Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานวิจัยเพื่อท้องถิ่นฉบับสมบูรณ์

รายงานวิจัยเพื่อท้องถิ่นฉบับสมบูรณ์

Published by นายศตวรรษ จัตุมาศ, 2022-05-16 09:32:38

Description: รายงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น

Search

Read the Text Version

540 อบรมการออกแบบการตลาด และการสอ่ื ความหมาย

541 อบรมการออกแบบการตลาด และการสอ่ื ความหมาย

542 ภาคผนวก ฌ แบบสํารวจความเปล่ียนแปลงสมาชิกทมี วจิ ัย โครงการการบรหิ ารจดั การการท่องเทย่ี วมรดกวฒั นธรรมบนความหลากหลายชาติพนั ธุ์ โดยเครือข่ายชุมชนตําบลหัวดง อาํ เภอเมอื งพิจติ ร จังหวัดพจิ ติ ร หลงั การทํางานวิจยั เพอื่ ท้องถ่ินเสรจ็ สน้ิ

543 แบบสํารวจความเปลยี่ นแปลงของสมาชกิ ทมี วจิ ยั ชุมชน โครงการการบริหารจดั การการทอ่ งเทีย่ วมรดกวัฒนธรรมชุมชนบนความหลากหลายชาติพนั ธ์ุโดย เครือข่ายชุมชนตาํ บลหวั ดง อําเภอเมืองพิจิตร จังหวดั พจิ ติ ร หลังการทํางานวจิ ยั เพื่อท้องถน่ิ เสร็จส้นิ นาํ เสนอ อังคารที่ 10 มนี าคม 2563 ณ โรงแรมเวียงแก้ว จังหวดั พิษณโุ ลก 1) คน : หัวขอ้ : 1.1) ความสามารถเกง่ ขน้ึ /ดีขึน้ 1.1.1 สามารถทํางานเป็นทีมร่วมกับผู้อ่ืนได้มากข้ึน การทํางานเป็นทีมมีพลังในการ ขบั เคลอ่ื นงานไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 1.1.2 ดีข้ึน เพราะได้ทาํ งานเปน็ ทีม 1.1.3 สามารถถ่ายทอดประวัติความเป็นมาวิถีชีวิตประเพณีวัฒนธรรมทางสังคมอาหาร การแต่งกายทัศนคติต่างๆของประชาชนตําบลหัวดงท่ีตั้งถ่ินฐานรวมทั้ง 3 เชื้อชาติ ได้แก่ จีน ไทย และไทยอีสาน ให้กบั บคุ คลต่างถิ่นไดร้ ับทราบไปในทิศทางเดียว กบั คณะทางวิจยั 1.1.4 ทาํ ให้มีทักษะในการเขียนงานวิจัยมากข้ึนได้มีโอกาสเสนอแนวคิดความคิดเห็นทํา ให้เป็นคนกล้าแสดงออกมากข้ึนรวมทั้งได้พัฒนาด้านการสื่อสารทําให้ผู้ฟังมีผู้รับข่าวสารเกิดความ เขา้ ใจในเร่อื งทีเ่ ราต้องการส่ือสารมากย่งิ ขนึ้ 1.1.5 เขา้ ใจในหลักการเขยี นวิจยั มากขึ้น 1.1.6 ความสามารถดขี ้นึ 1.1.7 จากการสืบค้นข้อมูลหมู่บ้านตําบลหัวดงรู้ถึงความสามารถของปรัชญาชาวบ้านท่ี สืบทอดมาจากบรรพบุรุษ ใหย้ าคมุ อย่ไู ว้ถงึ คนร่นุ หลังและมีการพัฒนาให้ดีขึ้นยกตัวอย่างเช่นสมัยก่อน ใช้เรือในการข้ามแมน่ า้ํ ตอ่ มาพัฒนาเป็นโรคข้ามแม่น้าํ ปัจจบุ ันเป็นสะพานขา้ มแมน่ ํ้า 1.1.8 ทุกคนมีความสามารถในการทํางานที่แตกต่างกันและเข้ากันได้ดีต่างแสดง ความสามารถทีต่ นมนี าํ เสนอต่อหมู่บ้าน 1.1.9 ไม่วา่ จะเปน็ ทมี งานหาข้อมูลหรือผู้ให้ข้อมูลล้วนแต่เป็นผู้มีความสามารถท้ังสิ้นทุก คนมีความเก่งกนั ไปคนละดา้ น 1.1.10 ไดท้ ํางานรว่ มกับผู้อื่นและได้พูดคุยกับชาวบ้านมากขึ้นได้รับรู้เรื่องราวของคนใน ชมุ ชนวา่ มีการพัฒนาอย่างไร ไดช้ ่วยเหลอื มีสว่ นรว่ มของการพฒั นาชุมชนเพิ่มมากขึ้นได้ร้เู รื่องราวการ ท่องเท่ยี วในชมุ ชน 1.1.11 ศึกษาข้อมูลเพ่ิมเติมด้วยการสืบค้นซักถามพูดคุยในกลุ่มวิจัยและกับชุมชนใน ทอ้ งถ่ินจงึ มคี วามม่นั ใจมากขึ้น 1.1.12 เข้าใจในหลักการทํางานหรอื การเขยี นวจิ ัยมากขึ้น 1.2) ความรู้/ความเขา้ ใจ 1.2.1 มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับกระบวนการงานวิจัยเพื่อท้องถ่ิน (Community - Based Research : CBR) เป็นเครื่องมือในการศึกษาและพัฒนาการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community - Based Tourist: CBT) เป็นกระบวนการที่เน้นคนเป็นศูนย์กลาง มุ่งเสริมสร้างพลัง อํานาจให้แก่ประชาชนในพ้ืนท่ีด้วยกระบวนการพัฒนาแบบมีส่วนร่วมผ่านกระบวนการ CBR เพื่อให้

544 เกิดการเปล่ียนแปลงในตัวเครือข่ายชุมชนท่ีจะมาร่วมกันพัฒนาธุรกิจการท่องเท่ียวท่ีดําเนินการโดย ชาวบ้านในชุมชน เพือ่ นําไปสู่การพัฒนาชมุ ชนอยา่ งยงั่ ยืนต่อไป 1.2.2 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการท่องเที่ยว มรดกทางวัฒนธรรมชุมชน บนความ หลากหลายชาตพิ ันธุ์ โดยเครอื ข่ายชุมชนตาํ บลหัวดง 1.2.3 มีความรู้ความเข้าใจถึงประวัติความเป็นมาของตําบลหัวดงในเร่ืองชาติท้ังรู้ ประชากรท่ีตั้งถ่ินฐานชุมชนร่วมกับโดยมีประเพณีวัฒนธรรมที่ต่างกันของ 3 เชื้อชาติ ได้แก่ จีน ไทย และไทยอีสาน รู้จักศักยภาพของชุมชนท่ีจะเป็นแหล่งท่องเท่ียวเชิงวัฒนธรรมสร้างชื่อเสียงรายได้ให้ ประชาชนทอี่ ย่ใู นชุมชน 1.2.4 จากงานวจิ ัยนี้ทําให้ได้รับร้แู ละทราบถึงประวตั ิความเป็นมาของชุมชนตําบลหัวดง ซึ่งทําให้เห็นถึงวิวัฒนาการและเอกลักษณ์ของตําบลหัวดงรวมถึงเห็นความสามัคคีของคนในชุมชน รวมถึงทาํ ให้รู้ถึงประวัตขิ องบุคคลสําคัญที่มีบทบาทในการพฒั นาชมุ ชนตาํ บลหัวดง 1.2.5 มีความรู้ตามความเข้าใจในประวัตขิ องหมู่บา้ น คาํ ว่ามากขน้ึ 1.2.6 ด้านความรู้ความเป็นไปเป็นมาของแต่ละหมู่บ้านได้รู้ขนบธรรมเนียมของแต่ละ เชอ้ื ขายอาหารประเพณแี ละการฝมี อื 1.2.7 ทําใหม้ ีความร้คู วามเข้าใจถึงประวัติความเป็นมาการย้ายร่างก่อนจะมาต้ังหมู่บ้าน และรถู้ งึ ประวตั ิความเป็นมาของชือ่ หมู่บ้านรู้จักชาติพันชาติเชื้อชาติ ศาสนา ประเพณีท้องถิ่นลักษณะ การดาํ เนนิ ชีวิต เครื่องมือทาํ มาหากนิ 1.2.8 ได้รับความรู้เข้าใจขั้นตอนการทํางานวจิ ยั จากทีไ่ ม่เคยรู้จักกันระบบงานวิจัยชุมชน เลยกไ็ ดร้ ู้ได้เข้าใจในการทาํ งานเพิ่มมากขึ้น 1.2.9 การสร้างความเข้าใจในการทําวิจัยชุมชนในคร้ังนี้คือเป็นการเปิดโอกาสที่ดีให้ทีม วิจยั และคนในชุมชนได้เรยี นร้แู ละเข้าใจกระบวนการต่างๆ 1.2.10 เข้าใจชุมชนของตนเองเพ่ิมมากข้ึนว่าต้องการส่ิงใดรู้ในส่ิงท่ีไม่เคยได้รู้ได้ทํา ชมุ ชนของเรามกี ารปรากฏการณ์ทางธรรมชาติเกิดข้ึน ต่ออดีตจนถึงปัจจุบัน ว่ามีอะไรบ้างรวมถึงการ ได้รับร้วู า่ ชมุ ชนมกี ารพัฒนาชุมชนอย่างต่อเนอื่ งอย่างไร 1.2.11 มีความรู้ความเข้าใจใน แหล่งเรียนรู้ของชุมชนมากข้ึนสามารถถ่ายทอดให้ เยาวชนและนักทอ่ งเทีย่ วได้ 1.2.12 มคี วามรูค้ วามเขา้ ใจในประวตั ิศาสตรข์ องหม่บู ้านเพิม่ ข้ึน 1.3) ทศั นคติ เช่น ต่อเพ่ือน สมาชกิ ในชมุ ชน การทํางานวิจัยหรอื อน่ื ๆ 1.3.1 สมาชิกในชุมชนมีความภาคภูมิใจในท้องถ่ินตําบลหัวดง ต้องการอนุรักษ์มรดก ทางวฒั นธรรมและสง่ เสริมพัฒนาให้มีการท่องเท่ียวเชิงวัฒนธรรมเพื่อเป็นการเพ่ิมรายได้ให้กับตนเอง และครอบครัว สมาชิกทีมวิจัย แต่ละท่านมีความสามารถศักยภาพในเรื่องราวท่ีหลากหลาย เก่งคน เก่งงาน อาทิเช่น มีภาวะผู้นํา มีความสามารถทางด้านวิชาการ เข้าถึงชุมชนท้องถิ่นได้อย่างใกล้ชิด ข้อมูลได้อยา่ งถกู ตอ้ งแม่นยาํ และรวดเร็ว ถ่ายภาพได้สวยงาม มีความสามารถด้านเทคโนโลยี สร้าง สื่อสิ่งพิมพ์ท่ีสวยงามน่าสนใจ ใช้ QR Code เพ่ือให้นักท่องเท่ียวเข้าถึงข้อมูลมรดกทางวัฒนธรรมได้ อยา่ งรวดเรว็ 1.3.2 สามคั คกี นั ดี มนี ํ้าใจ คอยชว่ ยเหลือกนั

545 1.3.3 มีการประสานความคิดเห็นในการทํางานเป็นทีม รับฟังความคิดเห็นของผู้อ่ืนมี ความเขา้ ใจความคดิ ทศั นคติของคนในชมุ ชนมากขึ้น 1.3.4 เหน็ ถงึ ความตง้ั ใจและความสามัคคีของทมี งานวิจัยท่ีมีการแบ่งงานแบ่งหน้าที่และ ช่วยเหลือกนั เปน็ อยา่ งดรี วมถึงได้รับความสามารถของแตล่ ะทา่ นท่ที ําใหง้ านวจิ ยั สําเร็จลลุ ่วงด้วยดี 1.3.5 มีการระดมความคิดร่วมกันในการทํางานเป็นทีมรับฟังความคิดเห็นของเพ่ือน รว่ มงานมากข้ึน 1.3.6 ชว่ ยเหลือซง่ึ กนั และกนั แบง่ หนา้ ทกี่ ันทํางานเปน็ สว่ น 1.3.7 การทํางานเป็นทีมอาจมีทัศนคติที่ต่างกันเพราะทุกคนต่างมีความคิดความเข้าใจ กันคนละแบบแต่พอได้มีการพูดคุยสืบค้นข้อมูลจากคนในหมู่บ้านและปรัชญาชาวบ้านทําให้ทีมงานมี ความเขา้ ใจและทาํ งานไปในแนวทางเดียวกนั 1.3.8 การทํางานร่วมกันย่อมมีทั้งคนดีและคนไม่ดีคนเห็นด้วยคนท่ีไม่เห็นด้วยแต่ท่ี ชัดเจนในการทํางานคร้ังน้ีหลายคนให้ความรว่ มมอื และตั้งใจใน การรว่ มคดิ ร่วมทํา 1.3.9 หลายคนมีทัศนคติใน ทางบวกเมอื่ ไดเ้ รียนรู้กระบวนการในการทําวิจัยในคร้ังน้ี 1.3.10 ทําให้เกิดทัศนคติท่ีดีขึ้นมองคนด้วยข้อดี ไม่มองคนในทางลบสามารถทํางาน รว่ มกับผูอ้ น่ื ได้ดีเพิม่ ขึ้นตามลาํ ดบั 1.3.11 มีความรู้ความเข้าใจอธิบายได้ในส่วนที่ตนเองเกี่ยวข้องแต่ไม่สามารถรับรู้ในทุก เร่ืองราวของงานวิจัยสมาชิกในงานวิจัยมีความมุ่งม่ันช่วยเหลือกันได้ทุกเร่ืองในงานวิจัยช่วยกันสร้าง ความ เช่ือมน่ั ในกล่มุ ด้วยการแก้ปญั หาร่วมกัน 1.3.12 มีการระดมความคิดช่วยกันในการทํางานเป็นทีม รับฟังความคิดเห็นของเพ่ือน รว่ มงานมากขนึ้ 1.4) การกระทํา..ต่อ..(เป็นอย่างไร ?) 1.4.1 ผู้วิจัยแต่ละท่านมีความสามารถและศักยภาพท่ีแตกต่างกัน ถ้าเราเปิดโอกาสให้ เขาไดม้ ีโอกาสแสดงก็จะเห็นผลงานของทุกๆท่านได้อย่างดีเยี่ยม 1.4.2 นาํ มาตอ่ ยอดในชุมชน 1.4.3 มีความร่วมมือกับทีมงานวิจัย โดยแบ่ง 2 งาน ให้ทุกคนได้รับผิดชอบตามความรู้ ความสามารถแตล่ ะคนและมาประชมุ เพื่อสรปุ ความรู้ท่ที ุกคนได้มารวบรวมเป็นงานวจิ ัย 1.4.4 งานวิจัยนี้ทําให้มีโอกาสได้รู้จักกับกลุ่มต่างๆในชุมชนมากขึ้นทําให้เวลามีการ ทํางานหรือ ความร่วมมือในเร่ืองต่างๆราบรื่นมากยิ่งขึ้นและเกิดมิตรภาพอันดีกับหลายๆท่านที่ได้มี โอกาสร่วมงานกัน 1.4.5 มีความร่วมกันทํางานวิจัยแบ่งส่วนงานให้ทุกคนได้รับผิดชอบและมาประชุมเพ่ือ สรปุ ความรู้รว่ มกนั 1.4.6 เกิดความร่วมมือกันระหว่างคนในชุมชนและทีมงานเพ่ือพัฒนาแหล่งท่องเท่ียว ส่งเสริมอาชพี ในชุมชนเพอ่ื ความเปน็ อยู่ของคนในชุมชนท่ีดขี ้ึน 1.4.7 การทํางานในคร้ังนี้ได้สัมผัสกับคนในหลากหลายอาชีพหลากหลายในความ คดิ เห็นเม่อื นาํ เสนอแนวคดิ ในการที่จะสืบค้นตัวตนของพ้ืนถิ่นให้รับรู้จักหลายให้ข้อมูลเป็นอย่างดีเป็น ระบบที่ทาํ ใหค้ นในท้องถิ่นได้มีพนื้ ทใี่ นการใหข้ ้อมลู ในอดตี ท่ีผา่ นมาของตน

546 1.4.8 การทาํ งานร่วมกันทําให้ได้เรียนรู้กระบวนการคิดของเพ่ือนร่วมงานและผู้ท่ีเราขอ ข้อมูลการได้รบั ขอ้ มลู ท้ัง 2 ทางทําให้ความสมั พันธ์ระหวา่ งกนั เป็นไปในทศิ ทางทด่ี ีมาก 1.4.9 ทีมงานวิจัยชุมชนทุกคนมีการร่วมกันทํางานเพ่ิมมากขึ้นกว่าแต่ก่อนท่ีต่างคนต่าง ทาํ เมื่อมกี าร ชว่ ยเหลอื ทํางานวิจยั ของชุมชนให้เป็นครมี กจ็ ะเกดิ ผลทด่ี ีเพม่ิ ขึน้ 1.4.10 งานวจิ ัยเป็นงานสรา้ งความรว่ มมือรว่ มใจมีเปูาหมายอย่าง เดียวกนั 1.4.11 มคี วามร่วมมือกันทาํ งานวจิ ยั แบง่ ส่วนงาน ให้ทุกคนได้รับผิดชอบ แลมาประชุม เพอื่ สรปุ ความรู้ 1.5) การรับรู้ 1.5.1 ประชาชนชาวตําบลหัวดง มีความกระตือรือร้นในการมีส่วนร่วมที่จะให้ข้อมูล และสะท้อนขอ้ มูลกลับ มีความรกั และภาคภูมิใจในท้องถ่ิน มีความรักสามัคคีบน ความหลากหลายใน ชาตพิ นั ธุ์ 1.5.2 ดมี าก มีการประชุมปรกึ ษาหารือกันบ่อย ได้แลกเปล่ยี นเรยี นรู้ 1.5.3 คณะทํางานวิจัยและผู้นําชุมชนประชาชนได้รับการถ่ายทอดความรู้ในการวิจัยให้ ทราบโดยทั่วกัน กนั 1.5.4 ทําให้ได้รับรู้ถึงความอดทนและความตั้งใจของทีมงานซ่ึงส่งผลให้ประชาชนใน พน้ื ทใ่ี หค้ วามรว่ มมือสาํ หรับการถา่ ยทอดข้อมูลต่างๆใหก้ บั ทีมงานเป็นอย่างดี 1.5.5 คณะทํางานวิจัยได้รบั การถ่ายทอดองค์ความรู้ ของประชาชนในชมุ ชน 1.5.6 ได้รู้ข้อมูลของแต่ละหมู่บ้านว่าแต่ละหมู่บ้านมีของดีอะไรประเพณีอาหารการทํา อาชพี ปลา 1.5.7 ทีมงานมีการรับรู้ข้อมูลและได้รับการถ่ายทอดความรู้ให้แก่ชุมชนให้ทราบ ผลการวจิ ยั โดยมีการสืบคน้ ข้อมูลใหแ้ กช่ ุมชน 1.5.8 การรับรูเ้ ป็นไปตามระบบข้ันตอนของการทํางานมีการประชุมสร้างความเข้าใจใน งานเปน็ ระยะและเปน็ ระบบในการส่งต่อข้อมลู 1.5.9 การรับรู้ในข้อมูลเก่าที่เอามาเล่าใหม่ทําให้เกิดความรู้สึกถึงคุณค่าของท่ียังมีใน ตําบลหัวดง 1.5.10 ไดร้ บั ร้ใู นสงิ่ ท่คี ิดวา่ ในชมุ ชนไมม่ ีตง้ั แตใ่ นอดีตจนถึงปจั จบุ ัน 1.5.11 การประชาสัมพันธ์ศูนย์ชุมชนในการรับรู้งานวิจัยของชุมชนเพื่อความภูมิใจของ ชุมชน 1.5.12 คณะทํางานวิจัยไดร้ บั การถ่ายทอดองคค์ วามรจู้ ากการประชมุ 1.6) แรงจูงใจ 1.6.1 เส้นทางท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมท้ังแบบไปเช้าเย็นกลับและพักค้างคืนสามารถ สร้างรายไดใ้ ห้กบั ท้องถนิ่ เปน็ แรงจูงใจใหช้ าวตาํ บลหวั ดงท่ีไปทํางานยงั ต่างจังหวดั กลับมาทํางานและ พัฒนาบา้ นเกดิ 1.6.2 อยากให้ชุมชนของเรา มีมรดกให้ลูกหลาน และอยากให้นักท่องเท่ียวมาเท่ียวใน ชุมชน นาํ ของดมี รดกทางวฒั นธรรมมาอวด และเป็นแหล่งทอ่ งเทย่ี วตอ่ ไป

547 1.6.3. ในการส่งเสริมให้ตําบลหัวดงมีช่ือเสียงเป็นท่ีรู้จักต่อบุคคลภายนอกที่จะมา ทอ่ งเทยี่ วในชุมชนตําบลหัวดง เพ่อื จะได้รบั รายไดใ้ หก้ ับประชาชนในชุมชน 1.6.4 เพ่ือให้ชุมชนตําบลหัวดงเป็นที่รู้จักของคนท้ังในจังหวัดและต่างจังหวัดซ่ึงทําให้ ประชาชนในพนื้ ทีม่ รี ายไดท้ ี่มาจากการท่องเท่ยี วของผมู้ าเย่ียมเยือน 1.6.5 ทําใหต้ าํ บลหวั ดงเป็นทร่ี ้จู ักของคนภายนอกไดร้ ู้จกั ตําบลหวั ดงมากขึน้ 1.6.6 อยากให้ส่ิงเหลา่ นี้มคี นสืบทอดต่อลูกหลานหรือคนร่นุ หลัง 1.6.7 ต้องการให้ข้อมูลบางอย่างที่ถูกลืมได้กลับมามีการสืบค้นและรักษาไว้ให้ลูกหลาน ในอนาคตเชน่ อาหารประเพณเี ครื่องมือทาํ กินศาสนาเชื้อชาติ 1.6.8 แรงจูงใจในการทํางานนี้คืออยากใหต้ ําบลหวั ดงไดเ้ ป็นท่ีร้จู กั ของทุกคนทั่วไป 1.6.9 แรงจงู ใจในการทํางานคือความรกั ในคุณค่าของความเป็นตัวตนคนในชมุ ชน 1.6.10 เมอื่ มกี ารสืบคน้ ขอ้ มูลในชมุ ชนรู้สึกตนื่ เต้นทีม่ ีส่วนร่วมในการสืบค้นของในชุมชน ทงั้ ในอดตี และปจั จบุ ัน 1.6.11 การรว่ มมอื ของทมี งานและชุมชน 1.6.12 ทาํ ให้ตําบลหวั ดงเป็นท่รี ู้จักของคนภายนอก ให้รู้จกั ตําบลหัวดงมากข้ึน 1.7) ความมงุ่ มน่ั /ความภาคภมู ิใจ 1.7.1 รักและภาคภมู ิใจในมรดกทางวัฒนธรรมของประชาชนชาวตาํ บลหวั ดง มีทีมงานทดี่ ี ขยัน คอยช่วยเหลือกัน ทราบถงึ เรื่องวัฒนธรรมชุมชนบนความหลากหลายชาตพิ ันธ์ุ 1.7.2 สามารถ สัง่ คน้ ประวตั ิทอ้ งถ่นิ และภาพเกา่ ๆของอดตี ให้กับบุคคลล้าหลังได้ช่ืนชม และคน้ หาประเพณีวัฒนธรรมอาหารทสี่ ูญหายไปแล้ว ใหฟ้ น้ื กลบั มา ใหเ้ ปน็ ท่ีรูจ้ กั กันยังคงมีอยู่ 1.7.3 ร้สู ึกภาคภูมิใจที่ชุมชนตําบลหัวดงได้มีผลงานวิจัยที่แสดงให้เห็นถึงอัตลักษณ์และ ความหลากหลายชาตพิ ันธุซ์ ง่ึ หลอมรวมกันเปน็ ชุมชนทน่ี า่ อย่แู ละมีเร่อื งราวในอดตี ทน่ี ่าศึกษา 1.7.4 สามารถสืบคน้ ประวตั ิ และ รายละเอียด ในอดีตของตําบลหวั ดง 1.7.5 อยากให้ประเพณีของแต่ละหมบู่ า้ นอย่อู ย่างย่ังยนื ไมต่ ายไปกับคนท่มี ีความรู้ 1.7.6 มีความมุง่ มนั่ ในการพฒั นาแหล่งทอ่ งเทย่ี วและอาชพี ในชมุ ชนเพื่อให้คนในชุมชนมี รายได้ท่ีเพม่ิ ขน้ึ เพ่ือคนในชมุ ชนมรี ายไดแ้ หลง่ ท่องเที่ยวอยู่ได้ชุมชนกอ็ ยู่ได้ 1.7.7 ความภาคภูมิใจในการทํางานน้ีคือได้ย้ําเตือนตัวเองในข้อมูลของสิ่งที่ดีท่ียังมีอยู่ใน บ้านเรา 1.7.8 ความภูมใิ จที่ไดท้ าํ งานรว่ มกบั เพือ่ นร่วมอดุ มการณ์ครูอาจารย์ท่ีมีความรู้ทําให้ได้มี ส่วนร่วมในทีมที่ดี 1.7.9 มีการพัฒนาชุมชนในทกุ ๆดา้ นเพ่มิ มากข้ึนมีศักยภาพที่สามารถ เกิดการท่องเท่ียว รบั นักทอ่ งเทีย่ วมากย่งิ ขึ้น 1.7.10 มีความภูมิใจในประเพณีวัฒนธรรมของชุมชนและสานต่อไปให้แก่เยาวชนรุ่น ใหมใ่ หม้ ีส่วนรว่ มในการจัดกิจกรรมการท่องเท่ยี วเวทคี นื ข้อมูลสู่ชมุ ชน 1.7.11 สามารถค้นประวัติและเร่ืองราวในอดีตของตําบลหัวดง นําถ่ายทอดให้คนรุ่น หลงั ไดร้ ับรู้

548 2) ส่ิงของ เชน่ มพี ิพิธภณั ฑ์ใต้ถุนบา้ น ปูายบอกทาง สวยขนึ้ เห็นชดั เจนขนึ้ เปน็ ตน้ 1. ตําบลหัวดงมีต้นทุนทางวัฒนธรรมบนความหลากหลายในชาติพันธุ์ มีองค์กร ปกครองส่วนท้องถ่ินท้ังเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตําบลที่สามารถส่งเสริมสนับสนุนด้าน งบประมาณ มปี ราชญ์ชาวบ้าน ในดา้ นตา่ ง ๆ อาทิ สมนุ ไพร แพทย์แผนโบราณ การทําเรือขุด เรือ จ๋ิว ประกอบอาชีพโดยน้อมนําหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สินค้าสะอาด ปลอดสารเคมี สามารถ เลยี้ งตนเองครอบครัวและสร้างรายได้สู่ชุมชน มีปูายบอกทางท่ีชัดเจนขึ้น มีรถรางทีใช้ไฟฟูา มีสินค้า ที่นักท่องเที่ยวสนใจซ้ือเป็นที่ระลึกมากมาย ท้ังด้านอาหาร (ปลาเกลือ เกี้ยมอ๋ี ผักปลอดสารพิษ ปลา รา้ ลอยแกว้ ) เสอื้ ทรี่ ะลกึ ยาสมุนไพร ธูปสมนุ ไพร ยาหม่อง ยาดม เรือจว๋ิ 2. มีการรวบรวมพิพิธภัณฑ์สายน้ําเป็นเรือยาวที่มีชื่อเสียงในอดีตประวัติ การแข่งเรือ ยาวสมัยโบราณ มีการพัฒนาปรับปรุงแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรให้เป็นท่ีน่าสนใจย่ิงขึ้นมีการจัด โปรแกรมท่องเที่ยวเป็นระบบมากขึ้น แหล่งท่องเท่ียวมีความสะอาดสวยงามประชาชนต่ืนตัวในการ ต้อนรับนักท่องเที่ยว พิพิธภัณฑ์สายน้ํามีเรือยาว ท่ีมีชื่อเสียงปรับปรุงแหล่งท่องเที่ยว สามารถจัด โปรแกรมได้มี จุดเช็คอินสามารถถา่ ยรปู ได้ 3. พิพิธภัณฑ์สายนาํ้ มเี รอื ยาว ท่ีมชี อ่ื เสียงปรบั ปรงุ แหล่งท่องเทยี่ ว สามารถจัดโปรแกรม ไดม้ ี จุดเช็คอนิ สามารถถา่ ยรปู ได้ 4. การคมนาคมในชมุ ชนกําลงั ได้รบั การพฒั นา ใหเ้ สน้ ทางการจราจรสะดวกมากยิง่ ขน้ึ 5. มีการจัดทําปาู ยบอกทางในการไปศกึ ษาคน้ คว้าวฒั นธรรมใหม้ องเห็นความชัดมากขึ้น ปูายบอกเส้นทางและเคร่อื งหมายจราจรในเส้นทางท่องเทย่ี วชัดเจนและสะอาดมากข้นึ 6. ในอนาคต ควรมปี าู ยบอกทางท่ีชัดเจนขึน้ 7. มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ดีขึ้นให้เหมาะกับยุคสมัยมีความสวยงามทันสมัย เช่น สมนุ ไพรปาู แจ๋ว มกี ารออกแบบแพ็คเกจและพัฒนาผลิตภัณฑเ์ พมิ่ ขน้ึ 8. ไดร้ บั การบรู ณะปรับปรงุ ทาํ ความสะอาดได้รับการดแู ล ความสะอาดในชมุ ชนมากขึน้ 9. ส่ิงต่างๆท่ีมีอยู่ดีแล้วได้รับการพัฒนาต่อยอดให้มีคุณค่าเพิ่มมากข้ึนผู้พบเห็นมี ความเห็นดว้ ยในการรกั ษาในสิ่งท่ีมีอยู่ 10. มีปราชญช์ าวบา้ นท่สี ามารถให้ความรู้ในเร่ือง วิถีวัฒนธรรมได้เปน็ อยา่ งดี 11. มรี ถรางไฟฟูา นักทอ่ งเที่ยวสามารถใช้บรกิ ารไดส้ ะดวก สะอาด ปลอดภยั 12.มจี ดุ เชค็ อิน สามารถถา่ ยรปู ได้ 13. สินค้าที่ระลกึ : อาหาร เส้ือ เรือจิว๋ สมนุ ไพร 14. แหลง่ ทอ่ งเท่ยี วเชิงวัฒนธรรม 15.ปรับปรงุ แหลง่ ท่องเที่ยว เชงิ เกษตร สามารถจัดโปรแกรมท่องเท่ียวได้ 3) ปญั หา : บรรเทา /คลี่คลาย/แกไ้ ขได้ (ด้วยวธิ ีใด) และอน่ื ๆ ปญั หา แนวทางแกป้ ัญหา 1. ปัญหาในการทาํ งานร่วมกนั จั ด ป ร ะ ชุ ม ร่ ว ม กั น ทํ า กิ จ ก ร ร ม ร่ ว ม กั น ปรึกษาหารอื ได้ความเห็นพอ้ งกันในทส่ี ุด 2. แหล่งท่องเที่ยวทีส่ ภาพไม่สะอาด ขาดการดูแล ประสานงาน พูดคยุ ระดมทุกข์ ชว่ ยพฒั นาใหม้ ี

549 ปัญหา แนวทางแก้ปัญหา ความสะอาดมีระบบระเบียบเหมาะสมเป็นแหล่ง ท่องเทีย่ วของชุมชนมากขนึ้ 3. หัวดงเป็น สังคมผู้สูงอายุ ร้อยละ 18.51 ร่วมกันส่งเสริมให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุ ส่งเสริม (1,250 คน จากประชากรท้ังหมด 6,750 คน) อาชีพ จัดกิจกรรมสุขภาพ จิตใจ อารมณ์ และ - ขาดแคลนแรงงาน สังคม รวมถึงร่วมกันจัดสภาพแวดล้อมท่ี - วยั ทาํ งานตอ้ งทาํ งานมากข้ึน เหมาะสมให้กับผสู้ ูงอายุ - รับภาระดูแลผู้สูงอายุในสดั ส่วนทเ่ี พิม่ ขึ้น - ผ้สู งู อายขุ าดความอบอ่นุ หรือถูกทอดท้ิงได้ - ผู้สูงอายุมีปัญหาสุขภาพร่างกายที่เส่ือม โทรม 4. การประกอบอาชีพหลักด้านการเกษตรเพียง ส่งเสริมให้ทําอาชีพเสริมที่สามารถเผยแพร่แก่ อย่างเดียวโดยไมม่ อี าชีพเสริม นักท่องเท่ียว เพ่ือเป็นการสร้างอาชีพ สร้าง โอกาส สรา้ งรายได้ให้กบั ครัวเรือน 5. การถ่ายทอดภูมิปญั ญาทอ้ งถนิ่ ผู้นําชุมชนและประชาชน ช่วยกันส่งเสริมและ เด็กและเยาวชนรุ่นใหม่ไม่สนใจที่จะรับถ่ายทอด ถ่ายทอดภูมิปัญญาให้กับเด็กและเยาวชนในพ้ืนที่ ภมู ปิ ญั ญาท้องถิ่น เพ่ือสร้างสํานึกรักภูมิปัญญาที่เคยมีมาให้คงอยู่ และทําใหเ้ ดก็ และเยาวชนสามารถนําภูมิปัญญาท่ี ได้รับการถ่ายทอด สร้างงาน สร้างโอกาส สร้าง อาชีพ สรา้ งรายไดใ้ ห้กบั ตนเอง 6. การอพยพแรงงานเข้าไปทํางานในเมืองใหญ่ สง่ เสรมิ ใหช้ ุมชนมีการฝึกอบรมอาชีพเสริมเพื่อให้ (กทม.) สินค้าและผลิตภัณฑ์ในชุมชนสามารถขายแก่ นักท่องเท่ียวเพื่อสร้างรายได้ สร้างอาชีพ เพื่อ ชุมชนจะเข้มแข็งและยั่งยืนบนพื้นฐานของทุน ศักยภาพของคนในชุมชน 7. ขาดการประชาสัมพันธ์การท่องเท่ียวในพ้ืนท่ี - ช่วยกันเผยแพร่ข้อมูลการท่องเท่ียว เช่น ของดี ตําบลหวั ดง ของเด่นในพื้นท่ีตําบลหัวดง เพื่อให้นักท่องเที่ยว หรือบคุ คลภายนอกไดร้ บั ทราบ - จดั ทําเพจการทอ่ งเท่ยี วหวั ดง ปญั หา : บรรเทา /คลี่คลาย/แก้ไขได้ (ด้วยวิธีใด) และ อน่ื ๆ 1. การทํางานทุกด้านย่อมเกิดปัญหา แต่ปัญหาทุกอย่างสามารถคลี่คลายได้ ด้วยการการ ประชุมร่วมกนั ปรึกษาหารือ จนไดค้ วามเหน็ พ้องกันในทส่ี ดุ 2. คยุ กนั ประชมุ กันบอ่ ยๆหรอื ทาํ กิจกรรมร่วมกนั

550 3. ปัญหาการพัฒนาแหล่งท่องเท่ียวที่แต่เดิมมีสภาพไม่สะอาด ขาดการดูแลทางคณะทํางาน วิจัยได้ดําเนินการประสานงาน พูดคุยระดมทุกข์ ช่วยพัฒนาให้มีความสะอาดมีระบบระเบียบ เหมาะสมเปน็ แหลง่ ท่องเทีย่ วของชมุ ชนมากขน้ึ 4. เม่ือเกิดความเห็นไม่ตรงกันก็จะมีการเรียกประชุมและทําความเข้าใจกับสิ่งท่ีเกิดขึ้นและ หาทางแก้ปญั หารว่ มกันโดยการระดมความคดิ เห็นและแกไ้ ขปัญหาไดใ้ นท่ีสุด 5. การพัฒนาแหล่งท่องเท่ียวท่ียังไม่ค่อยสะอาดการปรับปรุงดูแลแก้ปัญหา โดยคณะผู้วิจัย รวบรวมกับชุมชน เห็นความสําคัญ ของตําบลหัวดงและร่วมกันทําความสะอาดปรับปุมวิสัยทัศน์ให้ สวยงามน่าท่องเที่ยวมากข้นึ 6. ค้นหาแหล่งท่องเท่ียวมีสภาพที่ไม่เหมาะกับการเป็นแหล่งท่องเท่ียวแก่ปัญหาโดยการระดม ทกุ ภาคส่วนชว่ ยพัฒนาให้มีความสะอาดเหมาะแก่การเปน็ แหล่งทอ่ งเท่ียว 7. ปัญหาต่างๆถูกแก้ไขโดยผ่านกระบวนการร่วมคิดร่วมทําอย่างเป็นระบบการสร้างความ เข้าใจผ่านระบบการมสี ่วนรว่ มทําใหเ้ กดิ การยอมรับและถูกแกไ้ ขอยา่ งกลมกลนื 8.ปญั หาและอุปสรรคไดร้ บั การจัดระเบียบใหม่จนกลายเป็นข้อดีอย่างเป็นระบบการจัดสรรทุก สงิ่ อย่างลงตวั 9. เมอื่ ทราบปัญหาการทอ่ งเท่ียวก็มีการปรับปรุง ให้สะอาดและรับรองนักท่องเท่ียวเป็นอย่าง ดี 10. แกป้ ญั หาด้วยการพบปะพดู คยุ การให้นาํ เสนอและสรุปรว่ มกัน 11. การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว ทเ่ี ดิมยังไม่คอ่ ยสะอาด ขาดการปรับปรงุ ดแู ล แก้ปัญหา โดยคณะผู้วิจัยร่วมกับชุมชน เห็นความสําคัญมากขึ้น และช่วยกันทําความสะอาด ปรับปรงุ ภูมทิ ัศน์ ทําความสะอาด ปรบั ปรุงใหส้ วยงาม น่าทอ่ งเที่ยวมากขึน้ 4) กลุ่มคน : เกิดกลุ่ม (ลักษณะพลัง/ความสามารถ/ความสัมพันธ์เป็นอย่างไร โปรดอธิบายพร้อม ยกตวั อยา่ งประกอบ) ในการดําเนินการโครงการการบริหารจัดการการท่องเท่ียวมรดกวัฒนธรรมชุมชนบนความ หลากหลายชาติพันธุ์โดยเครือข่ายชุมชนตําบลหัวดง อําเภอเมืองพิจิตร จังหวัดพิจิตร ทําให้เกิดกลุ่ม การทํางานในลักษณะการเรียนรู้ร่วมกันของทีมวิจัยและชุมชนในพ้ืนท่ีตําบลหัวดง เกิดพลังการ เสริมแรงเชิงบวกในทีมวิจัยและในชุมชน เห็นความสามารถของทีมวิจัยแต่ละบุคคลท่ีสามารถ ขับเคลื่อนการดาํ เนินการ เชน่ นายพีระโรจน์ ภัทรประสิทธ์ิ เป็นหัวหน้าโครงการงานวิจัย ฯ มีภาวะผู้นํา กํากับ ติดตาม เชื่อมประสานการบูรณาการทํางานรว่ มกับทีมวิจยั และชุมชนบา้ นหวั ดง นายบญั ญตั ิ แกลว้ เกษตรกรณ์ นายบรรเทิง ศรนี าก เป็นผู้มีความรู้ความเข้าใจในบริบทของ วิถีชีวิตของคนในชุมชน สามารถเป็นมัคคุเทศก์ บรรยายให้องค์ความรู้เก่ียวกับมรดกวัฒนธรรมของ ชุมชนบ้านหัวดง นางสาวขวัญเรือน ศรีบุญเรือง มีความสามารถในการติดต่อประสานงานกับชุมชนกับ ชาวบ้าน และสามารถทาํ หน้าทีเ่ ปน็ นักวจิ ัยที่เกบ็ ข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลได้

551 แพทย์หญิง ดร. วณิชชา ภัทรประสิทธิ์ และนางสาวจันมาลี จันทร์มะลิ เป็นผู้ท่ีสามารถ เช่ือมประสานบูรณาการทํางานกับทีมวิจัย ประสานงานกับพ่ีเลี้ยง และสํานักงานกองทุนสนับสนุน การวิจยั (สกว.) รวมถึงการรวบรวบเอกสารการวิจยั เพือ่ สรุปรูปเลม่ ได้ นางสาวธิตญิ า เมอื งเหลอื เป็นผมู้ คี วามร้เู กี่ยวกับยาสมนุ ไพรพืน้ บา้ น เก็บรักษาตํารายาแผน โบราณ ของแพทย์แผนไทยหมอคุ้ม เมืองเหลือ นับเป็นปราชญ์ท้องถิ่นและสามารถเป็นวิทยากรด้าน การดูแลสขุ ภาพได้ นายสมยศ แสวงทอง และนายณรงค์ โต๊ะดอนทอง เป็นผู้มีความรู้ด้านสาธารณสุข ใกล้ชิด ชุมชน สามารถลงพนื้ ทีส่ ํารวจ เกบ็ ขอ้ มูล ในแต่ละประเดน็ ไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว ถูกต้อง นางสาวศศิกานต์ วิบูลย์ญาณ มีความสามารถในการถ่ายภาพ จัดทําส่ือ เทคโนโลยี ประชาสัมพันธ์ เช่น โปรแกรม AI สร้างเพจ ประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเท่ียวในชุมชนได้ทันสมัยและ นา่ สนใจ เป็นนักสอื่ สารในชุมชน นายมนูญ ดิษเสถียร นายกองค์การบริหารส่วนตําบลหัวดง นายประภาส กายเพ็ชร ปลัด องค์การบริหารส่วนตําบลหัวดง และนายนเรศร์ อินทโชติ เป็นผู้ท่ีสามารถเชื่อมประสานติดต่อ เก็บ ข้อมูลภายในพน้ื ทไี่ ด้อยา่ งรวดเรว็ ถูกต้อง นางกนกพร เดชมี เป็นผู้มีความรู้เก่ียวกับการทําธูปสมุนไพร เช่น ธูปหอมกันยุง ยาหม่อง ยาดม จนเกิดผลิตภัณฑ์ชุมชนที่เป็นนวัตกรรมพื้นถ่ิน นักท่องเท่ียวที่เข้ามาเท่ียวในพ้ืนท่ีสามารถซ้ือ ผลิตภัณฑ์ เป็นของฝากของที่ระลกึ ได้ นางชุติญาทิพพ์ สุดประเสริฐ เป็นผู้ทําหน้าท่ีประสานงานด้านการเงินระหว่างทีมวิจัยและ สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ทําให้การขับเคลื่อนโครงการด้านการเงินเป็นไปตาม แผนงานทีว่ างแผนไว้ 5) กลไกการจัดการ เช่น มีกฎระเบียบ / รูปแบบการบริหาร/ กลไกเช่น มาตรการในการขับเคลื่อน หรืออ่นื ใช้กระบวนการงานวิจัยเพื่อท้องถ่ิน (Community - Based Research : CBR) เป็น เคร่ืองมือในการศึกษาและพัฒนาการจัดการท่องเท่ียวโดยชุมชน (Community - Based Tourist : CBT) เป็นกระบวนการท่ีเน้นคนเป็นศูนย์กลาง มุ่งเสริมสร้างพลังอํานาจให้แก่ประชาชนในพื้นท่ีด้วย กระบวนการพัฒนาแบบมีส่วนร่วมผ่านกระบวนการ CBR เพื่อให้เกิดการเปล่ียนแปลงในตัวเครือข่าย ชุมชนที่จะมาร่วมกันพัฒนาธุรกิจการท่องเท่ียวท่ีดําเนินการโดยชาวบ้านในชุมชน เพื่อนําไปสู่การ พัฒนาชมุ ชนอยา่ งย่งั ยืนตอ่ ไป

552 6) บทบาทหน้าท่ี โครงสรา้ งการบริหารจดั การของกล่มุ ท่องเทย่ี วชมุ ชนหัวดง คณะท่ีปรึกษาชมรมการทอ่ งเทยี่ วชุมชนบา้ นหัวดง 1. เจา้ อาวาสวัดในเขตตําบลหวั ดงทกุ วัด 2. นายพรี ะโรจน์ ภทั รประสิทธ์ิ นายกเทศมนตรตี ําบลหัวดง 3. นายมนญู ดิษเสถียร นายกองคก์ ารบริหารสว่ นตําบลหัวดง 4. แพทย์หญงิ วณชิ ชา ภทั รประสิทธิ์ ผู้ทรงคุณวฒุ ิ 5. นายภทั รพงษ์ ภทั รประสิทธิ์ กาํ นันตาํ บลหวั ดง 6. นางธัญธรณ์ ตันโน ครชู าํ นาญการ วทิ ยาลยั ชุมชนพิจติ ร 7. ผู้ใหญ่บา้ น ผู้ช่วยผูใ้ หญ่บ้านทกุ หมู่บ้านในตําบลหัวดง 8. สารวตั รกาํ นนั ตาํ บลหัวดง 9. สมาชกิ สภาเทศบาลตําบลหัวดง 10. สมาชิกสภาองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตําบลหัวดง 11. ผู้บรหิ ารสถานศึกษาในเขตตาํ บลหัวดงทุกสถานศกึ ษา 12. ผู้อํานวยการโรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพบ้านหวั ดง 13. ผ้อู าํ นวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพบ้านเนินยาว 7) สถานการณ์ชมุ ชนเปน็ เชิงบวกหรือลบ ชุมชนในพื้นที่ตําบลหัวดง ได้แก่ พระภิกษุสงฆ์ ผู้นําท้องท่ี ผู้นําท้องถ่ิน ข้าราชการครู ปราชญ์ชาวบ้าน ภูมิปัญญาท้องถิ่น มีต้นทุนมรดกวัฒนธรรม ประชาชนตื่นตัว มีความสนใจในการให้ ข้อมูล และร่วมกันพลิกฟ้ืนนําภูมิปัญญาท่ีมีมาปรับประยุกต์เป็นผลิตภัณฑ์ชุมชนและบริการ นักท่องเทย่ี ว สง่ ตอ่ ใหแ้ ก่เด็ก เยาวชน

553 การมสี ่วนร่วมของเครอื ขา่ ยชุมชนเพอื่ การพัฒนาการท่องเที่ยวมรดกวัฒนธรรมชุมชนหัวดง สามารถสร้างได้ 3 ระดับคือ ระดับชุมชน ระดับจังหวัดและระดับประเทศโดยระดับชุมชนได้แก่ ผู้นํา ชมุ ชน กลุ่มจักสานเสน้ พลาสตกิ กลุ่มผู้สงู อายุ กล่มุ อสม. กลุ่มรําวง 3 ส (สนุก สุขภาพดี สามัคคีเกิด) กลุ่มอาชีพในชุมชน ระดับจังหวัด ได้แก่ การท่องเท่ียวแห่งประเทศไทย สํานักงานนครสวรรค์ ท่องเท่ียวและกีฬาจังหวัดพิจิตร เกษตรและสหกรณ์จังหวัดพิจิตร ประชาสัมพันธ์จังหวัดพิจิตร สํานักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดพิจิตร พัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดพิจิตร พัฒนา ชุมชนจังหวัดพิจิตร วัฒนธรรมจังหวัดพิจิตร หอการค้าจังหวัดพิจิตร ชุมชนส่งเสริมการท่องเท่ียว ตําบลดงกลาง และระดับประเทศได้แก่ สํานักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย (สกว.) ให้การสนับสนุน งบประมาณในการดําเนินงานวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม จังหวัดพิษณุโลก ให้การ สนับสนุนพเ่ี ล้ียงในการให้คาํ แนะนํา ชีแ้ นะการดําเนินงานวจิ ยั ใหเ้ หมาะสม 8) การเปลย่ี นโครงสรา้ งชมุ ชน / กล่มุ เสน้ ทางการทอ่ งเท่ียวเชิงวัฒนธรรมในพื้นที่ จาํ นวน 4 เสน้ ทาง เกิดการท่องเที่ยวโดยชุมชน ร่วมกันระหว่างชุมชนและภาคีเครือข่าย สร้างรายได้ให้กับคนในชุมชน บ้านหัวดงกลายเป็นแหล่ง ท่องเทย่ี วแหง่ ใหมเ่ กิดการเชือ่ มร้อยเสน้ ทางทอ่ งเทย่ี วมรดกวัฒนธรรมของจังหวัดพิจิตรท่ีนักท่องเที่ยว เดินทางเข้ามาเรียนรู้ สัมผัสวิถีวัฒนธรรมและเปิดรับประสบการณ์ใหม่จากคน 3 ชาติพันธุ์ชาวตําบล หัวดงมีจิตสํานึกรักบ้านเกิด เกิดความภาคภูมิใจในมรดกวัฒนธรรมของชุมชน ต้องการอนุรักษ์และ พัฒนาแหล่งทอ่ งเทีย่ วดา้ นมรดกวัฒนธรรมชุมชน ซึ่งเป็นชุมชนพหุวัฒนธรรม (ไทย จีน ลาว) ที่อาศัย อยู่ร่วมกันอย่างสมัคร สมาน สามัคคีอย่างลงตัวด้วยวิถีชีวิตพื้นถิ่น มีเพจเพื่อการประชาสัมพันธ์และ ขายโปรแกรมทอ่ งเที่ยวของชุมชนตําบลหวั ดง เกดิ รายได้ท่ีมาจากการบริหารจัดการการท่องเท่ียวโดย ชุมชนเพื่อสืบสานประเพณีวฒั นธรรมชมุ ชน 9. อื่น ๆ 1. ความภาคภูมิใจของชุมชนในการเผยแพร่ประวัติศาสตร์ชุมชน วิถีชุมชน ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติ โบราณสถานของชุมชนให้คนภายนอกได้รับทราบ กิจกรรมการ ท่องเท่ยี วเชิงสรา้ งสรรค์ให้กบั ผมู้ าเยือนได้มีส่วนร่วมในการสืบสาน อนุรักษ์ วิถีชีวิตชุมชน รวมถึงการ ฟนื้ ฟวู ฒั นธรรมทอ้ งถิ่น 2. คนในชุมชนมีความเขม็ แข็งในการจัดการการท่องเทย่ี วโดยชุมชน 3. ยกระดบั คณุ ภาพชีวติ คนในชมุ ชนตําบลหัวดง 4. เกิดการเช่ือมร้อยต่อยอดการทํางานของหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ผู้นําชุมชน กลุ่ม องค์กร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook