตําบลหัวดง จํานวน 6 หมู่บ้าน 3) กลุ่มผู้สูงอายุ จํานวน 9 หมู่บ้าน 4) กลุ่มผู้สูงอายุ จํานวน 9 หมู่บ้าน 5) กลุ่มรําวง 3 ส (สนุก สขุ ภาพดี สามัคคีเกิด) จํานวน 9 หมู่บ้าน 6) กลุ่มโรงเรียน 7) กลุ่มศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 8) กลุ่ม ภูมิปัญญาท้องถ่ิน 9) เจ้าอาวาสวัดในเขตพ้ืนท่ีตําบลหัวดง 10) กลุ่มผู้ประกอบการค้าขาย 11) กลุ่ม อาชีพ12) กล่มุ อสม. 13) กลุ่มพนกั งานและพนักงานจ้างของเทศบาลตําบลหัวดงและองค์การบริหาร ส่วนตําบลหัวดง เพื่อค้นหาข้อมูลมรดกวัฒนธรรมชุมชนหัวดง โดยผ่านช่องทางการประชาสัมพันธ์ ผ่านช่องทางเวทีการประชุม การซักถาม การสอบถาม การสนทนากลุ่ม การสร้างการมีส่วนร่วมกับ โรงเรียนในชุมชน (ครูและนักเรียน) ผ่านทางการจัดเวทคืนข้อมูล วัดในเขตพ้ืนท่ีตําบลหัวดง รวมถึง การพูดคุยเปน็ การส่วนตวั กับบคุ คลท่สี าํ คัญ ๆ ในชมุ ชน ระดบั จังหวดั มกี ารสร้างการมีส่วนร่วมของเครือข่ายชุมชนเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยว มรดกวัฒนธรรมชุมชนหัวดง ในระดับชุมชนหัวดง ดังน้ี 1) การท่องเท่ียวแห่งประเทศไทย สํานักงาน นครสวรรค์ 2) ท่องเที่ยวและกีฬาจงั หวัดพจิ ิตร 3) เกษตรและสหกรณ์จังหวัดพจิ ิตร 4) ประชาสัมพันธ์ จังหวัดพิจิตร 5) สํานักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดพิจิตร 6) พัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ จังหวัดพิจิตร7) พัฒนาชุมชนจังหวัดพิจิตร 8) วัฒนธรรมจังหวัดพิจิตร 9) หอการค้าจังหวัดพิจิตร 10) ชุมชนสง่ เสรมิ การท่องเที่ยวตาํ บลดงกลาง

406 ระดับประเทศ การสร้างการมีส่วนร่วมของเครือข่ายชุมชนเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยว มรดกวฒั นธรรมชุมชนหัวดง ในระดบั ชุมชนหวั ดง ดงั น้ี 1) สาํ นักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย (สกว.) ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดําเนินงานวิจัย 2) มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม จังหวัด พษิ ณโุ ลก ให้การสนบั สนุนพ่เี ลย้ี งในการใหค้ าํ แนะนาํ ชี้แนะการดําเนินงานวจิ ัย ผู้สนับสนุนและเครือข่ายอ่ืน ๆ ผู้ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดําเนินงานวิจัย คือ สํานักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย (สกว.) ภาคีเครือข่ายท่องเท่ียวชุมชนภาคเหนือตอนล่าง ที่ให้ข้อเสนอแนะที่ดีในการขับเคลื่อนงานวิจัย แหล่งศึกษาดูงานชุมชนซากแง้ว ชุมชนตะเคียนเตี้ย ชุมชนรอ่ งกลา้ ที่เอ้อื เฟอ้ื ให้ขอ้ มลู และเป็นชุมชนท่ีแนะนําการจัดการการท่องเที่ยว รวมถึงเป็นชุมชน ต้นแบบท่ีทําให้การขับเคลื่อนการท่องเท่ียวของชุมชนตําบลหัวดงสําเร็จลุล่วงและมีการกําหนด ทิศทางท่ีดีมากข้ึน ภาคีภาครัฐ ท่ีให้การสนับสนุนด้านวิชาการ เช่น มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูล สงคราม จงั หวดั พิษณุโลก การสร้างการมีส่วนร่วมของเครือข่ายชุมชนเพ่ือการพัฒนาการท่องเท่ียว มรดกวัฒนธรรม ชุมชนหัวดง เป็นการสร้างทีมวิจัยวิจัยชุมชนหัวดงเพื่อต้องการให้ทีมงานได้เห็นความสําคัญเห็น ประโยชน์ร่วมกันและที่สําคัญได้ร่วมกันในการคิดการดําเนินงานร่วมรับผลประโยชน์และร่วม กระบวนการทาํ งานวิจัยชมุ ชนครง้ั นี้ให้สําเร็จตามวัตถุประสงค์ซ่ึงทีมงานทุกคนรู้สึกยินดีและดีใจท่ีได้ มีโอกาสเปน็ สว่ นหน่งึ ของคณะทํางานในการศึกษาสํารวจองค์ความรู้มรดกวัฒนธรรมชุมชนตําบลหัว ดง อําเภอเมืองพิจิตร จังหวัดพิจิตร และร่วมมือกันทํางานจนสําเร็จตามเปูาหมายและแผนการ ดําเนินงานที่ได้กาํ หนดไว้เป็นอยา่ งดี ตอนท่ี 3 ผลออกแบบเส้นทางและกิจกรรมท่องเท่ียวมรดกวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ของ ชมุ ชนตําบลหัวดง ทีมวิจัยชุมชนหัวดง ได้นําอัตลักษณ์ของชุมชนมาใช้ในการออกแบบเส้นทางและกิจกรรม ท่องเที่ยวมรดกวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ของชุมชนตําบลหัวดง ร่วมกันระหว่างองค์การบริหารส่วน ตําบลหัวดง เทศบาลตําบลหัวดงและภาคีที่เก่ียวข้อง เพื่อพัฒนาเส้นทางและกิจกรรมการท่องเท่ียว ของชุมชน หัวดง ไดเ้ ปน็ 4 เส้นทาง คือ เสน้ ทางที่ 1 สายเขียวเทยี่ วบ้านสมนุ ไพร สขุ ใจวถิ ีพอเพียง (1 วัน) เวลา 08.00 น. รบั นักท่องเที่ยว ณ จุดประชาสัมพนั ธก์ ารท่องเที่ยวชมุ ชนองค์การบริหาร สว่ นตาํ บลหวั ดง (แนะนาํ สถานทท่ี ่องเที่ยว) เวลา 08.30 น. เดินทางไปยังวดั หัวดง หมู่ท่ี 7 ตาํ บลหัวดง (รถราง) 1. สักการะเจดียพ์ ระสุทัศสมี ุนวี งศ์ (หลวงพอ่ ประสิทธิ์ สุชโี ว) และลอด อุโมงคค์ วามพอเพียง 2. บรรยายภาพรวมวัดหวั ดง ตน้ กาํ เนดิ ของคนหัวดง 3. ชมสถาปตั ยกรรมโบสถ์ 100 ปี วดั หวั ดง ชมช่อฟาู พญาครุฑ 4. สักการะวิหารหลวงพ่อพิธ 5. ชมพพิ ิธภณั ฑเ์ รือยาว 6. ชมหอเกยี รติยศ ถ้วยรางวลั พระราชทานการแข่งขนั เรือยาว

407 (รบั ประทานอาหารว่าง ข้าวต้มคบพรอ้ มน้ําสมนุ ไพรของชุมชนบา้ นหัวดง) เวลา 11.00 น. เดินทางไปยังศูนยเ์ รียนรู้แพทยแ์ ผนไทย (ตําราหมอคมุ้ เมืองเหลือ) 1. บรรยายเกย่ี วกบั การใชก้ ารแพทยแ์ ผนไทยเพ่ือรักษาสุขภาพ (หมอค้มุ เมอื งเหลือ) 2. การปั้นยาลกู กลอนสตู รบํารงุ เลอื ด ตาํ ราหมอคุ้ม เมอื งเหลือ 3. การทําลูกประคบ เวลา 12.00 น. เดินทางส่บู า้ นสวนพอเพยี ง หมู่ที่ 2 บ้านลําชะลา่ รบั ประทานอาหารพ้นื ถนิ่ ณ บา้ นสวนพอเพียง เวลา 13.00 น. ร่วมกจิ กรรม ณ บ้านสวนพอเพียง ดงั น้ี 1. กิจกรรมการสีข้าวไรซ์เบอร่ี แบบชมุ ชนและการชลิ ถงุ บรรจุภัณฑ์ ลวดลายต่าง ๆ 2. การชมไร่สวนผสมและบ่อปลาคราฟ ธนาคารน้าํ ปุาชมุ ชน 3. ทํานาํ้ ผักจุลนิ ทรี และ ฮอร์โมนพชื 4. การทาํ อาหารจากพชื ในบ้านผักในรั้ว และเลือกซ้ือผลิตภัณฑป์ ลอดสาร จากบ้านสวนพอเพยี ง 5. ถ่ายภาพบรรยากาศบา้ นสวนพอเพยี ง ตามจุดทส่ี นใจ เวลา 15.00 น. เดินทางมายังจุดประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวชุมชนองค์การบริหารส่วน ตําบลหัวดง เพื่อเลือกซื้อผลิตภัณฑ์พ้ืนบ้าน ของฝากและของที่ระลึกของ ชมุ ชน เวลา 16.00 น. เดนิ ทางกลับโดยสวสั ดภิ าพ เส้นทางที่ 2 เทย่ี วหัวดง สนกุ สุขใจ ไดก้ ุศล วถิ ชี ุมชนหวั ดงทล่ี งตวั (2 วัน 1 คืน) เวลา 14.00 น. รับนกั ท่องเท่ียว ณ จดุ ประชาสัมพนั ธ์ อบต.หัวดง (ต้อนรับแนะนําสถานท)่ี เวลา 15.00 น. เดินทางไปบ้านสวนพอเพียง ร่วมเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ร่วมกิจกรรม สุขภาพในพ้ืนถ่ิน เช่น ปลูกปุา 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง (ไร่นา สวน ผสม) การสขี า้ วในครวั เรอื น ซอ้ื ผลิตภณั ฑป์ ลอดสารพษิ เวลา 17.00 น. ร่วมสวดมนตเ์ ย็นที่วัดในชุมชนทพ่ี กั (วัดลําชะลา่ ) นักท่องเท่ียวเข้าที่พัก (โฮมสเตย์) พักผ่อนตามอัธยาศัยรับประทานอาหาร เยน็ พ้ืนถนิ่ รว่ มกบั ชุมชน เวลา 06.00 น. เดินทางถึงวัดเขาพระ เดินข้ึนเขานมัสการหลวงพ่อพุทธประทานพร ชมวิว 360 องศา สักการะพระพิฆเนศ เจ้าแม่กวนอิม หลวงพ่อทันใจ ศาลเจ้าแม่ สิงขร สัมผัสวิถีชุมชนพื้นถิ่น เดินทางไปชุมชนริมน้ําน่าน เพ่ือรับประทาน อาหารเช้า (อาหารพืน้ ถิ่น) เช่น เกีย๋ มอ๋ี ประกมิ หมู ซาลาเปา หม่ันโถว ขนม

408 ขมี้ อด ขนมครก ฯลฯ บริเวณริมน้ําน่านและไหว้พระขอพรหลวงพ่อพิธ ชม อุโบสถโบราณ 100 ปี (สถาปัตยกรรมโบราณช่อฟูารูปพญาครุฑ ซึ่งได้รับ พระราชทานในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 6 ชมพพิ ธิ ภณั ฑ์เรอื ยาว (นกั ท่องเท่ียวถา่ ยรูปบรรยากาศวิถีชุมชนยามเช้า) เวลา 11.00 น. สัมผัสบรรยากาศธรรมชาติ “บึงหัวดงสามัคคี” นั่งแพชมวิว เล่นนํ้า ป่ัน จกั รยานกลางน้าํ เวลา 13.00 น. ชมและเลือกซื้อสินคา้ พืน้ ถิน่ ของชมุ ชนบา้ นหวั ดง เช่น ปลาเกลือ ผกั พ้นื บ้านอาหารหวาน อาหารคาว และผลติ ภัณฑ์ชมุ ชน เวลา 14.00 น. เดนิ ทางโดยสวัสดิภาพ เส้นทางที่ 3 วิถีชุมชนหัวดงที่ลงตวั (2 วนั 1 คืน) เวลา 14.00 น. รบั นกั ทอ่ งเท่ียว ณ จดุ ประชาสมั พันธ์ อบต.หวั ดง (ต้อนรับแนะนําสถานท)่ี เวลา 15.00 น. นกั ท่องเท่ียวเขา้ ทพ่ี ัก (โฮมสเตย)์ รบั ประทานอาหารพืน้ ถนิ่ เช่น แกง ขี้เหล็ก ขนมจีนนํ้ายา แกงเลียง แกงบอน ปลาร้า ลอยแก้ว ขนมขี้มอด ขนมอีบั๊ว ข้าวต้มคบ พักผ่อนตามอัธยาศัย ป่ันจักรยานชมท้องนา ชมวิถี ชุมชน เวลา 17.00 น. รว่ มสวดมนตเ์ ย็นทว่ี ดั ในชมุ ชนทพี่ ัก (วัดลาํ ชะล่า วดั นํา้ โจนเหนอื วัดเขาพระ) เขา้ ทพี่ กั เวลา 07.00 น. ตักบาตรข้าวหน้า ณ โฮมสเตย์ (ภายในชมุ ชนท่พี ัก) รบั ประทานอาหาร พนื้ ถิ่นทโี่ ฮมสเตย์รว่ มกบั ชมุ ชน เวลา 08.30 น. เดินทางไปบ้านสวนพอเพียง ร่วมเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ร่วมกิจกรรม สุขภาพในพ้ืนถ่ิน เช่น ปลูกปุา 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง (ไร่นา สวน ผสม) การสีขา้ วในครัวเรือน ซอื้ ผลติ ภณั ฑ์ปลอดสารพิษ รับประทานอาหาร กลางวันบา้ นพอเพียง (อาหารพืน้ ถิ่น) เชน่ แกงข้เี หลก็ ขนมจีน น้าํ ยา แกงเลียง แกงบอน ปลารา้ ลอยแกว้ ขนมขี้มอด ขนมอีบ๊ัว ข้าวต้มคบ ฯลฯ เวลา 13.00 น. ไหว้ศาลเจ้าพ่อปุณเถากง ริมน้ําน่าน และไหว้พระขอพรหลวงพ่อพิธ ชม อุโบสถโบราณ 100 ปี (สถาปัตยกรรมโบราณช่อฟูารูปพญาครุฑ) ซึ่งได้รับ พระราชทานในรชั สมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลท่ี 6 ชมพพิ ธิ ภัณฑเ์ รอื ยาว เวลา 14.00 น. ชมและเลอื กซื้อสนิ ค้าพื้นถน่ิ ของชมุ ชนบา้ นหัวดง เชน่ ปลาเกลือ ผัก พ้ืนบา้ นอาหารหวาน อาหารคาว และผลิตภัณฑ์ชมุ ชน เวลา 14.30 น เดินทางกลับโดยสวัสดิภาพ เสน้ ทางที่ 4 สมั ผัสธรรม สมั ผสั วิถชี ุมชนท่ีลงตัว (2 วัน 1 คืน) เวลา 14.00 น. รับนกั ท่องเทยี่ ว ณ จุดประชาสัมพนั ธ์ อบต.หัวดง (ตอ้ นรบั แนะนําสถานท)ี่

409 เวลา 15.00 น. นกั ท่องเทยี่ วเขา้ ทพี่ กั (โฮมสเตย์) รบั ประทานอาหารพ้นื ถิ่น เชน่ แกง ข้ีเหล็ก ขนมจีนน้ํายา แกงเลียง แกงบอน ปลาร้า ลอยแก้ว ขนมข้ีมอด ขนมอีบ๊ัว ข้าวต้มคบ พักผ่อนตามอัธยาศัย ป่ันจักรยานชมท้องนา ชมวิถี ชมุ ชน เวลา 17.00 น. รว่ มสวดมนต์เย็น ปฏบิ ัตธิ รรมทีว่ ดั ในชมุ ชนทพี่ กั (วัดลําชะล่า วัดนํ้า โจนเหนือ วัดเขาพระ) เข้าท่ีพกั เวลา 07.00 น. ตักบาตรข้าวหนา้ ณ โฮมสเตย์ (ภายในชุมชนท่ีพกั ) รับประทานอาหาร พน้ื ถิน่ ที่โฮมสเตย์รว่ มกบั ชมุ ชน เวลา 08.30 น. ปฏบิ ัตธิ รรมทว่ี ัดลําชะลา่ วดั เขาพระ วัดน้ําโจนเหนือ เวลา 14.00 น. ชมและเลอื กซื้อสินคา้ พ้ืนถ่ินของชุมชนบ้านหัวดง เชน่ ปลาเกลือ ผัก พ้นื บ้านอาหารหวาน อาหารคาว และผลติ ภัณฑ์ชุมชน เวลา 14.30 น เดนิ ทางกลับโดยสวสั ดิภาพ หมายเหตุ : ในทุกเส้นทางการท่องเที่ยวของชุมชนบ้านหัวดง นักท่องเที่ยวที่มาในช่วงเสาร์- อาทิตย์ สุดท้ายของเดือนสิงหาคมของทุกปีท่านจะได้เที่ยวงานปิดทองไหว้พระ แข่งขันเรือยาว ประเพณีชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปี หลวง ภาพท่ี 417 ทีมวิจยั ชุมชนหวั ดงและทีมพ่ีเล้ียงประชุมวางแผนการทาํ เส้นทางการ ทอ่ งเทยี่ วชุมชนหัวดง

410 ภาพที่ 418 ทีมวิจัยชุมชนหวั ดง และทมี พเี่ ลี้ยงประชมุ วางแผนการทําเส้นทางการทอ่ งเทย่ี ว ชมุ ชน ภาพท่ี 419 ทีมวิจยั ชุมชนหวั ดง และทีมพ่เี ล้ยี ง ประชุมสรปุ ผลการทดลองเส้นทางการ ท่องเที่ยวชุมชน ครง้ั ที่ 1

411 ภาพท่ี 420 ทีมวิจัยชุมชนหัวดง ประชุมสรุปผลการทดลองเส้นทางการท่องเท่ียวชุมชน คร้งั ที่ 2 ผลการทดลองเส้นทางการท่องเท่ียวชุมชนหัวดง พบว่า นักท่องเท่ียวให้ความสนใจแหล่ง ท่องเที่ยวของชุมชนหัวดงและได้เสนอความคิดเห็นต่อการทดลองการท่องเท่ียว ในพ้ืนที่ชุมชนตําบล หัวดง ดังน้ี 1. เส้นทางการท่องเท่ียวของชุมชนหัวดงมีความน่าสนใจมาก ชุมชนมีลักษณะท่ีเป็น เอกลักษณ์ที่โดดเด่น คือ เป็นชุมชน “พหุวัฒนธรรมหรือสามวัฒนธรรม” การจัดกิจกรรมทดลอง เส้นทางการท่องเทยี่ วชุมชนหัวดง มีหลายหน่วยงานท้ังภาครัฐและภาคเอกชน ที่ให้ความสนใจเข้ามา ท่องเท่ยี วในชมุ ชนหวั ดง ไดบ้ ูรณาการการจดั กิจกรรมแบบมสี ว่ นร่วมกับภาคีต่าง ๆ เช่น การท่องเท่ียว แห่งประเทศไทย สํานักงานนครสวรรค์ ท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดพิจิตร เกษตรและสหกรณ์จังหวัด พิจิตร ประชาสัมพันธ์จังหวัดพิจิตร สํานักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดพิจิตร พัฒนาสังคมและความ มั่นคงของมนุษย์จังหวัดพิจิตร พัฒนาชุมชนจังหวัดพิจิตร วัฒนธรรมจังหวัดพิจิตร หอการค้าจังหวัด พิจิตร ชุมชนส่งเสริมการท่องเท่ียวตําบลดงกลาง ทีมพี่เล้ียงจาก (สกว.) กลุ่มรําวง 3 ส. ตําบลหัวดง ผู้สูงอายุ เด็กและเยาวชน นักท่องเท่ียว ได้สัมผัสถึงวิถีชีวิต ความเป็นอยู่ของคนในชุมชนหัวดง ท่ีอยู่ ร่วมกันในวิถี 3 วัฒนธรรม คือวัฒนธรรมเช้ือสายไทย วัฒนธรรมเช้ือสายจีน และวัฒนธรรมเชื้อสาย ลาว มีอัตลกั ษณ์ที่โดดเด่น คอื “ชุมชนพหวุ ัฒนธรรม” เป็นชุมชนท่ีแต่ละเชื้อชาติไม่ว่าจะเป็นไทย จีน ลาว ได้นําวิถีถิ่นต่าง ๆ เข้ามากลายเป็นวิถีถ่ินท่ีมีลักษณะของพหุวัฒนธรรมที่สามารถอยู่ร่วมกันได้ อย่างมีความสุข ได้จับจองพ้ืนที่ทํางานหากิน สร้างบ้านเรือนอาศัยอยู่ร่วมกัน ทั้งนี้ชาวหัวดงยึดมั่นใน พระพุทธศาสนา จงึ ไดร้ ับการขัดเกลาจิตใจให้มีความละเอียดอ่อน มีการเคารพเช่ือฟังผู้นํา ผู้อาวุโส มี การปรบั ตวั มกี ารยอมรับในความแตกต่างมีวัฒนธรรมความเช่ือทางขนบประเพณีท่ีแฝงด้วยกุศโลบาย ท่ีประกอบด้วย ค่านิยม ทัศนคติ พฤติกรรม จิตวิญญาณ และวิถีชีวิต ทําให้สามารถสร้างสรรค์

412 ศิลปวฒั นธรรมภูมิปัญญาท้ังในอดีตและปัจจุบันไว้มากมาย แต่ในด้านการบริการนักท่องเท่ียวอาจจะ ต้องมีการปรับปรุงสถานที่บางจุด เช่น ถนน หนทาง ปูายบอกทาง ท่ีสามารถให้บริการนักท่องเท่ียว และอํานวยความสะดวกแก่นักท่องเที่ยวได้อย่างสะดวก ปลอดภัย และพึงพอใจ ต้องมีการปรับปรุง สถานท่ีบางจุดให้สามารถรองรับการท่องเท่ียวได้อย่างสะดวก เช่น จุดบ้านสมุนไพร หมอคุ้ม เมือง เหลือ ที่มีปัญหาด้านสถานท่ีต้อนรับนักท่องเท่ียว ควรจัดให้มีเส้นทางจักรยานควรมีปูายแนะนํา เส้นทางให้ท่ัวถึง ในด้านแหล่งเรียนรู้ต้องมีการวางแผนกําหนดจํานวนแหล่งเรียนรู้ให้เหมาะสมกับ ระยะเวลา เพื่อลดความเร่งรีบในการท่องเท่ียวและอาจมีการปรับปรุงสภาพพื้นท่ีรองรับนักท่องเที่ยว จดุ ทอ่ งเทยี่ วภมู ิปญั ญาท้องถ่ิน บ้านนายล่อม โพนามาศ ซ่ึงจุดน้ียังไม่สามารถที่จะให้นักท่องเที่ยวเข้า ไปเท่ยี วชมได้เนือ่ งจากมีความคับแคบ รวมถึงจะต้องมีการทําคิวอาโค้ด แนะนําสถานที่ท่องเท่ียวและ แนะนําข้อมูลที่เป็นมรดกวัฒนธรรมชุมชนตําบลหัวดง ข้อมูลภูมิปัญญาท้องถ่ินในพ้ืนท่ี และข้อมูลที่ น่าสนใจต่าง ๆ 2. ด้านบุคลากร ต้องหาแนวทางในการสร้างการมีส่วนร่วม เช่น การติดต่อสั่งซื้อสินค้าใน ชุมชนของกลุ่มต่าง ๆ การพัฒนารูปแบบ ออกแบบที่มีความหลากหลายตามความต้องการของ นักท่องเที่ยว การติดต่อประสานงานท่ีพัก/โฮมสเตย์ในชุมชนหัวดง การบริหารจัดการให้กลุ่มต่าง ๆ ในชุมชนได้รับประโยชน์จากการท่องเท่ียวเช่น ได้ขายสินค้าดีข้ึน ได้มีนักท่องเท่ียวมาเท่ียวชม ชิม ช๊ อป หรือเขา้ มาพกั โฮมสเตยห์ รือรีสอร์ท สร้างรายได้เพิ่มให้กับคนในชุมชน ในด้านนักส่ือความหมายก็ มีรายได้จากการบรรยายหรือเล่าเร่ืองราวแหล่งเรียนรู้ให้กับนักท่องเที่ยว ทั้งน้ีนักสื่อความหมาย จะตอ้ งเลา่ เรอ่ื งราวใหก้ ระชบั ชดั เจนตรงประเด็น พร้อมท้ังต้องมีการดูแลนักท่องเที่ยวร่วมเดินทางไป พร้อม ๆ กนั เพ่ือใหก้ ารจัดการการท่องเท่ียวของชุมชนหัวดง มีความพร้อมและนักท่องเท่ียวพึงพอใจ มากที่สดุ 3. การจัดการระบบการบริหารจัดการการท่องเท่ียวชุมชน ควรมีการวางแผนการจัดการ ด้านเวลาให้เหมาะสมกับการเดินทางไปยังจุดท่องเที่ยวแต่ละจุด ต้องกําหนดเวลาท่ีใช้ในแต่ละแหล่ง ท่องเท่ียวให้ชัดเจน มีการดูแลความปลอดภัยระหว่างการเดินทางและตลอดการท่องเที่ยวในชุมชน การอํานวยความสะดวกในด้านต่าง ๆ เช่น ที่น่ังพัก ท่ีร่ม ห้องน้ํา ฯลฯ จัดหาสถานที่จําหน่าย ผลิตภัณฑ์ของฝากของที่ระลึกไว้บริการนักท่องเท่ียว รวมท้ังบ้านพักโฮมสเตย์ไว้รองรับนักท่องเท่ียว หรือผู้สนใจเข้าพัก และเพื่อให้นักท่องเที่ยวได้เข้าถึงข้อมูลมรดกวัฒนธรรมชุมชนตําบลหัวดง อย่าง แท้จริง ควรจัดให้มีคิวอาโค้ด เพื่อให้นักท่องเที่ยวสามารถแสกนเพ่ือศึกษาข้อมูลมรดกวัฒนธรรม ชุมชนตําบลหัวดง และเพื่อเป็นการเผยแพร่อัตลักษณ์ความเป็นชุมชนพหุวัฒนธรรมสามเชื้อชาติ ให้ นกั ทอ่ งเท่ยี วได้รับรแู้ ละแนะนําใหผ้ ้สู นใจเข้ามาท่องเทย่ี วเชิงวฒั นธรรมในตําบลหวั ดงต่อไป หลังจากที่ได้จัดกิจกรรมทดลองเส้นทางการท่องเท่ียวชุมชนหัวดง พบว่าทุกเส้นทางได้รับ ความนิยมและเป็นที่ชื่นชอบของผู้ที่ได้เข้ามาท่องเที่ยวเส้นทางยอดนิยมของชุมชนหัวดง สามารถ เรยี งลาํ ดับความนิยมได้ ดังน้ี ลําดับที่ 1 สายเขยี วเที่ยวบ้านสมุนไพร สขุ ใจวิถีพอเพียง ลําดบั ที่ 2 เที่ยวหัวดง สนุก สุขใจ ไดก้ ุศล วิถชี มุ ชนหวั ดงทลี่ งตัว ลําดบั ที่ 3 วถิ ีชมุ ชนหวั ดงทล่ี งตวั ลาํ ดับที่ 4 สมั ผสั ธรรม สัมผสั วิถีชมุ ชนท่ลี งตัว

413 ภาพที่ 421 เส้นทางท่ี 1 สายเขียว เท่ียวบ้านสมุนไพร สุขใจวิถีพอเพียง ซ่ึงเป็นเส้นทางท่ี นกั ท่องเที่ยวมคี วามสนใจมากท่ีสุด จากการทดสอบเส้นทางท้ัง 4 เส้นทาง ภาพที่ 422 ภาพกิจกรรมการทดลองเส้นทางการท่องเทย่ี วชุมชนหัวดง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook