Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานวิจัยเพื่อท้องถิ่นฉบับสมบูรณ์

รายงานวิจัยเพื่อท้องถิ่นฉบับสมบูรณ์

Published by นายศตวรรษ จัตุมาศ, 2022-05-16 09:32:38

Description: รายงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น

Search

Read the Text Version

414 ภาพท่ี 423 ภาพกิจกรรมการทดลองเสน้ ทางการท่องเท่ยี วชุมชนหัวดง ภาพที่ 424 ภาพกิจกรรมการทดลองเสน้ ทางการทอ่ งเทยี่ วชุมชนหวั ดง

415 ภาพท่ี 425 ภาพกจิ กรรมการทดลองเสน้ ทางการทอ่ งเทย่ี วชุมชนหวั ดง ผลจากการทดลองเส้นทางการท่องเที่ยวชุมชนหัวดง มีหลายหน่วยงานท้ังภาครัฐและ ภาคเอกชน ท่ีให้ความสนใจเข้ามาท่องเที่ยวในชุมชนหัวดง ได้แก่ นักท่องเท่ียว ได้บูรณาการการจัด กิจกรรมแบบมีส่วนร่วมกับภาคีต่าง ๆ เช่น การท่องเท่ียวแห่งประเทศไทย สํานักงานนครสวรรค์ ท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดพิจิตร เกษตรและสหกรณ์จังหวัดพิจิตร ประชาสัมพันธ์จังหวัดพิจิตร สํานักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดพิจิตร พัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดพิจิตร พัฒนา ชุมชนจังหวัดพิจิตร วัฒนธรรมจังหวัดพิจิตร หอการค้าจังหวัดพิจิตร ชุมชนส่งเสริมการท่องเที่ยว ตําบลดงกลาง ทีมพี่เลี้ยงจากสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) กลุ่มรําวง 3 ส. ตําบลหัวดง ผู้สูงอายุ เด็กและเยาวชน ชาวบ้าน/ชุมชนได้รับประโยชน์จากการท่องเท่ียว ผลคือทําให้ชุมชนมี รายได้จากการจําหน่ายผลิตภัณฑ์พื้นบ้าน นักท่องเที่ยวได้สัมผัสถึงวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของคนใน ชุมชนหัวดง ทอ่ี ยูร่ ว่ มกันในวิถีพหุวัฒนธรรมหรือชมุ ชนสามวัฒนธรรมได้อย่างกลมเกลียว ความสุข ได้ สัมผัสถึงวิถีชีวิต ความเป็นอยู่ของคนในชุมชนหัวดง ที่อยู่ร่วมกันในวิถี 3 วัฒนธรรม คือ วัฒนธรรม เชื้อสายไทย วัฒนธรรมเช้ือสายจีน และวัฒนธรรมเชื้อสายลาว มีอัตลักษณ์ที่โดดเด่น คือ“ชุมชนพหุ วัฒนธรรม” เป็นชุมชนที่แต่ละเชื้อชาติไม่ว่าจะเป็นไทย จีน ลาว ได้นําวิถีถ่ินต่าง ๆ เข้ามากลายเป็น วิถีถิ่นที่มีลักษณะของพหุวัฒนธรรมที่สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข ได้จับจองพ้ืนท่ีทํางานหา กิน สรา้ งบา้ นเรอื นอาศัยอยรู่ ่วมกัน ทง้ั น้ีชาวหัวดงยึดมนั่ ในพระพทุ ธศาสนา จงึ ได้รับการขัดเกลาจิตใจ ให้มีความละเอียดอ่อน มีการเคารพเช่อื ฟังผ้นู ํา ผู้อาวุโส มีการปรับตัวมีการยอมรับในความแตกต่างมี วฒั นธรรมความเช่ือทางขนบประเพณีทแี่ ฝงด้วยกุศโลบายที่ประกอบด้วย ค่านิยม ทัศนคติ พฤติกรรม จิตวิญญาณ และวิถีชีวิต ทําให้สามารถสร้างสรรค์ศิลปวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้ังในอดีตและปัจจุบัน

416 ตอนท่ี 4 ผลการสร้างการบริหารจัดการการท่องเที่ยวมรดกวัฒนธรรมชุมชนบนความ หลากหลายชาติพนั ธ์โุ ดยเครือข่ายชมุ ชนตาํ บลหวั ดง หลังจากที่ทีมวิจัยได้ศึกษาดูงานจากสถานท่ีต่าง ๆ เช่น ฟาร์มเห็ดอินเตอร์ (บรรจุภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์) สวนองุ่นลุงประเสริฐ ชุมชนซากแง้ว ชุมชนตะเคียนเต้ีย บ้านร้อยเสา ในจังหวัด นครราชสมี า และศึกษาดงู านการทอ่ งเที่ยวชมุ ชนจังหวดั สโุ ขทัยที่ได้รับจากการศึกษาดูงาน ดังนี้ 1) ผู้นําชุมชน เป็นบุคคลท่ีมีบทบาทสําคัญในการขับเคล่ือนกิจกรรมการท่องเที่ยวของ ชุมชน ผู้นําควรเป็นผู้ท่ีมีความรู้ ความเสียสละ เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าส่วนตน มีความรัก ชมุ ชน เอาใจใสใ่ นกิจกรรมต่าง ๆ ท่ชี มุ ชนจัดขน้ึ 2) การศึกษาดูงานและการแลกเปล่ียนเรียนรู้ เป็นกิจกรรมท่ีสําคัญ การจัดการท่องเท่ียว โดยชมุ ชน ไมส่ ามารถดาํ เนนิ การได้เองโดยลําพงั จําเป็นตอ้ งมเี ครือข่าย มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกัน และกนั และมกี ารแบง่ ปนั 3) การทบทวนตนเอง ชมุ ชนควรมกี ารศกึ ษาและทบทวนตนเองว่ามีศักยภาพในเร่ืองใด มี จุดเดน่ เอกลกั ษณท์ สี่ ําคัญและนา่ สนใจในเรอื่ งใด ทจ่ี ะสามารถนํามาใช้เป็นทรัพยากรการท่องเที่ยวได้ อยา่ งเหมาะสม 4) การมกี ฎ ระเบียบ แนวปฏิบัติหรือกติกาในการดําเนินกิจกรรมร่วมกัน เป็นสิ่งที่ไม่ควร มองข้าม ทง้ั น้ี กฎ ระเบยี บ กตกิ า ดังกลา่ วควรกําหนดร่วมกันจากสมาชิกในกลุ่ม/ชุมชน เพ่ือให้เป็นที่ ยอมรับรว่ มกัน 5) การประเมนิ ผล เปน็ กิจกรรมสุดทา้ ยที่สําคญั การประเมินผลจะเป็นข้อมูลสะท้อนกลับ ทดี่ ใี นการนําไปปรับปรงุ พฒั นาการจัดการท่องเที่ยวของชมุ ชนให้มีความยง่ั ยืน ท้ังน้ี จากบทสรุปการศึกษาดูงานท่องเที่ยวชุมชนจากเครือข่ายท่องเที่ยวชุมชน การสร้าง การบริหารจัดการการท่องเที่ยวมรดกวัฒนธรรมชุมชนบนความหลากหลายชาติพันธ์ุโดยเครือข่าย ชุมชนตําบลหัวดง จําเป็นต้องมีผู้นําชุมชนท่ีมีบทบาทบทบาทสําคัญในการขับเคลื่อนกิจกรรมการ ท่องเท่ียวของชุมชน การศึกษาดูงานและการแลกเปล่ียนเรียนรู้ เป็นกิจกรรมท่ีสําคัญ การจัดการ ทอ่ งเท่ียวโดยชมุ ชน การทบทวนตนเอง ชุมชนควรมีการศึกษาและทบทวนตนเองวา่ มีศักยภาพในเรื่อง ใด มจี ุดเด่น เอกลกั ษณท์ ี่สาํ คญั และน่าสนใจในเร่ือง ชุมชนตอ้ งมกี ฎ ระเบียบ แนวปฏิบัติหรือกติกาใน การดําเนินกิจกรรมร่วมกัน และต้องการประเมินผล เพื่อพัฒนาการจัดการท่องเท่ียวของชุมชนให้มี ความยงั่ ยืน 5. ผลพฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากรทางการท่องเที่ยวมรดกวฒั นธรรมชุมชนหัวดง ชุมชนมีการ สง่ ผูแ้ ทนเขา้ รว่ มศกึ ษาดงู านจากพนื้ ที่ฟาร์มเหด็ อินเตอร์ (บรรจุภัณฑ์ ผลิตภณั ฑ)์ สวนองุ่นลุงประเสริฐ ชุมชนซากแงว้ ชมุ ชนตะเคยี นเต้ีย บ้านร้อยเสา ในจังหวัดนครราชสีมา และศึกษาดูงานการท่องเที่ยว ชุมชนจังหวัดสุโขทัย ทําให้ได้รับแนวคิดและประสบการณ์ในการบริหารจัดการชุมชน จากจุดเริ่มต้น ของการเปลย่ี นแปลงนาํ ไปสคู่ วามรว่ มมือของคนในชมุ ชนในการบรหิ ารจัดการชุมชนไปสกู่ ารท่องเท่ียว โดยใชท้ รพั ยากรในทอ้ งถ่ิน พฒั นาต่อยอดเปน็ ผลติ ภณั ฑ์ชุมชน การส่งต่อแนวคิดในการบริหารจัดการ ชุมชนไปสู่คนรุ่นใหม่ ที่มีความคิดสร้างสรรค์ ใช้เทคโนโลยีในการสื่อสารมาช่วยประชาสัมพันธ์ข้อมูล ผ่านส่ือสังคมออนไลน์ ได้เยี่ยมชมแหล่งเรียนรู้ที่สําคัญของชุมชน ได้แลกเปล่ียนเรียนรู้แนวคิดในการ พฒั นาการท่องเท่ียวชุมชนโดยมีส่วนร่วมกับชุมชนอย่างยั่งยืนโดยมีกลุ่มผู้นําชุมชนเป็นผู้ประสานการ

417 ดาํ เนินงานกบั กล่มุ ตา่ ง ๆ ในชมุ ชน ตลอดจนได้เข้ารับการฝึกอบรม โครงการอบรมมัคคุเทศก์ชุมชนกับ การสื่อความหมาย การตลาด การบรหิ ารจดั การและการให้บริการ ณ ภูแก้วรีสอร์ท อําเภอเขาค้อ จังหวัด เพชรบูรณ์ ระหว่างวันท่ี 4-6 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 ทําให้ทีมวิจัยชุมชนหัวดงได้ทบทวนแนวคิด ผลกระทบการท่องเท่ียวบทบาทของชุมชนในการจัด CBT ทั้งในด้านระบบทรัพยากรธรรมชาติ ระบบ การบริหารจัดการเร่อื งบุคลากร การพฒั นาการบรหิ ารจดั การและการใหบ้ ริการการท่องเท่ียวชุมชนได้ เรียนรู้เกี่ยวกับหลักการทําหน้าท่ีมัคคุเทศก์ นักส่ือความหมาย การตลาด การสื่อสาร เทคนิคการนํา เท่ียวการทําทัวร์ หลักการพูด บทบาทหน้าท่ี จรรยาบรรณและได้เรียนรู้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ส่งเสริมให้มีกิจกรรมนันทนาการในชุมชนเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว การดูแลความปลอดภัยให้กับ นักท่องเที่ยวฝึกปฏิบัติการส่ือความหมายมรดกเชิงวัฒนธรรมและเชิงนิเวศ ได้แลกเปล่ียนเรียนรู้การ จัดตั้งกลุ่มการบริหารจัดการ “กลุ่มท่องเที่ยวชุมชนบ้านร่องกล้า” และได้ตั้ง “กลุ่มท่องเท่ียวชุมชน หัวดง” เพอื่ ดําเนินงานดา้ นการทอ่ งเทยี่ วของชมุ ชน ตอนที่ 5 พฒั นาศักยภาพบคุ ลากรทางการท่องเท่ยี วมรดกวัฒนธรรมชมุ ชนหัวดง ผลพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการท่องเท่ียวมรดกวัฒนธรรมชุมชนหัวดง ชุมชนมีการส่ง ผู้แทนเข้าร่วมศึกษาดูงานจากพ้ืนที่ฟาร์มเห็ดอินเตอร์ (บรรจุภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์) สวนองุ่นลุงประเสริฐ ชมุ ชนซากแงว้ ชุมชนตะเคียนเตย้ี บ้านร้อยเสา ในจังหวัดนครราชสีมา และศึกษาดูงานการท่องเท่ียว ชุมชนจังหวัดสุโขทัย ทําให้ได้รับแนวคิดและประสบการณ์ในการบริหารจัดการชุมชน จากจุดเริ่มต้น ของการเปล่ียนแปลง นําไปสู่ความร่วมมือของคนในชุมชน ในการบริหารจัดการชุมชนไปสู่การ ท่องเท่ียวโดยใช้ทรัพยากรในท้องถิ่น พัฒนาต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์ชุมชน การส่งต่อแนวคิดในการ บริหารจัดการชุมชนไปสู่คนรุ่นใหม่ ที่มีความคิดสร้างสรรค์ ใช้เทคโนโลยีในการสื่อสารมาช่วย ประชาสัมพันธ์ข้อมูลผ่านส่ือสังคมออนไลน์ ได้เยี่ยมชมแหล่งเรียนรู้ท่ีสําคัญของชุมชน ได้แลกเปล่ียน เรียนรู้แนวคิดในการพัฒนาการท่องเท่ียวชุมชนโดยมีส่วนร่วมกับชุมชนอย่างย่ังยืนโดยมีกลุ่มผู้นํา ชมุ ชนเปน็ ผู้ประสานการดําเนินงานกับกลุ่มต่าง ๆ ในชุมชน ตลอดจนได้เข้ารับการฝึกอบรม โครงการ อบรมมัคคุเทศก์ชุมชนกับการสื่อความหมาย การตลาด การบริหารจัดการและการให้บริการ ณ ภูแก้ว รสี อรท์ อาํ เภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ ระหว่างวันที่ 4-6 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 ทําให้ทีมวิจัยชุมชน หัวดงได้ทบทวนแนวคิดผลกระทบการท่องเท่ียวบทบาทของชุมชนในการจัด CBT ท้ังในด้านระบบ ทรัพยากรธรรมชาติ ระบบการบริหารจัดการเร่ืองบุคลากร การพัฒนาการบริหารจัดการและการ ให้บริการการท่องเที่ยวชุมชนได้เรียนรู้เกี่ยวกับหลักการทําหน้าที่มัคคุเทศก์ นักสื่อความหมาย การตลาด การสอื่ สาร เทคนคิ การนําเท่ยี วการทาํ ทัวร์ หลักการพดู บทบาทหนา้ ที่ จรรยาบรรณและได้ เรียนรู้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ส่งเสริมให้มีกิจกรรมนันทนาการในชุมชนเพ่ือส่งเสริมการท่องเที่ยว การดูแลความปลอดภัยให้กับนักท่องเที่ยวฝึกปฏิบัติการส่ือความหมายมรดกเชิงวัฒนธรรมแล ะเชิง นิเวศ ได้แลกเปล่ียนเรียนรู้การจัดตั้งกลุ่มการบริหารจัดการ “กลุ่มท่องเที่ยวชุมชนบ้านร่องกล้า” และ ไดต้ ง้ั “กลุ่มทอ่ งเท่ียวชุมชนหัวดง” เพอ่ื ดําเนนิ งานดา้ นการท่องเท่ยี วของชุมชน ผลการพัฒนาศกั ยภาพบุคลากรทางการทอ่ งเทีย่ วมรดกวฒั นธรรมชมุ ชนหัวดง ทีมวิจัยได้นํา ข้อมูลมาพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ไปสู่ชุมชน ในการบริหารจัดการและการให้บริการ CBT แก่ นกั ทอ่ งเท่ยี ว ได้ระบบการบริหารจัดการเรื่องคน พ้ืนท่ี แหล่งท่องเที่ยว พัฒนานักส่ือความหมาย เกิด

418 กลุ่มที่สนใจการจัดการการท่องเที่ยวในพื้นที่ เกิดกลุ่มเยาวชนท่ีมีความสนใจเข้ามาร่วมเป็นเครือข่าย พฒั นากจิ กรรมการทอ่ งเที่ยวในชุมชนหัวดง ทีม่ โี ครงสรา้ งทช่ี ัดเจน ดงั นี้ รายนามคณะท่ีปรึกษาชมรมการทอ่ งเทย่ี วชุมชนบ้านหวั ดง 1. เจ้าอาวาสวัดในเขตตาบลหวั ดงทกุ วดั 2. นายพีระโรจน์ ภทั รประสิทธิ์ นายกเทศมนตรีตาบลหวั ดง 3. นายมนญู ดษิ เสถยี ร นายกองคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลหวั ดง 4. แพทย์หญงิ วณชิ ชา ภัทรประสทิ ธ์ิ ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ 5. นายภทั รพงษ์ ภัทรประสทิ ธิ์ กานันตาบลหวั ดง 6. นางธัญธรณ์ ตนั โน ครูชานาญการ วิทยาลัยชมุ ชนพจิ ิตร 7. ผใู้ หญบ่ ้าน ผชู้ ว่ ยผใู้ หญ่บา้ นทกุ หมู่บ้านในตาบลหัวดง 8. สารวตั รกานนั ตาบลหัวดง 9. สมาชิกสภาเทศบาลตาบลหวั ดง 10. สมาชกิ สภาองคก์ ารบริหารสว่ นตาบลหัวดง 11. ผบู้ รหิ ารสถานศึกษาในเขตตาบลหัวดงทกุ สถานศึกษา 12. ผู้อานวยการโรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพบ้านหัวดง 13. ผอู้ านวยการโรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพบ้านเนนิ ยาว โครงสรา้ งการบริหารจัดการของกลมุ่ ทอ่ งเทีย่ วชมุ ชนหัวดง ภาพท่ี 426 โครงสรา้ งการบริหารจดั การของกลุ่มท่องเทยี่ วชมุ ชนหวั ดง

บทท่ี 5 สรุป อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ การวิจัยเร่ือง “การบริหารจัดการการท่องเท่ียวมรดกวัฒนธรรมชุมชนบนความ หลากหลายชาติพันธโุ์ ดยเครือขา่ ยชมุ ชนตาบลหวั ดง อาเภอเมืองพิจิตร จังหวัดพิจิตร” มีวัตถุประสงค์ 5 ประการ คือ 1) เพ่ือศึกษา สารวจองค์ความรู้มรดกวัฒนธรรมชุมชนตาบลหัวดง อาเภอเมืองพิจิตร จังหวัดพิจิตร 2) เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของเครือข่ายชุมชนเพ่ือการพัฒนาการท่องเท่ียวมรดก วัฒนธรรมชมุ ชนหัวดง 3) เพอื่ ออกแบบเสน้ ทางและกิจกรรมท่องเที่ยวมรดกวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ ของชุมชนตาบลหัวดง 4) เพ่ือสร้างการบริหารจัดการการท่องเที่ยวมรดกวัฒนธรรมชุมชนบนความ หลากหลายชาติพันธุ์โดยเครือข่ายชุมชนตาบลหัวดง 5) เพ่ือพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการ ท่องเที่ยวมรดกวัฒนธรรมชุมชนหัวดง ทีมวิจัยดาเนินการวิจัยเพื่อท้องถิ่น โดยกระบวนการงานวิจัย ท้องถิ่นใช้เครื่องมือในการศึกษาได้แก่ การสืบค้นจากเอกสารและสอบถามข้อมูลเชิงลึกผ่านการบอก เล่าจากผู้เข้าร่วมเวทีชุมชนโดยมีประชาชนในตาบลหัวดงเป็นกลุ่มเป้าหมายในการวิจัย โดย กระบวนการงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น (Community - Based Research : CBR) เป็นเครื่องมือใน การศึกษาและพัฒนาการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community - Based Tourist: CBT) เป็น กระบวนการท่ีเน้นคนเป็นศูนย์กลาง มุ่งเสริมสร้างพลังอานาจให้แก่ประชาชนในพ้ืนที่ด้วย กระบวนการพัฒนาแบบมีส่วนร่วมผ่านกระบวนการ CBR เพ่ือให้เกิดการเปล่ียนแปลงในตัวเครือข่าย ชุมชนที่จะมาร่วมกันพัฒนาธุรกิจการท่องเที่ยวที่ดาเนินการโดยชาวบ้านในชุมชน ซ่ึงสามารถสรุป ผลการวจิ ัยได้ดังนี้ สรปุ ผลการวจิ ยั 1. ผลการศึกษา “การสารวจองค์ความรู้มรดกวัฒนธรรมชุมชนตาบลหัวดง อาเภอเมือง พิจิตร จังหวัดพิจิตร” ท่ีสามารถสร้างความสัมพันธ์และมรดกวัฒนธรรมชุมชนบนความหลากหลาย ชาตพิ นั ธุ์หัวดงสู่การพัฒนาการจัดการท่องเท่ียวเชิงวัฒนธรรมโดยเครือข่ายชุมชนตาบลหัวดง อาเภอ เมืองพจิ ติ ร จังหวัดพิจิตร พบว่า“ประเพณีและความเช่ือทางพระพุทธศาสนา” ในทุก ๆ ประเพณีของ ชมุ ชนหัวดงโดยเฉพาะอย่างย่ิง “ประเพณีแข่งขันเรือยาว” มีความสัมพันธ์กับวิถีชีวิตของคนหัวดงทั้ง คนพื้นถิ่นที่อพยพมาจากหลายกลุ่มชาติพันธุ์บางส่วนเป็นคนไทยพวน คนไทยอีสานและคนจีนเข้ามา อยู่ในตาบลหัวดงจานวนมากทาให้เกิดการอยู่ร่วมกันของคน เช้ือชาติ คือเชื้อชาติไทย เช้ือชาติจีน และเชื้อชาติลาว แตล่ ะเชือ้ ชาตไิ ดน้ าวิถถี น่ิ ตา่ ง ๆ เข้ามากลายเป็นวถิ ถี ่ินท่ีมีลักษณะของพหุวัฒนธรรม ท่ีสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข ได้จับจองพื้นท่ีทางานหากิน สร้างบ้านเรือนอาศัยอยู่ร่วมกัน นอกจากนี้พื้นท่ีตาบลหวั ดงสว่ นหนง่ึ เป็นพ้ืนทีป่ ่าท่ีใชป้ ลูกสร้างเป็นพื้นท่ีอยู่อาศัยของชุมชน แต่ก็ยังคง สภาพและอนุรักษ์ความเป็นป่าซ่ึงมีความอุดมสมบูรณ์ ชาวบ้านจึงตั้งชื่อว่า “บ้านหัวดง” ซึ่งเกิดเป็น หมู่บ้านแรกของตาบล ตอ่ มามีการขยายพนื้ ท่ีมากข้ึนและมกี ารแบ่งเขตการปกครองอย่างชัดเจน จึงได้ ต้ังชื่อว่าตาบลหัวดง ลักษณะการปกครองเดิมจะปกครองท้องถ่ินเป็นสองส่วนคือ สภาตาบลและ สุขาภิบาล ปัจจุบันยกฐานะเป็นเทศบาลตาบลหัวดงและองค์การบริหารส่วนตาบลหัวดง อัตลักษณ์

420 ของชมุ ชนจากทุนท่สี ืบค้นในพนื้ ท่ตี าบลหัวดงคือจากการสัมภาษณ์และการบอกเลา่ ของผู้เฒ่าผู้แก่สมัย ดั้งเดิมผู้คนจากหลายพื้นที่ย้ายถ่ินฐานเข้ามาจากเมืองเวียงจันทร์ ประเทศลาว บางส่วนย้ายมาจาก ลพบรุ ี สระบุรี หนองคาย และร้อยเอ็ด ผู้ทีอ่ พยพเขา้ มามีหลายกลุ่มชาติพันธุ์บางส่วนเป็นคนไทยพวน คนไทยอีสานและคนจีนเข้ามาอยู่ในตาบลหัวดงจานวนมากทาให้เกิดการอยู่ร่วมกันของคน 3 เช้ือชาติ คือเชื้อชาติไทย เชื้อชาติจีน และเชื้อชาติลาว ก่อเกิดการดาเนินชีวิตในรูปแบบ “ชุมชนสาม วัฒนธรรมหรือพหุวัฒนธรรม” คือวัฒนธรรมเชื้อไทย วัฒนธรรมเชื้อจีน และวัฒนธรรมเช้ือลาว มีอัตลกั ษณ์ทีโ่ ดดเดน่ คือ“ชมุ ชนพหุวฒั นธรรม” เปน็ ชุมชนที่แต่ละเช้ือชาติไม่ว่าจะเป็นไทย จีน ลาว ได้นาวิถีถิ่นต่าง ๆ เข้ามากลายเป็นวิถีถ่ินที่มีลักษณะของพหุวัฒนธรรมท่ีสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างมี ความสุข ได้จับจองพื้นที่ทางานหากิน สร้างบ้านเรือนอาศัยอยู่ร่วมกัน ทั้งน้ีชาวหัวดงยึดมั่นใน พระพทุ ธศาสนา จึงได้รับการขดั เกลาจิตใจให้มีความละเอียดอ่อน มีการเคารพเชื่อฟังผู้นา ผู้อาวุโส มี การปรับตวั มีการยอมรับในความแตกต่างมีวัฒนธรรมความเช่ือทางขนบประเพณีท่ีแฝงด้วยกุศโลบาย ท่ีประกอบด้วย ค่านิยม ทัศนคติ พฤติกรรม จิตวิญญาณ และวิถีชีวิต ทาให้สามารถสร้างสรรค์ ศิลปวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้ังในอดีตและปัจจุบันไว้มากมาย ซึ่งแบ่งออกเป็น ๗ ด้าน คือ ศิลปกรรม โบราณสถาน อุโบสถเก่า เกจิดังวัดหัวดงช่างฝีมือภูมิปัญญา หมอแผนไทยโบราณ และสมุนไพรไทย อาหารประจาถิ่น ภาษากลุ่มชาติพันธุ์ สุนทรียภาพในท้องถิ่น ประเพณีความเชื่อ ซึ่งได้ได้กลายเป็น มรดกทางวัฒนธรรมภูมิปัญญา มีการถ่ายทอดจากคนรุ่นหนึ่งไปยังอีกคนรุ่นหนึ่ง เป็นส่ิงชาวหัวดงมี ความภาคภูมิใจและสามัคคีกัน ได้แก่ ประเพณีแข่งขันเรือยาวชิงถ้วยพระราชทาน ประเพณี ทอดผ้าป่าข้าวสุก ประเพณีเทศกาลวนั สารท (สารทจีน สารทพวน สารทลาวและสารทไทย) ประเพณี เล้ียงเจ้าพ่อได้แก่ (เจ้าพ่อสุริวงศ์เจ้าแม่สีดา เจ้าพ่อขุนด่าน ประเพณีไหว้เจ้าพ่อปุณเถ้ากง) ประเพณี ทาบุญกลางบ้าน ประเพณีเทศนม์ หาชาติ ประเพณวี นั สงกรานต์ เป็นต้น 2. การสร้างการมีส่วนร่วมของเครือข่ายชุมชนเพ่ือการพัฒนาการท่องเที่ยวมรดก วฒั นธรรมชมุ ชนหวั ดง สามารถสร้างได้ 3 ระดับคือ ระดับชุมชน ระดับจังหวัดและระดับประเทศโดย ระดับชุมชนได้แก่ ผ้นู าชมุ ชน กลมุ่ จกั สานเส้นพลาสตกิ กลุ่มผสู้ งู อายุ กลุ่ม อสม. กลุ่มราวง 3 ส (สนุก สุขภาพดี สามัคคีเกิด) กลุ่มอาชีพในชุมชน ระดับจังหวัด ได้แก่ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย สานักงานนครสวรรค์ ท่องเท่ียวและกีฬาจังหวัดพิจิตร เกษตรและสหกรณ์จังหวัดพิจิตร ประชาสมั พนั ธจ์ ังหวัดพจิ ิตร สานักงานพระพุทธศาสนาจังหวดั พิจติ ร พฒั นาสงั คมและความมั่นคงของ มนษุ ยจ์ งั หวัดพจิ ติ ร พัฒนาชมุ ชนจงั หวดั พจิ ติ ร วฒั นธรรมจงั หวัดพจิ ติ ร หอการคา้ จังหวัดพิจติ ร ชุมชน ส่งเสริมการท่องเที่ยวตาบลดงกลาง และระดับประเทศได้แก่ สานักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย (สกว.) ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดาเนินงานวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม จังหวัด พิษณุโลก ใหก้ ารสนบั สนุนพ่เี ลี้ยงในการใหค้ าแนะนา ชีแ้ นะการดาเนินงานวิจัยให้เหมาะสม 3. ผลการออกแบบเส้นทางและกิจกรรมท่องเที่ยวมรดกวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ของ ชมุ ชนตาบลหัวดง ทีมวิจัยชุมชนเดินทางไปศึกษาดูงานชุมชนต้นแบบ ณ ชุมชนวังน้าเขียว ฟาร์มเห็ด อินเตอร์ (บรรจุภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์),ชุมชนตะเคียนเตี้ยและชุมชนซากแง้ว จังหวัดนครราชสีมา ที่มี ศักยภาพในการพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชน ทีมวิจัยได้นาแนวคิดมาพัฒนาแหล่งเรียนรู้ สร้างเส้นทาง และกิจกรรมการท่องเที่ยวผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมจากภาคีเครือข่ายได้ 4 เส้นทางคือ เส้นทางท่ี

421 1 เส้นทางการท่องเที่ยวชุมชน 1 วัน “สายเขียวเที่ยวบ้านสมุนไพร สุขใจวิถีพอเพียง” เส้นทางท่ี 2 เสน้ ทางการท่องเทีย่ วเท่ยี ว 2 วนั 1 คืน “หัวดง สนกุ สุขใจ ได้กศุ ล วถิ ีชมุ ชนหวั ดงทล่ี งตัว” เส้นทางที่ 3 เส้นทางการท่องเที่ยว 2 วัน 1 คืน “วิถีชุมชนหัวดงที่ลงตัว” เส้นทางที่ 4 เส้นทางการท่องเท่ียว 2 วัน 1 คืน “สัมผัสธรรม สัมผัสวิถีชุมชน” จากการได้ทดลองเส้นทางการท่องเที่ยวทีมวิจัยได้ได้นา ข้อคดิ ขอ้ เสนอแนะจากผูเ้ ข้าร่วมทดลองเส้นทางท่องเทยี่ วมาวเิ คราะหส์ รุปผลเพอื่ การพัฒนา ดังน้ี ดา้ นทรัพยากร 1. เนอ่ื งจากในพืน้ ทีต่ าบลหัวดง เป็นพื้นท่ีที่มีลักษณะเมืองผ่าน เป็นพื้นที่กึ่งเมือง กึ่งชนบท สภาพภูมิศาสตร์ ไม่ค่อยเอื้ออานวยต่อการท่องเท่ียวหรือไม่น่าสนใจ ดังนั้นทีมวิจัยจึงได้ขอความ ร่วมมือพร้อมทั้งมีการประชาสัมพันธ์เชิญชวน คณะผู้บริหาร คณะสมาชิก คณะพนักงานส่วนท้องถิ่น และพนกั งานจา้ ง ของเทศบาลตาบลหัวดงและองค์การบริหารส่วนตาบลหัวดง ประชาชนทั้งในชุมชน นอกชุมชนรวมถึงผู้ท่ีมีได้ร่วมกันส่งเสริมการท่องเท่ียวที่เป็นเส้นทางการท่องเที่ยวเก่ียวกับ ศิลปวัฒนธรรมพื้นถิ่นที่คงเรื่องราวในอดีต ที่ทาให้คนในชุมชนตาบลหัวดง ที่เป็น “ชุมชนพหุวัฒ ธรรม” ไมว่ า่ จะเปน็ เช้อื สายไทย เชื้อสายจีน เช้ือสายลาว ที่อยู่ในพ้ืนท่ีได้ร่วมกันส่งเสริมการท่องเท่ียว ดา้ นศิลปวัฒนธรรมในพ้นื ถ่นิ เพ่ือสรา้ งรายไดใ้ หก้ บั คนในชมุ ชนตอ่ ไป 2. ผู้นาชุมชนและประชาชนได้ร่วมกันอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น เช่น ประเพณแี ข่งขนั เรอื ยาว ประเพณที อดผ้าปา่ ข้าวสขุ ประเพณที าบุญกลางบา้ น อยา่ งต่อเนือ่ ง 3. ควรปรบั ปรุงถนน หนทาง ป้าย จดุ ท่องเที่ยวต่าง ๆ ในพ้ืนท่ีตาบลหัวดง ให้มีความพร้อม ความสะดวกและความปลอดภัยต่อนกั ท่องเทย่ี ว 4. ชมุ ชนมีลักษณะเปน็ เอกลักษณ์ท่ีโดดเดน่ คือ “ชนุ ชนสามวฒั นธรรมหรอื พหุวัฒนธรรม” วัฒนธรรมสายไทย วัฒนธรรมสายจีน และวัฒนธรรมสายลาว มีอัตลักษณ์ท่ีโดดเด่น คือ“ชุมชนสาม วัฒนธรรม” เป็นชุมชนที่แต่ละเช้ือชาติไม่ว่าจะเป็นไทย จีน ลาว ได้นาวิถีถ่ินต่าง ๆ เข้ามากลายเป็น วิถถี ่นิ ทม่ี ีลักษณะของพหุวฒั นธรรมท่สี ามารถอยู่ร่วมกนั ได้อย่างมีความสุข 5. แหล่งทอ่ งเท่ยี วในเส้นทางมคี วามนา่ สนใจ ด้านบคุ ลากร 1. นักสื่อความหมายควรบอกเล่าเร่ืองราวให้สั้นกระชับ ชัดเจน ตรงประเด็นควรแนะนา สถานท่ีสาคัญ ๆ เล่าประวัติความเป็นมาความสัมพันธ์ของคนในชุมชนและร้อยเรียงเรื่องเล่าให้เกิด ความเช่ือมโยงกันควรพัฒนาความรู้เพิ่มพูนทักษะวิทยากรประจาแหล่งเรียนรู้เพื่อก้าวสู่นักส่ือ ความหมายมืออาชีพในอนาคตต่อไปและดูแลให้นักท่องเที่ยวร่วมเดินทางไปพร้อมๆ กันเพ่ือป้องกัน นกั ทอ่ งเที่ยวออกนอกเส้นทาง 2. การมีส่วนร่วม สร้างความร่วมมือกับคนในชุมชนเพิ่มมากขึ้น โดยมี 5 ภาคี คือ ท้องถิ่น ท้องที่ หน่วยงานภาครัฐ ประชาชน และองค์กรด้านศาสนา คณะทีมวิจัย ผู้นาหมู่บ้านรวมถึงท่าน อาจารย์พ่ีเล้ียงและประชาชนทั้งที่อยู่ในชุมชนและประชาชนที่อยู่พื้นท่ีนอกชุมชน ท่ีทางานอยู่ ตา่ งจงั หวัด ได้ประชุมหารือร่วมกันในการจัดการท่องเท่ียวชุมชนตาบลหัวดง เพ่ือให้พ้ืนท่ีตาบลหัวดง สามารถเป็นพ้นื ทท่ี ่องเท่ยี วโดยชุมชนไดอ้ ย่างแท้จริง

422 ดา้ นการบริหารจดั การ 1. มีการจัดเตรียมข้อมูล อาคาร สถานท่ี ท่ีท่องเที่ยว ไว้อย่างเหมาะสมและตามความ ต้องการ 2. ควรกาหนดจดุ /สถานท่ใี ห้นักทอ่ งเทย่ี วมที ี่ยนื ฟงั บรรยายทเ่ี หมาะสม เช่น ในรม่ ไม้ 3. ควรมบี ้านพกั โฮมสเตย์ให้นกั ท่องเท่ยี วไดม้ ีที่พักที่พร้อมและเหมาะสม 4. กาหนดจานวนแหลง่ เรยี นรู้ให้เหมาะสมกับเวลาเพื่อลดความเร่งรีบ 5. ควรกาหนดเวลาท่ีจะใช้ในแต่ละแหล่งท่องเที่ยวให้ชัดเจน และไม่อึดอัดต่อการเดินทาง ท่องเท่ียวมากเกินไป 6. ควรมพี าหนะรบั ส่งนกั ท่องเท่ยี วใหม้ คี วามเหมาะสม ปลอดภยั 7. การบริการด้านอาหารพื้นถ่ินโดยให้ความสาคัญอาหารตามฤดูกาล เช่น ข้ีเหล็ก บอน หยวกกล้วย ฯลฯ ซึ่งคนในชมุ ชนหัวดง จะนิยมรบั ประทานอาหารทมี่ ีรสชาติที่เข้มข้น เช่น เผ็ด เปร้ียว ซึ่งในการบริการอาหารพื้นถ่ินน้ัน ไม่ได้ทาขายหรือเปิดร้านขายอาหารทุก ๆ วันจะทาเฉพาะที่มีงาน หรือมีการนัดหมายล่วงหน้าเท่านั้น ดังนั้นถ้ามีนักท่องเท่ียวเข้ามาเที่ยวในชุมชนก็จะต้องมีการนัด หมายหรอื แจ้งลว่ งหนา้ ไวก้ อ่ นเพอ่ื จะไดเ้ ตรียมความพร้อมในการต้อนรับนกั ท่องเทีย่ ว 8. ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน เมอ่ื มนี ักทอ่ งเทีย่ วสนใจที่จะชมหรือศึกษาภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่ิน ก็จะต้องมีการ นัดหมายไว้ล่วงหน้าก่อน เพราะจะได้เตรียมตัว และให้ปราชญ์ด้านภูมิปัญญาท้องถิ่นแต่ละเรื่องได้มี โอกาสตอ้ นรับและบรรยายถึงความสาคัญ ทาใหน้ ักทอ่ งเทีย่ วไดร้ ับรู้และเขา้ ใจวถิ ีของคนตาบลหวั ดง ด้านการดแู ลรกั ษาความปลอดภยั ก่อนการดาเนินงานจะต้องมีการวางแผนการดูแลรักษาความปลอดภัยแก่นักท่องเท่ียว ดังน้ี 1. ควรมีการสารวจเสน้ ทางการท่องเท่ียวก่อนที่จะนานักท่องเทย่ี วเข้ามาเท่ียวในชมุ ชน 2. ประเมินความเส่ียงทั้งหมดที่สามารถเป็นไปได้และหาทางที่จะลดความเสี่ยงเหล่าน้ันให้ มากทส่ี ุด 3. มีการจัดทาป้ายประชาสัมพันธ์เพ่ือเป็นการป้องกันและเตือนภัยอันตรายต่าง ๆ ที่อาจ เกิดข้ึนได้ 4. มีการกาหนดจุดอันตราย โดยมีป้ายหรือธงสัญลักษณ์ เพื่อบอกเตือนแก่นักท่องเท่ียวให้ ระมดั ระวัง ในขณะจัดการท่องเท่ียวจะต้องมีการวางแผนการดูแลรักษาความปลอดภัยแก่นักท่องเที่ยว ดงั น้ี 1. มีการเตรียมคนทคี่ อยดูแลนักท่องเทยี่ วอย่างใกลช้ ดิ 2. มกี ารแนะนาหรอื ทาความเขา้ ใจต่อนกั ท่องเที่ยวก่อนออกเดินทาง กรณีมีจุดเส่ียงท่ีอาจจะ ทาให้เกดิ อนั ตรายได้ 3. มีการเตรียมวัสดุอุปกรณ์ เช่น ยารักษาโรค ยาทา ครีม น้ายาล้างแผล ผ้าพันแผลเพื่อ บรรเทาอาการเบ้ืองต้นกรณีนักท่องเท่ียวอาจบาดเจ็บหรือโดนแมลงสัตว์กัดต่อยหรือเป็นลมพิษ ได้ อย่างทันท่วงที รวมไปถึงการประสานงานกับท้องถิ่น ไม่ว่าจะเป็นเทศบาลตาบลหัวดง และองค์การ บริหารส่วนตาบลหัวดง กรณีการเกิดอุบัติเหตุฉุกเฉิน นักท่องเที่ยวจะต้องทราบข้อมูลการช่วยเหลือ โดย

423 ทมี วจิ ยั ได้นาผลจากข้อเสนอแนะมาวางแผนเพื่อพฒั นาแก้ไข ดงั นี้ ขอ้ เสนอแนะจากการ ทมี วิจยั วเิ คราะห์และแนวทางการปรับปรุง ทดลองเส้นทาง 1. ดา้ นทรัพยากร ตอ้ งมกี ารปรบั ปรุงสถานท่ีบางจุดให้สามารถรองรับการท่องเท่ียวได้อย่าง สะดวก เช่น จุดบ้านสมุนไพร หมอคุ้ม เมืองเหลือ ที่มีปัญหาด้านสถานท่ี ต้อนรับนักท่องเท่ียว ควรจัดให้มีเส้นทางจักรยานควรมีป้ายแนะนา เส้นทางให้ท่ัวถึง ในด้านแหล่งเรียนรู้ต้องมีการวางแผนกาหนดจานวน แหล่งเรียนรู้ให้เหมาะสมกับระยะเวลา เพื่อลดความเร่งรีบในการ ท่องเท่ียวและอาจมีการปรับปรุงสภาพพื้นท่ีรองรับนักท่องเที่ยวจุด ท่องเที่ยวภูมิปัญญาท้องถ่ิน บ้านนายล่อม โพนามาศ ซึ่งจุดน้ียังไม่ สามารถท่ีจะให้นกั ท่องเท่ยี วเข้าไปเทย่ี วชมไดเ้ น่ืองจากมคี วามคับแคบ 2. ดา้ นบุคลากร หาแนวทางในการสร้างการมีส่วนร่วม เช่น การติดต่อสั่งซ้ือสินค้าใน ชุมชนของกลุ่มต่าง ๆ การพัฒนารูปแบบ ออกแบบท่ีมีความหลากหลาย ตามความต้องการของนักท่องเที่ยว การติดต่อประสานงานท่ีพัก/โฮมส เตย์ในชุมชนหัวดง การบริหารจัดการให้กลุ่มต่าง ๆ ในชุมชนได้รับ ประโยชน์จากการท่องเท่ียวเช่น ได้ขายสินค้าดีข้ึน ได้มีนักท่องเท่ียวมา เท่ียวชม ชิม ช๊อป หรือเข้ามาพักโฮมสเตย์หรือรีสอร์ท สร้างรายได้เพิ่ม ให้กับคนในชุมชน ในด้านนักส่ือความหมายก็มีรายได้จากการบรรยาย หรือเล่าเร่ืองราวแหล่งเรียนรู้ให้กับนักท่องเท่ียว ทั้งนี้นักส่ือความหมาย จะตอ้ งเล่าเรอ่ื งราวใหก้ ระชบั ชดั เจนตรงประเดน็ พร้อมทง้ั ต้องมีการดูแล นกั ทอ่ งเที่ยวรว่ มเดินทางไปพร้อม ๆ กัน เพื่อให้การจัดการการท่องเที่ยว ของชุมชนหัวดง มคี วามพรอ้ มและนักท่องเทีย่ วพงึ พอใจมากท่สี ดุ 3. ด้านการจัดการระบบ ควรมีการวางแผนการจัดการด้านเวลาให้เหมาะสมกับการเดินทางไปยัง การบริหารจัดการการ จุดท่องเที่ยวแต่ละจุด ต้องกาหนดเวลาท่ีใช้ในแต่ละแหล่งท่องเที่ยวให้ ท่องเที่ยวชุมชน ชัดเจน มีการดูแลความปลอดภัยระหว่างการเดินทางและตลอดการ ทอ่ งเท่ียวในชุมชน การอานวยความสะดวกในด้านต่าง ๆ เช่น ท่ีน่ังพัก ที่ ร่ม ห้องน้า ฯลฯ จัดหาสถานท่ีจาหน่ายผลิตภัณฑ์ของฝากของที่ระลึกไว้ บริการนักท่องเท่ียว รวมทั้งบ้านพักโฮมสเตย์ไว้รองรับนักท่องเท่ียวหรือ ผู้สนใจเข้าพัก และเพ่ือให้นักท่องเที่ยวได้เข้าถึงข้อมูลมรดกวัฒนธรรม ชุมชนตาบลหวั ดง อยา่ งแทจ้ รงิ ควรจดั ใหม้ คี ิวอาโคด้ เพื่อให้นักท่องเที่ยว สามารถแสกนเพื่อศึกษาข้อมูลมรดกวัฒนธรรมชุมชนตาบลหัวดง และ เพอ่ื เป็นการเผยแพรอ่ ัตลักษณ์ความเป็นชุมชนพหุวัฒนธรรมสามเช้ือชาติ ให้นักท่องเท่ียวได้รับรู้และแนะนาให้ผู้สนใจเข้ามาท่องเที่ยวเชิง วฒั นธรรมในตาบลหวั ดงตอ่ ไป ตารางท่ี 12 แสดงผลการวิเคราะห์การพฒั นาการท่องเที่ยวชุมชน

424 การจัดกิจกรรมทดลองเส้นทางการท่องเที่ยวชุมชนหัวดง มีหลายหน่วยงานทั้งภาครัฐและ ภาคเอกชน ท่ีให้ความสนใจเข้ามาท่องเที่ยวในชุมชนหัวดง ได้บูรณาการการจัดกิจกรรมแบบมีส่วน ร่วมกับภาคีต่าง ๆ เช่น การท่องเท่ียวแห่งประเทศไทย สานักงานนครสวรรค์ ท่องเที่ยวและกีฬา จังหวัดพิจิตร เกษตรและสหกรณ์จังหวัดพิจิตร ประชาสัมพันธ์จัง หวัดพิจิตร สานักงาน พระพุทธศาสนาจังหวัดพิจิตร พัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดพิจิตร พัฒนาชุมชน จังหวัดพิจิตร วัฒนธรรมจังหวัดพิจิตร หอการค้าจังหวัดพิจิตร ชุมชนส่งเสริมการท่องเที่ยวตาบลดง กลาง ทีมพ่ีเล้ียงจาก (สกว.) กลุ่มราวง 3 ส. ตาบลหัวดง ผู้สูงอายุ เด็กและเยาวชน นักท่องเที่ยว ได้ สัมผัสถึงวิถีชีวิต ความเป็นอยู่ของคนในชุมชนหัวดง ท่ีอยู่ร่วมกันในวิถี 3 วัฒนธรรม คือ วัฒนธรรม เชื้อสายไทย วัฒนธรรมเช้ือสายจีน และวัฒนธรรมเชื้อสายลาว มีอัตลักษณ์ท่ีโดดเด่น คือ“ชุมชนพหุ วัฒนธรรม” เป็นชุมชนท่ีแต่ละเช้ือชาติไม่ว่าจะเป็นไทย จีน ลาว ได้นาวิถีถิ่นต่าง ๆ เข้ามากลายเป็น วิถีถ่ินท่ีมีลักษณะของพหุวัฒนธรรมที่สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข ได้จับจองพ้ืนที่ทางานหา กนิ สรา้ งบา้ นเรอื นอาศยั อย่รู ่วมกนั ทัง้ นีช้ าวหัวดงยึดม่นั ในพระพทุ ธศาสนา จึงได้รับการขัดเกลาจิตใจ ให้มีความละเอียดอ่อน มีการเคารพเช่ือฟงั ผู้นา ผู้อาวุโส มีการปรับตัวมีการยอมรับในความแตกต่างมี วฒั นธรรมความเช่ือทางขนบประเพณที ีแ่ ฝงด้วยกุศโลบายที่ประกอบด้วย ค่านิยม ทัศนคติ พฤติกรรม จิตวิญญาณ และวิถีชีวิต ทาให้สามารถสร้างสรรค์ศิลปวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้ังในอดีตและปัจจุบันไว้ มากมาย 4. การสร้างการบริหารจัดการการท่องเที่ยวมรดกวัฒนธรรมชุมชนบนความหลากหลาย ชาติพนั ธ์โุ ดยเครอื ขา่ ยชุมชนตาบลหวั ดง หลังจากท่ีทีมวิจัยได้ศึกษาดูงานจากสถานที่ต่าง ๆ เช่น ฟาร์มเห็ดอินเตอร์ (บรรจุภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์) สวนองุ่นลุงประเสริฐ ชุมชนซากแง้ว ชุมชนตะเคียนเตี้ย บ้านร้อยเสา ในจังหวัด นครราชสีมา และศึกษาดูงานการท่องเท่ียวชุมชนจังหวัดสุโขทัย ได้มีการแสดงความคิดเห็นต่าง ๆ ที่ ไดร้ บั จากการศึกษาดูงาน ดงั น้ี 1) ผู้นาชุมชน เป็นบุคคลท่ีมีบทบาทสาคัญในการขับเคล่ือนกิจกรรมการท่องเที่ยวของ ชุมชน ผู้นาควรเป็นผู้ท่ีมีความรู้ ความเสียสละ เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าส่วนตน มีความรัก ชมุ ชน เอาใจใส่ในกิจกรรมต่าง ๆ ทช่ี ุมชนจัดข้ึน 2) การศึกษาดูงานและการแลกเปล่ียนเรียนรู้ เป็นกิจกรรมท่ีสาคัญ การจัดการท่องเท่ียว โดยชมุ ชน ไมส่ ามารถดาเนินการไดเ้ องโดยลาพงั จาเป็นต้องมีเครือข่าย มีการแลกเปล่ียนเรียนรู้ซึ่งกัน และกนั และมกี ารแบง่ ปนั 3) การทบทวนตนเอง ชมุ ชนควรมกี ารศกึ ษาและทบทวนตนเองว่ามีศักยภาพในเรื่องใด มี จดุ เดน่ เอกลักษณท์ ีส่ าคัญและน่าสนใจในเร่ืองใด ที่จะสามารถนามาใช้เป็นทรัพยากรการท่องเที่ยวได้ อยา่ งเหมาะสม 4) การมีกฎ ระเบียบ แนวปฏิบัติหรือกติกาในการดาเนินกิจกรรมร่วมกัน เป็นสิ่งท่ีไม่ควร มองขา้ ม ทง้ั นี้ กฎ ระเบยี บ กตกิ า ดงั กล่าวควรกาหนดร่วมกันจากสมาชิกในกลุ่ม/ชุมชน เพ่ือให้เป็นที่ ยอมรับรว่ มกัน 5) การประเมินผล เป็นกิจกรรมสดุ ท้ายทสี่ าคัญ การประเมินผลจะเป็นข้อมูลสะท้อนกลับ ท่ีดใี นการนาไปปรับปรุง พฒั นาการจัดการท่องเท่ียวของชมุ ชนให้มีความยั่งยืน

425 ทัง้ น้ี จากบทสรุปการศึกษาดูงานท่องเที่ยวชุมชนจากเครือข่ายท่องเที่ยวชุมชน การสร้าง การบริหารจัดการการท่องเที่ยวมรดกวัฒนธรรมชุมชนบนความหลากหลายชาติพันธุ์โดยเครือข่าย ชุมชนตาบลหัวดง จาเป็นต้องมีผู้นาชุมชนที่มีบทบาทบทบาทสาคัญในการขับเคลื่อนกิจกรรมการ ท่องเท่ียวของชุมชน การศึกษาดูงานและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เป็นกิจกรรมที่สาคัญ การจัดการ ทอ่ งเทย่ี วโดยชุมชน การทบทวนตนเอง ชมุ ชนควรมีการศกึ ษาและทบทวนตนเองว่ามีศักยภาพในเร่ือง ใด มจี ุดเดน่ เอกลักษณ์ท่ีสาคญั และนา่ สนใจในเร่อื ง ชมุ ชนต้องมกี ฎ ระเบียบ แนวปฏิบัติหรือกติกาใน การดาเนินกิจกรรมร่วมกัน และต้องการประเมินผล เพ่ือพัฒนาการจัดการท่องเที่ยวของชุมชนให้มี ความยงั่ ยืน 5. ผลพฒั นาศักยภาพบคุ ลากรทางการท่องเท่ียวมรดกวัฒนธรรมชุมชนหัวดง ชุมชนมีการ สง่ ผแู้ ทนเขา้ รว่ มศกึ ษาดงู านจากพ้ืนท่ีฟารม์ เห็ดอนิ เตอร์ (บรรจุภณั ฑ์ ผลติ ภัณฑ)์ สวนองุ่นลุงประเสริฐ ชุมชนซากแงว้ ชุมชนตะเคยี นเต้ีย บ้านร้อยเสา ในจังหวัดนครราชสีมา และศึกษาดูงานการท่องเที่ยว ชุมชนจังหวัดสุโขทัย ทาให้ได้รับแนวคิดและประสบการณ์ในการบริหารจัดการชุมชน จากจุดเริ่มต้น ของการเปล่ียนแปลง นาไปสู่ความร่วมมือของคนในชุมชน ในการบริหารจัดการชุมชนไปสู่การ ท่องเท่ียวโดยใช้ทรัพยากรในท้องถิ่น พัฒนาต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์ชุมชน การส่งต่อแนวคิดในการ บริหารจัดการชุมชนไปสู่คนรุ่นใหม่ ที่มีความคิดสร้างสรรค์ ใช้เทคโนโลยีในการสื่อสารมาช่วย ประชาสัมพันธ์ข้อมูลผ่านสื่อสังคมออนไลน์ ได้เย่ียมชมแหล่งเรียนรู้ท่ีสาคัญของชุมชน ได้แลกเปล่ียน เรียนรู้แนวคิดในการพัฒนาการท่องเท่ียวชุมชนโดยมีส่วนร่วมกับชุมชนอย่างยั่งยืนโดยมีกลุ่มผู้นา ชุมชนเป็นผูป้ ระสานการดาเนินงานกบั กลมุ่ ตา่ ง ๆ ในชุมชน ตลอดจนได้เข้ารับการฝึกอบรม โครงการ อบรมมัคคุเทศก์ชุมชนกับการสื่อความหมาย การตลาด การบริหารจัดการและการให้บริการ ณ ภูแก้ว รสี อร์ท อาเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ ระหว่างวันท่ี 4-6 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 ทาให้ทีมวิจัยชุมชน หัวดงได้ทบทวนแนวคิดผลกระทบการท่องเที่ยวบทบาทของชุมชนในการจัด CBT ท้ังในด้านระบบ ทรัพยากรธรรมชาติ ระบบการบริหารจัดการเร่ืองบุคลากร การพัฒนาการบริหารจัดการและการ ให้บริการการท่องเท่ียวชุมชนได้เรียนรู้เก่ียวกับหลักการทาหน้าที่มัคคุเทศก์ นักสื่อความหมาย การตลาด การสอื่ สาร เทคนิคการนาเท่ียวการทาทัวร์ หลกั การพูด บทบาทหน้าที่ จรรยาบรรณและได้ เรียนรู้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ส่งเสริมให้มีกิจกรรมนันทนาการในชุมชนเพื่อส่งเสริมการท่องเท่ียว การดูแลความปลอดภัยให้กับนักท่องเที่ยวฝึกปฏิบัติการส่ือความหมายมรดกเชิงวัฒนธรรมและเชิง นิเวศ ได้แลกเปล่ียนเรียนรู้การจัดต้ังกลุ่มการบริหารจัดการ “กลุ่มท่องเท่ียวชุมชนบ้านร่องกล้า” และ ได้ตง้ั “กลุ่มท่องเท่ียวชมุ ชนหวั ดง” เพอื่ ดาเนินงานด้านการทอ่ งเทย่ี วของชุมชน อภิปรายผล จากผลการศกึ ษาพบว่า มรดกวัฒนธรรมของชมุ ชนหัวดงมคี วามหลากหลาย ผู้คนจากหลาย พ้ืนท่ีย้ายถิ่นฐานเข้ามาจากเมืองเวียงจันทร์ ประเทศลาว บางส่วนย้ายมาจาก ลพบุรี สระบุรี หนองคาย และร้อยเอ็ด ผู้ที่อพยพเข้ามามีหลายกลุ่มชาติพันธ์ุบางส่วนเป็นคนไทยพวน คนไทยอีสาน และคนจีนเข้ามาอยู่ในตาบลหัวดงจานวนมากทาให้เกิดการอยู่ร่วมกันของคน 3 เช้ือชาติ คือเชื้อชาติ ไทย เชื้อชาติจีน และเชื้อชาติลาว ก่อเกิดการดาเนินชีวิตในรูปแบบ “ชุมชนสามวัฒนธรรมหรือ พหวุ ัฒนธรรม” คอื วัฒนธรรมเช้อื ไทย วัฒนธรรมเชื้อจนี และวฒั นธรรมเช้ือลาว มีอัตลักษณ์ท่ีโดดเด่น คอื “ชมุ ชนพหวุ ัฒนธรรม” เป็นชมุ ชนทแี่ ตล่ ะเช้ือชาติไม่ว่าจะเป็นไทย จีน ลาว ได้นาวิถีถิ่นต่าง ๆ เข้า

426 มากลายเป็นวิถีถิ่นท่ีมีลักษณะของพหุวัฒนธรรมที่สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข ได้จับจอง พื้นท่ีทางานหากิน สร้างบ้านเรือนอาศัยอยู่ร่วมกัน ทั้งน้ีชาวหัวดงยึดม่ันในพระพุทธศาสนา จึงได้รับ การขัดเกลาจิตใจให้มีความละเอียดอ่อน มีการเคารพเชื่อฟังผู้นา ผู้อาวุโส มีการปรับตัวมีการยอมรับ ในความแตกต่างมีวัฒนธรรมความเชื่อทางขนบประเพณีท่ีแฝงด้วยกุศโลบายที่ประกอบด้วย ค่านิยม ทัศนคติ พฤติกรรม จิตวิญญาณ และวิถีชีวิต ทาให้สามารถสร้างสรรค์ศิลปวัฒนธรรมภูมิปัญญาทั้งใน อดีตและปัจจุบันไว้มากมาย ซึ่งแบ่งออกเป็น ๗ ด้าน คือ ศิลปกรรม โบราณสถาน อุโบสถเก่า เกจิดัง วดั หัวดงช่างฝมี อื ภูมิปัญญา หมอแผนไทยโบราณ และสมุนไพรไทย อาหารประจาถ่ิน ภาษากลุ่มชาติ พันธุ์ สุนทรียภาพในท้องถ่ิน ประเพณีความเชื่อ ซึ่งได้ได้กลายเป็นมรดกทางวัฒนธรรมภูมิปัญญา มี การถ่ายทอดจากคนรุ่นหนึ่งไปยังอีกคนรุ่นหนึ่ง เป็นสิ่งชาวหัวดงมีความภาคภูมิใจและสามัคคีกัน ได้แก่ ประเพณีแข่งขันเรือยาวชิงถ้วยพระราชทาน ประเพณีทอดผ้าป่าข้าวสุก ประเพณีเทศกาลวัน สารท (สารทจีน สารทพวน สารทลาวและสารทไทย) ประเพณเี ลี้ยงเจ้าพ่อได้แก่ (เจ้าพ่อสุริวงศ์เจ้าแม่ สดี า เจา้ พ่อขนุ ดา่ น ประเพณีไหว้เจ้าพ่อปุณเถา้ กง) ประเพณที าบญุ กลางบ้าน ประเพณีเทศน์มหาชาติ ประเพณวี ันสงกรานต์ มรดกวัฒนธรรมทกุ ด้านล้วนมคี ุณคา่ และแสดงใหเ้ ห็นถึงความเปล่ียนแปลงและ บ่งบอกถึงความเป็นมาของวิถีผู้คนท่ียังคงมีการอนุรักษ์สืบสานประเพณีวัฒนธรรมวิถีชีวิตท่ี ดีงามยึด โยงเป็นสายใยความสัมพันธ์ของผู้คนในชุมชนจนถึงปัจจุบัน มีความสอดคล้องกับแนวคิดมรดก วฒั นธรรมลักษณะขององคป์ ระกอบทีจ่ ะเป็นลักษณะมรดกวัฒนธรรม (กรมส่งเสริมวัฒนธรรมร่วมกับ มูลนิธิสถาบันวิจัยกฎหมาย, 2556) ประกอบด้วย 1) ให้คุณค่าทางประวัติศาสตร์วิชาการหรือศิลปะ 2) แสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการของวิถีชีวิตของกลุ่มชนท่ีได้มีการสืบทอดกันมา 3) มีรูปแบบดั้งเดิมสามารถสืบค้นถึงที่มาในอดีตได้ 4) มีลักษณะบ่งบอกถึงความเป็นชุมชนหรือ ท้องถ่นิ 5) หากไมม่ ีการอนุรักษ์ไว้จะสูญหายไปในท่ีสุดมีความสอดคล้องกับแนวคิดการท่องเที่ยว เชิง วัฒนธรรมซึ่งชาญวิทย์ เกษตรศิริ (2540 : 1–10) ท่ีให้แนวคิดเก่ียวกับการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมว่า เป็นวิธกี ารศกึ ษาประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ผ่านการเดินทางท่องเท่ียวเป็นการท่องเที่ยวท่ีเน้นการ พัฒนาด้านภมู ิปญั ญาสรา้ งสรรค์เคารพต่อส่ิงแวดล้อม วัฒนธรรมศักดิ์ศรีและวิถีชีวิตผู้คน บุญเลิศ จิต ตั้งวัฒนา (2548) ให้ความหมายของการท่องเท่ียวเชิงวัฒนธรรมไว้ว่าการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม หมายถึง การเดินทางของผู้คนหรือกลุ่มคนจากสถานท่ีที่อยู่ประจาไปยังท้องถ่ินอ่ืนเพื่อชมเอกลักษณ์ ความงดงามทางวัฒนธรรมของกลุ่มชนอ่ืน ท้ังน้ีจะต้องเคารพในวัฒนธรรมของกันและกันเพ่ือ ก่อให้เกดิ มติ รภาพความรู้ความเข้าใจและความซาบซ้ึงตรึงใจในวัฒนธรรมของชุมชนนั้น ๆ อีกทั้งต้อง คานึงถึงผลกระทบท่ีจะเกิดต่อบุคคลและวัฒนธรรมและส่ิงแวดล้อมใ นชุมชนนั้นให้น้อยท่ีสุดใน ขณะเดียวกันชุมชนท้องถ่ินผู้เป็นเจ้าของวัฒนธรรมก็ได้ประโยชน์จากการท่องเที่ยวในด้านการสร้าง รายได้และการจ้างงานที่นามาซึ่งการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม สอดคล้องกับแนวคิดการบริหาร จัดการการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมท่ีมนัส สุวรรณและคณะ (2541:6) ได้กล่าวว่า การจัดการการ ท่องเท่ียว หมายถึง การกระทาอย่างมีเป้าหมายท่ีสอดคล้องกับหลักการ ทฤษฎีและแนวคิดที่ เหมาะสมยิ่งไปกว่าน้ันยังต้องคานึงสภาพท่ีแท้จริงรวมทั้งข้อจากัดต่าง ๆ ของสังคมและ สภาพแวดล้อมการกาหนดแนวทางมาตรการและแผนปฏิบัติการที่ต้องคานึงถึงกรอบความ คิดท่ีได้ กาหนดไว้ มฉิ ะน้ันแล้วการจดั การทอ่ งเทยี่ ว

427 จะดาเนนิ ไปอย่างไร้ทศิ ทางและประสบความลม้ เหลว นอกจากนี้ได้นาเสนอรูปแบบการบริหารจัดการ การท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับองค์การบริหารส่วนตาบล 3) ดาเนินการโดยมีคณะกรรมการร่วมจาก หลายฝ่ายที่เก่ียวข้อง สอดคล้องกับแนวคิดการมีส่วนร่วมของชุมชน นิรันดร์ จงวุฒิเวศน์ (2527) (อ้างถึงใน พัชรี พงษ์ศิริ, 2541) ได้แสดงทัศนะว่าการมีส่วนร่วมน้ัน จะต้องมีเง่ือนไขที่สาคัญอย่าง น้อย 3 ประการดังน้ี 1) ประชาชนต้องมีอิสรภาพหมายถึงมีอิสระที่จะเข้าร่วมหรือไม่ก็ได้การเข้าร่วม ต้องเปน็ ไปด้วยความสมคั รใจการถกู บังคบั เข้าร่วมไม่ว่าจะในรูปแบบใดไม่ถือว่าเป็นการมีส่วนร่วม 2) ประชาชนมีความเสมอภาค หมายถึง บุคคลทเ่ี ขา้ ร่วมในกจิ กรรมใดจะตอ้ งมีสิทธิเท่าเทียมกับผู้เข้าร่วม คนอื่น ๆ 3) ประชาชนมีความสามารถ หมายถึงบุคคลหรือกลุ่มเป้าหมายจะต้องมีความสามารถ พอที่จะเข้าร่วมในกิจกรรมน้ัน ๆ หมายความว่าในบางกิจกรรมแม้จะกาหนดว่าผู้เข้าร่วมมีเสรีภาพ และเสมอภาคแต่กิจกรรมท่ีกาหนดไว้มีความซับซ้อนเกินความสามารถของกลุ่มเป้าหมายการมีส่วน รว่ มย่อมเกดิ ข้นึ ไมไ่ ด้ บญุ เลิศ จิตตั้งวัฒนา (2542) ได้กล่าวไว้ว่าการมีส่วนร่วม ของประชาชนท้องถิ่น ในการพัฒนาการท่องเท่ียวน้ันต้องส่งเสริมสนับสนุนให้ชุมชนท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมในการ พัฒนาการท่องเท่ียวทุกขั้นตอนและให้ชุมชนท้องถ่ิน ได้รับผลประโยชน์จากการท่องเที่ยว เพื่อ ก่อให้เกิดความรักความหวงแหนการสร้างจิตสานึกในการดูแลปกป้องรักษาทรั พยากรท่องเที่ยวและ สภาพแวดล้อมให้คงอยู่อย่างย่ังยืนการมีส่วนร่วมของประชาชน ในด้านการท่องเที่ยวน้ัน ส่วนใหญ่ มักจะเป็นการร่วมกันใช้ประโยชน์หรือได้รับประโยชน์ซ่ึงเป็นองค์ประกอบหนึ่งเท่านั้นการมีส่วนร่วม จะก่อให้เกิดความยั่งยืนในการพัฒนาได้จะต้องมีองค์ประกอบ 5 ประการ (สุรีพร พงษ์พาณิช, 2549) ดังน้ี 1) ร่วมกันวางแผนเป็นการร่วมคิดร่วมวางแผนจัดการเตรียมความพร้อมและสิ่งอานวยความ สะดวกในชุมชนร่วมประชุมและลงความเห็นว่าแผนพัฒนาการท่องเที่ยวที่ส่วนราชการนาเสนอนั้น ประชาชนเห็นด้วยหรือไม่ในข้ันตอนนี้หากประชาชนไม่เห็นด้วยมีข้อเสนอแนะหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ควรหาทางแกไ้ ขอย่างไรบ้างสาหรับท้องถิ่นที่ยังไม่มีแหล่งท่องเท่ียวภายในชุมชนประชาชนในท้องถิ่น น้ันตอ้ งรว่ มกนั คดิ ว่าชุมชนของตนเองมีอะไรท่ีนา่ สนใจ มีความแตกต่างจากชุมชนอ่ืนท่ีสามารถเป็นสิ่ง ดึงดูดใจสาหรับนักท่องเที่ยวได้และควรมีการแบ่งงานกันทาและจัดรูปแบบการแบ่งปันผลประโย ชน์ อันจะเกิดขึ้นให้ลงตัว 2) ร่วมกันปฏิบัติตามแผนเม่ือมีการวางแผนแล้วสมาชิกในชุมชนต้องร่วมกัน ปฏบิ ตั หิ น้าท่ีทตี่ กลงกันไว้3) รว่ มกันใช้ประโยชนส์ มาชกิ ทุกคนจะต้องมสี ิทธใิ ชป้ ระโยชนจ์ ากทรัพยากร ท่องเที่ยวในท้องถ่ินจะต้องมีการจัดการผลประโยชน์ทั้งที่เป็นตัวเงินและวั ตถุให้ประชาชนในท้องถ่ิน อย่างท่ัวถึงและเหมาะสมโดยคานึงถึงความยุติธรรมและความเท่าเทียมกันเป็นหลักทั้งนี้เม่ือทุกคน ได้รบั ผลประโยชน์อย่างเหมาะสมซึ่งหมายถึงการลงทุน ลงแรงมากก็จะได้รับผลประโยชน์มากสิ่งน้ีจะ ช่วยกระตุ้นให้กิจกรรมการท่องเท่ียวในท้องถิ่นดาเนินต่อไปได้ 4) ร่วมติดตามและประเมินผลเม่ือมี การดาเนินการแล้วย่อมจะมีปัญหาความไม่เข้าใจต่าง ๆ เกิดข้ึน จึงต้องร่วมแลกเปล่ียนความคิดเห็น ถ่ายทอดประสบการณ์และร่วมกันประชุมหาวิธีการแก้ไขปัญหาเหล่าน้ัน 5) ร่วมบารุงรักษาเม่ือมีการ ใชป้ ระโยชนจ์ ากทรพั ยากรแล้วทุกคนต้องร่วมกันบารุงรักษาหากปล่อยปละละเลยให้ทรัพยากรท่ีมีอยู่ เส่ือมโทรมนกั ท่องเท่ยี วกจ็ ะไม่มาเยีย่ มเยอื น ผลประโยชน์ท่ีเคยได้รับก็หมดลงไปสอดคล้องกับแนวคิด ภาค/ี เครือขา่ ย พจนา สวนศรี (2546) กลา่ วถึงบทบาทและความสาคัญของภาคีทเ่ี กยี่ วขอ้ งไว้ว่าชุมชน จาเป็นต้องศึกษาและทาความเข้าใจระบบการท่องเที่ยวว่าเกี่ยวข้องกับใคร อะไรบ้างที่เกี่ยวข้องและ

428 เก่ียวข้องอย่างไร เพ่ือกาหนดความร่วมมือและสร้างการมีส่วนร่วมในช่วงเวลาท่ีเหมาะสมเพื่อใช้การ ท่องเที่ยวเป็นเครื่องมือของการพัฒนาชุมชนโดยให้กลุ่มคนที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนเข้ามามีบทบาท ร่วมมอื กันในการทางานเพอื่ ให้การท่องเทย่ี วโดยชุมชน ไดร้ ับการยอมรับโดยสรา้ งรปู แบบการทางานที่ ให้แตล่ ะกลุม่ ในสงั คมมสี ่วนรว่ มในลักษณะเป็นพันธมิตรกับชุมชนจากความสาคัญและความจาเป็นใน การทางานกับภาคี/ผู้เกี่ยวข้องดังกล่าวการทางานผู้ท่ีเก่ียวข้องกับโครงการวิจัยเรียงตามลาดับ ความสาคัญมี ดังน้ี 1) ทีมวิจยั หลกั คือผู้รับผิดชอบหลักที่เข้าร่วมทางานตลอดโครงการและมีบทบาท สาคญั ควรวิเคราะหใ์ ห้ชัดเจนวา่ มใี ครบา้ งทีเ่ ปน็ ตัวหลักและแตล่ ะคนน้ัน มีศักยภาพอะไรบ้าง แตกต่าง กันอย่างไรเพื่อจะไดว้ างบทบาทหน้าทแ่ี ละความรบั ผิดชอบในการทางานได้อย่างเหมาะสม 2) ทีมวิจัย ร่วม คือกลุ่มคนที่อยู่ในชุมชนเช่น กลุ่มผู้รู้ ภูมิปัญญา กลุ่มเกษตรกร เป็นต้น ซึ่งอาจ เข้าร่วม กระบวนการในบางช่วงบางโอกาสไม่จาเป็นจะต้องเข้าร่วมตลอดโครงการ ทีมวิจัยต้องวิเคราะห์ว่าแต่ละ กลุ่มเก่ียวข้องกับโครงการในเนื้อหาใดบ้างเพ่ือจะได้กาหนดบทบาทให้ เหมาะสมว่าเมื่อไรที่ต้องการ การมสี ่วนร่วมของกลมุ่ คนผู้เกี่ยวขอ้ งกลุ่มนี้จะเป็นกลุ่มผู้ท่ีไดร้ ับประโยชน์ท่ีมีส่วนได้ส่วนเสียและได้รับ ผลกระทบจากงานวิจัยโดยตรงหรือเป็นผู้ให้ข้อมูลและผู้ร่วมทางานในบางคร้ังกลุ่มนี้จะอยู่ใกล้ชิดกับ ทีมวจิ ัยหลักค่อนข้างมากเพียงแต่อาจมาร่วมได้ในบางคร้ังเท่านั้น 3) กลุ่มผู้สนับสนุนคือผู้ที่อาจจะไม่มี ผลประโยชน์ต่อโครงการอาจเป็นคนในหรือคนนอกชุมชนหรือเป็นหน่วยงาน องค์กรท่ีเกี่ยวข้องที่พร้อม จะให้การสนบั สนนุ และให้การช่วยเหลือในด้านงบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์ ข้อมูลความรู้ หรืออาจเป็น ท่ีปรึกษากไ็ ดบ้ ทบาทท่มี ตี ่องานวจิ ัยอาจจะนอ้ ยแต่ยงั คงมีความสาคัญ ซงึ่ อาจเป็นคนกลุ่มเดียวกับกลุ่ม ทีมวิจัยร่วมก็ได้ 4) กลุ่มผู้ที่จะสานต่อในบางเรื่องหรือหลังงานวิจัยคือกลุ่มท่ีไม่ได้เข้าร่วม กระบวนการวจิ ยั แตค่ าดวา่ จะได้ใช้ประโยชน์จากงานวจิ ัย ได้แก่ องค์การบริหารส่วนตาบล โรงเรียน และ หน่วยงานราชการซ่ึงอาจนาข้อมูลไปต่อยอดพัฒนาเป็นหลักสูตรท้องถ่ินและสามารถนาข้อมูลงานวิจัย ไปพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนให้เป็นสินค้า OTOP เป็นต้น สอดคล้องกับงานวิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร. ชุลีรตั น์ จนั ทรเ์ ชื้อและคณะ (2557) ได้ศึกษาวิจยั เร่อื งการพัฒนาเครอื ข่ายการทอ่ งเท่ียวโดยชุมชนเพ่ือ การเรยี นร้มู รดกวัฒนธรรม พบวา่ แนวคิดการจัดการท่องเท่ียวแบบใหม่ท่ีวางอยู่บนพ้ืนฐานของการมี ส่วนร่วม ประกอบด้วยการประชุมหารือร่วมกันของสมาคมการท่องเที่ยวของจังหวัดสุโขทัยร่วมกับ คณะนักวิจัยหลายครั้งและในที่สุด ท่ีประชุมได้มีความเห็นพ้องต้องกันว่าชุมชนควรมีส่วนร่วมในการ นาองค์ความรู้ในด้านวัฒนธรรม เพื่อกาหนดแนวทางการพัฒนาชุมชนโดยรอบอุทยานประวัติศาสตร์ สุโขทัยให้เป็นแหล่งท่องเที่ยว เช่น ตานาน ประวัติความเป็นมา ประเพณี พิธีกรรม ศิลปะการแสดง ศิลปะหัตถกรรม ฯลฯ ล้วนเป็นอัตลักษณ์วัฒนธรรมของชุมชน มาใช้เพ่ือพัฒนาระบบและโครงสร้าง พ้ืนฐาน เช่น โฮมสเตย์ ร้านอาหาร ร้านขายของที่ระลึกและขายสินค้าพื้นถ่ิน รวมทั้งการพัฒนาส่ือ ส่ิงพิมพ์ของข้อมูลสินค้าพื้นถิ่นและข้อมูลเทศกาลและงานประเพณีเพ่ือสะท้อนให้เห็นตัวตนและอัต ลักษณเ์ ฉพาะถ่นิ ของคนในชมุ ชนโดยรอบและสอดคลอ้ งกบั งานวิจัยของ ผศ.ดร. ศุภลักษณ์ วิริยะสุมน ผศ. วาลกิ า โพธิห์ ิรัญ และเครอื ข่ายชุมชนนครชุม (2557) ได้ศึกษาวิจัยมรดกวัฒนธรรมโดยเครือข่าย ชุมชนนครชมุ อาเภอเมือง จงั หวดั กาแพงเพชร พบว่า 1) เกดิ เครือข่ายความร่วมมือในการทางานวิจัย ประกอบด้วย นักวิจัยชุมชนจานวน 33 คน ทีมที่ปรึกษาจานวน 26 คนและภาคีท่ีเก่ียวข้องให้การ สนับสนุนท้ังทางตรงและทางอ้อมจากเข้ามาร่วมกระบวนการพัฒนาที่เป็นเอกลักษณ์ การแสดง พ้ืนบ้าน โบราณสถานโบราณวัตถุ สุดยอดพระเครื่องตระกูลทุ่งเศรษฐีหน่ึงในเส้นทางท่องเท่ียว 2)

429 ชุมชนนครชุมมีคุณค่าทางมรดกวัฒนธรรมประกอบไปด้วยวัฒนธรรมประเพณี ภูมิปัญญาพ้ืนบ้าน อาหารพ้ืนถ่ินที่มีเอกลักษณ์โดดเด่นทั้งอาหารคาวหวานและอาหารว่างที่สามารถนามาเป็นทุน ออกแบบพัฒนาเส้นทางท่องเท่ียวเพ่ือการเรียนรู้มรดกวัฒนธรรมของชุมชนจนได้เส้นทางเด่น 4 เส้น นาไปทดลองจดั กจิ กรรม 3) การพฒั นาทักษะและความสามารถในการบริการสื่อความหมาย พบว่า ผู้ เข้ารับการอบรมได้รับความรู้ประสบการณ์มีความพร้อมและมั่นใจมากข้ึนที่จะทาหน้าที่มัคคุเทศก์ ท้องถิ่นและนักสื่อความหมายท่ีดีในโอกาสต่อไปและ 4) ผลการประเมินความพึงพอใจของ นักท่องเท่ียวต่อการจัดกิจกรรมตามเส้นทางท่องเท่ียว เพื่อเรียนรู้มรดกวัฒนธรรม และสอดคล้องกับ งานวิจัยของ เอ่ียม ปัญญาและคณะ (2559) ได้ศึกษาวิจัยเร่ืองการบูรณาการสายสัมพันธ์และมรดก วัฒนธรรมชุมชนหัวดงสู่การพัฒนาการจัดการท่องเท่ียวเชิงวัฒนธรรมโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน และองคก์ ารบริหารส่วนตาบลหัวดง อาเภอทุ่งเสล่ียม จงั หวดั สโุ ขทัย ผลทีเ่ กดิ จากการวจิ ัยกับตัวตนของคนหัวดง สร้างการรับรู้ในด้านประวัติความเป็นมาของ ชุมชนในด้านคุณค่ามรดกวัฒนธรรมชุมชนที่มีประวัติ ต้ังแต่ พ.ศ. 2400 จนถึงปัจจุบัน แม้ว่าพื้นท่ี แห่งน้จี ะเปน็ เพยี งเส้นทางผา่ น เปรยี บเสมือนเมืองปิด ถ้านักท่องเท่ียวหรือผู้อื่นไม่ได้ตั้งใจจะเข้ามายัง พนื้ ท่ีตาบลหัวดง อาเภอเมืองพิจิตร จังหวัดพิจิตร โดยต้ังใจ ก็จะไม่ค่อยมีโอกาสได้มาสัมผัสวิถีชุมชน ได้การหลอมรวมวัฒนธรรม 3 เชื้อชาติ ไทย จีน ลาว ได้นาวิถีถ่ินต่าง ๆ เข้ามากลายเป็นวิถีถ่ินท่ีมี ลักษณะของพหุวัฒนธรรมที่สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข เป็นหนึ่งเดียวตลอดระยะเวลาการ ตงั้ ชมุ ชนหัวดง กว่า 160 ปี วิถชี วี ติ ทงี่ ดงามยงั คงเป็นเอกลกั ษณ์ที่น่าคน้ หาเป็นเสน่ห์ท่ีดึงให้ผู้คนท่ีได้มี โอกาสเข้ามาสัมผัสชุมชนแห่งน้ี หลงรักในความสุข ความเรียบง่ายด้วยวิถีของคนชุมชนหัวดง ตลอด ระยะเวลาที่ได้ดาเนินงานวิจัยชุมชนเกิดความต่ืนรู้ ท่ีจะเข้ามาร่วมค้นหาความเป็นตัวตนของคนใน ชุมชนเรื่องราวและข้อมูลท่ีได้จากผู้อาวุโสคาบอกเล่าที่ยังไม่เคยได้มีโอกาสได้บันทึกไว้ บัดนี้ได้ถูก รวบรวมเรียบเรยี งไวเ้ พ่อื ใหค้ นรุ่นหลงั ได้รคู้ วามเป็นมารากเหง้าของตนเอง เกิดการรับรู้และภาคภูมิใจ ในความเป็นคนหัวดง ขอ้ เสนอแนะเชิงนโยบายและเชิงปฏิบตั ิ ขอ้ คน้ พบจากงานวจิ ยั ทมี วจิ ัยมขี อ้ เสนอแนะดังน้ี 1. เทศบาลตาบลหัวดง และองค์การบริหารส่วนตาบลหัวดง ควรนากระบวนการงานวิจัย เพ่อื ท้องถ่นิ เพ่ือสรา้ งแนวร่วมการพัฒนาการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนหัวดง ด้วยการเชิญประชาชน ในชุมชน 5 ภาคี คือ ท้องถ่ิน ท้องที่ หน่วยงานราชการ ประชาชน และองค์กรทางด้านศาสนา (วัด) ในพื้นท่ี รว่ มประชมุ เขียนแผนพัฒนาการท่องเทยี่ วโดยชุมชนและบรรจลุ งในแผนพัฒนาทอ้ งถิ่น 2. ควรมีระบบการประชาสัมพันธ์เผยแพร่ และจัดสร้างพิพิธภัณฑ์ชุมชนเพื่ออนุรักษ์เก็บ รกั ษาเร่อื งราวมรดกวัฒนธรรมของชุมชนและถ่ายทอดองค์ความรู้ให้คนในชุมชนเพ่ือเป็นแหล่งเรียนรู้ ตลอดชีวติ รวมไปถงึ จดั ให้มีกจิ กรรมภายในพื้นท่ีท่แี สดงถึงอตั ลกั ษณข์ องชมุ ชนหัวดง 3. มีการพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยวของชุมชนหัวดงในเชิงสร้างสรรค์ให้มีความน่าสนใจ มากขึ้น เนอ่ื งจากชุมชนมลี ักษณะทเี่ ปน็ เอกลักษณท์ ่โี ดดเด่น คอื เป็นชมุ ชน “ชุมชนสามวัฒนธรรมหรือ พหุวัฒธรรม” คือวัฒนธรรมเช้ือสายไทย วัฒนธรรมเช้ือสายจีน และวัฒนธรรมเช้ือสายลาว มี อัตลักษณ์ท่ีโดดเด่น คือ“ชุมชนพหุวัฒนธรรม” เป็นชุมชนท่ีแต่ละเชื้อชาติไม่ว่าจะเป็นไทย จีน ลาว

430 ได้นาวิถีถ่ินต่าง ๆ เข้ามากลายเป็นวิถีถ่ินท่ีมีลักษณะของพหุวัฒนธรรมท่ีสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างมี ความสุข ได้จับจองพื้นที่ทางานหากิน สร้างบ้านเรือนอาศัยอยู่ร่วมกัน ท้ังน้ีชาวหัวดงยึดม่ันใน พระพุทธศาสนา จงึ ไดร้ ับการขดั เกลาจิตใจให้มีความละเอียดอ่อน มีการเคารพเช่ือฟังผู้นา ผู้อาวุโส มี การปรบั ตัวมีการยอมรับในความแตกต่างมีวัฒนธรรมความเช่ือทางขนบประเพณีท่ีแฝงด้วยกุศโลบาย ท่ีประกอบด้วย ค่านิยม ทัศนคติ พฤติกรรม จิตวิญญาณ และวิถีชีวิต ทาให้สามารถสร้างสรรค์ ศิลปวัฒนธรรมภมู ิปญั ญาท้งั ในอดีตและปจั จบุ นั 4. มีการพัฒนากิจกรรมการท่องเที่ยวชุมชนในเชิงสร้างสรรค์ ผ่านกลุ่มเยาวชนท่ีมีความ สนใจเพื่อปลูกฝงั แนวคดิ ความรกั และภาคภมู ใิ จในทอ้ งถิ่นของตน 5. ด้านการจัดการด้านบุคลากร จะต้องสร้างการมีส่วนร่วมของกลุ่มคนในชุมชนหัวดง บริหารจัดการกลุ่มต่าง ๆ ในชุมชนให้ได้รับประโยชน์จากการท่องเท่ียว ในด้านผู้ส่ือสารประจาฐาน เรียนรู้ ควรบอกเล่าเรื่องราวให้กระชับ ชัดเจนตรงประเด็นต้องแนะนาสถานท่ีสาคัญ ๆ เล่าประวัติ ความเป็นมาความสัมพันธ์ของคนในชุมชนและร้อยเรียงเรื่องราวให้เกิดความเช่ือมโยงกัน ควรมีการ พัฒนาความรู้ เพม่ิ พนู ทกั ษะวชิ าการให้กับผู้สื่อสารประจาแหล่งเรียนรู้เพื่อสร้าง “นักส่ือความหมาย” มืออาชีพในอนาคตและต้องมีการดูแลนักท่องเที่ยวร่วมเดินทางไปพร้อม ๆ กัน เพ่ือป้องกันการออก นอกเส้นทาง 6. ควรมีการบรหิ ารจัดการกลุ่มทเี่ กยี่ วขอ้ งในชมุ ชนอยา่ งเป็นระบบมีการขึน้ ทะเบียนสมาชิก กลุ่มท่องเท่ยี วชุมชน มีการพฒั นาตอ่ ยอดกจิ กรรมการท่องเที่ยวชุมชน ผ่านกลุ่มต่าง ๆ ในชุมชนโดยมี คณะทางาน ท่ีเข้ามาจัดการผลประโยชน์ของกลุม่ อย่างเปน็ ธรรม 7. สว่ นร่วมในการพฒั นาการท่องเท่ียวโดยชมุ ชน 8. การจัดการระบบการบริหารจัดการการท่องเท่ียวชุมชน ควรมีการวางแผนการจัดการ ชุมชนตาบลหวั ดง และกาหนดแนวทางและกิจกรรมการขับเคลื่อนการพัฒนาการท่องเท่ียวของชุมชน ตาบลหัวดง และจัดกิจกรรมที่เป็นการพัฒนาขีดความสามารถในการจัดการความรู้การท่องเท่ียวโดย ชุมชนไดด้ ว้ ยตนเอง 9. แนวคดิ การพัฒนาการทอ่ งเท่ียวที่ย่งั ยืน ใช้เป็นกรอบอ้างองิ เรอ่ื งการพฒั นาการท่องเที่ยว ทีย่ ั่งยืน ในการกาหนดนโยบายการท่องเที่ยวและการวจิ ยั ของนักวิชาการได้ 10. ผลการวิจัยสร้างความกระจ่างให้ให้ชุมชนตาบลหัวดง สามารถมองเห็นทิศทางการ จัดการท่องเท่ียวในพ้ืนท่ีแบบมีทิศทางมากยิ่งข้ึน และสามารถจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนบนพ้ืนฐาน ของการวจิ ยั แบบมขี ้อมลู ท่ชี ัดเจน 11. ผลการวิจัยสามารถสร้างความกระจ่างให้ทีมวิจัยชุมชนหัวดง เก่ียวกับการพัฒนาการ ท่องเท่ียวโดยชุมชนที่ย่ังยืน มีองค์ประกอบ ได้แก่ การจัดการด้านสถานท่ีท่องเที่ยว การจัดการ ด้าน ทรัพยากรธรรมชาติส่ิงแวดล้อม การสร้างประโยชน์ทางเศรษฐกิจแก่ชุมชนเจ้าของแหล่งท่องเท่ียว และสร้างผลประโยชน์แก่ชุมชน แก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกคน การจัดการด้านทรัพยากรทาง สังคม และวัฒนธรรม การสร้างความพึงพอใจให้กับผู้มาเยือน และนักท่องเที่ยว และการมีส่วนร่วมในการ พัฒนาการทอ่ งเที่ยว

431 12. เพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนหัวดงให้เข้มแข็งจึงควรทาวิจัยและพัฒนาการ ท่องเที่ยวในลักษณะการพัฒนาเครือข่ายการท่องเท่ียวโดยชุมชนเพื่อยกระดับสู่ การสร้างนวัตกรรม ท่องเทยี่ วมรดกวัฒนธรรมชมุ ชนเชือ่ มโยงกับพ้ืนทท่ี ่องเทย่ี วข้างเคยี ง

432 บรรณานกุ รม กนกวรรณ ทองเถื่อน. 2550. การศึกษาแนวทางการจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ทางวัฒนธรรมจังหวัด เพชรบุรี. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยนวัตกรรมอุดมศึกษา : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. กาญจนา แกว้ เทพ. 2538. เครือ่ งมือการทางานแนววฒั นธรรมชมุ ชน. กรงุ เทพฯ : มายด์พบั บรสิ ชง่ิ . กาญจนา แสงล้ิมสุวรรณและศรันยา แสงล้ิมสุวรรณ. (2555). การท่องเที่ยวเชิงมรดกวัฒนธรรม อยา่ งย่ังยืน. มหาวิทยาลยั กรุงเทพฯ. ครรชิต พุทธโกษา. 2544. คู่มือการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ : สานัก คณะกรรมการวิจยั แหง่ ชาติ. ชาญวิทย์ เกษตรศิร.ิ (2540). วิถไี ทย : การท่องเท่ียวทางวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ : โครงการวิถีทรรศน์. ชุลีรัตน์ จันทร์เชื้อและคณะ. (2526). การพัฒนาเครือข่ายการท่องเที่ยวโดยชุมชนเพ่ือการเรียนรู้ มรดกวัฒนธรรม.งานวจิ ยั เพ่อื ทอ้ งถนิ่ , สานักงานกองทนุ วจิ ยั . ชุลีรัตน์ จันทร์เชื้อ. 2544. รายงานวิจัยการพัฒนาขีดความสามารถในการวางแผนเพื่อพัฒนาการ ท่องเที่ยวชุมชนบ่อเกลือพันปี อาเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก. มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูล สงคราม. ชลุ รี ตั น์ จันทรเ์ ช้ือและคณะ (2557) ได้ศึกษาวิจัยเร่ืองการพัฒนาเครอื ขา่ ยการทอ่ งเที่ยวโดยชุมชนเพื่อ การเรียนรู้มรดกวฒั นธรรม. ชนัญ วงษ์วิภาคและคนอ่ืน ๆ. 2547. การจัดการทรัพยากรทางวัฒนธรรมเพ่ือการท่องเท่ียวอย่าง ย่งั ยืน. ดวงรัตน์ มีชัยและคณะ. (2557). การบูรณาการประวัติศาสตร์วิถีวัฒนธรรมของชุมชนเมืองโบราณสู่ การพัฒนาการท่องเท่ียวโดยชุมชนนครชุม อาเภอเมือง จังหวัดกาแพงเพชร. งานวิจัยเพื่อ ทอ้ งถน่ิ , สานักงานกองทนุ วจิ ัย. ทรงฤทธ์ิ กาญจนประเสริฐ. (2544). ข้อมูลสภาวัฒนธรรมต าบลเขาแก้วศรีสมบูรณ์อ าเภอทุ่งเสล่ียม จังหวดั สโุ ขทยั . สโุ ขทยั . สภาวัฒนธรรมต าบลเขาแกว้ ศรีสมบรู ณ.์ นฤมล นิราทร. 2543. การสร้างเครือข่ายการทางาน : ข้อควรพิจารณาบางประการ. กรงุ เทพฯ : สานกั พมิ พ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.์ นิคม จารุมณี. (2544). การท่องเที่ยวและการจัดการอุตสาหกรรมการท่องเท่ียว. (พิมพ์คร้ังท่ี 2). กรุงเทพฯ : โอเดยี นสโตร์. นิรันดร์ จงวุฒิเวศย์. (2547). กลวิธีแนวทางวิธีการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานพัฒนา ชุมชน. ในทวีทอง หงส์วิวัฒน์ (บรรณาธิการ). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนา. กรุงเทพมหานคร : ศกั ด์โิ สภาการพมิ พ์. นาชยั ทนผุ ล. 2542. การทอ่ งเทีย่ วเชงิ นเิ วศกบั บทบาทของชมุ ชนท้องถิ่น ในสารพิธเี ปิดอาคาร 25 ปี คณะธุรกิจการเกษตร มหาวิทยาลยั แมโ่ จ้ : เชียงใหม่.

433 บุญยสฤษฎ์ อเนกสุข. (2557). ยล เย่ียม เยือน เหย้า : แนวคิดและทฤษฎีว่าด้วยการท่องเท่ียวเชิง วัฒนธรรม. มหาวิทยาลยั นเรศวร. บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา. (2542). การพัฒนาการท่องเที่ยวแบบย่ังยืน. เชียงใหม่: คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชียงใหม.่ บุญเลิศ จิตตงั้ วฒั นา. (2548). การพฒั นาการท่องเทย่ี วแบบย่ังยนื . กรุงเทพฯ : เพรส แอนด์ ดไี ซน์. พจนา สวนศรี. (2546). คู่มอื การจัดการทอ่ งเทีย่ วโดยชุมชน. กรุงเทพฯ : โครงการท่องเท่ียวเพื่อชีวิต และธรรมชาติ. พลอยศรี โปราณานนท์. (2540). เชียงใหม่กับการจัดการท่องเที่ยวอย่างย่ังยืน. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่. พลอยศรี โปราณานนท์. (2554). การท่องเท่ียวเบือ้ งตน้ . เชยี งใหม่. ม่ิงเมอื ง. ภัคณิษา อภิศุภกรกุลและคณะ. (2550). โครงการการพัฒนาเส้นทางการท่องเท่ียวเชิงวัฒนธรรม เชื่อมโยงกับเทศกาลท่องเที่ยวประจ าปีในกลุ่มจังหวัดภาคอีสานใต้.งานวิจัยเพ่ือท้องถิ่น, สานักงาน กองทุนวิจัย. มนัส สุวรรณและคณะ. (2541). การจัดการทอ่ งเทีย่ ว. พมิ พ์คร้ังที่ 8. กรงุ เทพฯ : ไทยวฒั นาพาณชิ ย.์ มนสั สวุ รรณ. (2544). ระเบียบวธิ วี ิจัยทางสังคมศาสตรแ์ ละมนุษยศาสตร. กรงุ เทพฯ : โอเดยี นสโตร. มาลัย ชพู นิ จิ . 2539 ทงุ่ มหาราชกับประวตั ศิ าสตรเ์ มืองกาแพงเพชร. (พิมพ์คร้ังท่ี 2). กาแพงเพชร : สุ สิกการพิมพ.์ รพพี งศ์ อนิ ตะ๊ สบื . (2550). การศกึ ษาศักยภาพของชมุ ชนเพื่อการทอ่ งเทยี่ วชนบท : กรณีศึกษาชุมชน บา้ น 419 สามขา ต าบลหัวเสอื อ าเภอแม่ทะ จังหวัดล าปาง. การค้นคว้าแบบอิสระศิลปะ ศ า ส ต ร์ ม ห า บั ณ ฑิ ต ส า ข า วิ ช า ก า ร จั ด ก า ร อุ ต ส า ห ก ร ร ม ก า ร ท่ อ ง เ ท่ี ย ว . มหาวิทยาลัยเชยี งใหม.่ ราไพพรรณ แก้วสุริยะ. การจัดการท่องเท่ียวชุมชนอย่างยั่งยืน. นนทบุรี : หาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิ ราช, 2545. วันชัย วัฒนศัพท์. (2544). คู่มือการมีส่วนร่วมของประชาชนในการตัดสินใจของชุมชน. นนทบุรี : สถาบันพระปกเกล้า. ศูนย์ขอ้ มูลมรดกโลก. กระทรวงวฒั นธรรม. วีระศักด์ิ เครือเทพ. 2550. เครือข่าย : นวัตกรรมการทางานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในแนว ระนาบเพื่อการเพิ่มขีดความสามารถในการปฏิบัติงานและความรับผิดชอบต่อสาธารณะ. กรงุ เทพฯ : ซโี น ดีไซน.์ ศุภลักษณ์ วิริยะสมุ น และวาลิกา โพธหิ์ ริ ัญ และเครือข่ายชุมชนนครชุม (2557). มรดกวัฒนธรรมโดย เครอื ขา่ ยชมุ ชนนครชมุ อาเภอเมอื ง จงั หวัดกาแพงเพชร. สนธยา พลศร.ี 2548. เครอื ข่ายการเรียนรใู้ นการพัฒนาชมุ ชน. กรุงเทพฯ : โอเดยี นสโตร์. สมชาย สุขบัว และคณะ. (2562). โครงการการศึกษาอัตลักษณ์และคุณค่าวิถีวัฒนธรรมชุมชนสู่แนว ทางการพัฒนาการจัดการท่องเท่ียวเชิงนิเวศวัฒนธรรมโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ชุมชนนครชมุ อาเภอนครไทย จงั หวดั พษิ ณโุ ลก. สุภางค์ จันทวานิช. 2545. การวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยเชิงคุณภาพ. (พิมพ์คร้ังท่ี 5). กรุงเทพฯ : สานกั พิมพแ์ ห่งจฬุ าลรณ์มหาวิทยาลัย.

434 สุวพร ทองซิว. (2560). วารสารเมืองโบราณ. กรุงเทพฯ : ด่านสุธาการพิมพ์. ททท. สานักงาน สโุ ขทยั . (2558). สโุ ขทัย. กองขา่ วสารการทอ่ งเทีย่ วฝ่ายบรกิ ารตลาด. สุวทิ ย์ ทองสงค์และคณะ. (2556). การศึกษาอฉั รยิ ลกั ษณ์ชมุ ชนโบราณเมืองบางขลงั เพื่อพัฒนา. อมรา พงศาพชิ ญ์. 2541. วัฒนธรรม ศาสนา และชาติพันธ์ุ. (พิมพ์คร้ังที่ 5). กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. อรรถจักร สัตยานุรักษ์. ประวัติศาสตร์เพื่อชุมชน : ทิศทางใหม่ของการศึกษาประวัติศาสตร์. กรงุ เทพฯ : สานกั งานกองทนุ สนับสนนุ การวิจยั , 2548. เอี่ยม ปัญญาและคณะ. (2559). ได้ศึกษาวิจัยเรื่องการบูรณาการสายสัมพันธ์และมรดกวัฒนธรรม ชุมชนหวั ดงสู่การพัฒนาการจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนและ องคก์ ารบริหารสว่ นตาบลหัวดง อาเภอทงุ่ เสลยี่ ม จงั หวดั สุโขทยั .

435 ภาคผนวก ก ประวัตผิ ้วู ิจยั

436 ประวัตนิ ักวิจัย หวั หนา้ โครงการ และนกั วจิ ัยร่วมโครงการ ชือ่ -สกลุ (ภาษาไทย) : นายพีระโรจน์ ภทั รประสิทธ์ิ (ภาษาองั กฤษ) : pheeraroj pataraprasit ตาแหน่งปัจจุบนั (ทางวชิ าการ/ราชการ) : นายกเทศมนตรีตาบลหัวดง สถานที่ติดต่อ (ที่ทางาน) ท่อี ยู่ (หน่วยงาน) : สานกั งานเทศบาลตาบลหัวดง อาเภอเมืองพจิ ติ ร จงั หวัดพจิ ิตร 66170 โทรศัพท์ 0 5669 7306 โทรสาร 0 5669 7365 โทรศพั ทม์ ือถือ 08 7789 3652 E-mail : [email protected] สถานทตี่ ิดต่อ (ทบี่ ้าน) ที่อยู่ (ที่บ้าน) : 4/324 ถนนสระหลวง ตาบลในเมือง อาเภอเมืองพจิ ิตร จังหวัดพิจติ ร รหสั ไปรษณีย์ 66000 โทรศพั ท์ 0 5661 6530 โทรสาร 0 5669 7365 ประวตั กิ ารศึกษา (ปรญิ ญาตรี-เอก ; สาขา และสถาบนั ) ปริญญาตรี สาขาวชิ า Public Administration คณะ Public Administration Science มหาวทิ ยาลยั University of New Havenfrom United State of America ปริญญาโท สาขาวชิ าการเมืองการปกครอง คณะรฐั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ปรญิ ญาโท สาขาบรหิ ารการศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ภาระงานในปจั จุบัน (งานประจาทีร่ ับผิดชอบ) กาหนดนโยบายโดยไม่ขดั ต่อกฏหมาย ควบคมุ และรับผิดชอบการบริหารราชการของ เทศบาลตาบลหวั ดงใหเ้ ป็นไปตามกฎหมายระเบียบข้อบังคับ เทศบัญญัติและนโยบายของรัฐบาล กอ่ ให้เกดิ ประโยชนส์ ขุ ต่อประชาชนในพน้ื ทตี่ าบลหัวดง งานวิจัยทีร่ ับผดิ ชอบ (กาลงั ดาเนินงาน) (ชอื่ โครงการ แหล่งทุน และระยะเวลาดาเนินการ) โครงการการบริหารจัดการการท่องเทย่ี วมรดกวัฒนธรรมชมุ ชนบนความหลากหลายชาติพันธุ์ โดยเครือขา่ ยชุมชนตาบลหัวดง อาเภอเมืองพิจติ ร จงั หวดั พิจติ ร แหลง่ ทุน จากสานกั งานกองทุนสนับสนนุ การวิจัย (สกว.) จานวน 400,000 บาท ระยะเวลาดาเนนิ การ 18 เดือน ผลงานท่ผี า่ นมา ก. ผลงานวิจยั ตพี ิมพ์ (ระดบั ชาติ และระดับนานาชาต)ิ (ช่อื ผลงาน ชอื่ วารสาร แหลง่ ทนุ ปที ่ีพมิ พ)์ - ข. ผลงานวจิ ยั ทน่ี าไปใช้ประโยชน์ (ต่อสาธารณะ, ชมุ ชน, กลุม่ เกษตรกร ฯลฯ) - ค. ผลงานอนื่ ๆ เช่น บทความ หนังสือ สิทธบิ ตั ร ฯลฯ - ง. รางวัลผลงานวิจยั ทไี่ ด้รับ -

437 ประวัตนิ กั วจิ ัย หัวหน้าโครงการ และนกั วจิ ัยรว่ มโครงการ ชื่อ-สกลุ (ภาษาไทย) : แพทย์หญิง ดร.วณิชชา ภัทรประสิทธ์ิ (ภาษาองั กฤษ) : Dr. Wanicha Pataraprasit ตาแหนง่ ปัจจุบัน (ทางวิชาการ/ราชการ) : MD. (Pediatrician) Ph.D (Educational Administration) สถานที่ตดิ ตอ่ (ท่ีทางาน) โรงเรยี นพิจิตรอินเตอร์ ทอ่ี ยู่ (หน่วยงาน) : 4/324 ถนนสระหลวง ตาบลในเมอื ง อาเภอเมอื งพิจติ ร จังหวดั พิจติ ร 66000 โทรศพั ท์ 0-5661 3381 โทรสาร 0-5665 2337 โทรศัพทม์ ือถอื 08-1888 9030 E-mail : [email protected], [email protected] สถานท่ีติดต่อ (ทบี่ ้าน) ทอี่ ยู่ (ท่ีบา้ น) : 4/324 ถนนสระหลวง ตาบลในเมือง อาเภอเมืองพิจติ ร จงั หวัดพิจิตร 66000 โทรศพั ท์ 0-5661 4810 โทรสาร 0-56612197 ประวตั ิการศกึ ษา (ปริญญาตรี-เอก ; สาขา และสถาบัน) ปรญิ ญาตรี แพทย์ศาสตร์บัณฑิต คณะแพทย์ศาสตร์โรงพยาบาลรามาธบิ ดี มหาวิทยาลัยมหิดล ปรญิ ญาโท วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์คลินิก (กุมารเวชศาสตร์) มหาวิทยาลยั นเรศวร ปริญญาเอก แพทยศ์ าสตรบ์ ัณฑิต คณะแพทย์ศาสตรโ์ รงพยาบาลรามาธิบดี มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล ครุศาสตรด์ ุษฏีบณั ฑิต (บรหิ ารการศึกษา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภาระงานในปจั จุบนั (งานประจาที่รบั ผดิ ชอบ) กุมารแพทย์ ผอู้ านวยการและผู้จัดการโรงเรยี นพิจิตรอินเตอร์ งานวิจัยทีร่ ับผดิ ชอบ (กาลังดาเนนิ งาน) (ชอื่ โครงการ แหลง่ ทนุ และระยะเวลาดาเนินการ) โครงการการบรหิ ารจดั การการทอ่ งเทีย่ วมรดกวัฒนธรรมชมุ ชนบนความหลากหลายชาติพนั ธ์ุ โดยเครอื ข่ายชุมชนตาบลหวั ดง อาเภอเมืองพิจติ ร จังหวดั พิจิตร แหล่งทนุ จากสานกั งานกองทุนสนับสนนุ การวิจัย (สกว.) จานวน 400,000 บาท ระยะเวลาดาเนนิ การ 18 เดือน ผลงานทีผ่ า่ นมา ก. ผลงานวจิ ยั ตพี ิมพ์ (ระดับชาติ และระดับนานาชาติ) (ช่อื ผลงาน ช่ือวารสาร แหล่งทนุ ปที ี่พิมพ)์ Development of a supporting model for Private Basic Education Institution Scholar Vor 3 No. 1/2011 ISSN 1906-6406 Financially sponsored by “The 90th Anniversary of Chulalongkorn University Fund (Ratchadaphisek Somphot Endowment Fund)”

438 ข. ผลงานวิจยั ท่นี าไปใช้ประโยชน์ (ตอ่ สาธารณะ, ชุมชน, กลมุ่ เกษตรกร ฯลฯ) การพฒั นารปู แบบการสนบั สนนุ สถานศึกษาเอกชนระดบั การศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน ค. ผลงานอื่น ๆ เชน่ บทความ หนังสอื สทิ ธบิ ตั ร ฯลฯ การวเิ คราะหน์ โยบายทางการศึกษาของรัฐบาล ง. รางวลั ผลงานวจิ ยั ท่ไี ดร้ บั พ.ศ. 2545 โลป่ ระกาศเกยี รติคณุ ผลการเรียนดีเยี่ยมตลอดหลกั สูตรการศกึ ษามหาบณั ฑิต และเกยี รติบัตรนิสิตท่ีมีผลการเรียนดเี ดน่ จากมหาวทิ ยาลัยนเรศวร พ.ศ. 2545 เกยี รตบิ ัตรผลงานการศึกษาค้นคว้าดว้ ยตนเองตามหลักสตู รปรญิ ญาการศึกษา มหาบัณฑติ ในระดับยอดเยี่ยม จากมหาวิทยาลยั นเรศวร พ.ศ. 2551 ทนุ วจิ ัยจาก “ทุน 90 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ” กองทนุ รชั ดาภิเษกสมโภช โครงการในแผนพัฒนาวิชาการ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั 2551-2555 พ.ศ. 2552 รางวลั วิทยานิพนธย์ อดเยยี่ มจากจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ประจาปีการศกึ ษา 2552

439 ประวตั นิ กั วจิ ัย หัวหนา้ โครงการ และนักวจิ ัยร่วมโครงการ ชื่อ-สกลุ (ภาษาไทย) : นายมนูญ ดษิ เสถยี ร (ภาษาองั กฤษ) : MR. MANOON DISSATEAN ตาแหน่งปจั จบุ ัน (ทางวชิ าการ/ราชการ) : นายกองค์การบรหิ ารสว่ นตาบลหัวดง สถานทตี่ ิดตอ่ (ท่ีทางาน) องค์การบรหิ ารส่วนตาบลหัวดง ทอี่ ยู่ (หน่วยงาน) : 21 หมทู ี่ 8 ตาบลหวั ดง อาเภอเมืองพจิ ิตร จงั หวดั พจิ ติ ร 66170 โทรศพั ท์ 0 5667 4227 โทรสาร 0 5669 7085 โทรศพั ทม์ อื ถือ 08 1532 6159 E-mail : [email protected] สถานทตี่ ดิ ต่อ (ทบ่ี ้าน) ท่อี ยู่ (ท่ีบา้ น) : 137/1 หมู่ 1 ตาบลคลองคะเชนทร์ อาเภอเมอื งพจิ ิตร จงั หวัดพจิ ิตร 66170 โทรศัพท์ 09 4621 5475 โทรสาร 0 5669 7085 ประวัตกิ ารศกึ ษา (ปริญญาตรี-เอก ; สาขา และสถาบนั ) ปกศ.สูง วิทยาลยั พลศึกษา จังหวดั สุโขทยั ภาระงานในปจั จุบนั (งานประจาท่รี บั ผิดชอบ) ดารงตาแหน่งนายกองค์การบริหารส่วนตาบลหัวดง มีหน้าที่ดูแลความเป็นอยู่ของประชาชน ในพ้ืนทต่ี าบลหวั ดง ใหค้ วามเป็นอย่ทู ด่ี ี ทั้งทางด้านโครงสร้างพื้นฐาน ด้านการศึกษา ด้านสาธารณสุข ดา้ นเศรษฐกิจ สังคม และดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม งานวิจยั ทร่ี ับผิดชอบ (กาลังดาเนินงาน) (ชื่อโครงการ แหล่งทนุ และระยะเวลาดาเนินการ) 1. การศึกษาวิจัยชุมชนเชิงชาติพรรณวรรณนาแบบเร่งด่วน (Rapid Ethnographic Community Assessment Process : RECAP) ภายใตโ้ ครงการรวมพลังเครือข่ายร่วมพัฒนาชุมชน จดั การตนเองสู่ตาบลสุขภาวะ ณ พื้นท่ีตาบลหวั ดง อาเภอเมืองพจิ ติ ร จงั หวัดพิจิตร แหลง่ ทุน จากสานักงานกองทุนสนบั สนุนการสรา้ งเสรมิ สุขภาพ (สสส.) จานวน 16,000,000 บาท ระยะเวลาดาเนินการ ตั้งแต่วันท่ี 1 มถิ นุ ายน 2559 ถงึ วนั ที่ 31 พฤษภาคม 2562 2. โครงการการบริหารจดั การการท่องเทีย่ วมรดกวัฒนธรรมชุมชนบนความหลากหลายชาติ พนั ธ์โุ ดยเครอื ข่ายชุมชนตาบลหวั ดง อาเภอเมืองพจิ ิตร จงั หวดั พจิ ติ ร แหล่งทุน จากสานักงานกองทุนสนับสนุนการวจิ ยั (สกว.) จานวน 400,000 บาท ระยะเวลาดาเนินการ 18 เดือน ผลงานท่ีผา่ นมา ก. ผลงานวิจัยตพี มิ พ์ (ระดับชาติ และระดับนานาชาติ) (ชือ่ ผลงาน ชือ่ วารสาร แหล่งทนุ ปที พ่ี ิมพ์) - ข. ผลงานวจิ ัยทนี่ าไปใช้ประโยชน์ (ตอ่ สาธารณะ, ชุมชน, กลมุ่ เกษตรกร ฯลฯ) - ค. ผลงานอื่น ๆ เชน่ บทความ หนังสอื สทิ ธบิ ตั ร ฯลฯ - ง. รางวัลผลงานวิจัยท่ไี ดร้ ับ -

440 ประวัตนิ กั วจิ ัย หัวหน้าโครงการ และนกั วจิ ัยร่วมโครงการ ชอ่ื -สกลุ (ภาษาไทย) : นายบัญญัติ แกล้วเกษตรกรณ์ (ภาษาองั กฤษ) : MR. BANYAT KLAEWKASETKORN ตาแหน่งปัจจุบนั (ทางวชิ าการ/ราชการ) : ขา้ ราชการบานาญ สถานทีต่ ดิ ต่อ (ที่ทางาน) - ทอี่ ยู่ (หนว่ ยงาน) : - โทรศพั ท์ - โทรสาร - โทรศพั ทม์ ือถือ 08 9204 4274 E-mail : - สถานทต่ี ดิ ตอ่ (ที่บ้าน) ที่อยู่ (ที่บา้ น) : 40/1 ซอยภัทรพัฒนา 12 ถนนภัทรพฒั นา หมู่ 1 ตาบลหวั ดง อาเภอเมืองพจิ ติ ร จังหวัดพจิ ิตร 66170 โทรศัพท์ 08 9204 4274 โทรสาร - ประวัตกิ ารศกึ ษา (ปรญิ ญาตรี-เอก ; สาขา และสถาบัน) ปรญิ ญาโท ครุศาสตรมหาบัณฑติ สาขาการบรหิ ารการศึกษา สถาบนั ราชภัฎเพชรบรู ณ์ ภาระงานในปัจจุบัน (งานประจาทีร่ บั ผดิ ชอบ) - งานวจิ ัยท่รี ับผดิ ชอบ (กาลงั ดาเนินงาน) (ชือ่ โครงการ แหล่งทนุ และระยะเวลาดาเนนิ การ) โครงการการบรหิ ารจดั การการท่องเท่ียวมรดกวัฒนธรรมชุมชนบนความหลากหลายชาติพันธุ์ โดยเครือขา่ ยชมุ ชนตาบลหวั ดง อาเภอเมืองพิจิตร จังหวดั พิจิตร แหล่งทนุ จากสานกั งานกองทุนสนบั สนุนการวิจยั (สกว.) จานวน 400,000 บาท ระยะเวลาดาเนินการ 18 เดือน ผลงานทผี่ า่ นมา ก. ผลงานวจิ ยั ตีพิมพ์ (ระดบั ชาติ และระดบั นานาชาติ) (ช่ือผลงาน ช่อื วารสาร แหล่งทุน ปที พี่ ิมพ)์ - ข. ผลงานวิจัยทีน่ าไปใช้ประโยชน์ (ตอ่ สาธารณะ, ชุมชน, กลุม่ เกษตรกร ฯลฯ) - ค. ผลงานอ่นื ๆ เช่น บทความ หนังสอื สทิ ธิบัตร ฯลฯ - ง. รางวัลผลงานวิจยั ทไี่ ดร้ ับ -

441 ประวตั นิ กั วจิ ัย หวั หนา้ โครงการ และนักวจิ ัยรว่ มโครงการ ชื่อ-สกลุ (ภาษาไทย) : นายบรรเทงิ ศรีนาก (ภาษาองั กฤษ) : Mr. Bunthoeng Srinak ตาแหน่งปัจจุบนั (ทางวิชาการ/ราชการ) : ขา้ ราชการบานาญ สถานทต่ี ดิ ตอ่ (ที่ทางาน) - ที่อยู่ (หนว่ ยงาน) : - โทรศัพท์ - โทรสาร - โทรศัพทม์ ือถอื ๐๘ ๔๗๐๘ ๐๗๐๒ E-mail : - สถานทตี่ ิดตอ่ (ที่บา้ น) ที่อยู่ (ท่ีบา้ น) : ๕๙/๑ หมู่ท่ี ๔ ตาบลหัวดง อาเภอเมอื งพจิ ิตร จังหวดั พจิ ิตร ๖๖๑๗๐ โทรศพั ท์ ๐๘๔-๗๐๘๐๗๐๒ โทรสาร - ประวตั กิ ารศกึ ษา (ปรญิ ญาตรี-เอก ; สาขา และสถาบัน) ครศุ าสตรบณั ฑิต เอกเกษตรศาสตร์ วทิ ยาลัยครูเพชรบูรณ์ ภาระงานในปจั จุบนั (งานประจาท่ีรับผิดชอบ) 1. ดา้ นการศกึ ษา กรรมการสภาวทิ ยาลัยชุมชนพจิ ิตร, จดั การศึกษาใหผ้ ู้สูงอายุ “วิชชาลยั ผู้เชีย่ วชาญ ชีวติ ” 2. ดา้ นสังคม รองประธานผู้สูงอายจุ ังหวดั พิจิตร, ประธานผู้สงู อายอุ าเภอเมืองพิจิตร, ประธาน ชมรมผู้สูงอายุองค์การบริหารสว่ นตาบลหัวดง, กรรมการสภาวัฒนธรรมอาเภอเมอื งพิจติ ร, กรรมการ เขตสุขภาพเพอ่ื ประชาชน เขต ๓ (กขป.เขต ๓) , งานวจิ ยั ทรี่ ับผิดชอบ (กาลงั ดาเนนิ งาน) (ช่อื โครงการ แหลง่ ทุน และระยะเวลาดาเนนิ การ) โครงการการบริหารจัดการการทอ่ งเท่ียวมรดกวฒั นธรรมชุมชนบนความหลากหลายชาติพนั ธุ์ โดยเครือข่ายชมุ ชนตาบลหัวดง อาเภอเมืองพิจติ ร จังหวดั พิจติ ร แหล่งทนุ จากสานกั งานกองทุนสนับสนนุ การวิจยั (สกว.) จานวน 400,000 บาท ระยะเวลาดาเนนิ การ 18 เดือน ผลงานท่ผี ่านมา ก. ผลงานวิจยั ตพี ิมพ์ (ระดับชาติ และระดบั นานาชาต)ิ (ช่อื ผลงาน ช่อื วารสาร แหลง่ ทุน ปที ีพ่ ิมพ)์ - ข. ผลงานวจิ ัยทนี่ าไปใชป้ ระโยชน์ (ต่อสาธารณะ, ชุมชน, กลุ่มเกษตรกร ฯลฯ) - ค. ผลงานอ่ืน ๆ เชน่ บทความ หนังสือ สทิ ธบิ ัตร ฯลฯ - ง. รางวัลผลงานวจิ ัยที่ได้รบั -

442 ประวตั ินกั วจิ ัย หวั หน้าโครงการ และนักวจิ ัยร่วมโครงการ ชือ่ -สกลุ (ภาษาไทย) : นายสุนทร คาสงิ ห์ (ภาษาองั กฤษ) : MR. SONTORN KOMSING ตาแหน่งปจั จบุ นั (ทางวิชาการ/ราชการ) : สมาชิกสภาองคก์ ารบริหารสว่ นตาบลหวั ดง สถานทตี่ ดิ ตอ่ (ท่ีทางาน) - ท่อี ยู่ (หนว่ ยงาน) : 21 หมู่ 8 ตาบลหวั ดง อาเภอเมืองพิจิตร จังหวัดพิจิตร 66170 โทรศัพท์ 0 5667 4227 โทรสาร 0 5669 7085 โทรศพั ทม์ อื ถือ 06 5153 9624 E-mail : - สถานทีต่ ดิ ตอ่ (ทบ่ี ้าน) ที่อยู่ (ท่ีบา้ น) : 46 หมู่ 2 ตาบลหวั ดง อาเภอเมืองพิจติ ร จังหวดั พจิ ติ ร 66170 โทรศัพท์ 08 9204 4274 โทรสาร - ประวตั ิการศกึ ษา (ปรญิ ญาตรี-เอก ; สาขา และสถาบัน) - ภาระงานในปัจจุบนั (งานประจาทรี่ บั ผดิ ชอบ) - งานวิจัยที่รับผิดชอบ (กาลังดาเนนิ งาน) (ชอ่ื โครงการ แหลง่ ทนุ และระยะเวลาดาเนนิ การ) โครงการการบรหิ ารจดั การการทอ่ งเทย่ี วมรดกวัฒนธรรมชุมชนบนความหลากหลายชาติพันธ์ุ โดยเครอื ขา่ ยชุมชนตาบลหัวดง อาเภอเมืองพิจติ ร จงั หวัดพิจติ ร แหล่งทนุ จากสานักงานกองทุนสนบั สนนุ การวิจัย (สกว.) จานวน 400,000 บาท ระยะเวลาดาเนินการ 18 เดือน ผลงานทผ่ี ่านมา ก. ผลงานวจิ ัยตีพิมพ์ (ระดับชาติ และระดับนานาชาต)ิ (ช่อื ผลงาน ชือ่ วารสาร แหลง่ ทนุ ปีทพ่ี มิ พ)์ - ข. ผลงานวจิ ัยท่ีนาไปใชป้ ระโยชน์ (ต่อสาธารณะ, ชมุ ชน, กลมุ่ เกษตรกร ฯลฯ) - ค. ผลงานอ่นื ๆ เชน่ บทความ หนังสอื สิทธิบตั ร ฯลฯ - ง. รางวลั ผลงานวิจัยทไ่ี ด้รับ -

443 ประวตั นิ กั วิจัย หัวหน้าโครงการ และนกั วิจัยรว่ มโครงการ ชื่อ-สกลุ (ภาษาไทย) : นางกนกพร เดชมี (ภาษาองั กฤษ) : Miss. Kanokpon dasme ตาแหนง่ ปจั จบุ นั (ทางวชิ าการ/ราชการ) : ประธานกลมุ่ สมุนไพรแมแ่ จว๋ ปา่ ตาล สถานทีต่ ิดต่อ (ที่ทางาน) ท่อี ยู่ (หนว่ ยงาน) : ชมุ ชนปา่ ตาล หมู่ท่ี 1 ตาบลหวั ดง อาเภอเมอื งพิจติ ร จังหวัดพิจิตร 66170 โทรศพั ท์ 08 9678 8470 โทรสาร - โทรศพั ท์มือถอื 08 9678 8470 E-mail : - สถานท่ตี ดิ ตอ่ (ท่ีบา้ น) ท่ีอยู่ (ท่ีบ้าน) : กลุ่มสมนุ ไพรแม่แจ๋วป่าตาล หมทู่ ่ี 1 ตาบลหัวดง อาเภอเมืองพจิ ติ ร จังหวัดพจิ ติ ร โทรศัพท์ - โทรสาร - ประวัตกิ ารศกึ ษา (ปริญญาตรี-เอก ; สาขา และสถาบนั ) ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี สาขาการบญั ชี โรงเรียนพานชิ การลาปาง ภาระงานในปัจจุบนั (งานประจาทร่ี ับผิดชอบ) ส่งเสรมิ การขายผลิตภัณฑใ์ นกลุม่ สมุนไพร ประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์ การพฒั นาบรรจภุ ัณฑ์ งานวิจยั ท่ีรับผิดชอบ (กาลังดาเนินงาน) (ชื่อโครงการ แหลง่ ทุน และระยะเวลาดาเนินการ) โครงการการบริหารจัดการการทอ่ งเท่ยี วมรดกวฒั นธรรมชุมชนบนความหลากหลายชาติพนั ธุ์ โดยเครือขา่ ยชุมชนตาบลหวั ดง อาเภอเมืองพิจติ ร จังหวดั พิจติ ร แหล่งทนุ จากสานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.) จานวน 400,000 บาท ระยะเวลาดาเนนิ การ 18 เดือน ผลงานทผ่ี า่ นมา ก. ผลงานวจิ ยั ตพี มิ พ์ (ระดบั ชาติ และระดบั นานาชาติ) (ชื่อผลงาน ช่อื วารสาร แหล่งทุน ปที พี่ ิมพ์) - ข. ผลงานวจิ ยั ที่นาไปใช้ประโยชน์ (ต่อสาธารณะ, ชุมชน, กลุ่มเกษตรกร ฯลฯ) - ค. ผลงานอืน่ ๆ เช่น บทความ หนังสอื สิทธบิ ตั ร ฯลฯ - ง. รางวัลผลงานวิจัยท่ไี ด้รบั -

444 ประวัตินกั วจิ ัย หวั หนา้ โครงการและนกั วิจยั รว่ มโครงการ ช่อื -สกลุ (ภาษาไทย) : นายกฤษณพนั ธ์ คัชมาตย์ (ภาษาองั กฤษ) : Mr. Krishnapan Cutchamath ตาแหนง่ ปัจจุบัน (ทางวิชาการ/ราชการ) : สารวตั รกานลั ตาบลหวั ดง สถานทตี่ ิดต่อ (ท่ีทางาน) ท่อี ยู่ (หน่วยงาน) : โทรศัพท์ - โทรสาร - โทรศัพทม์ ือถอื 081-7208870 E-mail: - สถานทตี่ ดิ ตอ่ (ท่บี ้าน) ทีอ่ ยู่ (ที่บ้าน) : 21 หมทู่ ่ี 8 ตาบลหัวดง อาเภอเมืองพจิ ติ ร จงั หวดั พิจติ ร 66170 โทรศพั ท์ - โทรสาร - ประวตั กิ ารศึกษา(ปรญิ ญาตรี-เอก ; สาขา และสถาบัน) ประกาศนียบตั รวิชาชีพชั้นสงู สาขาการจดั การ วทิ ยาลัยการอาชพี นครนายก ภาระงานในปจั จบุ นั (งานประจาที่รับผิดชอบ) สารวัตรกานลั ตาบลหัวดง งานวจิ ยั ท่ีรับผดิ ชอบ(กาลงั ดาเนนิ งาน)(ช่ือโครงการ แหลง่ ทุน และระยะเวลาดาเนนิ การ) โครงการการบริหารจัดการการทอ่ งเท่ยี วมรดกวัฒนธรรมชมุ ชนบนความหลากหลายชาติพนั ธ์ุ โดยเครอื ข่ายชุมชนตาบลหัวดง อาเภอเมืองพิจิตร จังหวดั พิจติ ร แหลง่ ทุน จากสานกั งานกองทุนสนบั สนนุ การวิจยั (สกว.) จานวน 400,000 บาท ระยะเวลาดาเนนิ การ 18 เดือน ผลงานทผี่ า่ นมา ก. ผลงานวจิ ยั ตีพมิ พ์ (ระดบั ชาติ และระดับนานาชาต)ิ (ช่ือผลงาน ชอ่ื วารสาร แหลง่ ทุน ปที ี่พิมพ)์ - ข. ผลงานวจิ ัยท่ีนาไปใชป้ ระโยชน์ (ตอ่ สาธารณะ, ชุมชน, กลมุ่ เกษตรกร ฯลฯ) - ค. ผลงานอ่ืน ๆ เชน่ บทความ หนังสอื สิทธิบัตร ฯลฯ - ง. รางวัลผลงานวิจัยทีไ่ ดร้ ับ -

445 ประวตั ินักวจิ ัย หัวหนา้ โครงการ และนักวจิ ัยร่วมโครงการ ชอ่ื -สกลุ (ภาษาไทย) : นางสาวศริ ิเพ็ญ บุญปู่ (ภาษาองั กฤษ) : ): Miss.Siripen boonpu ตาแหน่งปจั จุบนั (ทางวชิ าการ/ราชการ) : - สถานท่ีตดิ ต่อ (ท่ีทางาน) - ท่อี ยู่ (หน่วยงาน) : 446 หม่1ู ตาบลหวั ดง อาเภอเมืองพจิ ิตร จงั หวัดพิจติ ร 66170 โทรศพั ท์ 0 5667 4227 โทรสาร - โทรศัพท์มือถือ 08 1936 9824 E-mail : [email protected] สถานทีต่ ดิ ตอ่ (ทีบ่ า้ น) ทอี่ ยู่ (ที่บา้ น) : 446 หมู่ 1 ตาบลหัวดง อาเภอเมืองพิจิตร จงั หวดั พจิ ิตร 66170 โทรศพั ท์ 08 1936 9824 โทรสาร - ประวัตกิ ารศกึ ษา (ปรญิ ญาตรี-เอก ; สาขา และสถาบนั ) 1. ปริญญาตรี ศลิ ปศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าศลิ ปศาสตร์ โปรแกรมวชิ า รฐั ประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลยั รามคาแหง 2. ปรญิ ญาโท บริหารธุรกจิ มหาบัณฑติ (การตลาด) มหาวทิ ยาลัยรามคาแหง ภาระงานในปจั จบุ ัน (งานประจาที่รบั ผดิ ชอบ) - งานวิจยั ทรี่ ับผิดชอบ (กาลงั ดาเนินงาน) (ชอื่ โครงการ แหล่งทุน และระยะเวลาดาเนินการ) โครงการการบรหิ ารจัดการการทอ่ งเท่ียวมรดกวัฒนธรรมชมุ ชนบนความหลากหลายชาติพนั ธ์ุ โดยเครอื ขา่ ยชุมชนตาบลหัวดง อาเภอเมืองพจิ ิตร จังหวดั พิจติ ร แหล่งทุน จากสานักงานกองทุนสนับสนุนการวจิ ัย (สกว.) จานวน 400,000 บาท ระยะเวลาดาเนนิ การ 18 เดือน ผลงานทีผ่ า่ นมา ก. ผลงานวิจยั ตีพมิ พ์ (ระดบั ชาติ และระดบั นานาชาติ) (ชอ่ื ผลงาน ชอื่ วารสาร แหล่งทุน ปที ี่พมิ พ์) - ข. ผลงานวิจัยทีน่ าไปใชป้ ระโยชน์ (ตอ่ สาธารณะ, ชมุ ชน, กลมุ่ เกษตรกร ฯลฯ) - ค. ผลงานอื่น ๆ เช่น บทความ หนังสือ สิทธิบัตร ฯลฯ - ง. รางวัลผลงานวิจยั ทีไ่ ด้รับ -

446 ประวตั นิ ักวิจัย หวั หนา้ โครงการ และนกั วิจัยร่วมโครงการ ช่ือ-สกลุ (ภาษาไทย) : นางละมูล จนั ทรมณี (ภาษาองั กฤษ) : MRS. LAMOON CHANTARAMANEE ตาแหนง่ ปจั จุบัน (ทางวิชาการ/ราชการ) : ประธานกลุ่มออมทรัพยบ์ ้านนา้ โจนเหนอื , ประธานกองทนุ หมูบ่ ้านน้าโจนเหนอื สถานทีต่ ิดต่อ (ท่ีทางาน) - ท่ีอยู่ (หน่วยงาน) : 69 หมู่ 6 ตาบลหวั ดง อาเภอเมืองพิจิตร จงั หวัดพจิ ติ ร 66170 โทรศพั ท์ - โทรสาร : 0 5669 7085 โทรศัพท์มือถอื 08 6200 1506 E-mail : - สถานท่ีติดต่อ (ทบี่ า้ น) ท่อี ยู่ (ท่ีบา้ น) : 69 หมู่ 6 ตาบลหวั ดง อาเภอเมืองพิจิตร จังหวดั พิจิตร 66170 โทรศพั ท์ 08 6200 1506 โทรสาร : - ประวัติการศกึ ษา (ปริญญาตรี-เอก ; สาขา และสถาบนั ) มัธยมศึกษาตอนตน้ ภาระงานในปจั จบุ ัน (งานประจาทร่ี บั ผดิ ชอบ) - งานวิจัยท่ีรับผิดชอบ (กาลังดาเนินงาน) (ช่ือโครงการ แหล่งทนุ และระยะเวลาดาเนนิ การ) โครงการการบริหารจัดการการทอ่ งเที่ยวมรดกวัฒนธรรมชุมชนบนความหลากหลายชาติพนั ธ์ุ โดยเครอื ข่ายชุมชนตาบลหวั ดง อาเภอเมืองพจิ ติ ร จงั หวดั พิจิตร แหล่งทนุ จากสานักงานกองทุนสนับสนนุ การวิจัย (สกว.) จานวน 400,000 บาท ระยะเวลาดาเนนิ การ 18 เดือน ผลงานทผี่ ่านมา ก. ผลงานวิจยั ตพี มิ พ์ (ระดบั ชาติ และระดับนานาชาต)ิ (ชื่อผลงาน ชือ่ วารสาร แหลง่ ทุน ปีทพ่ี ิมพ์) - ข. ผลงานวิจยั ทน่ี าไปใช้ประโยชน์ (ต่อสาธารณะ, ชมุ ชน, กลุม่ เกษตรกร ฯลฯ) - ค. ผลงานอืน่ ๆ เชน่ บทความ หนังสอื สทิ ธิบัตร ฯลฯ - ง. รางวลั ผลงานวจิ ัยทไี่ ด้รับ -

447 ประวตั นิ กั วจิ ัย หวั หนา้ โครงการ และนกั วจิ ัยร่วมโครงการ ชอื่ -สกลุ (ภาษาไทย) : นางสาวธิติญา เมืองเหลือ (ภาษาอังกฤษ) : Miss. Thitiya Muanglhua ตาแหนง่ ปจั จุบนั (ทางวชิ าการ/ราชการ) : - สถานทต่ี ดิ ต่อ (ท่ีทางาน) ท่ีอยู่ (หน่วยงาน) : - โทรศัพท์ - โทรสาร - โทรศัพทม์ อื ถือ 09 9693 3989 E-mail : thitiya_aom@hotmail สถานทต่ี ดิ ต่อ (ทบี่ ้าน) ทีอ่ ยู่ (ที่บ้าน) : 105 หมู่ 8 ตาบลหัวดง อาเภอเมืองพจิ ิตร จงั หวัดพจิ ติ ร โทรศพั ท์ : 064-693-9959 โทรสาร - ประวัตกิ ารศกึ ษา (ปรญิ ญาตรี-เอก ; สาขา และสถาบนั ) ปรญิ ญาโท สาขารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชพฤกษ์ ภาระงานในปัจจบุ นั (งานประจาทรี่ บั ผดิ ชอบ) หวั หน้าศูนยส์ ถาบนั พลังจักรวาลแหง่ ประเทศไทยสาขาจงั หวดั พจิ ติ ร งานวิจยั ท่ีรับผิดชอบ (กาลังดาเนนิ งาน) (ชื่อโครงการ แหลง่ ทนุ และระยะเวลาดาเนนิ การ) โครงการการบริหารจัดการการทอ่ งเท่ียวมรดกวัฒนธรรมชมุ ชนบนความหลากหลายชาติพนั ธ์ุ โดยเครือข่ายชมุ ชนตาบลหัวดง อาเภอเมืองพิจิตร จังหวัดพิจิตร แหล่งทุน จากสานกั งานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) จานวน 400,000 บาท ระยะเวลาดาเนินการ 18 เดือน ผลงานที่ผ่านมา ก. ผลงานวิจยั ตพี ิมพ์ (ระดบั ชาติ และระดับนานาชาต)ิ (ชื่อผลงาน ชอื่ วารสาร แหล่งทุน ปที พี่ มิ พ)์ - ข. ผลงานวจิ ยั ทนี่ าไปใชป้ ระโยชน์ (ตอ่ สาธารณะ, ชมุ ชน, กลุ่มเกษตรกร ฯลฯ) - ค. ผลงานอ่ืน ๆ เชน่ บทความ หนังสือ สทิ ธบิ ัตร ฯลฯ - ง. รางวลั ผลงานวจิ ยั ทไี่ ดร้ ับ -

448 ประวตั ินักวิจัย หัวหน้าโครงการ และนกั วจิ ัยร่วมโครงการ ชอ่ื -สกลุ (ภาษาไทย) : นางชุติญาทพิ พ์ สุดประเสริฐ (ภาษาอังกฤษ) : MRS. CHUTIYATHIP SUDPRASERT ตาแหนง่ ปัจจบุ ัน (ทางวชิ าการ/ราชการ) : ผ้อู านวยการกองคลัง สถานที่ติดต่อ (ที่ทางาน) ที่อยู่ (หน่วยงาน) : 21 หมทู ี่ 8 ตาบลหวั ดง อาเภอเมืองพิจิตร จงั หวดั พจิ ิตร 66170 โทรศพั ท์ 0 5667 4227 โทรสาร 0 5669 7085 โทรศพั ทม์ ือถือ 08 3082 6081 E-mail : [email protected] สถานท่ตี ดิ ต่อ (ทบ่ี า้ น) ท่ีอยู่ (ที่บา้ น) : 832/23 หม่ทู ่ี 7 ตาบลอรัญญิก อาเภอเมืองพิษณุโลก จังหวดั พิษณุโลก 65000 โทรศัพท์ 08 3082 6081 โทรสาร 0 5669 7085 ประวัติการศกึ ษา (ปริญญาตรี-เอก ; สาขา และสถาบนั ) 1. ปริญญาตรี บริหารธรุ กิจบณั ฑติ สาขาวิชาบริหารธุรกจิ โปรแกรมวิชาการบรหิ ารธุรกิจ แขนง วชิ าการบัญชี สถาบันราชภฎั เพชรบรู ณ์ 2. ปรญิ ญาโท รัฐประศาสนศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ า นโยบายสาธารณะ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร ภาระงานในปัจจบุ ัน (งานประจาทรี่ ับผิดชอบ) ตาแหนง่ ผู้อานวยการกองคลัง ปฏิบัติหน้าท่ีในฐานะหัวหน้างานของข้าราชการและพนักงาน ขององคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลหัวดง งานวิจยั ทร่ี ับผิดชอบ (กาลังดาเนินงาน) (ชอ่ื โครงการ แหลง่ ทนุ และระยะเวลาดาเนนิ การ) 1. การศึกษาวจิ ยั ชุมชนเชิงชาตพิ รรณวรรณนาแบบเร่งด่วน (Rapid Ethnographic Community Assessment Process : RECAP) ภายใตโ้ ครงการรวมพลงั เครือขา่ ยร่วมพฒั นาชมุ ชน จดั การตนเองสตู่ าบลสุขภาวะ ณ พ้นื ที่ตาบลหวั ดง อาเภอเมืองพิจติ ร จังหวัดพจิ ติ ร แหลง่ ทุน จากสานกั งานกองทุนสนบั สนนุ การสร้างเสรมิ สุขภาพ (สสส.) จานวน 16,612,700 บาท ระยะเวลาดาเนนิ การ ต้งั แตว่ นั ที่ 1 มถิ นุ ายน 2559 ถงึ วันท่ี 31 พฤษภาคม 2562 2. โครงการการบรหิ ารจัดการการท่องเท่ียวมรดกวฒั นธรรมชมุ ชนบนความหลากหลายชาติ พันธุโ์ ดยเครือข่ายชมุ ชนตาบลหวั ดง อาเภอเมืองพิจติ ร จังหวดั พิจิตร แหล่งทุน จากสานักงานกองทุนสนบั สนุนการวจิ ยั (สกว.) จานวน 400,000 บาท ระยะเวลาดาเนินการ 18 เดือน ผลงานทผ่ี ่านมา ก. ผลงานวิจัยตพี มิ พ์ (ระดบั ชาติ และระดับนานาชาต)ิ (ชอ่ื ผลงาน ชื่อวารสาร แหล่งทุน ปีท่ีพมิ พ)์ - ข. ผลงานวจิ ยั ท่นี าไปใช้ประโยชน์ (ต่อสาธารณะ, ชุมชน, กล่มุ เกษตรกร ฯลฯ) - ค. ผลงานอื่น ๆ เช่น บทความ หนงั สือ สทิ ธบิ ัตร ฯลฯ - ง. รางวลั ผลงานวจิ ัยทีไ่ ด้รับ -

449 ประวตั นิ ักวิจัย หวั หน้าโครงการ และนักวิจัยร่วมโครงการ ช่อื -สกลุ (ภาษาไทย) : นายประภาส กายเพ็ชร (ภาษาองั กฤษ) : MR. PRAPAS GAYPHET ตาแหนง่ ปจั จบุ ัน (ทางวชิ าการ/ราชการ) : ปลดั องค์การบริหารส่วนตาบลหวั ดง สถานท่ตี ิดต่อ (ที่ทางาน) ที่อยู่ (หนว่ ยงาน) : 21 หมูที่ 8 ตาบลหัวดง อาเภอเมืองพิจิตร จงั หวัดพจิ ติ ร 66170 โทรศัพท์ 0 5667 4227 โทรสาร 0 5669 7085 โทรศพั ท์มอื ถือ 09 4621 5475 E-mail : [email protected] สถานที่ตดิ ตอ่ (ท่บี ้าน) ที่อยู่ (ที่บ้าน) : 21/22 หมทู่ ่ี 10 ตาบลคลองคะเชนทร์ อาเภอเมอื งพจิ ิตร จงั หวดั พจิ ติ ร 66000 โทรศัพท์ 09 4621 5475 โทรสาร 0 5669 7085 ประวัติการศึกษา (ปรญิ ญาตรี-เอก ; สาขา และสถาบัน) 1. ปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าศิลปศาสตร์ โปรแกรมวิชา รัฐประศาสนศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฎั เพชรบรู ณ์ 2. ปริญญาโท รัฐประศาสนศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชา นโยบายสาธารณะ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร ภาระงานในปจั จุบัน (งานประจาท่ีรบั ผิดชอบ) - ตาแหน่งปลัดองค์การบริหารส่วนตาบลหัวดง ปฏิบัติหน้าที่หัวหน้าข้าราชการและพนักงานจ้างของ องคก์ ารบริหารสว่ นตาบลหวั ดง งานวิจยั ทรี่ ับผดิ ชอบ (กาลงั ดาเนนิ งาน) (ชือ่ โครงการ แหล่งทนุ และระยะเวลาดาเนนิ การ) 1. การศกึ ษาวิจัยชมุ ชนเชงิ ชาตพิ รรณวรรณนาแบบเรง่ ดว่ น (Rapid Ethnographic Community Assessment Process : RECAP) ภายใตโ้ ครงการรวมพลงั เครอื ขา่ ยร่วมพฒั นาชมุ ชน จัดการตนเองสตู่ าบลสขุ ภาวะ ณ พื้นทีต่ าบลหวั ดง อาเภอเมืองพิจิตร จังหวดั พิจิตร แหล่งทุน จากสานักงานกองทุนสนบั สนนุ การสรา้ งเสริมสุขภาพ (สสส.) จานวน 16,000,000 บาท ระยะเวลาดาเนินการ ต้ังแตว่ ันท่ี 1 มถิ ุนายน 2559 ถึงวนั ท่ี 31 พฤษภาคม 2562 2. โครงการการบริหารจัดการการทอ่ งเทย่ี วมรดกวฒั นธรรมชมุ ชนบนความหลากหลายชาติ พนั ธุ์โดยเครอื ข่ายชมุ ชนตาบลหัวดง อาเภอเมืองพจิ ิตร จังหวดั พิจติ ร แหล่งทุน จากสานักงานกองทุนสนบั สนุนการวิจัย (สกว.) จานวน 400,000 บาท ระยะเวลาดาเนนิ การ 18 เดือน ผลงานท่ีผา่ นมา ก. ผลงานวิจยั ตีพมิ พ์ (ระดับชาติ และระดบั นานาชาติ) (ชือ่ ผลงาน ชอื่ วารสาร แหลง่ ทนุ ปที พ่ี ิมพ)์ - ข. ผลงานวจิ ัยที่นาไปใชป้ ระโยชน์ (ตอ่ สาธารณะ, ชมุ ชน, กลุ่มเกษตรกร ฯลฯ) - ค. ผลงานอ่นื ๆ เชน่ บทความ หนังสือ สิทธบิ ัตร ฯลฯ - ง. รางวัลผลงานวจิ ยั ท่ีได้รับ -

450 ประวตั นิ กั วจิ ัย หวั หน้าโครงการ และนักวจิ ัยร่วมโครงการ ชอ่ื -สกลุ (ภาษาไทย) : นายสมยศ แสวงทอง (ภาษาองั กฤษ) : Somyos Sawangthong ตาแหน่งปัจจุบนั (ทางวิชาการ/ราชการ) : นกั วชิ าการสาธารณสุขชานาญการ สถานทีต่ ดิ ต่อ (ที่ทางาน) กองสาธารณสขุ และสง่ิ แวดล้อม เทศบาลตาบลหวั ดง ทอ่ี ยู่ (หนว่ ยงาน) : ชมุ ชนปา่ ตาล หม่ทู ี่ 1 ตาบลหวั ดง อาเภอเมืองพิจิตร จังหวดั พจิ ติ ร โทรศพั ท์ 0 5669 7731 โทรสาร - โทรศัพทม์ อื ถือ 08-53540009 E-mail : [email protected] สถานทตี่ ิดตอ่ (ทบี่ า้ น) ท่อี ยู่ (ท่ีบา้ น) : 266/26 หมู่ท่ี 3 ตาบลคลองคะเชนทร์ อาเภอเมืองพจิ ติ ร จงั หวัดพจิ ติ ร โทรศัพท์ 08-53540009 โทรสาร - ประวัติการศกึ ษา (ปริญญาตรี-เอก ; สาขา และสถาบนั ) วทิ ยาศาสตร์บัณฑติ การส่งเสรมิ สขุ ภาพเด็ก มหาวิทยาลัยราชภฏั พบิ ลู สงคราม ภาระงานในปัจจุบนั (งานประจาทีร่ บั ผิดชอบ) ปฏิบัติงานด้านวิชาการสาธารณสุข การส่งเสริมสุขภาพ การสุขาภิบาลตลาด การเผยแพร่ วิชาการสาธารณสขุ งานสตั ว์แพทย์ การป้องกันและควบคุมโรค งานรักษาความสะอาดบ้านเมือง การ กาจัดขยะสิ่งปฏิกูลมูลฝอย การบริการการแพทย์ฉุกเฉิน กองทุนหลักประกันสุขภาพ การพัฒนา นวตั กรรมสุขภาพ การบรหิ ารงานสาธารณสุข การจดั บริการสาธารณสขุ อ่ืน ๆ งานวิจยั ที่รับผิดชอบ (กาลังดาเนนิ งาน) (ช่อื โครงการ แหลง่ ทุน และระยะเวลาดาเนนิ การ) โครงการการบรหิ ารจดั การการทอ่ งเท่ียวมรดกวัฒนธรรมชุมชนบนความหลากหลายชาติพนั ธ์ุ โดยเครอื ขา่ ยชุมชนตาบลหวั ดง อาเภอเมืองพิจิตร จงั หวัดพิจติ ร แหลง่ ทุน จากสานกั งานกองทุนสนับสนุนการวจิ ยั (สกว.) จานวน 400,000 บาท ระยะเวลาดาเนนิ การ 18 เดือน ผลงานทผี่ ่านมา ก. ผลงานวิจัยตีพมิ พ์ (ระดบั ชาติ และระดับนานาชาติ) (ช่อื ผลงาน ช่ือวารสาร แหล่งทุน ปีทพ่ี ิมพ)์ - ข. ผลงานวิจยั ทนี่ าไปใชป้ ระโยชน์ (ต่อสาธารณะ, ชมุ ชน, กลมุ่ เกษตรกร ฯลฯ) - ค. ผลงานอ่นื ๆ เช่น บทความ หนงั สอื สทิ ธบิ ตั ร ฯลฯ - ง. รางวลั ผลงานวจิ ัยท่ีได้รบั -

451 ประวัตินกั วจิ ัย หัวหนา้ โครงการ และนกั วิจัยร่วมโครงการ ช่ือ-สกลุ (ภาษาไทย) : นายณรงค์ โตะ๊ ดอนทอง (ภาษาองั กฤษ) : Mr.Narong Thohdonthong ตาแหน่งปัจจบุ ัน (ทางวิชาการ/ราชการ) : นกั วิชาการสาธารณสุขชานาญการ สถานทตี่ ดิ ต่อ (ที่ทางาน) ทีอ่ ยู่ (หน่วยงาน) : โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบา้ นเนนิ ยาว ตาบลหวั ดง อาเภอเมือง พิจิตร จงั หวดั พจิ ติ ร 66170 โทรศพั ท์ - โทรสาร - โทรศัพทม์ อื ถอื 08 6441 3178 E-mail : [email protected] สถานทต่ี ดิ ต่อ (ทบี่ ้าน) ทอ่ี ยู่ (ที่บ้าน) : 14/290 ถนนสระหลวง ตาบลในเมอื ง อาเภอเมอื งพิจิตร จังหวัดพจิ ติ ร 66000 โทรศพั ท์ 08 1281 1228 โทรสาร - ประวตั ิการศึกษา (ปรญิ ญาตรี-เอก ; สาขา และสถาบัน) ปรญิ ญาตรีสาธารณสขุ ศาสตร์บณั ฑติ สาขาสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช ภาระงานในปจั จบุ นั (งานประจาทรี่ บั ผดิ ชอบ) ผอู้ านวยการโรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตาบลบ้านเนินยาว งานวจิ ยั ที่รับผดิ ชอบ (กาลังดาเนินงาน) (ช่ือโครงการ แหล่งทุน และระยะเวลาดาเนินการ) 2. โครงการการบริหารจดั การการทอ่ งเท่ยี วมรดกวฒั นธรรมชุมชนบนความหลากหลายชาติ พันธ์ุโดยเครือข่ายชมุ ชนตาบลหัวดง อาเภอเมืองพจิ ติ ร จงั หวดั พิจิตร แหลง่ ทนุ จากสานักงานกองทุนสนับสนุนการวจิ ยั (สกว.) จานวน 400,000 บาท ระยะเวลาดาเนินการ 18 เดือน ผลงานทผ่ี ่านมา ก. ผลงานวจิ ัยตพี ิมพ์ (ระดบั ชาติ และระดบั นานาชาต)ิ (ชอื่ ผลงาน ช่อื วารสาร แหลง่ ทนุ ปีทพ่ี มิ พ์) - ข. ผลงานวจิ ัยทีน่ าไปใช้ประโยชน์ (ตอ่ สาธารณะ, ชุมชน, กลุ่มเกษตรกร ฯลฯ) - ค. ผลงานอ่ืน ๆ เช่น บทความ หนังสือ สิทธิบตั ร ฯลฯ - ง. รางวัลผลงานวจิ ยั ที่ได้รบั -

452 ประวัตินักวจิ ัย หวั หนา้ โครงการ และนักวิจัยร่วมโครงการ ช่อื -สกลุ (ภาษาไทย) : นางสาวขวัญเรือน ศรีบญุ เรือง (ภาษาองั กฤษ) : MISS. KHANRUAN SRIBOONRUANG ตาแหนง่ ปัจจุบัน (ทางวิชาการ/ราชการ) : ผอู้ านวยการกองสวสั ดิการสังคม สถานที่ตดิ ต่อ (ท่ีทางาน) องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลหัวดง ที่อยู่ (หนว่ ยงาน) : 21 หมทู ี่ 8 ตาบลหวั ดง อาเภอเมืองพจิ ิตร จงั หวัดพิจิตร 66170 โทรศพั ท์ 0 5667 4227 โทรสาร 0 5669 7085 โทรศัพทม์ อื ถือ 089 4558 6033 E-mail : @hotmail.com สถานท่ีตดิ ต่อ (ที่บา้ น) ทอ่ี ยู่ (ที่บา้ น) : บ้านเลขท่ี 4 หมู่ 1 ตาบลหวั ดง อาเภอเมืองพจิ ิตร จงั หวัดพิจิตร 66000 โทรศพั ท์ 089 4558 6033 โทรสาร 0 5669 7085 ประวตั ิการศึกษา (ปรญิ ญาตรี-เอก ; สาขา และสถาบัน) 1. ปริญญาตรี วทิ ยาศาสตรบัณฑิต(เกษตรศาสตร์) สถาบันราชภัฏพิบูลสงคราม 2. ปรญิ ญาโท รฐั ประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา นโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยนเรศวร ภาระงานในปัจจุบนั (งานประจาที่รบั ผิดชอบ) - งานด้านสวัสดิการสังคม การสังคมสงเคราะห์ที่เก่ียวกับการส่งเสริมสวัสดิภาพเด็กและเยาวชน ผสู้ ูงอายุ ผูพ้ กิ าร ผดู้ อ้ ยโอกาส การพัฒนาชุมชน การสง่ เสรมิ งานประเพณีท้องถิ่น และปฏิบตั ิหน้าท่ีอ่ืนทีเ่ กีย่ วข้อง - นักวิชาการขับเคลอ่ื นโครงการรวมพลงั เครือขา่ ยรว่ มพฒั นาชมุ ชนจัดการตนเองสตู่ าบลสขุ ภาวะ (ใน เขตพ้นื ทภี่ าคเหนือตอนลา่ ง) รว่ มกับสานกั งานกองทนุ สนบั สนุนการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ (สสส.) ในการ รว่ มพฒั นาชุมชนทอ้ งถิน่ นา่ อยู่อยา่ งยง่ั ยืน งานวจิ ัยทรี่ บั ผิดชอบ (กาลังดาเนินงาน) (ช่อื โครงการ แหล่งทนุ และระยะเวลาดาเนนิ การ) 1. การศึกษาวิจัยชุมชนเพ่ือพัฒนาขีดความสามารถด้านการพัฒนาระบบข้อมูลตาบลแบบมี ส่วนร่วม (Thailand Community Network Appraisal Program : TCNAP) ภายใต้โครงการรวม พลังเครือข่ายร่วมพัฒนาชุมชนจัดการตนเองสู่ตาบลสุขภาวะณ พื้นท่ีตาบลหัวดง อาเภอเมืองพิจิตร จงั หวัดพิจติ ร แหลง่ ทนุ จากสานกั งานกองทนุ สนบั สนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จานวน 16,612,700 บาท ระยะเวลาดาเนนิ การ วันที่ 1 มิถุนายน 2559 ถงึ วนั ท่ี 31 พฤษภาคม 2562 2. โครงการการบริหารจัดการการทอ่ งเท่ยี วมรดกวฒั นธรรมชุมชนบนความหลากหลายชาติ พนั ธโุ์ ดยเครอื ข่ายชมุ ชนตาบลหัวดง อาเภอเมืองพิจิตร จงั หวัดพจิ ิตร แหลง่ ทุน จากสานักงานกองทุนสนบั สนุนการวจิ ัย (สกว.) จานวน 400,000 บาท ระยะเวลาดาเนินการ 18 เดือน

453 ผลงานทผ่ี ่านมา ก. ผลงานวิจัยตพี ิมพ์ (ระดับชาติ และระดับนานาชาต)ิ (ชือ่ ผลงาน ชื่อวารสาร แหล่งทนุ ปีท่ีพิมพ์) - ข. ผลงานวิจัยทีน่ าไปใชป้ ระโยชน์ (ตอ่ สาธารณะ, ชุมชน, กลมุ่ เกษตรกร ฯลฯ) ชื่อผลงานวิจัย การศึกษาความคิดเห็นของประชาชนด้านการใช้บริการสถานีสูบน้าด้วยพลังงาน ไฟฟ้า กรณีศึกษา:สถานีสูบน้าด้วยไฟฟ้าขององค์การบริหารส่วนตาบลหัวดง อาเภอเมืองพิจิตร จังหวัดพจิ ติ ร จุดมุ่งหมาย เพ่ือศึกษาความคิดเห็นของประชาชนด้านการใช้บริการสถานีสูบน้าด้วยพลังงาน ไฟฟ้าและศึกษาปัญหา อุปสรรคต่อการใช้บริการสถานีสูบน้าด้วยพลังงานไฟฟ้าขององค์การบริหาร สว่ นตาบลหวั ดง อาเภอเมอื งพจิ ิตร จังหวัดพจิ ติ ร ค. ผลงานอื่น ๆ เชน่ บทความ หนงั สือ สิทธิบัตร ฯลฯ - ง. รางวลั ผลงานวจิ ยั ที่ไดร้ บั -

454 ประวตั ินักวิจัย หัวหนา้ โครงการ และนักวิจัยร่วมโครงการ ชอื่ -สกลุ (ภาษาไทย) : นายสทิ ธิชัย สีจนี (ภาษาองั กฤษ): Mr.Sitthichai Seechin ตาแหนง่ ปัจจบุ ัน (ทางวชิ าการ/ราชการ) : เจ้าของกิจการ สถานทีต่ ดิ ต่อ (ที่ทางาน) ที่อยู่ (หนว่ ยงาน) 22/1 ม.3 ซ.ภทั รพัฒนา 20 ตาบลหวั ดง อาเภอเมืองพิจติ ร จังหวดั พิจิตร โทรศพั ท์ - โทรสาร - โทรศพั ท์มือถอื 08 9306 2604 E-mail : [email protected] สถานทีต่ ดิ ต่อ (ทีบ่ า้ น) ทอี่ ยู่ (ท่ีบ้าน) : 22/1 ม.3 ซ.ภทั รพฒั นา 20 ตาบลหัวดง อาเภอเมอื งพิจติ ร จงั หวดั พจิ ิตร โทรศัพท์ 089-3062604 โทรสาร - ประวัตกิ ารศึกษา (ปรญิ ญาตรี-เอก ; สาขา และสถาบนั ) - ปรญิ ญาตรี คณะบรหิ ารธรุ กิจ เอกคอมพิวเตอรธ์ รุ กจิ มหาวิทยาลัยพิษณโุ ลก ภาระงานในปัจจุบนั (งานประจาทร่ี บั ผดิ ชอบ) - เลขาประธานชุมชนเขาพระ ต.หวั ดง /อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่บา้ น งานวจิ ัยทร่ี ับผิดชอบ (กาลงั ดาเนนิ งาน) (ช่อื โครงการ แหลง่ ทนุ และระยะเวลาดาเนนิ การ) โครงการการบริหารจัดการการท่องเที่ยวมรดกวัฒนธรรมชมุ ชนบนความหลากหลายชาติพนั ธ์ุ โดยเครือข่ายชมุ ชนตาบลหวั ดง อาเภอเมืองพจิ ติ ร จงั หวดั พิจิตร แหล่งทนุ จากสานกั งานกองทุนสนับสนนุ การวิจัย (สกว.) จานวน 400,000 บาท ระยะเวลาดาเนนิ การ 18 เดือน ผลงานท่ีผ่านมา ก. ผลงานวิจยั ตพี ิมพ์ (ระดับชาติ และระดับนานาชาติ) (ชือ่ ผลงาน ชอ่ื วารสาร แหลง่ ทุน ปที ีพ่ มิ พ์) - ข. ผลงานวจิ ยั ท่ีนาไปใช้ประโยชน์ (ตอ่ สาธารณะ, ชุมชน, กลุ่มเกษตรกร ฯลฯ) - ค. ผลงานอื่น ๆ เช่น บทความ หนงั สอื สิทธบิ ัตร ฯลฯ - ง. รางวัลผลงานวจิ ยั ทไี่ ด้รบั -

455 ประวัตนิ กั วจิ ัย หัวหน้าโครงการ และนกั วจิ ัยรว่ มโครงการ ชอื่ -สกลุ (ภาษาไทย) : นางสาววรรี ล์ ักษณ์ เจริญเสียง (ภาษาอังกฤษ) : Miss. Varilak cheroeansiang ตาแหนง่ ปจั จุบนั (ทางวิชาการ/ราชการ) : ประธานชมุ ชนริมน่าน สถานท่ตี ดิ ต่อ (ที่ทางาน) ทอี่ ยู่ (หนว่ ยงาน) : 21 หมูท่ี 8 ตาบลหวั ดง อาเภอเมืองพจิ ิตร จังหวดั พิจิตร 66170 โทรศัพท์ 0 5667 4227 โทรสาร 0 5669 7085 โทรศัพทม์ อื ถือ 09 4634 9429 E-mail : [email protected] สถานทตี่ ิดตอ่ (ที่บา้ น) ทีอ่ ยู่ (ที่บ้าน) : 4 หมู่ 1 ตาบลหัวดง อาเภอเมืองพจิ ติ ร จงั หวัดพจิ ติ ร 66170 โทรศพั ท์ 09 4634 9429 โทรสาร 0 5669 7085 ประวตั กิ ารศึกษา (ปริญญาตรี-เอก ; สาขา และสถาบัน) ปริญญาตรีครุศาสตร์บัณฑิต สาขาเทคโนโลยีนวัตกรรมการศึกษาใหม่ มหาวิทยาลัยราชภัฎ จนั ทรเกษม ภาระงานในปัจจบุ นั (งานประจาทร่ี ับผดิ ชอบ) ประธานชุมชนรมิ น่าน หมู่ 1 ตาบลหัวดง อาเภอเมืองพจิ ติ ร จังหวัดพิจิตร ผคู้ วบคมุ ทมี ราวงย้อนยุคเพ่ือสขุ ภาพตาบลหัวดง งานวิจยั ทีร่ ับผิดชอบ (กาลังดาเนนิ งาน) (ชอ่ื โครงการ แหล่งทนุ และระยะเวลาดาเนินการ) โครงการการบริหารจัดการการท่องเท่ียวมรดกวฒั นธรรมชมุ ชนบนความหลากหลายชาติพันธุ์ โดยเครือขา่ ยชุมชนตาบลหัวดง อาเภอเมืองพิจติ ร จังหวัดพิจิตร แหลง่ ทนุ จากสานักงานกองทุนสนบั สนนุ การวิจัย (สกว.) จานวน 400,000 บาท ระยะเวลาดาเนินการ 18 เดือน ผลงานที่ผ่านมา ก. ผลงานวิจยั ตพี ิมพ์ (ระดบั ชาติ และระดบั นานาชาติ) (ช่ือผลงาน ชอื่ วารสาร แหลง่ ทนุ ปที ี่พิมพ)์ - ข. ผลงานวิจยั ท่นี าไปใชป้ ระโยชน์ (ตอ่ สาธารณะ, ชุมชน, กลุ่มเกษตรกร ฯลฯ) - ค. ผลงานอ่นื ๆ เชน่ บทความ หนงั สอื สิทธิบัตร ฯลฯ - ง. รางวัลผลงานวิจัยท่ีไดร้ บั -

456 ประวัตนิ ักวิจัย หัวหนา้ โครงการ และนกั วิจัยรว่ มโครงการ ชื่อ-สกลุ (ภาษาไทย) : นางเนรัญชลา โชคศรัณทิพย์ (ภาษาองั กฤษ) : MRS. Neranchala Choksaruntip ตาแหน่งปจั จบุ ัน (ทางวชิ าการ/ราชการ) : นกั วเิ คราะห์นโยบายและแผนปฏบิ ัตกิ าร สถานท่ีติดต่อ (ที่ทางาน) สานักงานเทศบาลตาบลหัวดง ที่อยู่ (หนว่ ยงาน) : สานกั งานเทศบาลตาบลหวั ดง หม่ทู ี่ 8 ตาบลหัวดง อาเภอเมอื งพิจติ ร จังหวดั พิจติ ร โทรศัพท์ : 0 5669 7306 โทรสาร 0 5669 7356 โทรศัพทม์ อื ถือ : 09 6665 3928 E-mail : [email protected] สถานทีต่ ดิ ต่อ (ทบี่ า้ น) ท่อี ยู่ (ท่ีบา้ น) : 222 หมู่ที่ 1 ตาบลดงปา่ คา อาเภอเมืองพิจิตร จังหวดั พจิ ติ ร โทรศัพท์ 09 6665 3928 โทรสาร - ประวัตกิ ารศกึ ษา (ปริญญาตรี-เอก ; สาขา และสถาบัน) ปริญญาตรี สาขาการปกครองท้องถน่ิ คณะรฐั ประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ ลาปาง ภาระงานในปจั จุบนั (งานประจาท่รี บั ผดิ ชอบ) ปฏบิ ัติงานด้านวิชาการ รวบรวมวิเคราะห์ และประมวลนโยบายของรัฐบาล คณะผู้บริหาร ท้องถิ่น สถานการณ์เศรษฐกิจ การเมือง และสังคม เพื่อวางแผนกาหนดแนวทาง การพัฒนา องค์กรและท้องถิ่น ให้เป็นไปตามเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ที่กาหนด โดยเกิดประโยชน์แก่ประชาชน สูงสุดและงานอน่ื ๆ ตามทไี่ ด้รบั มอบหมาย งานวิจยั ที่รับผิดชอบ (กาลงั ดาเนินงาน) (ช่อื โครงการ แหล่งทุน และระยะเวลาดาเนนิ การ) โครงการการบรหิ ารจดั การการท่องเที่ยวมรดกวัฒนธรรมชมุ ชนบนความหลากหลายชาติพนั ธ์ุ โดยเครอื ขา่ ยชุมชนตาบลหวั ดง อาเภอเมืองพิจิตร จงั หวัดพิจติ ร แหลง่ ทุน จากสานักงานกองทุนสนับสนนุ การวิจยั (สกว.) จานวน 400,000 บาท ระยะเวลาดาเนินการ 18 เดือน ผลงานที่ผา่ นมา ก. ผลงานวิจัยตพี มิ พ์ (ระดบั ชาติ และระดบั นานาชาติ) (ช่อื ผลงาน ชอ่ื วารสาร แหล่งทนุ ปีทพี่ มิ พ)์ - ข. ผลงานวจิ ัยทนี่ าไปใช้ประโยชน์ (ต่อสาธารณะ, ชมุ ชน, กลุ่มเกษตรกร ฯลฯ) - ค. ผลงานอ่นื ๆ เชน่ บทความ หนังสือ สทิ ธบิ ตั ร ฯลฯ - ง. รางวลั ผลงานวจิ ยั ที่ไดร้ ับ -

457 ประวตั นิ กั วจิ ัย หวั หน้าโครงการและนักวิจัยรว่ มโครงการ ชื่อ-สกลุ (ภาษาไทย) : นางสาวภิรมย์วรรณ ปิยะราช (ภาษาอังกฤษ) : Miss. Piromwan Piyarach ตาแหน่งปจั จบุ นั (ทางวชิ าการ/ราชการ) : ผูช้ ่วยเจา้ พนักงานสาธารณสขุ ชุมชน สถานที่ติดต่อ (ที่ทางาน) : เทศบาลตาบลหวั ดง (กองสาธารณสุขและสงิ่ แวดล้อม) ท่อี ยู่ (หน่วยงาน) : เทศบาลตาบลหัวดง (กองสาธารณสุขและสง่ิ แวดล้อม) โทรศพั ท์ 056-697310 โทรสาร - โทรศพั ท์มอื ถือ 062-1686359 E-mail: [email protected] สถานท่ตี ดิ ต่อ (ทบี่ า้ น) ท่อี ยู่ (ที่บา้ น) : 21 หมู่ที่ 8 ตาบลหวั ดง อาเภอเมืองพิจิตร จังหวดั พิจิตร 661701 โทรศัพท์ 056-697310 โทรสาร - ประวตั ิการศึกษา(ปรญิ ญาตรี-เอก ; สาขา และสถาบัน) ปริญญาตรี เอกสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอตุ รดติ ถ์ ภาระงานในปัจจุบนั (งานประจาที่รบั ผิดชอบ) ผู้ช่วยเจา้ พนกั งานสาธารณสขุ ชมุ ชน เทศบาลตาบลหวั ดง กองสาธารณสขุ และส่งิ แวดลอ้ ม งานวจิ ัยทร่ี ับผดิ ชอบ(กาลงั ดาเนินงาน)(ช่อื โครงการ แหลง่ ทุน และระยะเวลาดาเนินการ) โครงการการบริหารจดั การการทอ่ งเที่ยวมรดกวัฒนธรรมชมุ ชนบนความหลากหลายชาติพนั ธ์ุ โดยเครือขา่ ยชมุ ชนตาบลหวั ดง อาเภอเมืองพิจิตร จงั หวดั พิจิตร แหล่งทุน จากสานกั งานกองทุนสนบั สนนุ การวิจัย (สกว.) จานวน 400,000 บาท ระยะเวลาดาเนนิ การ 18 เดือน ผลงานท่ผี ่านมา ก. ผลงานวิจยั ตีพมิ พ์ (ระดบั ชาติ และระดับนานาชาติ)(ช่ือผลงาน ช่อื วารสาร แหล่งทุน ปีที่พิมพ)์ - ข. ผลงานวจิ ัยทนี่ าไปใช้ประโยชน์ (ตอ่ สาธารณะ, ชมุ ชน, กลุ่มเกษตรกร ฯลฯ) - ค. ผลงานอ่นื ๆ เช่น บทความ หนังสือ สทิ ธบิ ัตร ฯลฯ - ง. รางวลั ผลงานวจิ ัยทีไ่ ด้รับ -

458 ประวตั นิ ักวจิ ัย หัวหน้าโครงการและนักวจิ ยั ร่วมโครงการ ชอ่ื -สกลุ (ภาษาไทย) : นางสาวรัศมี ตน้ จันทร์ (ภาษาอังกฤษ) : Miss. Rassamee Tonjun ตาแหนง่ ปจั จุบัน (ทางวิชาการ/ราชการ) : ผู้ชว่ ยผใู้ หญบ่ ้านหมู่ที่ 4 บ้านเนนิ ยาว สถานท่ีตดิ ต่อ (ที่ทางาน) : ท่ที าการผูใ้ หญ่บ้าน หมทู่ ี่ 4 บา้ นเนนิ ยาว ทีอ่ ยู่ (หนว่ ยงาน) : 43 หมทู่ ่ี 4 บา้ นเนินยาว ตาบลหัวดง อาเภอเมืองพิจิตร จงั หวัดพิจติ ร 66170 โทรศัพท์ - โทรสาร - โทรศัพทม์ ือถือ 08-9805 4844 E-mail : - สถานท่ีติดต่อ (ท่บี า้ น) ท่ีอยู่ (ที่บา้ น) : 79 หมูท่ ่ี 4 ตาบลหวั ดง อาเภอเมืองพิจิตร จงั หวดั พจิ ิตร 661701 โทรศพั ท์ 08-9805 4844 โทรสาร - ประวัติการศกึ ษา (ปรญิ ญาตรี-เอก ; สาขา และสถาบนั ) มัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) ภาระงานในปัจจบุ นั (งานประจาทีร่ ับผดิ ชอบ) ผชู้ ว่ ยผู้ใหญบ่ า้ น หมทู่ ี่ 4 บ้านเนินยาว งานวจิ ยั ท่ีรับผิดชอบ(กาลงั ดาเนินงาน) (ชอ่ื โครงการ แหล่งทุน และระยะเวลาดาเนินการ) โครงการการบรหิ ารจัดการการทอ่ งเทย่ี วมรดกวัฒนธรรมชมุ ชนบนความหลากหลายชาติพนั ธ์ุ โดยเครือขา่ ยชุมชนตาบลหัวดง อาเภอเมืองพจิ ติ ร จังหวดั พิจติ ร แหลง่ ทนุ จากสานกั งานกองทุนสนับสนนุ การวิจัย (สกว.) จานวน 400,000 บาท ระยะเวลาดาเนนิ การ 18 เดือน ผลงานท่ีผ่านมา ก. ผลงานวจิ ัยตพี มิ พ์ (ระดับชาติ และระดบั นานาชาต)ิ (ชื่อผลงาน ชื่อวารสาร แหลง่ ทุน ปที พ่ี มิ พ์) - ข. ผลงานวจิ ัยท่นี าไปใช้ประโยชน์ (ต่อสาธารณะ, ชุมชน, กลุม่ เกษตรกร ฯลฯ) - ค. ผลงานอนื่ ๆ เช่น บทความ หนงั สอื สทิ ธิบัตร ฯลฯ - ง. รางวัลผลงานวิจยั ทีไ่ ดร้ บั -

459 ประวัตินกั วิจัย หวั หน้าโครงการ และนักวจิ ัยร่วมโครงการ ช่ือ-สกลุ (ภาษาไทย) : นางสาวจันมาลี จันทร์มะลิ (ภาษาอังกฤษ) : CHANMALEE CHANMALI ตาแหนง่ ปัจจุบนั (ทางวชิ าการ/ราชการ) : นักจัดการงานทั่วไปชานาญการ สถานที่ติดต่อ (ที่ทางาน) ท่ีอยู่ (หน่วยงาน) : 21 หมูท่ี 8 ตาบลหัวดง อาเภอเมืองพจิ ิตร จงั หวัดพจิ ิตร 66170 โทรศพั ท์ 0 5667 4227 โทรสาร 0 5669 7085 โทรศพั ท์มือถือ 08 8286 1678 E-mail : [email protected] สถานท่ีติดตอ่ (ทบ่ี ้าน) ที่อยู่ (ท่ีบา้ น) : 266/7 หมู่ 3 ตาบลคลองคะเชนทร์ อาเภอเมืองพิจติ ร จังหวัดพิจิตร 66000 โทรศพั ท์ 08 8286 1678 โทรสาร 0 5669 7085 ประวัติการศึกษา (ปริญญาตรี-เอก ; สาขา และสถาบัน) 1. ปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศิลปศาสตร์ โปรแกรมวิชา รัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฎั เพชรบูรณ์ 2. ปริญญาโท รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ า นโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลยั นเรศวร ภาระงานในปัจจบุ นั (งานประจาท่รี บั ผดิ ชอบ) - รักษาการหัวหน้าสานักปลัด อบต.หัวดง รักษาการเจ้าหน้าที่พัสดุ งานจัดทาแผนพัฒนา ทอ้ งถ่นิ งานร้องเรียน รอ้ งทุกข์ งานบริหารงานบคุ คล งานการศกึ ษาทอ้ งถ่ิน งานด้านสาธารณสุข งาน ภารกิจถา่ ยโอนทะเบยี นพาณิชย์ น้ามันเชือ้ เพลิง ฯ - นักวิชาการขับเคล่ือนโครงการรวมพลังเครือข่ายร่วมพัฒนาชุมชนจัดการตนเองสู่ตาบลสุข ภาวะ (ในเขตพื้นที่ภาคเหนือตอนล่าง) ร่วมกับสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ในการร่วมพฒั นาชุมชนท้องถน่ิ น่าอยอู่ ยา่ งยัง่ ยนื งานวจิ ยั ทรี่ ับผิดชอบ (กาลังดาเนินงาน) (ช่ือโครงการ แหลง่ ทุน และระยะเวลาดาเนนิ การ) 1. การศึกษาวิจัยชุมชนเชิงชาติพรรณวรรณนาแบบเร่งด่วน (Rapid Ethnographic Community Assessment Process : RECAP) ภายใต้โครงการรวมพลังเครือข่ายร่วมพัฒนาชุมชน จดั การตนเองสู่ตาบลสขุ ภาวะ ณ พ้นื ที่ตาบลหวั ดง อาเภอเมอื งพจิ ติ ร จังหวัดพจิ ิตร แหล่งทุน จากสานกั งานกองทนุ สนบั สนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จานวน 16,612,700 บาท ระยะเวลาดาเนนิ การ ตั้งแต่วนั ที่ 1 มิถุนายน 2559 ถงึ วันที่ 31 พฤษภาคม 2562 2. โครงการการบรหิ ารจดั การการทอ่ งเท่ยี วมรดกวฒั นธรรมชมุ ชนบนความหลากหลายชาติ พนั ธโุ์ ดยเครือข่ายชมุ ชนตาบลหัวดง อาเภอเมืองพจิ ติ ร จังหวัดพิจิตร แหลง่ ทุน จากสานกั งานกองทุนสนบั สนุนการวิจยั (สกว.) จานวน 400,000 บาท ระยะเวลาดาเนินการ 18 เดือน

460 ผลงานที่ผ่านมา ก. ผลงานวิจัยตพี มิ พ์ (ระดับชาติ และระดับนานาชาต)ิ (ชอื่ ผลงาน ช่อื วารสาร แหล่งทนุ ปีท่ีพมิ พ)์ - ข. ผลงานวิจัยทน่ี าไปใชป้ ระโยชน์ (ตอ่ สาธารณะ, ชมุ ชน, กลุม่ เกษตรกร ฯลฯ) ชือ่ ผลงานวจิ ยั การประเมินผลการดาเนนิ งานรบั โอนสถานสี ูบนา้ ด้วยไฟฟา้ กรณีศึกษาองค์การ บรหิ ารสว่ นตาบลหวั ดง อาเภอเมือง พิจติ ร จงั หวัดพจิ ิตร จุดมุ่งหมาย เพื่อประเมนิ ผลการดาเนนิ งาน ปญั หาอปุ สรรคและข้อเสนอแนะตามภารกจิ ทเ่ี กดิ ขนึ้ จากการรบั โอนสถานีสูบน้าดว้ ย ไฟฟา้ ขององค์การบรหิ ารส่วนตาบลหวั ดง อาเภอเมืองพิจติ ร จงั หวดั พจิ ติ ร ค. ผลงานอนื่ ๆ เชน่ บทความ หนังสอื สทิ ธิบัตร ฯลฯ - ง. รางวัลผลงานวิจยั ที่ไดร้ บั -

461 ประวัตนิ ักวจิ ัย หัวหน้าโครงการ และนักวิจัยรว่ มโครงการ ชือ่ -สกลุ (ภาษาไทย) : นายนเรศร์ อนิ ทโชติ (ภาษาองั กฤษ) : Mr.naret intachot ตาแหน่งปจั จบุ นั (ทางวิชาการ/ราชการ) : ผชู้ ่วยนักจดั การงานทั่วไป สถานท่ีติดตอ่ (ท่ีทางาน) : องคก์ ารบริหารส่วนตาบลหวั ดง ท่อี ยู่ (หนว่ ยงาน) : 21 หมูท่ี 8 ตาบลหัวดง อาเภอเมืองพิจิตร จงั หวัดพิจติ ร 66170 โทรศพั ท์ 0 5667 4227 โทรสาร 0 5669 7085 โทรศัพทม์ ือถอื 09 4720 8155 E-mail : [email protected] สถานทต่ี ิดต่อ (ท่บี า้ น) ที่อยู่ (ท่บี ้าน) : 76 หมทู่ ่ี 5 ตาบลหวั ดง อาเภอเมอื งพจิ ติ ร จงั หวัดพิจิตร 66000 โทรศัพท์ 09 4720 8155 โทรสาร 0 5669 7085 ประวตั กิ ารศึกษา (ปริญญาตรี-เอก ; สาขา และสถาบัน) 1. ปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศิลปศาสตร์ โปรแกรมวิชา การพัฒนาชุมชน มหาวทิ ยาลยั นเรศวร 2. ปริญญาโท รัฐประศาสนศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชา นโยบายสาธารณะ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร ภาระงานในปัจจุบนั (งานประจาท่ีรับผดิ ชอบ) - งานจัดทาแผนพัฒนาทอ้ งถน่ิ และงานอืน่ ๆ ท่ีไดร้ บั มอบหมาย - นักวิชาการขับเคลื่อนโครงการรวมพลังเครือข่ายร่วมพัฒนาชุมชนจัดการตนเองสู่ตาบลสุข ภาวะ (ในเขตพื้นที่ภาคเหนือตอนล่าง) ร่วมกับสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ในการรว่ มพฒั นาชมุ ชนทอ้ งถ่นิ นา่ อยู่อยา่ งย่ังยนื งานวจิ ัยทีร่ บั ผิดชอบ (กาลังดาเนินงาน) (ช่อื โครงการ แหล่งทุน และระยะเวลาดาเนินการ) 1. การศึกษาวิจัยชุมชนเชิงชาติพรรณวรรณนาแบบเร่งด่วน (Rapid Ethnographic Community Assessment Process : RECAP) ภายใต้โครงการรวมพลังเครือข่ายร่วมพัฒนาชุมชน จัดการตนเองสตู่ าบลสุขภาวะ ณ พ้นื ที่ตาบลหวั ดง อาเภอเมอื งพิจิตร จังหวัดพิจติ ร แหลง่ ทุน จากสานกั งานกองทนุ สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จานวน 16,612,700 บาท ระยะเวลาดาเนนิ การ ตั้งแตว่ นั ท่ี 1 มิถุนายน 2559 ถึงวันท่ี 31 พฤษภาคม 2562 2. โครงการการบริหารจดั การการทอ่ งเทย่ี วมรดกวฒั นธรรมชุมชนบนความหลากหลายชาติ พนั ธโ์ุ ดยเครอื ข่ายชุมชนตาบลหัวดง อาเภอเมืองพจิ ติ ร จงั หวัดพจิ ติ ร แหล่งทนุ จากสานกั งานกองทุนสนบั สนนุ การวจิ ัย (สกว.) จานวน 400,000 บาท ระยะเวลาดาเนินการ 18 เดือน ผลงานทผี่ า่ นมา ก. ผลงานวิจัยตีพิมพ์ (ระดบั ชาติ และระดับนานาชาติ) (ชอื่ ผลงาน ชอ่ื วารสาร แหล่งทุน ปีที่พมิ พ)์ -

462 ข. ผลงานวิจัยที่นาไปใชป้ ระโยชน์ (ตอ่ สาธารณะ, ชุมชน, กลุ่มเกษตรกร ฯลฯ) - ค. ผลงานอ่ืน ๆ เชน่ บทความ หนังสอื สทิ ธิบัตร ฯลฯ - ง. รางวลั ผลงานวจิ ัยทไ่ี ด้รบั -

463 ประวัตินักวิจัย หัวหนา้ โครงการ และนกั วจิ ัยร่วมโครงการ ช่อื -สกลุ (ภาษาไทย) : นางสาวศศกิ านต์ วิบลู ย์ญาณ (ภาษาอังกฤษ) : MISS. SASIKAN WIBOONYAN ตาแหนง่ ปจั จุบนั (ทางวิชาการ/ราชการ) : ผชู้ ่วยนักพฒั นาชุมชน สถานทีต่ ดิ ตอ่ (ที่ทางาน) ท่อี ยู่ (หน่วยงาน) : 21 หมทู ี่ 8 ตาบลหัวดง อาเภอเมืองพิจิตร จังหวดั พจิ ติ ร 66170 โทรศัพท์ 0 5667 4227 โทรสาร 0 5669 7085 โทรศพั ท์มือถอื 08 7687 3686 E-mail : [email protected] สถานทต่ี ิดตอ่ (ทีบ่ ้าน) ทอ่ี ยู่ (ที่บ้าน) : 115/3 หมู่ 1 ตาบลบ้านบุง่ อาเภอเมอื งพจิ ิตร จงั หวัดพจิ ิตร 66000 โทรศพั ท์ 08 7687 3686 โทรสาร 0 5669 7085 ภาระงานในปจั จุบนั (งานประจาทร่ี บั ผดิ ชอบ) - งานสภาเดก็ และเยาวชน งานโครงการเงินอุดหนุนเพ่ือการเล้ียงดูเด็กแรกเกิด งานการจัด วางระบบควบคุมภายใน งานจัดทาระบบโปรแกรมแผนที่ภาษีและทะเบียนทรัพย์สิน (L-Tax/L-GIS) งานการส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพกลุ่มสตรี กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มประกอบอาชีพต่าง ๆ การ ประสานงานกับกรมพัฒนาชุมชนหรือส่วนราชการอ่ืน ๆ งานดูแลผู้สูงอายุ เด็ก สตรี คนพิการ ผู้ด้อยโอกาส งานส่งเสริมการประกอบอาชีพการมีงานทาของประชาชนในพ้ืนที่ งานแก้ไขปัญหา ความยากจน การสารวจจดั เก็บ จปฐ. กชช. ๒ ค. และข้อมูลอน่ื ๆ - นักวิชาการขับเคลื่อนโครงการรวมพลังเครือข่ายร่วมพัฒนาชุมชนจัดการตนเองสู่ตาบลสุข ภาวะ (ในเขตพื้นที่ภาคเหนือตอนล่าง) ร่วมกับสานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ในการรว่ มพฒั นาชุมชนท้องถิ่นนา่ อยอู่ ย่างย่ังยนื งานวิจยั ที่รับผดิ ชอบ (กาลงั ดาเนินงาน) (ชอื่ โครงการ แหล่งทุน และระยะเวลาดาเนินการ) 2. โครงการการบริหารจดั การการทอ่ งเทีย่ วมรดกวฒั นธรรมชุมชนบนความหลากหลายชาตพิ นั ธุ์โดย เครอื ข่ายชมุ ชนตาบลหวั ดง อาเภอเมืองพจิ ติ ร จงั หวัดพจิ ติ ร แหลง่ ทนุ จากสานกั งานกองทุนสนับสนุนการวจิ ยั (สกว.) จานวน 400,000 บาท ระยะเวลาดาเนนิ การ 18 เดือน ผลงานทีผ่ า่ นมา ก. ผลงานวจิ ยั ตพี มิ พ์ (ระดบั ชาติ และระดบั นานาชาต)ิ (ช่อื ผลงาน ชอื่ วารสาร แหล่งทุน ปที ี่พมิ พ)์ - ข. ผลงานวิจัยทน่ี าไปใชป้ ระโยชน์ (ตอ่ สาธารณะ, ชุมชน, กลุม่ เกษตรกร ฯลฯ) - ค. ผลงานอื่น ๆ เช่น บทความ หนังสือ สทิ ธิบตั ร ฯลฯ - ง. รางวัลผลงานวจิ ยั ทไ่ี ดร้ ับ -


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook