Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานวิจัยเพื่อท้องถิ่นฉบับสมบูรณ์

รายงานวิจัยเพื่อท้องถิ่นฉบับสมบูรณ์

Published by นายศตวรรษ จัตุมาศ, 2022-05-16 09:32:38

Description: รายงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น

Search

Read the Text Version

รายงานวิจยั เพ่อื ทอ้ งถิน่ ฉบับสมบรู ณ์ โครงการการบรหิ ารจดั การการท่องเท่ยี วมรดกวฒั นธรรมชมุ ชนบนความหลากหลาย ชาติพนั ธโ์ุ ดยเครอื ข่ายชมุ ชนตำบลหัวดง ตำบลหวั ดง อำเภอเมืองพจิ ติ ร จังหวดั พิจติ ร โดย นายพรี ะโรจน์ ภัทรประสทิ ธ์ิ แพทยห์ ญิง ดร.วณชิ ชา ภทั รประสทิ ธ์ิและคณะ มกราคม 2563

สญั ญาเลขที่ RDG61N0031 รายงานวิจยั เพอื่ ท้องถิน่ ฉบบั สมบรู ณ์ โครงการการบริหารจัดการการท่องเทีย่ วมรดกวัฒนธรรมชมุ ชนบนความ หลากหลายชาตพิ ันธ์ุ โดยเครือข่ายชมุ ชนตำบลหวั ดง ตำบลหัวดง อำเภอเมอื งพจิ ติ ร จังหวัดพจิ ิตร คณะผูว้ ิจยั 1 นายพรี ะโรจน์ ภัทรประสิทธิ์ 13 นายประภาส กายเพช็ ร 2 แพทย์หญิง ดร.วณชิ ชา ภัทรประสิทธิ์ 14 นายสมยศ แสวงทอง 3 นายมนญู ดิษเสถยี ร 15 นายณรงค์ โตะ๊ ดอนทอง 4 นายบญั ญตั ิ แกลว้ เกษตรกรณ์ 16 น.ส.ขวญั เรอื น ศรบี ญุ เรือง 5 นายบรรเทิง ศรีนาก 17 นายสทิ ธิชยั สีจีน 6 นายสุนทร คำสิงห์ 18 น.ส. วรรี ล์ ักษณ์ เจรญิ เสียง 7 นางกนกพร เดชมี 19 นางเนรญั ชลา โชคศรัณทพิ ย์ 8 นายกฤษณพนั ธ์ คชั มาตย์ 20 น.ส.ภิรมย์วรรณ ปยิ ะราช 9 น.ส. ศริ เิ พ็ญ บุญปู่ 21 น.ส.รัศมี ตน้ จันทร์ 10 นางละมลู จนั ทรมณี 22 น.ส.จนั มาลี จนั ทรม์ ะลิ 11 นางสาวธิติญา เมืองเหลือ 23 นายนเรศร์ อินทโชติ 12 นางชุตญิ าทพิ พ์ สุดประเสรฐิ 24 น.ส. ศศกิ านต์ วิบูลยญ์ าณ สนับสนนุ โดย สำนักงานกองทุนสนบั สนนุ การวจิ ยั

กิตตกิ รรมประกาศ งานวิจัยเรือ่ งการบริหารจัดการการท่องเทย่ี วมรดกวัฒนธรรมชุมชนบนความหลากหลาย ชาติพันธ์ุโดยเครือข่ายชุมชนตาบลหัวดง อาเภอเมืองพิจิตร จังหวัดพิจิตร ฉบับนี้สาเร็จไปด้วยดี เพราะได้รับการส่งเสริมและสนับสนุนงบประมาณจากสานักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย (สกว.) และได้รับการสนับสนุนพี่เลี้ยงจากมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม โดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุลีรตั น์ จันทร์เชื้อ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วาลิกา โพธ์ิหิรัญ และนางสาวกมลรัตน์ บุญอาจ ที่ได้ให้ คาแนะนาปรึกษา ให้ข้อคิดในการดาเนินงานให้สาเร็จอยู่บนฐานข้อมูลที่เป็นจริงเติมเต็มในด้าน วชิ าการ การเรียบเรียงขอ้ มูลใหเ้ ปน็ เรอื่ งราวใหน้ ่าอ่าน นา่ สนใจ การพิมพ์เอกสาร การเว้นวรรค การ จดั ตัวหนงั สอื การจัดรูปภาพรวมถึงการพิมพ์บรรณานุกรมที่ถูกต้อง นอกจากน้ีท่านยังเป็นต้นแบบที่ ดีให้กับทีมวิจัยชุมชนตาบลหัวดงในด้านการประสานงานระหว่างภาคีเครือข่าย การทางานร่วมกัน เปน็ ทมี การแกไ้ ขปญั หาท่ีเกิดขน้ึ ระหวา่ งการดาเนินงานและการให้กาลังใจซ่ึงกันและกันรวมถึงได้ให้ คาแนะนาเก่ียวกับการดาเนินงานด้านงบประมาณการเงินด้วยดีตลอดมาทีมวิจัยชุมชนตาบลหัวดง ขอขอบพระคุณพี่เล้ียงไว้ ณ โอกาสนี้ นอกจากน้ีทีมวิจัยชุมชนชุมชนหัวดง ได้มีภาคีเครือข่ายท้ัง 5 ภาคี ได้แก่ ท้องถ่ิน ท้องที่ ประชาชน หน่วยงานภาครัฐ และวัดในพื้นท่ี ที่มีส่วนร่วมในการให้ข้อมูล องค์ความรู้เกี่ยวกับประวัติความเป็นมาและความเป็นปัจจุบันของมรดกวัฒนธรรมชุมชนบนความ หลากหลายชาติพันธ์ุโดยเครือข่ายชุมชนตาบลหัวดง ท่ีมีพัฒนาการมาอย่างยาวนานตลอดจน วัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่น วิถีชีวิตที่ดารงอยู่ของชุมชนตาบลหัวดง พัฒนาการมรดกวัฒนธรรมที่ เกิดขึ้นในแต่ละห้วงเวลาของเหตุการณ์สาคัญในมิติความเป็น“พหุวัฒนธรรม” หรือชุมชนสาม วัฒนธรรม ระหว่างคนในชุมชนทั้ง 3 เชื้อชาติ (ไทย จีน ลาว) มาเป็นทุนและศักยภาพในการพัฒนา ชุมชนตาบลหวั ดง รวมท้ังองคค์ วามรู้ ภมู ปิ ัญญาที่มคี ุณค่าและอัตลกั ษณ์มรดกวัฒนธรรมชุมชนตาบล หวั ดง ซ่งึ นาไปสกู่ ารเสรมิ สร้างความภาคภูมิใจของคนชุมชนตาบลหัวดง ที่มีทุนเดิมทั้งเป็นธรรมชาติ จากประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและภูมินาม ภูมิปัญญาท้องถ่ินที่มีความรู้ความสามารถสร้างผลงานท่ีโดด เด่นท่ีจะพัฒนาต่อยอดให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปสู่มิติใหม่ภายใต้เอกลักษณ์ของชุมชนตาบลหัวดง คือ “ชมุ ชนสามวัฒนธรรม” ขอขอบคุณทีมวิจัยท้ัง 24 ท่าน ท่ีได้ร่วมกันดาเนินงานตั้งแต่แรกเร่ิมจนกระท่ังสิ้นสุด โครงการทาให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกันตลอดระยะเวลาหนึ่งปี หกเดือน ซึ่งเป็นเวลาคุ้มค่ากับการ ดาเนินงานได้สาเร็จตามวัตถุประสงค์ การพัฒนาชุมชน การพัฒนาคนนั้นเป็นเรื่องท่ียากท่ีจะทาให้ สาเร็จได้ แต่ด้วยความมุ่งม่ัน ทุ่มเท ความวิริยะ อุตสาหะของทีมวิจัยทาให้ได้ผลงานเชิงประจักษ์ ที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้อย่างเหมาะสมและส่ิงท่ีจะต้องสานต่อ คือ การพัฒนาการท่องเท่ียว ชุมชน ที่ต้องใช้ทุนทางสังคมและส่ิงแวดล้อมเป็นแหล่งเรียนรู้หรือเป็นแหล่งท่องเที่ยว โดยให้ชุมชน เป็นเจ้าของเพื่อให้เกิดสานึกรักถิ่นฐานในคุณค่าชุมชนตาบลหัวดงที่ผ่านการศึกษา สืบค้น คัดสรร มรดกวฒั นธรรมชมุ ชนทีม่ ีความเป็นอัตลักษณ์โดดเด่นที่จะนามาสร้างการเรียนรู้ สร้างความสุขให้แก่ ผ้มู าเยือน

ในการดาเนินงานวิจัยครั้งน้ีถือว่าเป็นนิมิตรหมายท่ีดีต่อชุมชนตาบลหัวดง ท่ีได้มี เครือข่ายนักวิจัยชุมชนได้ร่วมกันวิจัยท้องถ่ินพัฒนาการท่องเท่ียวโดยชุมชน ซึ่งชุมชนสามารถเข้าถึง ข้อมูลทุกด้านของตนเองทั้งในอดีตและปัจจุบันรวมถึงรูปแบบวิถีชีวิต ท่ีเป็นรากเหง้าและตัวตน คนหัวดง ที่ผ่านการศึกษาวิเคราะห์จากคนในชุมชน นอกจากน้ีได้ศูนย์ข้อมูลมรดกวัฒนธรรมชุนชน หวั ดง ทีเ่ ปน็ แหลง่ เรยี นรสู้ าหรับนักเรียน นักศกึ ษาและประชาชนท่วั ไปได้อย่างถกู ต้อง นายพีระโรจน์ ภัทรประสิทธิ์ และคณะ มนี าคม 2563

บทสรปุ ผู้บริหาร งานวิจัยเรื่องโครงการการบริหารจัดการการท่องเที่ยวมรดกวัฒนธรรมชุมชนบนความ หลากหลายชาติพันธุ์โดยเครือข่ายชุมชนตาบลหัวดง อาเภอเมืองพิจิตร จังหวัดพิจิตร มีวัตถุประสงค์ เพ่ือศึกษาสารวจองค์ความรู้มรดกวัฒนธรรมชุมชนตาบลหัวดง อาเภอเมืองพิจิตร จังหวัดพิจิตร เพื่อ สรา้ งการมสี ่วนรว่ มของเครือข่ายชุมชนเพื่อการพัฒนาการท่องเท่ียวมรดกวัฒนธรรมชุมชนหัวดง เพื่อ ออกแบบเส้นทางและกิจกรรมท่องเที่ยวมรดกวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ของชุมชนตาบลหัวดง เพื่อ สร้างการบริหารจัดการการท่องเท่ียวมรดกวัฒนธรรมชุมชนบนความหลากหลายชาติพันธ์ุโดย เครือข่ายชุมชนตาบลหัวดง เพ่ือพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการท่องเที่ยวมรดกวัฒนธรรมชุมชนหัว ดง ด้านกระบวนการงานวิจัยเพื่อท้องถ่ิน เพ่ือให้ชุมชนบ้านหัวดงสามารถพัฒนาศักยภาพชุมชนให้ สามารถจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน โดยใช้การสืบค้นจากเอกสารและการสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้ท่ีมี ส่วนเก่ียวข้องในพ้ืนท่ีชุมชนตาบลหัวดง จากการเล่าเรื่องราวต้ังแต่ในอดีตจนถึงปัจจุบัน ผ่านการ พูดคุย ผ่านเวทีประชาคม เวทีคืนข้อมูลชุมชน การประชุมหารือ การซักถามประเด็นที่สาคัญต่าง ๆ เก่ียวกับมรดกวัฒนธรรมชุมชนที่ร้อยเรื่องราวที่น่าสนใจที่เป็นทุนและศักยภาพของพื้นท่ีท่ีจะสามารถ รองรับและเป็นฐานข้อมูลที่สาคัญในด้านการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมขนในพ้ืนท่ีตาบลหัวดง มีการ สร้างแนวร่วมในการศึกษาและพัฒนางานวิจัย โดยมีภาคีเครือข่าย คือ ท้องถ่ิน ท้องท่ี หน่วยงาน ภาครัฐ ประชาชนและวัดในพนื้ ท่ี การวจิ ยั ใชส้ ถติ ิเชงิ พรรณนาและสรปุ ผล วิธีดาเนินการวิจัย ใช้กระบวนการงานวิจัยเพ่ือท้องถิ่น (Community - Based Research : CBR) เป็นเครื่องมือในการศึกษาและพัฒนาการจัดการท่องเท่ียวโดยชุมชน (Community - Based Tourist : CBT) เป็นกระบวนการที่เน้นคนเป็นศูนย์กลาง มุ่งเสริมสร้างพลังอานาจให้แก่ประชาชนใน พื้นท่ดี ้วยกระบวนการพัฒนาแบบมีส่วนร่วมผ่านกระบวนการ CBR เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในตัว เครือข่ายชุมชนที่จะมาร่วมกันพัฒนาธุรกิจการท่องเท่ียวที่ดาเนินการโดยชาวบ้านในชุมชน เพื่อ นาไปสู่การพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืนต่อไป ใช้การเก็บข้อมูลท้ังเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ เพื่อให้การ วิจัยสามารถได้มาซ่ึงคาตอบเชิงประจักษ์ในแต่ละวัตถุประสงค์ ทีมวิจัยชุมชนตาบลหัวดง ได้กาหนด วิธีดาเนินการวิจัยเป็นกรอบกว้าง ๆ ตามแต่ละวัตถุประสงค์ ดังน้ี ระยะที่ 1 (9 เดือน) เป็นการตอบ วัตถุประสงค์การวิจัยข้อที่ 1 และข้อที่ 2 ประกอบด้วย (1) การสร้างเครือข่ายทีมวิจัยชุมชน โดยการ ทาบทามเชิญชวนบุคคลเข้าร่วมทีมวิจัย ประชุมเปิดตัวโครงการและแบ่งทีมงาน บทบาทหน้าที่ ประชมุ แยกแตล่ ะทมี งานยอ่ ยและติดต่อกับผู้ร่วมงานเพิม่ เติม (2) ประชุมปรับฐานคิดการใช้ CBR การ พัฒนา CBT นักวิจัยชุมชนทาความเข้าใจในการใช้ CBR พัฒนาชุมชนเพื่อให้นักวิจัยชุมชนรู้ข้ันตอน ของกระบวนการ CBT การใช้งบประมาณของสานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) เรียนรู้การ เก็บหลกั ฐานการเบกิ จ่าย การรสู้ ถานการณ์ในชุมชนท้องถิ่น รู้บทบาทหน้าท่ี การจัดการองค์กรชุมชน การประสานงาน การสนับสนุน การสร้างสัมพันธ์กับคนในชุมชน และภาคีเครือข่ายท่ีเกี่ยวข้องท้ังใน และนอกพ้ืนที่ (3) ทีมวิจัยชุมชนกาหนดรูปแบบการทางานวิจัยชุมชน (4) อบรมวิธีการใช้เคร่ืองมือ การเก็บรวบรวมข้อมูล บุคคลท่ีเป็นแหล่งข้อมูล การกาหนดรูปแบบคาถามและวิธีการถาม (5) ทีม วิจัยชุมชนศกึ ษาขอ้ มูลทั้งทุติยภมู ิและจากเอกสาร ตาราและปฐมภมู ิจากผรู้ ู้ ผทู้ รงคุณวุฒิ ฯลฯ (6) ขั้น ลงพ้ืนท่ีศึกษาสารวจเก็บข้อมูลปฐมภูมิ เรื่องราวของท้องถ่ินแบบบูรณาการที่ครอบคลุมท้ัง

2 สภาพแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ สภาพเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม รวมถึงวิธีคิดและภูมิปัญญา ท้องถิ่น โดยอาจจาแนกเป็นองค์ประกอบต่าง ๆ เช่น ภูมิศาสตร์กายภาพและนิเวศวิทยาท้องถ่ิน ประวัติศาสตร์ท้องถ่ินและภูมินาม พัฒนาการตั้งถิ่นฐานของคนในชุมชน การปรับตัวเข้ากับ สิ่งแวดล้อมและกระแสการเปล่ียนแปลง มรดกวัฒนธรรมชุมชน ประเพณี วัฒนธรรม อาหาร ภูมิ ปัญญา การแตง่ กาย ภาษา การแสดง ศิลปกรรม หัตถกรรม โบราณสถาน วิจิตรศิลป์ สุนทรียภาพใน ท้องถ่ิน อัตลักษณ์ของท้องถ่ิน โลกทัศน์ ความเชื่อ พิธีกรรม จิตวิญญาณ ความสัมพันธ์ของคนใน ชุมชนท้องถ่ินและความสัมพันธ์ของชุมชนกับส่ิงแวดล้ อมในธรรมชาติเหนือธรรมชาติและวิถีการ ดารงชวี ิต เช่น ตลาดชมุ ชน ปญั หาและแนวทางการบริหารจัดการเพื่อฟ้ืนฟู อนุรักษ์ ทรัพยากรชุมชน อย่างยั่งยืนไปพร้อมกับการใช้เป็นทุนในการรองรับการท่องเที่ยวของชุมชน เทคโนโลยีในการจัดการ ทรัพยากรจากอดีตกลายมาเป็นภูมิปัญญาวิวัฒน์ในปัจจุบัน กระบวนการเรียนรู้และพฤติกรรมการ เรียนรู้ การถ่ายทอดภูมิปัญญา เช่น อาหาร งานฝีมือ ได้แก่ งานประเภทผ้า งานประดิษฐ์เคร่ืองมือ เคร่อื งใช้ ใบตอง อาหาร เป็นตน้ การศึกษาอบรมการแก้ปัญหาตามพ้ืนฐานวัฒนธรรม ปรีชาญาณของ ชาวบ้าน ทั้งน้ีให้ความสาคัญกับความเชื่อมโยงขององค์ประกอบท้ังหลาย (7) ทีมวิจัย แกนนาชุมชน ปราชญ์ชาวบ้านและผู้อาวุโสร่วมกันสรุปผลการศึกษาวิจัยทรัพยากรธรรมชาติและมรดกทาง วัฒนธรรมของตาบลหัวดง (8) จัดเวทีคืนข้อมูลให้ชุมชนในรูปแบบการประชุมตัวแทนครัวเรือน 9 หมู่บ้านของตาบลหัวดง เพื่อยืนยันและสอบทานข้อมูลที่ค้นพบ (9) จัดประชุมวิจัยสรุปผลการศึกษา สืบค้นดา้ นทรพั ยากรการทอ่ งเที่ยวของตาบลหัวดง วเิ คราะห์ ข้อมูลที่เป็นผลสรุปจากการศึกษาสืบค้น เพื่อค้นหาอัตลักษณ์ชุมชนตาบลหัวดง (10) จัดประชุมทีมวิจัย แกนนาชุมชน ปราชญ์ชาวบ้าน นักวิชาการ ภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องร่วมหารือ (11) ประชุมทีมวิจัยชุมชนเพ่ือเตรียมการประชุม กาหนดอัตลักษณ์ชมุ ชน (12) จัดประชุมตัวแทนครัวเรือน 9 หมู่บ้าน เพื่อนาความคิดเห็นของตัวแทน แตล่ ะหมูบ่ ้านทเี่ ขา้ ร่วมสนทนามาวเิ คราะหห์ าขอ้ สรุปอัตลักษณ์ชุมชนตาบลหัวดง ท่ีนาไปสู่การพัฒนา กจิ กรรมเส้นทางท่องเที่ยวของชุมชนรวมถึงการกาหนดผลิตภัณฑ์ของชุมชนที่สนับสนุนการท่องเที่ยว ของชุมชน (13) จัดประชมุ ทีมวิจัยและภาคีที่เกี่ยวข้องเพ่ือร่วมสรุปสภาพปัญหาของชุมชนด้านต่าง ๆ โดยมีผู้อาวุโสของชุมชนเข้าร่วมให้ข้อช้ีแนะเพ่ิมเติม จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาสและแนวทางแก้ไข (14) สกัด คัดสรร วิเคราะห์ ทบทวนข้อมูลที่ผ่านเวทีคืนข้อมูลชุมชน เพ่ือร่วมดาเนินการพัฒนากิจกรรม เส้นทางท่องเที่ยวของชุมชนข้ึนเบ้ืองต้น (15) อบรมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาโปรแกรมการท่องเที่ยว ชุมชนตามหลักการและองค์ประกอบที่ถูกต้องและทดลองหาประสิทธิภาพของเส้นทางท่องเที่ยวที่ พฒั นาข้นึ 2 ครงั้ (16) ประชมุ สรุปผลการวจิ ัยระยะท่ี 1 และจัดทารูปเล่มรายงานความก้าวหน้า (17) รว่ มเวทีนาเสนอรายงานความก้าวหน้า (18) ประชุมรายเดือน 4 คร้ัง เพื่อประเมินการทางานและหา แนวทางพัฒนาครั้งต่อไป ระยะท่ี 2 (9 เดือน) เป็นการตอบวัตถุประสงค์การวิจัยข้อที่ 3 ข้อที่ 4และ ขอ้ ท่ี 5 ประกอบดว้ ย (19) ประชมุ ทมี วจิ ยั วางแผนทางานวจิ ัยระยะท่ี 2 (20) ประชุมหารือ วางแผนเตรียมดูงาน (21) ศึกษาดูงานชุมชนต้นแบบให้ทราบถึงการบริหารจัดการตลาดนาการ ท่องเท่ียว (22) ประชุมถอดบทเรียนการดูงาน (23) ประชุมหารือเพื่อให้ได้รูปแบบการนาเที่ยวและ สถานท่ีท่องเที่ยวชัดเจนที่พัฒนาเป็นแพ็ตเกจ เพื่อใช้ประชาสัมพันธ์ (24) อบรมเชิงปฏิบัติการการใช้ สื่อประสมในการโฆษณาประชาสัมพันธ์ท่องเท่ียวชุมชนตาบลหัวดง (25) ประชุมหารือกาหนดอัตรา ค่าบริการต่าง ๆ อย่างชัดเจน แบ่งงานรับผิดชอบเพื่อบริการกิจกรรมการท่องเท่ียว ตกลงกันใน

3 หลักการเร่ืองการกระจายผลประโยชน์ (26) อบรมการสื่อความหมายและการใช้บริการ CBT (27) อบรมการบรหิ ารจดั การ CBT และการจัดการกลุม่ (28) จดั กจิ กรรมรณรงค์รกั ษาความสะอาดหมู่บ้าน การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม (29) อบรมเชิงปฏิบัติการการตลาดและการซ้ือขาย CBT ผ่าน INTERNET (30) สรุปผลการดาเนินงาน 31 จัดทารูปเล่มรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ และร่วมเวทีนาเสนอรายงาน ฉบับสมบรู ณ์ต่อผทู้ รงคุณวฒุ ิ จากการศึกษา พบว่า อัตลักษณ์ของชุมชนจากทุนท่ีสืบค้นในพ้ืนที่ตาบลหัวดง จากการ สัมภาษณ์และการบอกเล่าของผู้เฒ่าผู้แก่สมัยด้ังเดิม ผู้คนจากหลายพื้นท่ีย้ายถ่ินฐานเข้ามาจากเมือง เวยี งจันทร์ ประเทศลาว บางสว่ นย้ายมาจาก ลพบุรี สระบุรี หนองคาย และร้อยเอ็ด ผู้ท่ีอพยพเข้ามา มหี ลายกลุม่ ชาตพิ ันธ์บุ างส่วนเป็นคนไทยพวน คนไทยอสี านและคนจีนเข้ามาอยู่ในตาบลหัวดงจานวน มากทาให้เกิดการอยู่ร่วมกันของคน 3 เช้ือชาติ คือเชื้อชาติไทย เชื้อชาติจีน และเช้ือชาติลาว ก่อเกิด การดาเนินชีวิตในรูปแบบวัฒนธรรมเชื้อไทย วัฒนธรรมเช้ือจีน และวัฒนธรรมเช้ือลาว มีอัตลักษณ์ที่ โดดเด่น คือ“ชุมชนพหุวัฒนธรรม” เป็นชุมชนที่แต่ละเชื้อชาติไม่ว่าจะเป็นไทย จีน ลาว ได้นาวิถีถิ่น ตา่ ง ๆ เข้ามากลายเป็นวิถีถ่ินที่มีลักษณะของพหุวัฒนธรรมที่สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข ได้ จบั จองพ้นื ท่ที างานหากนิ สร้างบ้านเรอื นอาศัยอยู่ร่วมกัน ทั้งน้ีชาวหัวดงยึดม่ันในพระพุทธศาสนา จึง ได้รับการขัดเกลาจิตใจให้มีความละเอียดอ่อน มีการเคารพเช่ือฟังผู้นา ผู้อาวุโส มีการปรับตัวมีการ ยอมรับในความแตกต่างมีวัฒนธรรมความเช่ือทางขนบประเพณีท่ีแฝงด้วยกุศโลบายท่ีประกอบด้วย ค่านิยม ทัศนคติ พฤติกรรม จิตวิญญาณ และวิถีชีวิต ทาให้สามารถสร้างสรรค์ศิลปวัฒนธรรมภูมิ ปัญญาทั้งในอดีตและปัจจบุ ันไว้มากมาย ซึ่งแบ่งออกเป็น ๗ ด้าน คอื ศลิ ปกรรม โบราณสถาน อุโบสถ เก่า เกจิดังวัดหัวดงช่างฝีมือภูมิปัญญา หมอแผนไทยโบราณ และสมุนไพรไทย อาหารประจาถ่ิน ภาษากลมุ่ ชาตพิ นั ธ์ุ สนุ ทรยี ภาพในท้องถ่ิน ประเพณีความเชื่อ ซ่ึงได้ได้กลายเป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญา มีการถ่ายทอดจากคนรุ่นหนึ่งไปยังอีกคนรุ่นหน่ึง เป็นสิ่งยึดโยงให้คนในชุมชนหัวดงเกิด ความรัก ความสามคั คีกนั คือ ประเพณีแขง่ ขนั เรอื ยาวชิงถว้ ยพระราชทาน ประเพณีทอดผ้าปุาข้าวสุก ประเพณีเทศกาลวันสารท (สารทจีน สารทพวน สารทลาวและสารทไทย) ประเพณีเล้ียงเจ้าพ่อได้แก่ (เจ้าพ่อสุริวงศ์เจ้าแม่สีดา เจ้าพ่อขุนด่าน ประเพณีไหว้เจ้าพ่อปุนเถ้ากง) ประเพณีทาบุญกลางบ้าน ประเพณีเทศน์มหาชาติ ประเพณีวันสงกรานต์ มีการสร้างการบริหารจัดการการท่องเที่ยวมรดก วัฒนธรรมชุมชน บนความหลากหลายชาติพันธุ์โดยเครือข่ายชุมชนตาบลหัวดงใน 3 ระดับ คือ ระดับ ชุมชน ระดับจังหวัด ระดับประเทศ โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน คือ เทศบาลตาบลหัวดง และ องค์การบริหารส่วนตาบลหัวดง ร่วมกันขับเคลื่อนและเป็นทีมงานหลักในการดาเนินงานในระยะ เรม่ิ ต้น จากนนั้ ได้สรา้ งการมสี ว่ นรว่ มของเครือข่ายชุมชนเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวมรดกวัฒนธรรม ชุมชนหวั ดง กบั กลุ่มต่าง ๆ ดา้ นการพฒั นาศกั ยภาพบุคลากรทางการท่องเที่ยวมรดกวัฒนธรรมชุมชน หัวดง ทาให้เกิด “กลุ่มท่องเท่ียวชุมชนหัวดง” พัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวชุมชนได้ 4 เส้นทาง คือ เส้นทางที่ 1สายเขียวเท่ียวบา้ นสมนุ ไพร สขุ ใจวิถีพอเพยี ง (1 วัน) เส้นทางที่ 2 เท่ียวหัวดง สนุก สุขใจ ได้กุศล วิถีชุมชนหัวดงท่ีลงตัว (2 วัน 1 คืน) เส้นทางที่ 3 วิถีชุมชนหัวดงท่ีลงตัว (2 วัน 1 คืน) และ เส้นทางที่ 4 สัมผัสธรรม สัมผัสวิถีชุมชนที่ลงตัว (2 วัน 1 คืน) การจัดกิจกรรมทดลองเส้นทางการ ท่องเท่ียวชุมชนหัวดง มีหลายหน่วยงานท้ังภาครัฐและภาคเอกชน ท่ีให้ความสนใจเข้ามาท่องเท่ียวใน ชุมชนหัวดง ได้บูรณาการการจัดกิจกรรมแบบมีส่วนร่วมกับภาคีต่าง ๆ เช่น การท่องเท่ียวแห่ง

4 ประเทศไทย สานักงานนครสวรรค์ ท่องเท่ียวและกีฬาจังหวัดพิจิตร เกษตรและสหกรณ์จังหวัดพิจิตร ประชาสัมพันธ์จังหวัดพิจิตร สานักงานพระพทุ ธศาสนาจังหวัดพิจติ ร พฒั นาสังคมและความมั่นคงของ มนุษย์จังหวัดพจิ ติ ร พฒั นาชุมชนจงั หวัดพจิ ติ ร วฒั นธรรมจงั หวัดพจิ ติ ร หอการค้าจงั หวัดพิจิตร ชุมชน ส่งเสริมการท่องเท่ียวตาบลดงกลาง ทีมพี่เลี้ยงจาก (สกว.) กลุ่มราวง 3 ส. ตาบลหัวดง ผู้สูงอายุ เด็ก และเยาวชน นักท่องเที่ยว ไดส้ ัมผัสถงึ วถิ ชี วี ติ ความเป็นอยู่ของคนในชุมชนหัวดง ที่อยู่ร่วมกันในวิถี 3 วฒั นธรรม คือ วัฒนธรรมเชื้อสายไทย วัฒนธรรมเชื้อสายจีน และวัฒนธรรมเชื้อสายลาว มีอัตลักษณ์ ท่ีโดดเดน่ คือ“ชมุ ชนพหุวฒั นธรรม” เปน็ ชมุ ชนทีแ่ ตล่ ะเชอ้ื ชาติไมว่ า่ จะเป็นไทย จีน ลาว ได้นาวิถีถ่ิน ตา่ ง ๆ เข้ามากลายเป็นวิถีถิ่นท่ีมีลักษณะของพหุวัฒนธรรมที่สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข ได้ จับจองพืน้ ท่ีทางานหากนิ สรา้ งบ้านเรอื นอาศัยอยู่ร่วมกัน ทั้งน้ีชาวหัวดงยึดม่ันในพระพุทธศาสนา จึง ได้รับการขัดเกลาจิตใจให้มีความละเอียดอ่อน มีการเคารพเชื่อฟังผู้นา ผู้อาวุโส มีการปรับตัวมีการ ยอมรับในความแตกต่างมีวัฒนธรรมความเช่ือทางขนบประเพณีท่ีแฝงด้วยกุศโลบายท่ีประกอบด้วย ค่านิยม ทัศนคติ พฤติกรรม จิตวิญญาณ และวิถีชีวิต ทาให้สามารถสร้างสรรค์ศิลปวัฒนธรรมภูมิ ปญั ญาท้ังในอดตี และปัจจบุ ันไวม้ ากมาย ผลการพัฒนาศกั ยภาพบุคลากรทางการท่องเที่ยวมรดกวัฒนธรรมชุมชนหัวดง ชุมชนมีการ สง่ ผ้แู ทนเข้าร่วมศกึ ษาดงู านจากพนื้ ทฟี่ าร์มเห็ดอินเตอร์ (บรรจภุ ณั ฑ์ ผลิตภณั ฑ์) สวนองุ่นลุงประเสริฐ ชมุ ชนซากแง้ว ชุมชนตะเคยี นเตีย้ บ้านร้อยเสา ในจังหวัดนครราชสีมา และศึกษาดูงานการท่องเท่ียว ชุมชนจังหวัดสุโขทัย ทาให้ได้รับแนวคิดและประสบการณ์ในการบริหารจัดการชุมชน จากจุดเริ่มต้น ของการเปล่ียนแปลง นาไปสู่ความร่วมมือของคนในชุมชน ในการบริหารจัดการชุมชนไปสู่การ ท่องเท่ียวโดยใช้ทรัพยากรในท้องถิ่น พัฒนาต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์ชุมชน การส่งต่อแนวคิดในการ บริหารจัดการชุมชนไปสู่คนรุ่นใหม่ ท่ีมีความคิดสร้างสรรค์ ใช้เทคโนโลยีในการสื่อสารมาช่วย ประชาสมั พนั ธข์ ้อมูลผ่านสือ่ สังคมออนไลน์ เช่น Facebook Page QR Code ได้เยี่ยมชมแหล่งเรียนรู้ ที่สาคัญของชุมชน ได้แลกเปล่ียนเรียนรู้แนวคิดในการพัฒนาการท่องเท่ียวชุมชนโดยมีส่วนร่วมกับ ชุมชนอยา่ งย่ังยืนโดยมกี ลมุ่ ผนู้ าชมุ ชนเปน็ ผปู้ ระสานการดาเนินงานกับกลุ่มต่าง ๆ ในชุมชน ตลอดจน ได้เข้ารบั การฝึกอบรม โครงการอบรมมคั คเุ ทศก์ชุมชนกับการสอ่ื ความหมาย การตลาด การบริหารจัดการ และการให้บริการ ณ ภูแก้วรีสอร์ท อาเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ ทาให้ทีมวิจัยได้ทบทวนแนวคิด ผลกระทบการท่องเที่ยวบทบาทของชุมชนในการจัด CBT ท้ังในด้านระบบทรัพยากรธรรมชาติ ระบบ การบริหารจัดการเรอื่ งบุคลากร การพฒั นาการบรหิ ารจดั การและการให้บริการการท่องเท่ียวชุมชนได้ เรียนรู้เกี่ยวกับหลักการทาหน้าที่มัคคุเทศก์ นักส่ือความหมาย การตลาด การส่ือสาร เทคนิคการนา เที่ยวการทาทัวร์ หลักการพูด บทบาทหน้าที่ จรรยาบรรณและได้เรียนรู้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ส่งเสริมให้มีกิจกรรมนันทนาการในชุมชนเพ่ือส่งเสริมการท่องเท่ียว การดูแลความปลอดภัยให้กับ นักท่องเท่ียวฝึกปฏิบัติการสื่อความหมายมรดกเชิงวัฒนธรรมและเชิงนิเวศ ได้แลกเปล่ียนเรียนรู้การ จัดต้ังกลุ่มการบริหารจัดการ “กลุ่มท่องเท่ียวชุมชนบ้านร่องกล้า” และได้ตั้ง“กลุ่มท่องเที่ยวชุมชนหัว ดง” เพอ่ื ดาเนนิ งานดา้ นการทอ่ งเที่ยวของชมุ ชน ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและเชิงปฏิบัติ ดังน้ี 1. เทศบาลตาบลหัวดง และองค์การบริหาร ส่วนตาบลหัวดงควรนากระบวนการงานวิจัยเพ่ือท้องถิ่น เพ่ือสร้างแนวร่วมการพัฒนาการจัดการ

5 ท่องเที่ยวโดยชุมชนหัวดง ด้วยการเชิญประชาชนในชุมชน 5 ภาคี คือ ท้องถ่ิน ท้องท่ี หน่วยงาน ราชการ ประชาชน และองค์กรทางด้านศาสนา (วัด) ในพื้นท่ี ร่วมประชุมเขียนแผนพัฒนาการ ท่องเท่ยี วโดยชมุ ชนและบรรจุลงในแผนพัฒนาทอ้ งถนิ่ 2. ควรมรี ะบบการประชาสัมพันธ์เผยแพร่ และ จัดสร้างพิพิธภัณฑ์ชุมชนเพ่ืออนุรักษ์เก็บรักษาเรื่องราวมรดกวัฒนธรรมของชุมชนและถ่ายทอดองค์ ความรู้ให้คนในชุมชนเพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิต รวมไปถึงจัดให้มีกิจกรรมภายในพื้นที่ท่ีแสดง ถึงอัตลกั ษณข์ องชุมชนหวั ดง 3. มีการพฒั นาเส้นทางการทอ่ งเท่ียวของชุมชนหัวดงในเชิงสร้างสรรค์ให้ มีความน่าสนใจมากขึ้น เนื่องจากชุมชนมีลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์ท่ีโดดเด่น คือเป็นชุมชน “ชุมชน สามวฒั นธรรมหรือพหุวัฒธรรม” คอื วฒั นธรรมเชื้อสายไทย วัฒนธรรมเชอ้ื สายจีน และวัฒนธรรมเช้ือ สายลาว มอี ตั ลักษณท์ ่โี ดดเด่น คอื “ชมุ ชนพหุวัฒนธรรม” เปน็ ชมุ ชนที่แต่ละเช้ือชาติไม่ว่าจะเป็นไทย จีน ลาว ได้นาวถิ ีถน่ิ ตา่ ง ๆ เข้ามากลายเปน็ วถิ ีถ่นิ ทมี่ ีลกั ษณะของพหุวัฒนธรรมที่สามารถอยู่ร่วมกันได้ อย่างมีความสุข ได้จับจองพ้ืนที่ทางานหากิน สร้างบ้านเรือนอาศัยอยู่ร่วมกัน ทั้งน้ีชาวหัวดงยึดม่ันใน พระพทุ ธศาสนา จึงได้รับการขดั เกลาจิตใจให้มีความละเอียดอ่อน มีการเคารพเช่ือฟังผู้นา ผู้อาวุโส มี การปรับตัวมกี ารยอมรบั ในความแตกต่างมีวัฒนธรรมความเช่ือทางขนบประเพณีท่ีแฝงด้วยกุศโลบาย ท่ีประกอบด้วย ค่านิยม ทัศนคติ พฤติกรรม จิตวิญญาณ และวิถีชีวิต ทาให้สามารถสร้างสรรค์ ศิลปวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้ังในอดีตและปัจจุบัน 4.มีการพัฒนากิจกรรมการท่องเที่ยวชุมชนในเชิง สร้างสรรค์ ผ่านกลุ่มเยาวชนที่มีความสนใจเพ่ือปลูกฝังแนวคิดความรักและภาคภูมิใจในท้องถิ่นของ ตน 5.ด้านการจัดการด้านบุคลากร จะต้องสร้างการมีส่วนร่วมของกลุ่มคนในชุมชนหัวดง บริหาร จัดการกลุ่มต่าง ๆ ในชุมชนให้ได้รับประโยชน์จากการท่องเที่ยว ในด้านผู้ส่ือสารประจาฐานเรียนรู้ ควรบอกเล่าเร่ืองราวให้กระชับ ชัดเจนตรงประเด็นต้องแนะนาสถานท่ีสาคัญ ๆ เล่าประวัติความ เป็นมาความสัมพันธ์ของคนในชุมชนและร้อยเรียงเรื่องราวให้เกิดความเช่ือมโยงกัน ควรมีการพัฒนา ความรู้ เพ่ิมพูนทักษะวิชาการให้กับผู้สื่อสารประจาแหล่งเรียนรู้เพ่ือสร้าง “นักส่ือความหมาย” มืออาชีพในอนาคตและต้องมีการดูแลนักท่องเท่ียวร่วมเดินทางไปพร้อม ๆ กัน เพ่ือปูองกันการออก นอกเส้นทาง 6. ควรมีการบริหารจัดการกลุ่มท่ีเก่ียวข้องในชุมชนอย่างเป็นระบบมีการข้ึนทะเบียน สมาชิกกลุ่มท่องเที่ยวชุมชน มีการพัฒนาต่อยอดกิจกรรมการท่องเท่ียวชุมชน ผ่านกลุ่มต่าง ๆ ใน ชุมชนโดยมีคณะทางาน ท่ีเข้ามาจัดการผลประโยชน์ของกลุ่มอย่างเป็นธรรม 7. ชุมชนควรมีส่วนร่วม ในการพัฒนาการท่องเท่ียว 8. การจัดการระบบการบริหารจัดการการท่องเที่ยวชุมชน ควรมีการวาง แผนการจัดการชุมชนตาบลหัวดง และกาหนดแนวทางและกิจกรรมการขับเคล่ือนการพัฒนาการ ท่องเท่ียวของชุมชนตาบลหัวดง และจัดกิจกรรมท่ีเป็นการพัฒนาขีดความสามารถในการจัดการ ความรู้การทอ่ งเท่ียวโดยชุมชนได้ด้วยตนเอง 9. แนวคิดการพัฒนาการท่องเท่ียวท่ียั่งยืน ใช้เป็นกรอบ อ้างอิงเรื่องการพัฒนาการท่องเท่ียว ท่ียั่งยืน ในการกาหนดนโยบายการท่องเที่ยว และการวิจัยของ นักวิชาการได้ 10. ผลการวิจัยสร้างความกระจ่างให้ให้ชุมชนตาบลหัวดง สามารถมองเห็นทิศทางการ จัดการท่องเท่ียวในพื้นท่ีแบบมีทิศทางมากยิ่งขึ้น และสามารถจัดการท่องเท่ียวโดยชุมชนบนพื้นฐาน ของการวิจัยแบบมีข้อมูลท่ีชัดเจน 11. ผลการวิจัยสามารถสร้างความกระจ่างให้ทีมวิจัยชุมชนหัวดง เก่ียวกับการพัฒนาการท่องเท่ียวโดยชุมชนที่ย่ังยืน มีองค์ประกอบ ได้แก่ การจัดการด้านสถาน ท่ี ท่องเท่ยี ว การจดั การ ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาตสิ งิ่ แวดล้อม การสร้างประโยชน์ทางเศรษฐกิจแก่ชุมชน เจ้าของแหลง่ ท่องเที่ยว และสร้างผลประโยชน์แก่ชุมชน แก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกคน การจัดการด้าน

6 ทรัพยากรทาง สังคมและวัฒนธรรม การสร้างความพึงพอใจให้กับผู้มาเยือน และนักท่องเท่ียว และ การมีส่วนร่วมใน การพัฒนาการท่องเท่ียว 12. เพื่อการพัฒนาการท่องเท่ียวโดยชุมชนหัวดงให้ เข้มแข็งจึงควรทาวจิ ยั และพฒั นาการทอ่ งเทีย่ วในลักษณะการพัฒนาเครือข่ายการท่องเที่ยวโดยชุมชน เพ่ือยกระดบั สกู่ ารสร้างนวัตกรรมทอ่ งเทย่ี วมรดกวฒั นธรรมชมุ ชนเช่อื มโยงกบั พื้นท่ีทอ่ งเท่ียวข้างเคียง

รหัสโครงการ บทคัดย่อ ชอ่ื โครงการ RDG61N0031 ชื่อนกั วจิ ัย โครงการการบรหิ ารจัดการการทอ่ งเที่ยวมรดกวฒั นธรรมชมุ ชนบนความ ระยะเวลาโครงการ หลากหลายชาติพนั ธโ์ุ ดยเครอื ข่ายชุมชนตำบลหัวดง อำเภอเมืองพจิ ิตร จังหวัดพจิ ิตร นายพีระโรจน์ ภทั รประสทิ ธิ์ แพทย์หญิง ดร.วณชิ ชา ภทั รประสทิ ธิ์ และคณะ 1 สงิ หาคม 2561 - 31 มกราคม 2563 การวิจัยคร้งั นมี้ วี ตั ถปุ ระสงค์ 5 ประการ คือ 1) เพ่ือศึกษา สำรวจองค์ความรู้มรดก วฒั นธรรมชมุ ชนตำบลหัวดง อำเภอเมืองพิจติ ร จงั หวัดพิจิตร 2) เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของเครอื ข่าย ชมุ ชนเพ่อื การพัฒนาการทอ่ งเทย่ี วมรดกวัฒนธรรมชมุ ชนหวั ดง 3) เพื่อออกแบบเส้นทางและกิจกรรม ท่องเที่ยวมรดกวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ของชุมชนตำบลหัวดง 4) เพ่ือสร้างการบริหารจัดการการ ท่องเทีย่ วมรดกวฒั นธรรมชุมชนบนความหลากหลายชาติพนั ธ์ุโดยเครอื ข่ายชุมชนตำบลหัวดง 5) เพ่ื อ พฒั นาศกั ยภาพบุคลากรทางการท่องเท่ยี วมรดกวัฒนธรรมชุมชนหัวดง ดา้ นกระบวนการงานวิจยั เพื่อ ทอ้ งถ่ิน เพ่ือให้ชุมชนบา้ นหัวดง สามารถพัฒนาศักยภาพชมุ ชนให้สามารถจัดการท่องเท่ียวโดยชุมชน โดยใช้การสืบคน้ จากเอกสารและการสมั ภาษณ์เชงิ ลกึ จากผูท้ ่ีมีสว่ นเก่ยี วขอ้ งในพื้นทชี่ ุมชนตำบลหวั ดง จากการเล่าเร่ืองราวตั้งแต่ในอดีตจนถงึ ปจั จุบัน ผา่ นการพูดคุย ผ่านเวทีประชาคม เวทีคนื ขอ้ มูลชมุ ชน การประชุมหารือ การซักถามประเด็นท่ีสำคัญต่าง ๆ เกี่ยวกับมรดกวัฒนธรรมชุมชนที่ร้อยเรื่องราวท่ี น่าสนใจท่ีเป็นทุนและศักยภาพของพ้ืนที่ท่ีจะสามารถรองรับและเป็นฐานข้อมูลที่สำคัญในด้านการ จัดการท่องเท่ียวโดยชุมขนในพื้นที่ตำบลหัวดง มีการสร้างแนวร่วมในการศึกษาและพัฒนางานวิจัย โดยมีภาคี 5 ภาคี คือ ท้องถ่ิน ท้องท่ี หน่วยงานภาครฐั ประชาชน และวัดในพนื้ ที่ การวิจัยใชส้ ถิติเชิง พรรณนาและสรปุ ผล จากการศึกษา พบว่า อัตลักษณ์ของชุมชนจากทุนที่สืบค้นในพ้ืนที่ตำบลหัวดง จากการ สัมภาษณ์และการบอกเล่าของผู้เฒ่าผู้แก่สมัยดั้งเดิม ผู้คนจากหลายพ้ืนท่ีย้ายถ่ินฐานเข้ามาจากเมือง เวียงจันทร์ ประเทศลาว บางส่วนย้ายมาจาก ลพบุรี สระบุรี หนองคาย และร้อยเอ็ด ผู้ที่อพยพเขา้ มา มีหลายกลุ่มชาตพิ ันธบุ์ างส่วนเป็นคนไทยพวน คนไทยอีสานและคนจีนเขา้ มาอยู่ในตำบลหัวดงจำนวน มากทำให้เกิดการอยู่ร่วมกันของคน 3 เชื้อชาติ คือเช้ือชาติไทย เช้ือชาติจีน และเชื้อชาติลาว ก่อเกิด การดำเนินชีวิตในรูปแบบวัฒนธรรมเช้ือไทย วัฒนธรรมเช้ือจีน และวัฒนธรรมเชื้อลาว มีอัตลักษณ์ที่ โดดเด่น คือ“ชุมชนพหุวัฒนธรรม” เป็นชุมชนท่ีแต่ละเช้ือชาติไม่ว่าจะเป็นไทย จีน ลาว ได้นำวิถีถ่ิน ต่าง ๆ เข้ามากลายเป็นวิถีถ่ินทีม่ ีลักษณะของพหุวัฒนธรรมท่ีสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข ได้

2 จับจองพ้ืนท่ีทำงานหากนิ สร้างบา้ นเรอื นอาศัยอยูร่ ่วมกัน ทง้ั น้ีชาวหัวดงยึดมนั่ ในพระพุทธศาสนา จึง ได้รับการขัดเกลาจิตใจให้มีความละเอียดอ่อน มีการเคารพเชื่อฟังผู้นำ ผู้อาวุโส มีการปรับตัวมีการ ยอมรับในความแตกต่างมีวัฒนธรรมความเช่ือทางขนบประเพณีท่ีแฝงด้วยกุศโลบายที่ประกอบด้วย ค่านิยม ทัศนคติ พฤติกรรม จิตวิญญาณ และวิถีชีวิต ทำให้สามารถสร้างสรรค์ศิลปวัฒนธรรมภูมิ ปัญญาทงั้ ในอดีตและปัจจุบนั ไวม้ ากมาย ซึ่งแบง่ ออกเปน็ ๗ ดา้ น คอื ศิลปกรรม โบราณสถาน อุโบสถ เก่า เกจิดังวัดหัวดงช่างฝีมือภูมิปัญญา หมอแผนไทยโบราณ และสมุนไพรไทย อาหารประจำถ่ิน ภาษากลุ่มชาติพนั ธ์ุ สุนทรียภาพในทอ้ งถนิ่ ประเพณีความเช่ือ ซ่ึงได้ได้กลายเป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญา มีการถ่ายทอดจากคนรุ่นหน่ึงไปยังอีกคนรุ่นหนึ่ง เป็นส่ิงยึดโยงให้คนในชุมชนหัวดงเกิด ความรัก ความสามัคคีกนั คือ ประเพณีแขง่ ขนั เรือยาวชงิ ถ้วยพระราชทาน ประเพณีทอดผ้าป่าข้าวสุก ประเพณีเทศกาลวันสารท (สารทจีน สารทพวน สารทลาวและสารทไทย) ประเพณีเลี้ยงเจ้าพ่อได้แก่ (เจ้าพ่อสุริวงศ์เจ้าแม่สีดา เจ้าพ่อขุนด่าน ประเพณีไหว้เจ้าพ่อปุณเถ้ากง) ประเพณีทำบุญกลางบ้าน ประเพณีเทศน์มหาชาติ ประเพณีวันสงกรานต์ มีการสร้างการบริหารจัดการการท่องเท่ียวมรดก วัฒนธรรมชุมชนบนความหลากหลายชาติพันธุ์โดยเครือข่ายชุมชนตำบลหัวดง 3 ระดับ คือ ระดับ ชุมชน ระดับจังหวัด ระดับประเทศ โดยมีเทศบาลตำบลหัวดง และองค์การบริหารส่วนตำบลหัวดง รว่ มกันขับเคลอ่ื นและเป็นทีมงานหลักในการดำเนินงานในระยะเริ่มต้น จากนั้นไดส้ ร้างสร้างการมีสว่ น ร่วมของเครือขา่ ยชมุ ชนเพื่อการพัฒนาการท่องเทีย่ วมรดกวัฒนธรรมชุมชนหัวดง กับกลุ่มต่าง ๆ ด้าน การพฒั นาศักยภาพบุคลากรทางการท่องเที่ยวมรดกวัฒนธรรมชุมชนหัวดง ทำใหเ้ กิด “กลุ่มท่องเท่ียว ชุมชนหัวดง” พัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวชุมชนได้ 4 เส้นทาง คือ เส้นทางที่ 1สายเขียวเท่ียวบ้าน สมุนไพร สุขใจวิถีพอเพยี ง (1 วัน) เส้นทางท่ี 2 เท่ียวหัวดง สนุก สุขใจ ไดก้ ุศล วิถชี ุมชนหัวดงท่ีลงตัว (2 วัน 1 คืน) เส้นทางที่ 3 วิถีชมุ ชนหัวดงท่ีลงตัว (2 วนั 1 คนื ) และเสน้ ทางที่ 4 สมั ผัสธรรม สัมผสั วถิ ี ชุมชนทล่ี งตัว (2 วัน 1 คืน)

รายงานการใช้ประโยชน์โครงการการบริหารจัดการการท่องเที่ยวมรดกวัฒนธรรมชุมชนบน ความหลากหลายชาติพันธุ์โดยเครือข่ายชุมชนตําบลหัวดง อําเภอเมืองพิจิตร จังหวัดพิจิตร RDG61N0031 บ้านหัวดงตั้งขึ้นเมื่อประมาณ ปี พ.ศ. 2400 ชุมชนหัวดงเป็นชุมชนท่ีมีคน 3 เชื้อชาติอาศัย อยู่ร่วมกัน คือ 1) เช้ือชาติไทย 2) เช้ือชาติจีน และ3) เช้ือชาติลาว แต่ละเช้ือชาติยังคงดํารงตนอยู่ ภายใต้ขนบธรรมเนียม ประเพณี วิถีวัฒนธรรมของตนขณะเดียวกันก็ยอมรับปรับตัวเข้ากับวิถี วัฒนธรรมของสมาชิกในชุมชนทําให้บ้านหัวดงเป็นชุมชนที่ความหลากหลายของ พหุวัฒนธรรมท่ี สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข ในการจับจองพ้ืนที่ทํามาหากิน และการสร้างบ้านเรือนเพ่ือพัก อาศัยมีลักษณะอยู่ร่วมกันหลายครอบครัว โดยจัดสรรพื้นที่ป่าส่วนหน่ึงเป็นท่ีอยู่อาศัยและผืนป่าอีก ส่วนหน่ึงร่วมกันอนุรักษ์ป่าไว้ให้มีความอุดมสมบูรณ์ ชาวบ้านได้ต้ังชื่อหมู่บ้านนี้ว่า “บ้านหัวดง” ซ่ึง ตั้งข้ึนเป็นหมู่บ้านแรกของตําบล ต่อมามีประชากรหนาแน่นขึ้นจึงมีการขยายพ้ืนที่อาศัยและพ้ืนที่ทํา กิน คนหัวดงมีวิถีชีวิตที่ผูกพันกับสายนํ้า ทั้งการกินการอยู่จึงถือว่าตนเองว่าเป็นลูกแม่น้ํา ผู้สูงอายุ ชาวหัวดงมักกล่าวเสมอว่า “คนหัวดงจะลําบาก จะมีกิน จะสนุกสนานก็เพราะนํ้า” การคมนาคมที่ สาํ คัญของคนหวั ดงจากอดีตจนถึงปัจจบุ นั ยังคงนิยมใช้เรือในการสัญจรเพราะมีความผูกพันกับสายน้ํา นอกจากน้ีชุมชนหัวดงยังเป็นแหล่งผลิตเรือขุดท่ีมีชื่อเสียงและเป็นท่ีรู้จักของคนท่ัวไปเนื่องจากมีช่างขุด ช่างต่อเรอื ฝมี ือดี เรือทนี่ ิยมตอ่ ขึ้นใช้ ได้แก่ เรอื หมู เรอื พายมา้ โดยเฉพาะเรือยาว ประเพณีท่ีสําคัญคือ การจัดการแข่งขันเรือยาวประจําปีท่ีจัดขึ้นทุกโดยวัดหัวดง ในอดีตตําบลหัวดงถือเป็นเมืองท่าการค้า ขายทสี่ ําคัญแหง่ หนึง่ จะมเี รือขนส่งสินค้ามากมายนําเรือเข้าเทยี บเพือ่ รบั สินค้าจากชุมชนหัวดงไปขาย ยังต่างถ่ิน รายได้หลักส่วนใหญ่ของคนในชุมชนหัวดงในอดีตเกิดจากค้าขาย การเกษตรกรรมทั้งการ ปลกู ขา้ ว และการประมงนํา้ จืด โบราณสถานของชมุ ชนไดแ้ ก่ อุโบสถที่เก่าแก่มีอายุไม่ต่ํากว่า 100 ปี โดยได้รับพระราชทานตราครุฑจากสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 6 แห่งราชวงศ์จักรี มา ประดิษฐานอยู่บริเวณด้านหน้าของอุโบสถ ปัจจุบันกรมศิลปากร ได้ขึ้นทะเบียนโบราณสถานและมี การปรับปรุงซ่อมแซมส่วนท่ีชํารุดเสียหายบ้างแล้ว สิ่งศักด์ิสิทธ์ิท่ีเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของชาวหัวดง คือ “หลวงพ่อประทานพร” ที่ประดิษฐานอยู่ ณ เขาพระ คนหัวดงเช่ือว่าหากต้องการสิ่งใดก็ให้ไปขอ หลวงพ่อประทานพร ซงึ่ กโ็ ดยสว่ นใหญแ่ ล้วจะสขุ สมหวงั กนั มาตลอด ทีมวิจัยไดส้ บื คน้ ขอ้ มลู ของตาํ บล คอื ความเป็นมาของตําบลหัวดง ประวัติศาสตร์ชุมชน ชาติ พันธุ์ วิถีชุมชน มรดกวัฒนธรรม ประเพณี ภาษา อาหาร การแต่งกาย ภูมิปัญญา โบราณส ถาน สถาปัตยกรรม และทรัพยากรธรรมชาติของชุมชน ทีมวิจัยได้นําข้อมูลไปใช้สําหรับการกําหนดอัต ลักษณ์ในการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน พบว่าตําบลหัวดงคือชุมชนสามวัฒนธรรม หรือพหุ วัฒนธรรม ซงึ่ จะสะท้อนให้เห็นประวตั ิศาสตรช์ มุ ชน วถิ ีชวี ติ ประเพณี วฒั นธรรม โบราณสถาน ความ หลากหลายของชาติพันธ์ุ และทรัพยากรธรรมชาติ

จากผลการวิจยั ระยะท่ี 1 ที่ทีมวิจัยได้สืบค้นข้อมูลและกําหนดอัตลักษณ์เพื่อใช้ในการจัดการ ท่องเที่ยว เกิดการเปลี่ยนแปลงในพื้นท่ีที่สําคัญคือ คนในชุมชนหลายภาคส่วนร่วมในการให้ข้อมูล มากมายไม่วา่ จะเปน็ รูปภาพ คําบอกเล่า ประสบการณ์ในการดํารงชีวิต ความเช่ือประเพณีต่าง ๆ ภูมิ ปัญญาจากรุ่นสู่รุ่นท่ีถ่ายทอดเพื่อร่วมในกิจกรรมวิจัยในระยะท่ี 1 ทุกภาคส่วนล้วนมีความภาคภูมิใจ เป็นอยา่ งย่ิงทไ่ี ดน้ าํ เสนอข้อมลู สว่ นตา่ ง ๆ มาร้อยเรยี งเช่ือมโยงกัน ในเวทีคืนข้อมูลชุมชนได้นําองค์ความรู้ มรดกวัฒนธรรมชุมชนตําบลหัวดง มาเผยแพร่และ สอบทานกบั เครือข่ายในชมุ ชนทั้งเยาวชนคนรนุ่ ใหม่และผู้เฒ่าเล่าเรื่อง ร่วมถึงหน่วยงาน โรงเรียน วัด องคก์ รเอกชนในพืน้ ที่ ทําให้ชมุ ชนตําบลหัวดง เกดิ ความรู้เขา้ ใจกระจ่างชัดในศักยภาพประวัติศาสตร์ วิถีชุมชน ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติ โบราณสถานส่งผลให้เกิดความภาคภูมิใจ ตระหนัก รัก หวงแหนและฟื้นฟูมรดกวัฒนธรรมชุมชน ตลอดจนนํามาประยุกต์ใช้ในการพัฒนา คุณภาพชีวิตและส่งเสริมการท่องเท่ียว ส่วนในการเปลี่ยนแปลงสําคัญคือ การที่ชุมชนมีการตื่นตัวใน การท่องเที่ยวมากขึ้นโดยมองเห็นว่าเป็นเรื่องท่ีทุกคนสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในการดําเนินการได้ มิใช่เป็นเร่ืองของส่วนราชการเพียงเท่านั้น ในทุกเช้าวัดจะเร่ิมมีการนําองค์ความรู้ที่เกิดจากงานวิจัย มาเล่าผ่านหอกระจายข่าวของวัดในทุกวันพระทําให้คนตําบลหัวดงต่ืนตัวมากขึ้น วัดหัวดงได้มีการ ปรบั อู่เก็บเรอื ยาวให้เปน็ พิพิธภัณฑเ์ รอื ยาวกอ่ นในชว่ งแรก ทั้งการทําความสะอาด จัดทําป้ายบอกช่ือ เรือ และโบถส์เก่าช่อฟ้า พญาครุฑ ก็เร่ิมเป็นท่ีโด่งดังก็มีชาวบ้านตั้งทีมมาทําความสะอาดและคอย ตอ้ นรับนกั ทอ่ งเทีย่ ว มกี ารทําป้ายจดุ ถา่ ยรปู หนา้ วัดหัวดง

ในส่วนบึงหัวดงสามัคคีก็จัดทําป้ายพร้อมจุดถ่ายรูปให้กับนักท่องเที่ยวเพื่อเป็นการเติมเต็ม ใหก้ บั ผู้มาใชบ้ รกิ ารบงึ หวั ดงสามคั คี จากความเปลย่ี นแปลงท่ีเกิดขึ้นกับพ้ืนที่ในขณะที่งานวิจัยดําเนิน ไประยะหนึ่งแสดงให้เห็นว่ากระบวนการงานวิจัยเพ่ือท้องถ่ินก่อให้เกิดประโยชน์ต่อคนในพ้ืนท่ีอย่าง แท้จริง ทั้งในด้านการ รับรู้ประวัติศาสตร์ชุมชน วิถีชุมชน ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติ โบราณสถานของชุมชนอันนําไปสู่ความภาคภูมิใจให้กับชุมชน จนนํามา ประยุกตใ์ ช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมการท่องเที่ยวในชุมชนได้ ทั้งนี้ทีมวิจัยชุมชนตําบล หัวดง อําเภอเมอื ง จงั หวัดพิจิตร ต้องขอขอบคณุ สํานกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การวิจัย ท่ีได้ให้ทุนในการ สนับสนุนการเพื่ออนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมให้คงอยู่คู่บ้านหัวดงตลอดไป และทีมงานพี่เล้ียงจาก มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม จังหวัดพิษณุโลก โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วาลิกา โพธ์ิหิรัญ และ คณะ ท่ีกรุณาให้คาํ แนะนําเพื่อใหท้ ีมวิจยั มีแนวทางการดาํ เนินการท่ชี ดั เจนและเปน็ รปู ธรรมมากขึ้น ชุมชนจัดการตนเองสู่การบริหารจัดการท่องเที่ยวชุมชนตําบลหัวดง อําเภอเมืองพิจิตร จงั หวัดพิจติ ร หลังจากท่ีทีมวิจัยชุมชนตําบลหัวดง อําเภอเมืองพิจิตร จังหวัดพิจิตร ได้ดําเนินการวิจัยเรื่อง “โครงการการบริหารจัดการการท่องเที่ยวมรดกวัฒนธรรมชุมชนบนความหลากหลายชาติพันธุ์โดย เครือข่ายชุมชนตําบลหัวดง อําเภอเมืองพิจิตร จังหวัดพิจิตร” มาเป็นระยะเวลา 18 เดือน ได้เห็น ความตื่นตัวของชุมชนในการรับรู้เกี่ยวกับท่องเท่ียวชุมชน มีการพัฒนาต่อยอดแหล่งท่องเท่ียวอย่าง มากมายไม่ว่าจะเป็นการผลิตผลิตภัณฑ์ของชุมชน การพัฒนาแหล่งจําหน่ายสินค้าพื้นบ้าน การสร้าง วัฒนธรรมทีด่ ีสําหรบั การเปน็ เจา้ บา้ น การปรับปรงุ ส่งิ แวดล้อมให้มีความสวยงาม ปรับปรุงทัศนียภาพ ภูมิทัศน์ต่าง ๆที่อาจจะมีนักท่องเท่ียวเข้ามาในชุมชน แม้กระทั่งการแต่งกายในวันสําคัญต่าง ๆ ของ เช้อื ชาติกไ็ ดร้ ับความรว่ มมอื ในการแตง่ ตายชดุ ต่าง ๆ ทบี่ ง่ ชี้ใหเ้ ห็นถึงการอนุรักษ์รากเหง้าของเชื้อชาติ ตน เชน่ ชดุ ก่ีเพ้า ทีค่ นหัวดงเชื้อสายจนี ใสใ่ นงานวดั เกดิ เจ้าพ่อปุนเถ้ากง เป็นต้น ล้วนแสดงให้เห็นถึง ความพร้อมเพรียงและสามัคคี และน้อมรับการท่ีบ้านหัวดงจะก้าวเป็นชุมชนแห่งการท่องเที่ยวได้ การเปลี่ยนแปลงในเชิงพ้ืนที่ที่สําคัญคือมีแหล่งท่องเที่ยวท่ีพร้อมรองรับนักท่องเที่ยวเกิดขึ้นอย่างเป็น รูปธรรม จาํ นวน 4 แหลง่ ไดแ้ ก่ วดั หัวดงพิพิธภัณฑ์สายน้ํา บึงหัวดงสามัคคี บ้านสวนพอเพียง และ วัดเขาพระบ่อบัวกระด้ง มีแหล่งเรียนรู้ที่สามารถท่องเท่ียวได้เต็มรูปแบบและมีแหล่งท่องเท่ียวกําลัง เพิ่มเติมความสมบูรณ์ ทั้งนี้แหล่งท่องเท่ียวทั้งหมดจะอยู่ในการบริหารจัดการของ “กลุ่มท่องเท่ียว ชมุ ชนหัวดง” จึงม่ันใจไดว้ า่ การบรหิ ารจดั การท่องเท่ยี วนนั้ จะมีความย่งั ยนื ในท่ีสุด ในระหว่างท่ีดาํ เนินการในระยะที่ 2 หลังจากทดลองเส้นทางการท่องเที่ยวตามอัตลักษณ์ที่ได้ คิดคน้ จากงานวจิ ยั ดังกล่าว พบว่า ตําบลหวั ดงน้นั มชี ่ือเปน็ ทรี่ จู้ กั ของนักทอ่ งเที่ยวจากประเพณีแข่งขัน

เรือยาวชงิ ถ้วยพระราชทาน ซ่ึงเป็นสนามแข่งขันท่ีเป็นรองเพียงสนามแข่งขันเรือยาววัดท่าหลวงเพียง เทา่ น้นั และได้รับการขนานนามว่าเป็นสนามแข่งเรือยาวท่ีสวยงามท่ีสุดในประเทศไทย อันเนื่องจากความ รว่ มมอื ของคนในชุมชนองคก์ ร ในพนื้ ที่ ที่มีความเขา้ ใจเก่ยี วกับการท่องเที่ยวชุมชนมากยง่ิ ข้ึน ภายหลังการทําวิจัยในระยะท่ี 2 เจ้าอาวาสวัดหัวดงมีดําริว่า วัดหัวดงสามารถเป็นแหล่ง ท่องเที่ยวได้แม้ไม่มีประเพณีการแข่งขันเรือยาว แต่ก็เป็นแหล่งท่องเท่ียวทางธรรม และเรียนรู้ ประวัติศาสตร์ชุมชนได้ โดยจัดให้มีการเปิดโบสถ์เก่าร้อยปีมีเร่ืองเล่า ภาพเขียนฝาผนังท่ีเป็นของ โบราณแฝงคติธรรมต่อด้วยพพิ ิธภัณฑส์ ายน้ํา ลูกหัวดง ลูกไกรทอง ลูกแม่น้ําน่าน เรือไกรทอง ซ่ึงเป็น ที่ศรัทธานับถอื ตง้ั แต่ครงั้ บรรพบรุ ุษของคนหวั ดงได้ถกู ถา่ ยทอดเรื่องราวให้คนท่ีสนใจและนักท่องเที่ยว อีกครัง้

หากท่านท่ีมีมาวัดหัวดงต้องการของฝากเป็นของที่ระลึกก็มีกลุ่มเรือยาวจิ๋วท่ีสร้างผลิตภัณฑ์ ของท่ีระลึกเป็นเรือยาวจ๋ิวย่อส่วนของเรือยาวใหญ่ที่มีอยู่ โดยกระบวนขุดและประกอบแบบเดียวกัน กับเรือยาวใหญ่ ใช้เป็นของฝากของขวัญและของท่ีระลึกได้เป็นอย่างดี และทางวัดหัวดงได้เพิ่มจุด ถ่ายรูปภายในวัดอีกมากมายหลายจุดร้อยเรียงผสมผสานตามประวัติศาสตร์ของชุมชน รวมถึงจุด บรกิ ารกาแฟไกรทองซงึ่ เป็นจุดบริการกาแฟทีไ่ มม่ ีคา่ ใช้จ่ายสามารถรับประทานได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ใด ๆ หากแตน่ ักทอ่ งเทยี่ วและผูเ้ ข้าเยีย่ มชมจะมีจิตศรัทธาในการบํารงุ วดั หัวดงต่อไปตามกําลังแรงบุญ ของแต่ละท่าน

“หนรี อ้ นไปโดดนํ้า บึงหัวดงสามัคคี พิจิตร” บึงหัวดงสามัคคี ปัจจุบันเป็นที่พักผ่อนหย่อนใจ ของคนจังหวดั พิจิตร และพ้นื ทีใ่ กลเ้ คียง อวดสายตานกั ท่องเทย่ี วด้วยทัศนียภาพอ่างเก็บน้ําขนาดใหญ่ และเครื่องเล่นต่างๆ อุปกรณ์เก่ียวกับการเล่นบนมาตรฐานความปลอดภัยและมีอาหารพ้ืนบ้านหัวดง ไว้รองรับสามารถรบั ประทานในแพกลางบงึ หวั ดงสามัคคีได้เปน็ อยา่ งดี “บ้านสวนพอเพียง สุข เพียงพอ” เกษตรกรขออาสาเดินตามรอยเท้าพ่อ สู่การเป็นนัก บริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวและแหล่งเรียนรู้เชิงเกษตรอินทรีย์ ทําไว้กินเอง ขายกําหนดราคาเอง และมีผู้มาใช้บริการแหล่งท่องเท่ียวอย่างไม่ขาดสาย มาแล้วได้ความรู้เชิงเกษตรอินทรีย์ พักผ่อนใน อ้อมกอดของธรรมชาติ เปล่ียนอิริยาบถที่เร่งรีบ ให้มีความสุขท่ีเพียงพอ ในโฮมสเตย์ ด้วยเวลาท่ีเรา สามารถจดั สรรได้ บนวิถสี ขุ ภาพดดี ้วยผักปลอดสารพิษ ในอาหารสุขภาพทีม่ ีรับประทานอยา่ งไม่จาํ กัด

“วัดเขาพระ แหล่งธรรมมะสักการะหลวงพ่อประทานพร” คนหัวดงให้ความศรัทธาในองค์ หลวงพอ่ ประทานพรมาต้งั แตค่ ร้งั เกดิ วิกฤติอัคคีภยั คร้ังใหญ่ ท่ีเป็นที่มาในการร่วมแรงร่วมใจสร้างองค์ หลวงพ่อประทานพรเพ่ือเป็นสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจให้คนหัวดงสืบชั่วลูกหลานในปัจจุบัน โดยหลังจาก การทําวิจัยได้เกิดการรวมกลุ่มและขอให้มีการจัดสร้างบันไดขึ้นเขาพระแห่งใหม่ เพื่อให้นักท่องเท่ียว สามารถขน้ึ ไปสกั การะหลวงพ่อประทานพรไดส้ ะดวก รองรับนกั ท่องเท่ียวหลายกลุ่ม “บ่อบวั กระด้ง วิถชี วี ติ หัวดงที่ลงตวั ” อยูบ่ ริเวณเยื้องหนา้ ทางเข้าวัดเขาพระซึ่งทางเทศบาล ตําบลหัวดงได้ริเริ่มระหว่างการทําวิจัยในระยะท่ี 2 เพ่ือรองรับการท่องเท่ียวชุมชน โดยจะเป็นบัว กระด้งที่แรกของจังหวัดพจิ ติ ร และจะมีการพฒั นาปรับปรุงภมู ิทัศน์ให้มคี วามสวยงามย่ิงขนึ้ ไปอีก จากสงิ่ ท่กี ล่าวมาจะเหน็ วา่ การใช้กระบวนการงานวิจัยได้เปลี่ยนแปลงหลายส่ิงอย่างในตําบล หัวดงอยา่ งชัดเจน เกดิ เส้นทางการทอ่ งเท่ยี วเชิงวัฒนธรรมในพ้ืนทช่ี ุมชนพหุวัฒนธรรม (ไทย จีน ลาว ) ชุมชนมีศักยภาพในการจัดการท่องเที่ยวระหว่างชุมชนและภาคีเครือข่ายในการท่องเที่ยวชุมชนนี้ ยังเป็นแหล่งสร้างรายได้ให้กับคนในชุมชน โดยที่ไม่ต้องเปล่ียนแปลงวิถีชีวิตของคนในชุมชนและยัง สามารถเชื่อมร้อยเส้นทางท่องเท่ียวมรดกวัฒนธรรมของจังหวัดพิจิตร และการท่องเท่ียวชุมชนยัง สร้างจิตสํานึกรักบ้านเกิด ภาคภูมิใจในมรดกวัฒนธรรมของชุมชน มีความสามัคคี ทั้งน้ียังทําให้ หน่วยงาน องค์กรเอกชน และคนในชุมชนร่วมกันอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติเพ่ือส่งเสริมแหล่ง ท่องเที่ยวด้านมรดกวัฒนธรรมชุมชน กระบวนการวิจัยในครั้งน้ีได้พัฒนาระบบประชาสัมพันธ์ให้คน นอกตําบลหัวดง ได้เห็นการเปลี่ยนแปลงของตําบลหัวดงสู่เมืองท่องเที่ยวชุมชนตําบลหัวดง ผ่านเพจ ออนไลน์ นับเป็นก้าวที่ยิ่งใหญ่ที่คนหัวดงภาคภูมิใจที่จะเปิดบ้านตอนรับนักท่องเท่ียวทุกกลุ่ม และ ยนิ ดีทจี่ ะไดถ้ ่ายทอดมรดกวัฒนธรรมที่ได้ค้นพบจากการวิจัยในคร้ังนี้ ท้ายที่สุดขอขอบคุณ สํานักงาน กองทุนสนับสนุนการวิจัยท่ีกรุณาสนับสนุนทุนอุดหนุนการวิจัยเพื่อสร้างรากฐานทางปัญญาให้แก่ทีม วิจยั ชมุ ชน รวมถึงขอขอบคณุ ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ วาลิกา โพธิ์หิรัญ และคณะทีมพ่ีเลี้ยงทุกท่าน ท่ีช่วย ให้คําปรึกษาแนะนําต้ังแต่เริ่มงานวิจัยกระทั่งงานวิจัยลุล่วงไปได้ด้วยดีและทีมวิจัยคาดหวังว่าจะ ยกระดับการท่องเที่ยวโดยชุมชนตําบลหัวดงให้ไปสู่สาธารณชนและช่วยขับเคล่ือนเศรษฐกิจฐานราก อันจะนาํ ไปสกู่ ารพฒั นาประเทศชาตอิ ย่างย่งั ยนื ในโอกาสต่อไป

สารบัญ หน้า ก สารบญั สารบัญภาพ 1 สารบัญตาราง 3 4 บทที่ 1 บทนา 4 ความเปน็ มาและความสาํ คัญของปญั หา 6 คาํ ถามวิจยั สงิ่ ท่ีอยากรู้ 6 วัตถปุ ระสงค์ 7 ขอบเขตการววิ ิจัย 8 นิยามศพั ท์เฉพาะในการวิจัย ผลทค่ี าดวา่ จะไดร้ บั 9 ระยะเวลาดําเนนิ การวิจยั 11 กรอบแนวคิดการวิจัย 10 23 บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ัยท่ีเกี่ยวข้อง 25 ความหมายของการท่องเทยี่ ว 27 แนวคดิ การท่องเท่ยี วโดยชมุ ชน 41 แนวคิดมรดกวัฒนธรรม 44 แนวคดิ เก่ยี วกับการท่องเทยี่ วเชิงวัฒนธรรม แนวคิดการบริหารจดั การการทอ่ งเที่ยวเชิงวัฒนธรรม 48 แนวคดิ เกีย่ วกบั การมสี ว่ นรว่ มของประชาชน ภาคีผู้เกยี่ วขอ้ ง บทบาทขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ินในการส่งเสริมสนบั สนุนการท่องเทย่ี วของ ชุมชนอย่างยั่งยืน งานวิจัยท่ีเกย่ี วข้อง บทที่ 3 วธิ ดี าเนินการวจิ ยั วตั ถปุ ระสงค์การวิจัยข้อที่ 1 เพื่อสาํ รวจองค์ความรู้ “คณุ ค่ามรดกวัฒนธรรมชุมชน ตาํ บลหวั ดง อําเภอเมอื งพิจติ ร จังหวัดพจิ ิตร” เพอื่ ให้ได้คาํ ตอบตามวตั ถุประสงค์ที่ 1 จาํ นวน 7 ประเด็น ดังน้ี 1) ภมู ิศาสตรก์ ายภาพและนิเวศวทิ ยาท้องถนิ่ 2) ประวัติศาสตร์ท้องถน่ิ และภูมนิ าม

หน้า 3) พัฒนาการตง้ั ถ่นิ ฐานของคนในชมุ ชน การปรับตัวเข้ากบั ส่งิ แวดล้อมและกระแส การเปลยี่ นแปลง 4) มรดกวฒั นธรรมชุมชน ประเพณี วฒั นธรรม อาหาร ภูมิปญั ญา การแต่งกาย ภาษา การแสดง ศลิ ปกรรม หัตถกรรม โบราณสถาน วจิ ิตรศลิ ป์ สุนทรยี ภาพในท้องถนิ่ อัตลักษณ์ของท้องถน่ิ โลกทศั น์ ความเชื่อ พิธกี รรม จติ วิญญาณ ความสมั พนั ธข์ องคน ในชุมชนทอ้ งถ่นิ และความสัมพนั ธ์ของชุมชนกับสงิ่ แวดลอ้ มในธรรมชาติเหนือธรรมชาติ และวถิ กี ารดาํ รงชีวติ 5) ปัญหาและแนวทางการบรหิ ารจดั การเพ่อื ฟื้นฟู อนรุ ักษ์ ทรัพยากรชุมชนอย่างยัง่ ยนื ไป พร้อมกับการใช้เปน็ ทุนในการรองรบั การท่องเที่ยวของชมุ ชน 6) เทคโนโลยีในการจดั การทรพั ยากรจากอดตี กลายมาเปน็ ภูมปิ ัญญาวิวฒั น์ในปจั จุบัน 7) กระบวนการเรียนรู้และพฤตกิ รรมการเรยี นรู้ การถา่ ยทอดภูมปิ ญั ญา 53 วตั ถปุ ระสงค์การวิจัยข้อท่ี 2 สร้างการมสี ่วนร่วมของเครือข่ายชุมชนเพื่อการพฒั นา การทอ่ งเทย่ี วมรดกวฒั นธรรมชุมชนหวั ดง 56 วัตถุประสงค์การวิจยั ข้อท่ี 3 ออกแบบเสน้ ทางและกิจกรรมทอ่ งเทีย่ วมรดกวฒั นธรรม เชงิ สร้างสรรค์ของชุมชนตําบลหัวดง วัตถุประสงค์การวิจัยขอ้ ท่ี 4 สร้างการบริหารจัดการการท่องเท่ยี วมรดกวัฒนธรรมชุมชน 60 บนความหลากหลายชาตพิ นั ธุ์โดยเครอื ข่ายชุมชนตําบลหวั ดง วัตถุประสงค์การวิจยั ขอ้ ที่ 5 พฒั นาศักยภาพบคุ ลากรทางการทอ่ งเทยี่ วมรดกวฒั นธรรม 70 ชมุ ชนหวั ดง บทท่ี 4 ผลการวจิ ัย ตอนท่ี 1 ผลการสบื ค้น “ผลการสาํ รวจองค์ความรู้ “คณุ คา่ มรดกวฒั นธรรมชุมชน ตาํ บลหัวดง อําเภอเมอื งพิจติ ร จังหวัดพจิ ติ ร”ทส่ี ามารถสรา้ งความสัมพนั ธแ์ ละมรดก วัฒนธรรมชมุ ชนหวั ดง 94 ตอนท่ี 2 การสรา้ งการมีสว่ นร่วมของเครือขา่ ยชุมชนเพ่ือการพัฒนาการท่องเทย่ี ว มรดกวฒั นธรรมชุมชนหัวดง 404 ตอนท่ี 3 ผลออกแบบเสน้ ทางและกิจกรรมท่องเทย่ี วมรดกวัฒนธรรมเชิงสรา้ งสรรค์ ของชมุ ชนชมุ ชนตาํ บลหัวดง 406 ตอนท่ี 4 ผลการสร้างการบริหารจัดการการท่องเท่ยี วมรดกวฒั นธรรมชุมชนบนความ หลากหลายชาติพันธโุ์ ดยเครอื ข่ายชมุ ชนตําบลหวั ดง 416 ตอนท่ี 5 พฒั นาศักยภาพบคุ ลากรทางการท่องเทยี่ วมรดกวฒั นธรรมชมุ ชนหัวดง 417 บทท่ี 5 สรุปผลการวิจัย อภปิ รายผลและขอ้ เสนอแนะ สรปุ ผลการวจิ ยั 419 อภิปรายผล 425 ขอ้ เสนอแนะเชิงนโยบายและเชงิ ปฏบิ ัติ 429

บรรณานุกรม ประวตั ินักวจิ ัย หน้า ภาคผนวก ก ภาคผนวก ข แสดงการเปรยี บเทยี บวตั ถปุ ระสงคก์ จิ กรรมทว่ี างแผนไว้ 435 และผลทีไ่ ด้รับตลอดโครงการ 469 ภาคผนวก ค เวทสี ร้างความเขา้ การท่องเที่ยวโดยชุมชน ภาคผนวก ง ทีมวิจัยชมุ ชนลงพื้นทศี่ ึกษา สํารวจ เกบ็ ข้อมูลปฐมภมู ิ เร่ืองราวของท้องถ่นิ 494 แบบบูรณาการทคี่ ลอบคลมุ ท้ังสภาพแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ สภาพ 497 ภาคผนวก จ เศรษฐกจิ สงั คม วัฒนธรรม วิธคี ิด ภูมปิ ัญญาท้องถิน่ คุณค่ามรดกวัฒนธรรม ภาคผนวก ฉ ชุมชนตําบลหัวดง 504 ภาคผนวก ช เวทคี ืนขอ้ มูลชุมชน แบบบรู ณาการร่วมกบั กับแกนนําชุมชน 9 หมบู่ า้ น 510 ภาคผนวก ซ ประชุมสรปุ ผลการศกึ ษาสืบค้น 514 ภาคผนวก ฌ ทดลองเสน้ ทางท่องเทย่ี วชมุ ชนตําบลหัวดง คร้งั ที่ 1 และคร้ังที่ 2 529 ศกึ ษาดูงานชมุ ชนตน้ แบบ 542 แบบสํารวจความเปลีย่ นแปลงสมาชิกทมี วจิ ัย

สารบญั ภาพ หนา้ ภาพที่ 1 แผนท่ตี าํ บลหวั ดง 94 2 สภาพภมู ศิ าสตรภ์ ายกายภาพ 95 3 ทา่ เรอื บา้ นหัวดง 96 4 ลกั ษณะทางกายภาพตําบลหัวดง 97 5 แผนที่ตาํ บลหัวดง 98 6 บ้านของคนหวั ดงที่สร้างขนึ้ ภายหลังอคั คภี ยั 99 7 การต้งั บา้ นเรือนของชาวบา้ นนิยมจะสรา้ งบา้ นอยู่ตดิ กับแม่นํา้ และหนั หน้าบา้ นเขา้ หาแม่น้ํา 102 8 แผนท่ตี ําบลหัวดง 102 9 วัดเขาพระ 107 10 หลวงพ่อประทานพรและหลักฐานการสรา้ งองคห์ ลวงพ่อประทานพร 107 11 ภาพปจั จุบันของหนองนํ้าดํา หรอื หนองนาดาํ ท่ีอยูต่ รงกลางของหมู่บ้าน 111 12 พระยาเพชรรตั นสงครามสมุหเทศาภิบาลมณฑลเพชรบรู ณ์ 113 13 การทาํ นาผ้สู ืบสกุลเพชรรตั น์คอื นายประสทิ ธิ์ เพชรรตั น์ มีอาชพี ทํานา 114 14 การทาํ นาในสมยั ดัง้ เดมิ 114 15 ผู้ใหญใ่ จบญุ ทาํ นุบาํ รุงพทุ ธศาสนาสบื สานวฒั นธรรม 115 16 การใหท้ นุ การศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นหัวดง โรงเรยี นหัวดงและโรงเรยี นราษฎร์เจรญิ 115 17 กํานันวศิ าล ภทั รประสิทธิ์ 117 18 โรงเรยี นหว่ามนิ โรงเรียนท่ีสอนภาษาจีนแห่ง แรกของหวั ดง 118 19 โรงสไี ฟภทั รพันธจ์ุ าํ กัด ตาํ บลหวั ดง อําเภอเมืองพิจิตร จงั หวัดพจิ ติ ร 119 20 กาํ นนั วิศาล ภทั รประสทิ ธิ์ สรา้ งถนนจากสะพานนฤมิตถงึ สถานีรถไฟถึงเขาพระ 120 โดยไมไ่ ด้ใชเ้ งินราชการ 21 กํานันวริ ตั น์ ภทั รประสิทธิ์ 121 22 กาํ นันวิรัตน์ ภทั รประสิทธ์ิ 121 23 กํานนั วริ ตั น์ ภัทรประสทิ ธ์ิ ลงพนื้ ทีเ่ ยยี่ มประชาชนตําบลหัวดง 122 24 กาํ นันวริ ัตน์ ภัทรประสทิ ธิ์ รว่ มทาํ บุญกับพน่ี ้องบ้านหวั ดง 122 25 กํานันวริ ัตน์ ภัทรประสิทธร์ิ ่วมสรา้ งพัฒนาตําบลหัวดง 122 26 พน่ี อ้ งชาวตําบลหัวดงให้การต้อนรับกาํ นันวิรตั น์ ภทั รประสิทธิ์ในโอกาสรบั รางวัลกาํ นนั ดีเดน่ ยอดเยีย่ ม ยอดแหนบทองคําประจาํ จังหวดั พิจิตร 124

สารบัญภาพ (ต่อ) ภาพที่ หนา้ 27 พน่ี ้องชาวตําบลหวั ดงให้การต้อนรับกํานนั วริ ัตน์ ภทั รประสิทธใิ์ นโอกาสรบั รางวลั กํานนั ดีเดน่ ยอดเยย่ี ม แหนบทองคาํ ประจาํ จังหวัดพิจิตร 124 28 พี่นอ้ งชาวตําบลหัวดงให้การต้อนรับกาํ นนั วิรตั น์ ภทั รประสิทธใ์ิ นโอกาสรับรางวลั กาํ นันดีเดน่ ยอดเยย่ี ม แหนบทองคําประจําจงั หวัดพิจติ ร 125 29 กาํ นนั วิรัตน์ ภทั รประสทิ ธิ์ รับรางวัลครอบครวั ส่งเสริมประชาธปิ ไตย 125 30 หลวงพ่อพระครบู ุญธรรมรส (หลวงพ่อบุญธรรมรส ชตุ ิธมโฺ ม) อดตี เจา้ อาวาสวดั หัวดง อดตี เจา้ คณะตาํ บลหวั ดงฆะมัง เขต 1 126 31 พระสุทัสสีมุนวี งศ์ (ประสทิ ธ์ิ สุชโี ว) 128 32 สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ พระราชทาน เสาเสมา ธรรมจกั ร เนื่องในงานสปั ดาห์สง่ เสรมิ วันวสิ าขบชู า ในฐานะผ้บู าํ เพ็ญประโยชนส์ ง่ เสริม การพัฒนาชุมชนและการสงเคราะหป์ ระชาชน โดยใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา สาขาการ พฒั นาชุมชน 129 33 พ.ศ. 2550 พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ พระราชทานสมณศักด์ิ เปน็ พระราชาคณะช้ันสามญั ในราชทินนามท่ี พระสุทัสสมี นุ วี งศ์ (สย.) ซงึ่ เป็นการนํามาซ่ึงความภาคภูมิใจของคณะสงฆ์จังหวัดพจิ ิตรและพุทธศาสนกิ ชนเป็นอย่างมาก 129 34 นายคุ้ม เมืองเหลอื ผปู้ ระกอบโรคศลิ ปแ์ ผนโบราณสาขาเวชกรรมและ และเภสัชกรรม 135 35 นายคมุ้ เมืองเหลือ แพทย์ประจําตําบลหวั ดงตรวจคนไข้ 136 36 นายคุม้ เมืองเหลือแพทย์ประจําตาํ บลหัวดงตรวจคนไข้ 136 37 นายชอ่ เมืองเหลือ ได้รบั โลเ่ ชิดชูเกียรตจิ ากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสงั คมและ 137 ความมนั่ คงมนษุ ย์ ประจําปี 2560 38 นายชอ่ เมืองเหลือ รบั รางวลั พอ่ ตัวอย่าง พ่อซ่งึ เสยี สละทําคุณประโยชนต์ อ่ สงั คมและส่วนรวม 138 ประจาํ ปี 2556 39 นายช่อ เมอื งเหลือ รับมอบประกาศเกยี รติคณุ ครอบครวั ตัวอยา่ งรกั ษาศลี 5 138 จากนายอาํ เภอเมืองพิจติ ร 40 นายชอ่ เมอื งเหลือ และนายณฐั พนธ์ เมืองเหลือ 139 41 นายเลศิ โพนามาศ (ช่างเลศิ ) ชา่ งขุดเรอื ยาวสมยั โบราณ 140 42 อโุ บสถเก่าวดั หวั ดง “สรา้ งเมอ่ื ปีฉลู พทุ ธศกั ราชร่วงได้ 2468 พรรษา” 143 43 ขบวนแหน่ าคเพ่อื ไปอุปสมบท ณ วัดหวั ดงผา่ นบริเวณชุมชนหวั ดงในอดีต 144 44 ประตูระบายนํา้ บา้ นน้ําโจนเหนือ เพ่ือการบริหารจดั การนํ้าในพ้นื ท่ี 144 45 อุโบสถวัดเนินยาว (หลงั เกา่ ) เทศกาลลอยกระทงรอบโบสถ์ โดยมีน้ํารอบอโุ บสถ 146 46 การตงั้ ถ่ินฐานของคนหัวดงเช้อื สายจนี รมิ ฝั่งแม่นํา้ นา่ น 146 47 คลองลําชะลา่ ทไ่ี หลผา่ นด้านขา้ งและหลังวดั ลาํ ชะลา่ 147 48 ทางข้ึนเขาพระเพ่อื สกั การะองคห์ ลวงพ่อประทานพรบนยอดเขาพระ 147

สารบัญภาพ (ต่อ) หนา้ ภาพที่ 148 149 49 ริมฝง่ั แมน่ ้าํ นา่ น หม่ทู ่ี 7 บรเิ วณหน้าวดั หัวดง 149 50 โคง้ แม่น้ํานา่ นบรเิ วณหมู่ 8 เป็นโค้งแม่นํา้ ท่ที อดยาวตลอดหมู่ที่ 8 150 51 ปากคลองคนั ท่ีน้ําจะไหลไปบรรจบกบั แมน่ ํา้ น่าน 150 52 คนหัวดงในอดตี ทใ่ี ช้เรือพืน้ บ้านตา่ ง ๆ ในการสัญจรไปมาในแม่นา้ํ นา่ น 53 สถานรี ถไฟหัวดงที่เปิดใหบ้ รกิ ารประชาชนในพ้นื ทีห่ วั ดงและใกลเ้ คียง 54 สถานีอนามยั ตาํ บลหวั ดง (อาคารเก่า) ตําบลหวั ดง 151 55 โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตําบลหวั ดง หมทู่ ี่ 3 บา้ นเขาพระ 151 56 อาคารเรียนโรงเรยี นบา้ นหัวดงปัจจบุ ันได้ใชเ้ ปน็ อาคารสาํ นักงานเทศบาลตําบลหวั ดง 152 57 อาคารเรียนโรงเรียนบ้านหวั ดงปัจจบุ นั ชุมชนปา่ ตาล 152 58 องค์สมมติเจ้าพอ่ ปุนเถ้ากง ศาลเจา้ พอ่ หวั ดง ตําบลหวั ดง 153 59 โรงเรียนหวา่ มิน โรงเรยี นทีส่ อนภาษาจนี แหง่ แรกของหวั ดง 154 60 นกั เรยี นและครูโรงเรยี นราษฎร์เจรญิ ในอดีต 154 61 โรงเรยี นเทศบาลราษฎร์เจรญิ ท่ีถา่ ยโอนมาสังกัดเทศบาลตาํ บลหัวดง 155 62 ปา้ ยบริษัทโรงสไี ฟภัทรพันธุจ์ ํากดั 156 63 ลานตากขา้ วโรงสีไฟภทั รพันธ์ุจํากัด ตําบลหัวดง 157 64 เรือมอญเพื่อการขนสนิ คา้ ขา้ วจากโรงสไี ปขายในท่ตี ่าง ๆ 157 65 เตาพลังงานไอน้าํ เพือ่ ใชเ้ ปน็ ต้นพลังงานในการดําเนนิ กิจการของโรงสี 158 66 สะพานหัวดงนฤมิตร เพอ่ื แก้ไขปัญหาน้ําทว่ มในฤดูนาํ้ หลากทุกปี 159 67 สะพานหวั ดงนฤมติ ร มที พ่ี ักนั่งเล่นสาํ หรับคนพ้ืนท่ที ่อี ยูร่ อบ ๆ สะพาน 159 68 ข่าวไฟเผาตลาดหวั ดง จากหนังสอื พิมพ์ไทยรฐั ฉบับวันท่ี 14 เมษายน 2508 160 69 บ้านนายจง อ้งึ ศรวี งศ์ รา้ นซอ่ มนาฬิกา อิเลก็ โทรนคิ ซ่อมจักรยานต่าง ๆ 160 70 นายวิศาล ภัทรประสทิ ธิ์ กํานันตาํ บลหัวดงรว่ มถา่ ยรูปหม่กู ับประชาชนและผนู้ าํ ในการกอ่ สร้าง 161 ถนนหัวดง-ยางสามต้น 162 71 เก๋ง (เกา่ ) รอกขา้ มแม่น้าํ กาํ นนั ชนิ ทย่ี งั คงเหลอื อยู่ 162 72 รอกข้ามแม่นาํ้ นา่ นหน้าวดั หัวดง ซงึ่ กอ่ สร้างเพือ่ ให้บรกิ ารคนหัวดง 163 73 สะพานแขวนท่สี ร้างเพ่อื ทดแทนรอกข้ามแมน่ ้าํ นา่ นบรเิ วณหน้าวัดหวั ดง 163 74 ชาวหัวดงร่วมใจกันใช้เรียกช่ือสะพานแขวนว่าสะพานธรรมโกศลสามคั คี 164 75 สะพานขา้ มแม่น้าํ น่าน บริเวณหน้าสาํ นักงานเทศบาลตําบลหัวดง 165 76 สํานักงานการประปาส่วนภูมิภาคตําบลหัวดงในปัจจบุ ัน 165 77 ตราสญั ลกั ษณ์เทศบาลตําบลหัวดงและองค์การบริหารส่วนตาํ บลหัวดง 165 78 ตราสัญลกั ษณ์เทศบาลตําบลหวั ดงและองคก์ ารบริหารส่วนตาํ บลหวั ดง 166 79 เขอื่ นกนั ตลง่ิ พงั รมิ แมน่ ํา้ น่านท่ที อดยาวระหว่างหมู่ท่ี 1 กบั หมูท่ ี่ 8 166 80 ตลาดเก่าหวั ดงต้งั อยู่บรเิ วณริมแม่นาํ้ นา่ น 167 81 อาคารตลาดสดเทศบาลตําบลหัวดง หมู่ท่ี 8 ตําบลหัวดง

สารบัญภาพ (ต่อ) หนา้ ภาพท่ี 167 168 82 ลักษณะภายในตลาดสดเทศบาลตําบลหัวดงทด่ี ําเนนิ การไดม้ าตรฐานกรมอนามัย 168 83 สะพานขา้ มทางรถไฟตําบลหัวดง เชื่อมตอ่ บ้านหัวดงฝ่งั ตะวันออก 170 84 พิธีเปดิ สะพานพิพัฒนธ์ รรมคุณ เมอ่ื วันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2561 170 85 ประเพณีทาํ บญุ เลย้ี งพระกลางบา้ น 171 86 ประเพณีทาํ บญุ เลยี้ งพระกลางบ้าน 172 87 ประเพณที าํ บุญเล้ียงพระกลางบา้ น 173 88 คนไทยเช้อื สายจนี ไหว้เจ้าในวนั ตรษุ จนี 173 89 การทําบุญและเวยี นเทยี นในวันมาฆบูชา 90 การทําบญุ และเวยี นเทียนในวันมาฆบชู า 174 91 ประเพณไี หว้วนั เกดิ เจา้ พ่อปนุ เถ้ากง (ชว่ งเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดอื นมีนาคม) 175 92 การเซ๋นไหว้บรรพบุรุษ 176 93 การก่อพระเจดยี ท์ ราย 176 94 การก่อพระเจดยี ท์ ราย 177 177 95 กิจกรรมประเพณสี งกรานต์ของชมุ ชนตําบลหัวดง 178 96 กจิ กรรมประเพณีสงกรานต์ของชุมชนตําบลหัวดง 178 97 กจิ กรรมประเพณีสงกรานต์ของชมุ ชนตําบลหัวดง 179 98 กจิ กรรมประเพณีสงกรานต์ของชุมชนตําบลหัวดง 179 99 การทาํ บญุ และเวียนเทียน 180 100 ประเพณีสลากภัต 180 101 ประเพณสี ลากภัต 181 102 ศาลเจ้าพ่อสรุ ิยวงศแ์ ละเจา้ แมส่ ีดา 181 103 พธิ ีเล้ียงเจา้ พ่อสรุ ิยวงศ์และเจ้าแมส่ ีดา หมูท่ ี่ 4 บ้านเนินยาว 183 104 ศาลเจา้ พ่อขุนดา่ น หมู่ท่ี 5 บ้านหนองนาดํา 183 105 ประเพณีทําบุญกลางบา้ น 185 106 ประเพณีทาํ บญุ กลางบา้ น 185 107 กิจกรรมวันอาสาฬหบชู า หมู่ท่ี 7 บ้านหวั ดง 185 108 กจิ กรรมวันอาสาฬหบูชา หม่ทู ่ี 7 บา้ นหัวดง 186 109 กิจกรรมวันอาสาฬหบูชา หม่ทู ี่ 7 บ้านหัวดง 186 110 เทียนพรรษาตาํ บลหัวดง 187 111 เทียนพรรษาตําบลหวั ดง 188 112 ประเพณีถวายเทียนพรรษา (ก่อนเขา้ พรรษา) 189 113 การถวายผ้าอาบน้ําฝน (ก่อนเข้าพรรษา) 190 114 ประเพณวี นั เข้าพรรษา 190 115 ประเพณีสารทจีน 191 116 ประเพณีสารทจนี 117 พธิ ีบวงสรวงเรือวัดหวั ดง

สารบัญภาพ (ต่อ) หนา้ ภาพท่ี 191 192 118 พิธีบวงสรวงเรอื วดั หวั ดง 119 พธิ ีบวงสรวงเรอื วดั หัวดง 193 120 กจิ รรมขบวนแห่ถ้วยพระราชทานสมเด็จพระนางเจา้ สิริกิตติ์ในพระบาทสมเดจ็ 193 พระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดชรัชกาลท่ี 9 194 121 กิจรรมขบวนแห่ถว้ ยพระราชทานสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิตติ์ 194 ในพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดชรชั กาลที่ 9 194 122 กิจรรมขบวนแหถ่ ้วยพระราชทานสมเด็จพระนางเจา้ สิริกติ ต์ิ 123 ขา้ วตม้ คบท่ีใหญท่ ีส่ ดุ ในตําบลหัวดง 194 124 พธิ ีเปดิ การแข่งขันเรือยาวประเพณชี งิ ถว้ ยพระราชทานสมเดจ็ พระนางเจ้าสิรกิ ติ ต์ิ 195 195 สมเด็จพระนางเจา้ สิริกิตติ์ ในพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช 197 ในรัชกาลท่ี 9 197 125 พธิ ีเปิดการแข่งขันเรือยาวประเพณชี ิงถว้ ยพระราชทานสมเดจ็ พระนางเจา้ สริ ิกติ ติ์ 198 สมเดจ็ พระนางเจา้ สริ ิกติ ต์ิ ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช 198 ในรชั กาลที่ 9 198 126 พิธีเปดิ การแขง่ ขันเรือยาวประเพณชี ิงถ้วยพระราชทาน ฯ 198 127 พธิ เี ปิดการแขง่ ขนั เรือยาวประเพณชี ิงถ้วยพระราชทาน ฯ 199 128 วนั สารทไทย 200 129 วนั สารทไทย 200 130 การทาํ ขนมกระยาสารท 201 131 การทาํ ขนมกระยาสาท 201 132 ประเพณวี นั ออกพรรษา 202 133 ประเพณวี ันออกพรรษา 203 134 ประเพณตี ักบาตรเทโววัดหวั ดง 203 135 ประเพณตี กั บาตรเทโววัดหวั ดง 203 136 พิธีตกั บาตรเทโววดั เขาพระ 203 137 พธิ แี ห่พระอุปคตุ บา้ นเนินยาว หมูท่ ่ี 4 บา้ นเนินยาว 204 138 พิธีแห่พระอปุ คุตบ้านเนินยาว หมทู่ ่ี 4 204 139 พิธแี หข่ ้าวพันก้อนบ้านเนนิ ยาว หมู่ท่ี 4 บา้ นเนินยาว 204 140 พิธีเทศน์มหาชาตวิ ดั เนนิ ยาว 204 141 พธิ เี ทศนม์ หาชาติวดั เนินยาว 142 พธิ ีเทศนม์ หาชาตวิ ัดเนนิ ยาว 143 พิธเี ทศนม์ หาชาติวดั เนินยาว 144 พิธีเทศนม์ หาชาติวัดหวั ดง 145 พิธเี ทศนม์ หาชาติวัดหัวดง 146 การทอดกฐนิ ของชุมชนตาํ บลหัวดง 147 การทอดกฐนิ ของชมุ ชนตําบลหัวดง

สารบัญภาพ (ต่อ) หนา้ ภาพที่ 206 207 148 ไหว้เจ้าพอ่ ปุนเถ้ากงคนหัวดง 207 149 ไหวเ้ จ้าพอ่ ปนุ เถา้ กงคนหวั ดง 208 150 ไหวเ้ จ้าพ่อปนุ เถ้ากงคนหัวดง 208 151 ไหวเ้ จา้ พ่อปุนเถ้ากงคนหัวดง 208 152 พธิ ีกวนขา้ วทิพยว์ ัดเขาพระ 210 153 พิธกี วนข้าวทิพยว์ ดั เขาพระ 210 154 พธิ กี วนข้าวทิพย์วัดเขาพระ 211 155 พธิ ีกวนขา้ วทิพย์วัดเขาพระ 211 156 พธิ กี วนขา้ วทิพยว์ ดั เขาพระ 212 157 พธิ ีกวนขา้ วทิพยว์ ัดเขาพระ 212 158 การทอดผา้ ปา่ ขา้ วสุกวดั หัวดง 213 159 การทอดผา้ ปา่ ขา้ วสุกวดั หัวดง 214 160 การทอดผา้ ป่าข้าวสุกวดั หวั ดง 214 161 ประเพณลี อยกระทงตําบลหัวดง 214 162 ประเพณลี อยกระทงตําบลหัวดง 214 163 กิจกรรมการทาํ กระทงของนักเรยี นโรงเรียนหัวดงรชั นูปถมั ภ์ 215 164 กิจกรรมการทาํ กระทงของนกั เรียนโรงเรยี นหัวดงรชั นปู ถัมภ์ 215 165 กจิ กรรมการลอยกระทงหมู่ท่ี 4 บา้ นเนินยาว 215 166 กจิ กรรมการลอยกระทงหมู่ท่ี 4 บ้านเนนิ ยาว 215 167 กิจกรรมสวดมนต์ข้ามปวี ัดหัวดง 217 168 กิจกรรมสวดมนต์ขา้ มปีวัดหัวดง 217 169 ขนมจีนนาํ้ ยา 217 170 ขนมจนี นํ้ายา 217 171 ขนมจีนนํา้ ยา 220 172 ขนมจนี น้าํ ยา 221 173 แกงบอน 221 174 แกงขเี้ หล็ก 222 175 แกงขีเ้ หล็ก 222 176 แกงเลียง 224 177 แกงเลียง 224 178 แกงหยวกกล้วย 225 179 แกงหยวกกลว้ ย 225 180 แกงไข่ผาํ 226 181 แกงไข่ผาํ 226 182 แกงฉู่ฉี่ปลาแขยง 183 แกงฉฉู่ ี่ปลาแขยง

สารบญั ภาพ (ต่อ) หนา้ ภาพที่ 227 227 184 ปลาเผาสะเดานํ้าปลาหวาน 228 185 ปลาเผาสะเดานํ้าปลาหวาน 228 186 ปลารา้ ลอยแก้วพรอ้ มผักเครื่องเคียง 228 187 ปลาร้าลอยแกว้ พรอ้ มผักเครื่องเคียง 229 188 ปลารา้ ลอยแกว้ พรอ้ มผักเครื่องเคียง 229 189 ข้าวต้มคบบ้านหวั ดง 231 190 ขา้ วตม้ คบบา้ นหวั ดง 231 191 ขนมขา้ วฟ่างเปียก 232 192 ขนมขา้ วฟ่างเปยี ก 232 193 ขนมขี้มอด 233 194 ขนมข้ีมอด 233 195 ขนมอีบ๊ว 235 196 ขนมอบี ๊ว 235 197 ขนมกําป้นั หรือจยุ๋ กว๊ ย 236 198 ขนมกาํ ปน้ั หรือจุ๋ยกว๊ ย 236 199 ขนมบวั ลอยกะทิสด 236 200 ขนมบวั ลอยกะทิสด 238 201 ขนมบวั ลอยกะทิสด 238 202 ขนมบัวลอยกะทิสด 239 203 ขนมบัวลอยกะทสิ ด 239 204 ขา้ วเม่าทอด 241 205 ขา้ วเม่าทอด 241 206 ชา่ งเลศิ โพนามาศ และเรือเพชรไกรทองวดั หวั ดง 241 207 การทาํ เรือจว๋ิ ของช่างเลิศ โพนามาศ (ช่างล่อม) 242 208 การทาํ เรือจ๋ิวของชา่ งเลศิ โพนามาศ (ชา่ งล่อม) 243 209 หมอสอน สขุ สงค์ 244 210 หมอคุ้ม เมอื งเหลอื 244 211 ยาแก้ โรคอัมพฤกษ์ อมั พาต 245 212 ยาแก้ โรคอัมพฤกษ์ อมั พาต 245 213 ยาบํารงุ เลือด (ยาสตรี) 246 214 หมอชอ่ เมืองเหลือ 247 215 นางสาววรี ภรณ์ กันฟกั 247 216 ประธานกลุม่ สมุนไพรชุมชนป่าตาล สมนุ ไพรปา้ แจ๋ว 247 217 สมุนไพรป้าแจ๋ว 248 218 ธปู สมุนไพรไลย่ ุงตําบลหัวดง 219 การแต่งกายคนหัวดงสมยั กอ่ น

สารบัญภาพ (ต่อ) หนา้ ภาพที่ 249 249 220 การแต่งกายคนหวั ดงสมยั กอ่ น โดยนยิ มผ้าขาวมา้ 249 221 การแตง่ กายไปวัดของคนหัวดงสมยั ก่อน 250 222 การแตง่ กายอยู่บ้านของคนหัวดงสมัยกอ่ น 251 223 การแต่งกายไปงานบวชของคนหัวดงสมยั ก่อน 251 224 การแตง่ กายของผู้ชายสมยั ก่อน 252 225 การแต่งกายของผูห้ ญิงสมัยก่อน 252 226 การแตง่ กายของผ้หู ญิงสมยั ก่อน 253 227 การแต่งกายรว่ มงานประเพณี และงานบุญตา่ ง ๆ ในปัจจบุ ัน 253 228 การแตง่ กายรว่ มงานประเพณี และงานบุญตา่ ง ๆ ในปัจจบุ ัน 254 229 การแตง่ กายคนหวั ดงเชือ้ สายจีน (นยิ มสวมเส้ือสแี ดงในวันไหว)้ 266 230 การแต่งกายคนหัวดงเช้ือสายจีน (นยิ มสวมเสื้อสีแดงในวันไหว)้ 266 231 การเล่นแคนวงประยกุ ต์ของชาวหวั ดง 267 232 การร้องรําทาํ เพลงของคนในยุคสมัยก่อน 268 233 นายพยงุ ศรแี ก้ว อยบู่ ้านเลขที่ 85 หมู่ที่ 3 ตําบลหัวดง 268 234 เชดิ สิงโตในช่วงของวันเกิดเจา้ ปุนเถา้ กง 269 235 การนาํ สิงโตออกมาจากศาลเจา้ พอ่ ปนุ เถา้ กง 270 236 เชดิ สิงโตในชว่ งของวนั เกดิ เจา้ ปุนเถ้ากง 271 237 ประชาชนในตําบลหัวดงมีการออกกาํ ลังกายด้วยการราํ วงย้อนยุคเพอ่ื สขุ ภาพ 238 เคร่อื งดนตรีไทยโรงเรยี นบ้านหวั ดง 272 239 นกั เรยี นโรงเรยี นบา้ นหวั ดงแข่งขันเดี่ยวจะเข้ ระดับประถมศึกษาปีที่ 4-6 273 273 ไดร้ างวัลเหรยี ญทอง เปน็ ตัวแทนเขตพื้นที่การศึกษาพจิ ิตรเขต 1 274 240 อุโบสถเกา่ วดั หวั ดง 274 241 อุโบสถเกา่ วัดหวั ดง 275 242 ผนังอโุ บสถเก่าวดั หัวดง 276 243 โบราณสถานอุโบสถเก่าวัดหัวดง (หน้าบรรณ ชอ่ ฟา้ ) 277 244 หลวงพอ่ พิธ เกจิอาจารยว์ ัดหัวดง 277 245 พระสทุ ัสสมี นุ วี งศ์ เจ้าอาวาสรูปที่ 8 วดั หวั ดง 277 246 การบนั ทึกการสรา้ งที่อโุ บสถหวั ดง เมอื่ ปีฉลู พุทธศักราช 2468 278 247 อุโบสถเก่าวัดหัวดง ก่อนบรู ณะ 278 248 อโุ บสถเกา่ วัดหวั ดง ก่อนและหลังบรู ณะ 278 249 พระหลวงพ่อเงนิ แทรกขึน้ มาท่ีต้นอนิ ทนลิ 278 250 อโุ บสถวดั หัวดงเก่าและอโุ บสถวดั หวั ดงใหม่ 279 251 เรอื ไกรทอง 286 252 เรอื ไกรทอง 253 หลวงพอ่ พธิ 254 ศาลเจา้ พ่อ ศกั ดสิ์ ิทธิป์ นุ เถ้ากง ตาํ บลหวั ดง

สารบัญภาพ (ต่อ) หนา้ ภาพท่ี 286 287 255 ศาลเจ้าพ่อ ศกั ดิ์สิทธ์ปิ ุนเถา้ กง ตําบลหวั ดง 287 256 เจ้าพ่อปุนเถ้ากงตําบลหวั ดง 289 257 ศาลเจา้ พ่อศักด์ิสิทธิ์ปุนเถ้ากงตาํ บลหัวดง 289 258 ศาลเจ้าพ่อสรุ วิ งศ์ เจา้ แมส่ ดี า บ้านเนินยาว 289 259 ศาลพระอปุ คุตและพระพุทธรูปองค์ใหญ่ทแ่ี กะสลักประดิษฐานอย่ทู ่ศี าลาการเปรียญ 291 260 ศาลพระอุปคตุ และพระพทุ ธรูปองค์ใหญ่ทแ่ี กะสลกั ประดิษฐานอยทู่ ่ีศาลาการเปรยี ญ 292 261 สภาพการดาํ รงชวี ติ ตามริมน้าํ ของคนหวั ดง 292 262 สภาพการดํารงชวี ติ ตามรมิ น้ําของคนหัวดง 293 263 ท้องทุง่ นาผนื ใหญ่ตาํ บลหัวดง 293 264 การเข้าวัดทําบุญของคนหัวดง 279 265 วิถีการดาํ รงชวี ิตของคนตําบลหัวดง 300 266 วิถกี ารดาํ รงชีวิตของคนตาํ บลหวั ดง 300 267 การเยยี่ มผู้สูงอายุติดเตยี งของชมรมผสู้ ูงอายุตาํ บลหัวดง 301 268 การเยย่ี มผสู้ งู อายตุ ดิ เตยี งของชมรมผู้สงู อายตุ าํ บลหวั ดง 301 269 การมอบกายอุปกรณใ์ ห้แกผ่ สู้ งู อายขุ องชมรมผู้สูงอายุตําบลหวั ดง 301 270 การทาํ กิจกรรมรว่ มกนั ของชมรมผสู้ งู อายุตําบลหัวดง 302 271 การทํากจิ กรรมรว่ มกนั ของชมรมผสู้ งู อายตุ าํ บลหัวดง 302 272 กล่มุ เครือข่ายหวั ดงไมท่ อดทิ้งกนั ประชมุ ร่วมกัน 308 273 กลุม่ เครือข่ายหวั ดงไม่ทอดท้ิงกนั ช่วยเหลอื ผู้ยากไรใ้ นพืน้ ท่ี 309 274 ลอบยืน 309 275 ลอบนอน 310 276 ลอบนอน 311 277 ต้มุ ดักปลา 311 278 สวงิ ตกั กงุ้ และปลาตัวเล็ก 312 279 สวงิ ตกั กุ้งและปลาตัวเล็ก 312 280 ลอบดกั กุ้งฝอย ปลาตวั เลก็ 314 281 ลอบดักกงุ้ ฝอย ปลาตัวเล็ก 315 282 โพงพาง 315 283 ลันดักปลาไหล 316 284 ลันดักปลาไหล 316 285 ช้อนสนนั่ 317 286 ช้อนขาคีม 287 เบ็ดราว

สารบัญภาพ (ต่อ) หนา้ ภาพท่ี 318 318 288 เบ็ดราวข้าวลอย 319 289 เบ็ดราวขา้ วลอย 320 290 เบ็ดราวขา้ วจม 320 291 เบ็ดธง 321 292 ฉมวก 322 293 ฉมวก 322 294 แห 323 295 แห 323 296 ตะข้องเปด็ 324 297 ตะขอ้ งปลา 325 298 อจี ู้หรือกระจู้ 325 299 สุ่มจบั ปลา 327 300 การตกี ล่ําทําโดยใช้ก่งิ ไมเ้ ปน็ โพรงมาสุมกองใหป้ ลาเข้ามาพกั อาศยั 327 301 กระชบั วงล้อมอวน 328 302 รูปภาพนางเลก็ แย้มย้ิม เปน็ ผบู้ ุกเบกิ ทําขนมจีนคนแรกของบ้านเขาพระ 328 303 ภาพครอบครวั ย่าเล็ก แยม้ ยมิ้ บา้ นเขาพระ ตาํ บลหัวดง 328 304 หินทบั ถงุ ผา้ แปง้ จนแห้งบา้ นยา่ เล็ก แยม้ ยิ้ม บ้านเขาพระ ตาํ บลหวั ดง 329 305 นางกุหลาบ แยม้ ยมิ้ ออกรายการทวี ขี องคาํ รณ หวา่ งหวังศรี 329 306 ตัวกดขนมจีน 329 307 ครกไม้ตาํ มอื 329 308 อปุ กรณ์โม่แปง้ 330 309 กระจาด 330 310 การทาํ ขนมจีนบ้านนางชลอ ศรแี ก้ว บา้ นเลขท่ี 85 หมู่ 3 ตาํ บลหัวดง 331 311 การทําขนมจีนบา้ นนางชลอ ศรแี กว้ บา้ นเลขที่ 85 หมู่ 3 ตาํ บลหัวดง 331 312 การทาํ ขนมจีนบา้ นนางชลอ ศรีแก้ว บา้ นเลขท่ี 85 หมู่ 3 ตําบลหัวดง 332 313 การทาํ ขนมจีนบ้านนางชลอ ศรแี กว้ บ้านเลขท่ี 85 หมู่ 3 ตาํ บลหัวดง 332 314 การทาํ ขนมจนี บา้ นนางชลอ ศรแี ก้ว บา้ นเลขที่ 85 หมู่ 3 ตาํ บลหวั ดง 334 315 การทาํ ขนมจีนบ้านนางอบุ ล สีจีน บ้านเลขที่ 22 หมู่ 3 ตาํ บลหวั ดง 334 316 ธูปสมุนไพรไล่ยงุ ตําบลหัวดง 335 317 ต้นตะไครห้ อม 335 318 ใบตะไครห้ อมสับเปน็ ช้นิ เล็ก ๆ 319 การตากแห้งตะไคร้หอม

สารบัญภาพ (ต่อ) หนา้ ภาพที่ 336 337 320 การทาํ ธูปตะไคร้หอม 338 321 ธปู ตะไคร้หอมบ้านหวั ดง 338 322 เครอ่ื งกลนั่ แบบในครัวเรือน 339 323 สเปรยไ์ ลย่ ่งุ จากตะไคร้หอม 341 324 โรงนาํ้ หมกั จลุ ินทรยี ์ ลงุ น้อยคุณณัฐดนัย กุตนันท์ ตําบลหัวดง 343 325 นาขา้ วตาํ บลหวั ดง 343 326 การเลย้ี งไส้เดือน 344 327 การเลีย้ งไสเ้ ดือน 344 328 การเลย้ี งไสเ้ ดือน 345 329 การเลีย้ งไสเ้ ดือน 345 330 การเลยี้ งไส้เดือน 347 331 การเลย้ี งไสเ้ ดือน 347 332 สะพานขา้ มแม่น้าํ น่านตําบลหัวดง 348 333 รอกข้ามฝ่งั วดั หัวดง และฝั่งตลาดเกา่ หัวดง 348 334 ทา่ เรอื หวั ดง 349 335 รอกเรือหนา้ วดั หวั ดงและหน้าฝั่งตลาดเกา่ หวั ดง 349 336 สะพานไมห้ น้าวัดหวั ดงและหนา้ ฝั่งตลาดหวั ดงเก่า 350 337 สะพานแขวนหน้าวดั หวั ดงและตลาดฝงั่ หัวดงเกา่ 350 338 สะพานแขวนหน้าวดั หัวดงและตลาดฝงั่ หวั ดงเก่า 351 339 ขวานโยน 351 340 เลือ่ ยบุคคโลหรือเลื่อยพญายม 352 341 ละแมะ 352 342 ขวานหมู 353 343 กบมือ 353 344 สว่านมือ 354 345 สว่านมือ 354 346 สว่ิ 355 347 เรือโปงตาล 356 348 เรอื หมู 356 349 เรอื เผน่ ม้าหรือเรือพายมา้ 357 350 เรือจีบสาวหรือเรอื บด 358 351 เรือปา๊ ป 358 352 เรอื แท๊กซี่ 353 เรือเมล์

สารบัญภาพ (ต่อ) หนา้ ภาพท่ี 359 360 354 เรือมอญ หรอื เรือเอ๊ียมจุน้ 360 355 เกวยี น 361 356 เกวยี น 361 357 รถอีแต๋น 362 358 รถบรรทุกข้าวเปลอื ก 362 359 ววั 363 360 ควาย 363 361 รถไถถานพวง 364 362 รถอีโก้งหรือรถไถนาเดนิ ตาม 364 363 รถไถนาปัจจุบนั 365 364 คันไถนาและคอมควายสําหรับไถนา 365 365 คราดไม้ 366 366 รถอีโก้งนําไปคราดนา 366 367 รถไถนาปจั จบุ นั 367 368 กล้านาดาํ 367 369 ปกั ขา้ วนาดาํ 370 ขา้ วนาดาํ 368 371 ควายไถนา 372 รถไถนาปัจจบุ นั 368 373 ขา้ วนาหวา่ น 374 เคยี วเก่ียวข้าว 369 375 รวงขา้ วสเี หลืองหรอื สที อง 376 การเกบ็ เกีย่ วขา้ ว 369 377 การลงแขกเกบ็ เก่ียวข้าว 378 รถเก่ียวขา้ ว 370 379 มดั ข้าวดว้ ยตอกหลงั เก่ียวขา้ วเป็นขา้ วฟอน 380 การฟาดข้าว 370 381 การสงฟางขา้ วหลงั จากยํา่ ขา้ วเสร็จแล้วในอดีต 382 การใชไ้ มก้ ระดานชักขา้ วข้นึ เป็นกองใหญ่ เพื่อรอการฟดั ละอองออกจากขา้ วในอดีต 371 383 การใชไ้ มก้ ระดานชักข้าวข้นึ เป็นกองใหญ่หลังจากการยํา่ ข้าวของชาวนาในอดตี 384 เคร่ืองสฝี ัดขา้ วในอดีต 371 385 รถเกยี่ วขา้ วพรอ้ มกระพอ้ มทเ่ี ก็บขา้ วและฟดั ขา้ วเปน็ รถรุ่นใหม่ 386 ลานตากข้าว 372 373 373 374 374 375 376 376

สารบญั ภาพ (ต่อ) ภาพที่ หนา้ 387 กระบงุ หาบขา้ ว 377 388 กระพอ้ มใส่ข้าว 377 389 ยุง้ ข้าว 378 390 โรงสีไฟภทั รพันธ์ุ 378 391 สถานีส่งนํา้ หนา้ เข่ือนรมิ นา่ นตาํ บลหวั ดง 379 392 ฝายน้าํ ล้นที่บา้ นลําชะลา่ 380 393 ประตูระบายน้ําคลองคัน 380 394 ประตรู ะบายนํ้าคลองคนั 381 395 ตาํ ลาแกเ้ ลือดบํารงุ เลือดของนายคุ้ม เมืองเหลอื 383 396 ตําลาแกเ้ ลือดบํารุงเลือดของนายคมุ้ เมืองเหลอื 384 397 ลักษณะการขุดเรอื 392 398 ลักษณะการตดิ กงเรือ 393 399 ลักษณะการทาํ ไม้พาย 395 400 พิธีเรียกขวญั ข้าวของชาวนาตําบลหวั ดง 397 401 การยํ่าขา้ ว 397 402 การใช้ไม้กระดานชักข้าวข้นึ เปน็ กองใหญ่หลังจากการยํ่าข้าวของชาวนา 398 403 กวาดเศษฟางออกจากเมลด็ ข้าว เพื่อเตรยี มการฟดั เอาละอองออกจากข้าว 398 404 การใชไ้ มก้ ระดานชักขา้ วขน้ึ เป็นกองใหญ่ เพื่อรอการฟดั ละอองออกจากข้าว 399 405 ไซดักปลา 400 406 ตมุ้ ดกั ปลาดกุ 401 407 ลนั 401 408 ลัน 402 409 อีแอบ๊ ดกั กบ 402 410 อีแอ๊บดักกบ 403 411 ลอบดกั ปลา 403 412 ฉมวกแทงปลา แทงกบ 404 413 สะระโอขดี จบั ปลาหลด 404 414 สุม่ จบั ปลา 405 415 ขอ้ งใส่ปลา 405 416 การยกยอ 406 417 ทมี วจิ ยั ชมุ ชนหัวดงและทีมพ่ีเล้ยี งประชมุ วางแผนการทําเสน้ ทางการท่องเทยี่ วชุมชนหัวดง 411 418 ทีมวจิ ยั ชมุ ชนหวั ดงและทีมพเี่ ลี้ยงประชุมวางแผนการทาํ เสน้ ทางการท่องเท่ยี วชมุ ชนหวั ดง 412 419 ทมี วจิ ยั ชมุ ชนหวั ดงและทมี พี่เล้ียงประชมุ สรปุ ผลการทดลองเส้นทางการทอ่ งเท่ยี วชมุ ชน ครงั้ ท่ี 1 412 420 ทีมวจิ ยั ชมุ ชนหวั ดงและทมี พี่เลย้ี งประชุมสรปุ ผลการทดลองเสน้ ทางการท่องเทย่ี วชุมชน ครง้ั ท่ี 2 413

421 เส้นทางท่ี 1 สายเขยี วเที่ยวบ้านสมนุ ไพร สขุ ใจวถิ พี อเพียง ซงึ่ เป็นเส้นทางท่นี ักท่องเที่ยว 415 มคี วามสนใจมากที่สุด จากการทดสอบเสน้ ทางทัง้ 4 เส้นทาง 415 416 422 ภาพกิจกรรมการทดลองเส้นทางการท่องเทยี่ วชมุ ชนหัวดง 416 423 ภาพกิจกรรมการทดลองเส้นทางการท่องเทย่ี วชมุ ชนหัวดง 417 424 ภาพกจิ กรรมการทดลองเส้นทางการท่องเที่ยวชุมชนหวั ดง 420 425 ภาพกจิ กรรมการทดลองเสน้ ทางการท่องเท่ียวชุมชนหัวดง 426 โครงสร้างการบรหิ ารจัดการของกลมุ่ ทอ่ งเทีย่ วชุมชนหัวดง

สารบญั ตาราง หนา้ ตารางท่ี 75 76 1 ตารางการวเิ คราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน 256 2 ตารางการวิเคราะหโ์ อกาส อุปสรรค 257 3 ตารางการเรียกชื่ออวัยวะในร่างกาย 258 4 ตารางการเรยี กชือ่ ผกั 260 5 ตารางการเรียกชื่อผลไม้ 261 6 ตารางการเรยี กช่อื สิ่งของ 262 7 ตารางคาํ ที่ใช้เรยี กชอื่ บุคคลในครอบครัว 263 8 ตารางคาํ แสดงกริ ยิ าอาการแปลก ๆ 264 9 ตารางภาษาลาวพวน 388 10 ตารางภาษาเขียนจนี 425 11 ตารางสมุนไพรในตาํ บลหัวดง 12 ตารางแสดงผลการวเิ คราะห์การพัฒนาการทอ่ งเท่ยี วชมุ ชน

บทท่ี 1 บทนา 1.1 ความเปน็ มาและความสาคญั ของปัญหา บ้านหัวดงต้ังข้ึนเม่ือประมาณ ปี พ.ศ. 2400 จากการบอกเล่าของผู้เฒ่าผู้แก่สมัยด้ังเดิม ตาบลหัวดง มสี ภาพทั่วไปเป็นปา่ ดงดิบมีสัตว์ต่างๆ อาศัยมากมาย จากความอุดมสมบูรณ์ของพ้ืนท่ีทา ให้มีผู้คนจากเมืองเวียงจันทน์ ประเทศลาว จาก ลพบุรี สระบุรี หนองคาย ร้อยเอ็ด ซึ่งเป็นคนไทย พวน คนไทยอสี าน และคนจีนอพยพเขา้ มาต้ังถน่ิ ฐานในตาบลหัวดงจานวนมาก ทาให้ชุมชนหัวดงเป็น ชุมชนท่ีมีคน 3 เช้ือชาติอาศัยอยู่ร่วมกัน คือ 1) เชื้อชาติไทย 2) เช้ือชาติจีน และ3) เช้ือชาติลาว แต่ ละเชื้อชาติยังคงดารงตนอยู่ภายใต้ขนบธรรมเนียม ประเพณี วิถีวัฒนธรรมของตนขณะเดียวกันก็ ยอมรบั ปรับตัวเขา้ กับวิถวี ฒั นธรรมของสมาชิกในชุมชนทาให้บ้านหัวดงเป็นชุมชนท่ีความหลากหลาย ของพหุวัฒนธรรมท่ีสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข ในการจับจองพ้ืนที่ทามาหากิน และการ สรา้ งบ้านเรอื นเพือ่ พักอาศัยมลี ักษณะอยู่ร่วมกันหลายครอบครัว โดยจัดสรรพน้ื ที่ป่าส่วนหน่ึงเป็นที่อยู่ อาศยั และผนื ป่าอกี ส่วนหน่งึ ร่วมกันอนุรักษ์ป่าไว้ให้มีความอุดมสมบูรณ์ ชาวบ้านได้ตั้งช่ือหมู่บ้านน้ีว่า “บ้านหัวดง” ซ่ึงตั้งขึ้นเป็นหมู่บ้านแรกของตาบล ต่อมามีประชากรหนาแน่นข้ึนจึงมีการขยายพ้ืนท่ี อาศยั และพื้นทท่ี ากนิ จากนน้ั มีการแบ่งเขตการปกครองอยา่ งชัดเจน จงึ ได้รับการยกระดับฐานขึ้นเป็น “ตาบลหัวดง” เดิมแบ่งเขตการปกครองออกเป็นสองส่วนคือ สภาตาบลและสุขาภิบาล ในปัจจุบัน ยกระดับฐานะข้ึนเป็นเทศบาลตาบลหวั ดงและองค์การบรหิ ารสว่ นตาบลหัวดง พื้นที่ตาบลหัวดง แบ่งการปกครองออกเป็น 9 หมู่บ้าน อยู่ในเขตเทศบาลตาบลหัวดง จานวน 3 หมบู่ ้าน ได้แก่ หมู่ท่ี 1 บา้ นหวั ดง หมทู่ ี่ 3 บา้ นเขาพระ หมู่ท่ี 8 บา้ นหัวดง ส่วนเขตองค์การ บรหิ ารสว่ นตาบลหัวดง มีจานวน 6 หมบู่ ้าน ได้แก่ หมทู่ ่ี 2 บา้ นลาชะลา่ หมู่ที่ 4 บ้านเนินยาว หมู่ที่ 5 บา้ นหนองนาดา หมู่ที่ 6 บ้านน้าโจนเหนือ หมู่ท่ี 7 บ้านหัวดง และหมู่ที่ 9 บ้านปากคลอง โดยสภาพ การตั้งถ่ินฐานของประชาชนในเขตองค์การบริหารสว่ นตาบลหวั ดงจะมีการรวมตัวกันเป็นกลุ่มหมู่บ้าน แยกตามเชอ้ื สาย ภาษา ประเพณีวฒั นธรรมอยา่ งชัดเจน โดยประชาชนที่มีเชอ้ื สายลาวที่อพยพมาจาก เวียงจันทน์ หนองคาย ร้อยเอ็ด สระบุรีและลพบุรี จะต้ังบ้านเรือนอยู่ท่ีหมู่ท่ี 2 หมู่ที่ 4 และหมู่ที่ 5 ปัจจุบันมีประชากรจานวน 2,228 คน ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพรับจ้างทั่วไป ทานาข้าว ค้าขาย รับราชการ ในส่วนพ้ืนท่ีหมู่ท่ี 1 บ้านหัวดง หมู่ที่ 2 บ้านลาชะล่า หมู่ท่ี 3 บ้านเขาพระ หมู่ท่ี 6 บ้าน น้าโจนเหนือ หมู่ท่ี 7 บ้านหัวดง และหมู่ที่ 9 บ้านปากคลอง ประชาชนส่วนใหญ่เป็นคนภาคกลาง มี เช้ือสายไทย พูดภาษาภาคกลาง ประเพณีวัฒนธรรมไทยภาคกลางชื่นชอบกีฬาการแข่งขันเรือยาวท่ี เป็นเอกลักษณ์ของชุมชนมาตั้งแต่สมัยโบราณ เนื่องจากพื้นท่ีมีแม่น้าน่านไหลผ่าน ส่วนใหญ่ประกอบ อาชีพทานาข้าว รับจ้างท่ัวไป ค้าขาย รับราชการ ตามลาดับ ซ่ึงปัจจุบันมีประชากรท้ังหมดจานวน 1,114 คน ลักษณะทางกายภาพของตาบลหัวดง มีพ้ืนท่ีท้ังสิ้นจานวน 53.40 ตารางกิโลเมตร มีแม่น้า น่านไหลผ่านพื้นท่ีหมู่ท่ี 1 บ้านหัวดง หมู่ 3 บ้านเขาพระ และหมู่ 7 บ้านหัวดง ต้ังอยู่ทางฝ่ังตะวันตก ของแม่น้าน่าน และมีความเส่ียงกับการเกิดอุทกภัยเป็นอย่างมากหากน้าล้นฝ่ัง การทาการเกษตรอยู่

2 ในเขตบริการน้าของโครงการชลประทานพิจิตร พื้นที่มีลักษณะเป็นที่ราบลุ่มคล้ายท้องกระทะ พื้นที่ท่ี ติดกับแม่น้าน่าน ได้แก่ หมู่ที่ 1 หมู่ท่ี 3 หมู่ท่ี 6 หมู่ที่ และหมู่ที่ 9 ส่วนพื้นท่ี หมู่ที่ 2 หมู่ท่ี 4 และ หมู่ที่ 5 จะไม่ติดกับแม่น้าน่าน ในช่วงฤดูฝนจะมีน้าจากเทือกเขาจังหวัดพิษณุโลกและเพชรบูรณ์ไหล หลากเขา้ มาท่วมพน้ื ที่เกษตรกรรม โดยเฉพาะพื้นท่ีหมู่ท่ี 1 หมู่ท่ี 6 กับหมู่ท่ี 9 น้าจะท่วมขังเป็นระยะ เวลานานประมาณ 3 เดือน ส่วนพื้นที่ หมู่ท่ี 2 หมู่ท่ี 4 และหมู่ท่ี 5 น้าจะไหลผ่านจึงทาให้มีน้าท่วมขัง ไม่นานนัก ในพื้นท่ีท้ัง 6 หมู่บ้านน้ี มีแหล่งน้าธรรมชาติและคูคลองที่องค์การบริหารส่วนตาบลหัวดง ได้ขุดเพื่อกักเก็บน้าไว้ใช้ในการทาการเกษตรเป็นจานวนมาก ลักษณะภูมิศาสตร์ท่ีสาคัญคือ มีแม่น้า น่านไหลผ่านใจกลางตาบลหัวดง ชุมชนจึงต้ังบ้านเรือนเลาะแนวแม่น้า มีเส้นทางรถไฟขนานแนว แม่น้าด้านทิศตะวันออก ด้านทิศตะวันออกพื้นท่ีมีลักษณะเป็นเนินดินท่ีสูงจึงเรียกพ้ืนที่บริเวณนั้นว่า “บ้านดอน” จากการวิถีชีวิตที่ผูกพันกับสายน้า ทั้งการกินการอยู่จึงถือว่าตนเองว่าเป็นลูกแม่น้า ผู้สูงอายุชาวหัวดงมักกล่าวเสมอว่า “คนหัวดงจะลาบาก จะมีกิน จะสนุกสนานก็เพราะน้า” การคมนาคมท่ีสาคัญของคนหัวดงจากอดีตจนถึงปัจจุบันยังคงนิยมใช้เรือในการสัญจรเพราะมีความ ผูกพันกับสายน้า นอกจากนี้ชุมชนหัวดงยังเป็นแหล่งผลิตเรือขุดที่มีช่ือเสียงและเป็นที่รู้จักของคนทั่วไป เนื่องจากมีช่างขุดช่างต่อเรือฝีมือดี เรือท่ีนิยมต่อขึ้นใช้ ได้แก่ เรือหมู เรือพายม้า โดยเฉพาะเรือยาว ประเพณที สี่ าคญั คือ การจัดการแข่งขนั เรอื ยาวประจาปที ่จี ดั ข้นึ ทุกโดยวดั หวั ดง ในอดีตตาบลหัวดงถือ เป็นเมืองท่าการค้าขายทสี่ าคัญแห่งหนึ่ง จะมีเรอื ขนส่งสินคา้ มากมายนาเรือเขา้ เทียบเพื่อรับสินค้าจาก ชุมชนหัวดงไปขายยังต่างถ่ิน รายได้หลักส่วนใหญ่ของคนในชุมชนหัวดงในอดีตเกิดจากค้าขาย การเกษตรกรรมทง้ั การปลูกขา้ ว และการประมงนา้ จืด ชุมชนตาบลหัวดงมีคนไทยเช้ือสายจีนอาศัยอยู่จานวนมากในพ้ืนท่ีเขตการค้าขาย ไม่ว่าจะ เปน็ การค้าขายกจิ การขนาดเลก็ ไปจนถึงกิจการขนาดใหญ่ เช่น โรงสีข้าว ชุมชนตาบลหัวดงในอดีตใน เป็นแหล่งทานาปลูกขา้ วท่ีหล่อเล้ียงคนไทย นอกจากนี้ยังเป็นแหล่งผลิตขนมจีนที่มีช่ือเสียงเป็นท่ีรู้จัก กนั ในชอื่ “ขนมจนี หวั ดง” เนื่องจากผลิตส่งขายทั่วประเทศ มีแหล่งผลิตอยู่ท่ีบ้านเขาพระ ขนมจีนหัว ดงถือเป็นมรดกภูมิปัญญาที่มีเอกลักษณ์เฉพาะ มีการถ่ายทอดเทคนิคกรรมวิธีการผลิตจากรุ่นสู่รุ่น ผลติ ใหม่สดทกุ วนั เสน้ ขาวเหนียวนุ่มรสชาติอร่อย เป็นสินค้าขายดีที่คนในชุมชนภาคภูมิใจและมีส่วน ทาให้คนทั่วไปรู้จักช่ือ “บ้านหัวดง”จากขนมจีน นอกจากน้ียังเป็นแหล่งผลิตขนมหวานหลากหลาย ชนิดท่ีขึ้นชื่อในเรื่องของ “ความหอม หวาน มัน” ขนมที่ขึ้นชื่ออันดับแรกคือ ขนมลืมกลืน สาเหตุท่ี เรียกเช่นนั้น เนื่องจากเม่ือรับประทานแล้วแทบจะไม่ต้องเคี้ยวเพราะขนมมีความนุ่ม จนบางครั้ง อาจจะลืมไปแล้วว่าได้กลืนขนมลงกระเพาะไปแล้ว อันดับต่อมาคือ ข้าวเม่าทอดโบราณอันลือชื่อ ใน ฤดูนา้ หลากชมุ ชนตาบลหัวดงจะมีการคา้ ขายปลาแดดเดยี ว ปลาสด หลากหลายชนิด ตามที่ทาประมง นา้ จืดในพน้ื ทีไ่ ด้ มีการนาส่งขายปลาแดดเดียวทั่วจังหวัดพิจิตรและเป็นสินค้าที่คนต่างถ่ินเดินทางเข้า เพอื่ หาซอ้ื เนือ่ งจากรสชาติอร่อยและมีราคาไม่แพง โบราณสถานของชมุ ชนได้แก่ อโุ บสถทเ่ี กา่ แก่มอี ายุไม่ตา่ กวา่ 100 ปี โดยได้รับพระราชทาน ตราครุฑจากสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 6 แห่งราชวงศ์จักรี มาประดิษฐานอยู่บริเวณ ด้านหน้าของอุโบสถ ปัจจุบันกรมศิลปากร ได้ขึ้นทะเบียนโบราณสถานและมีการปรับปรุงซ่อมแซม สว่ นทช่ี ารุดเสยี หายบ้างแลว้ สิ่งศักด์ิสิทธิ์ที่เป็นท่ียึดเหน่ียวจิตใจของชาวหัวดงคือ “หลวงพ่อประทาน พร” ที่ประดิษฐานอยู่ ณ เขาพระ คนหัวดงเชื่อว่าหากต้องการสิ่งใดก็ให้ไปขอหลวงพ่อประทานพร

3 ซึ่งก็โดยส่วนใหญ่แล้วจะสุขสมหวังกันมาตลอด นอกจากน้ีบริเวณรอบเขายังมีงานพุทธศิลป์ คือ พระพทุ ธรูปสขี าวปางสมาธิทเ่ี รยี งรายรอบเขา เมื่อถึงวันออกพรรษาจะมีการจัดกิจกรรมตักบาตรรอบ เขา ที่ได้ปฏิบัติสืบต่อกันมาเป็นประจาในทุกปี ส่วนลูกหลานชาวไทยเช้ือสายจีนได้ร่วมกันสร้างศาล เจ้าพ่อหัวดงขึ้นท่ีริมแม่น้าน่าน เพื่อเป็นศูนย์รวมใจของคนไทยเช้ือสายจีน โดยทุกปีจะมีการจัด กิจกรรมประเพณี เช่น งานฉลองวันเกิดเจ้าพ่อหัวดง จะมีการแสดงงิ้ว การสักการะศาลเจ้าที่ปฏิบัติ สบื ทอดกันมาหลายรนุ่ จนถงึ ปัจจุบนั การรักษาพยาบาลในอดีตมีการรักษาด้วยภูมิปัญญาท้องถ่ินโดยแพทย์แผนไทย ท่ียังคงมี ถ่ายทอดสืบทอดภูมิปัญญาจากอดีตสู่ปัจจุบัน จากนโยบายการพัฒนาตาบลหัวดงเพื่อส่งเสริมการ พัฒนาคุณภาพชีวิตคนในชุมชน ได้มีการนาแนวคิดใหม่มาใช้ในการพัฒนาระบบบริการการแพทย์ ฉุกเฉินเป็นแห่งแรกของจังหวัดพิจิตร มีการพัฒนากลุ่มอาชีพให้กับวิสาหกิจชุมชนเช่น กลุ่มลูกเดือย การพลิกฟ้ืนภูมิปัญญาในการทาธูปสมุนไพร ยาดม น้ามันหอมระเหย การสนับสนุนให้เป็นกลุ่ม สมุนไพร สร้างแหล่งเรียนรู้ในชุมชนต่าง ๆ ในบริบทความเป็นชุมชน สร้างแนวทางการส่ือสารการ รักษาสขุ ภาพผา่ นการราวง 3 ส. ทีส่ รา้ งชอ่ื เสยี งในระดับประเทศ การพัฒนาวิชชาลัยชาวนาตาบลหัว ดง เพ่ือเป็นแหล่งเรียนรู้ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การสร้างวิชชาลัยผู้เชี่ยวชาญชีวิตตาบลหัวดง เพือ่ ใหผ้ สู้ ูงอายุมีพืน้ ฐานในการใช้ชีวติ ในสังคมผูส้ งู วยั จากศักยภาพดังกล่าวชุมชนบ้านหัวดงจะนามาใช้ในการบริหารจัดการการท่องเที่ยวเชิง มรดกวัฒนธรรมชุมชนบนความหลากหลายชาติพันธ์ุโดยเครือข่ายชุมชนตาบลหัวดง เพ่ือพัฒนาพลิก ฟน้ื วิถวี ฒั นธรรมชมุ ชน เพิ่มความสดใส สร้างมชี ีวิตชีวา สรา้ งงาน สร้างอาชพี เสรมิ เพ่ิมรายได้ให้กับคน ในชุมชนและวันหน่ึงอาจนาพาให้ลูกหลานท่ีเดินทางไปทามาหากินต่างจังหวัดกลับมาทางานที่บ้าน เกดิ ผู้เฒา่ ผู้แกจ่ ะได้อยใู่ กล้ชิดและรสู้ ึกอบอุน่ เมอ่ื จากลกู หลานกลบั บา้ นเกดิ อกี คร้ังหนง่ึ ดังนั้นเพ่ือข้อมูลของชุมชนตาบลหัวดง ครอบคลุมในมิติต่าง ๆ ที่เป็นองค์ความรู้ครบถ้วนและ สอดคลอ้ งกับกระแสการท่องเท่ยี วในและนโยบายส่งเสริมของรัฐบาลด้านการอนุรักษ์มรดกวัฒนธรรม การพัฒนาการท่องเท่ียวโดยชมุ ชนและการส่งเสริมการเดินทางท่องเท่ียวเมืองรองเป็นปัจจัยท่ีมีผลต่อ แนวคิดการพัฒนาการท่องเท่ียวโดยชุมชนของตาบลหัวดง ท่ีต้องการจะสะท้อนให้เห็นประวัติศาสตร์ ชุมชน วิถีชีวิต ประเพณี วัฒนธรรม โบราณสถาน ความหลากหลายของชาติพันธุ์ และ ทรัพยากรธรรมชาติสู่การการบริหารจัดการการท่องเท่ียวมรดกวัฒนธรรมชุมชนบนความหลากหลาย ชาตพิ นั ธโ์ุ ดยเครือข่ายชุมชนตาบลหัวดง เพ่ือคุณภาพชีวิติท่ีดีขึ้นของคนในชุมชนอย่างย่ังยืน โดยหวัง ว่าปลายทางของการจัดการการท่องเท่ียวมรดกวัฒนธรรมชุมชนบนความหลากหลายชาติพันธ์ุ โดย เครือขา่ ยชมุ ชนตาบลหวั ดง ที่สบื คน้ โดยภาคีเครือข่ายในชุมชน จะส่งเสริมให้เกิดความสานึกในคุณค่า รักถิ่นฐานบ้านเกิดจนเกิดแรงบันดาลใจที่จะนาสิ่งท่ีได้มาจากการสืบค้นพัฒนาเป็นกิจกรรมและ เสน้ ทางท่องเท่ยี วท่ีสร้างการเรยี นรแู้ กผ่ มู้ าเยือนชมุ ชนตาบลหัวดง 1.2 คาถามวิจยั ส่งิ ทอ่ี ยากรู้ 1. ประวัติศาสตร์ชุมชน ชาติพันธุ์ วิถีชุมชน มรดกวัฒนธรรม ประเพณี ภาษา อาหาร การ แต่งกาย ภูมิปัญญา โบราณสถาน สถาปัตยกรรม และทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนท่ีมีศักยภาพจะ พฒั นาเปน็ แหลง่ ทอ่ งเท่ียวมรดกวฒั นธรรมชมุ ชนมอี ะไรบา้ ง

4 2. การสรา้ งการมีสว่ นร่วมของเครือขา่ ยชุมชนเพ่ือการพัฒนาการท่องเที่ยวมรดกวัฒนธรรม ชุมชนหวั ดงควรเป็นอยา่ งไร 3. เสน้ ทางและกจิ กรรมท่องเท่ียวมรดกวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ของชุมชนตาบลหัวดงควร มลี ักษณะอยา่ งไร 4. การบรหิ ารจัดการการทอ่ งเที่ยวมรดกวัฒนธรรมชมุ ชนบนความหลากหลายชาติพันธ์ุโดย เครือขา่ ยชมุ ชนตาบลหวั ดงควรเปน็ อยา่ งไร 5. การพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการท่องเท่ียวมรดกวัฒนธรรมชุมชนหัวดงควรทา อย่างไร 1.3 วัตถปุ ระสงค์ 1. เพื่อศึกษา สารวจองค์ความรู้มรดกวัฒนธรรมชุมชนตาบลหัวดง อาเภอเมืองพิจิตร จงั หวดั พจิ ิตร 2. เพ่ือสร้างการมีส่วนร่วมของเครอื ข่ายชมุ ชนเพ่ือการพฒั นาการท่องเที่ยวมรดกวัฒนธรรม ชมุ ชนหวั ดง 3. เพ่ือออกแบบเส้นทางและกิจกรรมท่องเที่ยวมรดกวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ของชุมชน ตาบลหวั ดง 4. เพื่อสร้างการบริหารจัดการการท่องเที่ยวมรดกวัฒนธรรมชุมชนบนความหลากหลาย ชาตพิ นั ธุ์โดยเครอื ข่ายชุมชนตาบลหัวดง 5. เพอ่ื พัฒนาศักยภาพบคุ ลากรทางการท่องเทยี่ วมรดกวฒั นธรรมชมุ ชนหวั ดง 1.4 ขอบเขตการวจิ ัย 1. ขอบเขตด้านพื้นที่ตาบลหัวดง ประกอบด้วย 9 หมู่บ้าน ตาบลหัวดง อาเภอเมืองพิจิตร จงั หวัดพจิ ิตร ซง่ึ ประกอบดว้ ย หมทู่ ี่ 1 บา้ นหวั ดง หมู่ที่ 2 บ้านลาชะล่า หมู่ที่ 3 บ้านเขาพระ หมู่ท่ี 4 บ้านเนินยาว หมู่ที่ 5 บา้ นหนองนาดา หมทู่ ี่ 6 บ้านน้าโจนเหนอื หมู่ท่ี 7 บา้ นหัวดง หมทู่ ี่ 8 บ้านหัวดง หมทู่ ี่ 9 บ้านปากคลอง 2. ประชากรประชาชนในตาบล ได้แก่ พระภิกษุสงฆ์ ผู้นาท้องที่ ผู้นาท้องถ่ิน ข้าราชการครู ปราชญช์ าวบ้าน ภมู ปิ ัญญาท้องถิน่ เด็ก เยาวชน ประชาชน ไมจ่ ากดั เพศและภาคเี ครือข่ายท่ีเก่ยี วข้อง 3. ขอบเขตด้านเนอ้ื หา การศึกษาครงั้ นีค้ รอบคลุมเนื้อหา 3 ประเด็น คอื

5 1) คุณค่ามรดกวัฒนธรรมชุมชนตาบลหัวดง อาเภอเมืองพิจิตร จังหวัดพิจิตร ประกอบดว้ ยสาระดงั ตอ่ ไปน้ี 1.1) ภมู ิศาสตรก์ ายภาพและนิเวศวทิ ยาท้องถนิ่ 1.2) ประวตั ศิ าสตรท์ ้องถ่ินและภมู นิ าม 1.3) พัฒนาการต้ังถิ่นฐานของคนในชุมชน การปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมและกระแส การเปลย่ี นแปลง 1.4) มรดกวัฒนธรรมชุมชน ประเพณี วัฒนธรรม อาหาร ภูมิปัญญา การแต่งกาย ภาษา การแสดง ศิลปกรรม หัตถกรรม โบราณสถาน วิจิตรศิลป์ สุนทรียภาพในท้องถิ่น อัตลักษณ์ ของท้องถ่ิน โลกทัศน์ ความเชื่อ พิธีกรรม จิตวิญญาณ ความสัมพันธ์ของคนในชุมชนท้องถิ่นและ ความสัมพันธ์ของชุมชนกับส่ิงแวดล้อมในธรรมชาติเหนือธรรมชาติและวถิ กี ารดารงชวี ติ 1.5) ปญั หาและแนวทางการบรหิ ารจัดการเพอื่ ฟ้ืนฟู อนุรักษ์ ทรัพยากรชุมชนอย่าง ยง่ั ยืนไปพรอ้ มกบั การใช้เปน็ ทุนในการรองรบั การท่องเท่ียวของชมุ ชน 1.6) เทคโนโลยีในการจัดการทรัพยากรจากอดีตกลายมาเป็นภูมิปัญญาวิวัฒน์ใน ปัจจุบัน 1.7) กระบวนการเรียนรู้และพฤติกรรมการเรยี นรู้ การถา่ ยทอดภูมิปญั ญา 2) สร้างเครือข่ายชุมชนเพ่ือร่วมศึกษาและพัฒนากิจกรรม เส้นทางท่องเที่ยวเชิง สรา้ งสรรค์เพื่อสนับสนุนการทอ่ งเท่ียวมรดกวัฒนธรรมชมุ ชนบนความหลากหลายชาตพิ ันธ์ุ 3) การสร้างการมีส่วนร่วมของเครือข่ายชุมชนเพื่อบริหารจัดการการท่องเที่ยวมรดก วัฒนธรรมชุมชน 4) เพื่อสร้างการบริหารจัดการการท่องเท่ียวมรดกวัฒนธรรมชุมชนบนความ หลากหลายชาติพนั ธุ์โดยเครอื ข่ายชุมชนตาบลหัวดง 5) เพอื่ พฒั นาศกั ยภาพบคุ ลากรทางการท่องเท่ยี วมรดกวฒั นธรรมชมุ ชนหวั ดง 4. ขอบเขตด้านเวลา การศึกษาวจิ ัยครงั้ น้ใี ช้เวลาในการศกึ ษา 18 เดือน ระยะที่ 1 ระยะเวลา 9 เดือน ศกึ ษาตามวัตถุประสงค์ขอ้ ท่ี 1 ขอ้ ท่ี 2 ระยะท่ี 2 ระยะเวลา 9 เดอื น ศกึ ษาตามวตั ถปุ ระสงค์ข้อท่ี 3 5. วิธใี นการดาเนนิ การศึกษาวจิ ยั ใช้กระบวนการงานวิจัยเพื่อท้องถ่ิน (Community - Based Research : CBR) เป็น เคร่ืองมือในการศึกษาและพัฒนาการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community - Based Tourist: CBT) เป็นกระบวนการท่ีเน้นคนเป็นศูนย์กลาง มุ่งเสริมสร้างพลังอานาจให้แก่ประชาชนในพ้ืนท่ีด้วย กระบวนการพัฒนาแบบมีส่วนร่วมผ่านกระบวนการ CBR เพ่ือให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในตัวเครือข่าย ชุมชนท่ีจะมาร่วมกันพัฒนาธุรกิจการท่องเที่ยวที่ดาเนินการโดยชาวบ้านในชุมชน เพ่ือนาไปสู่การ พัฒนาชุมชนอย่างยง่ั ยนื ตอ่ ไป

6 1.5 นยิ ามศัพท์เฉพาะในการวิจัย การบริหารจัดการ หมายถึง การออกแบบ ระบบ ระเบียบปฏิบัติ วิธีการดาเนินงาน แนว ทางการป้องกันและการจัดการปัญหา ท้ังบุคลากร อาคารสถานที่ การอานวยการให้การท่องเท่ียว ชมุ ชนดาเนนิ ไปอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ การท่องเที่ยวมรดกวัฒนธรรมชุมชน หมายถึง ท่องเที่ยวที่เน้นกิจกรรมการแลกเปล่ียน เรยี นรวู้ ฒั นธรรม ประเพณี ประวัตศิ าสตร์ชมุ ชน โบราณสถาน โบราณวัตถุ ภูมิปัญญา วิถีชีวิต อาหาร การแต่งกายที่มีเอกลักษณ์เฉพาะถิ่นท่ีสะท้อนวิถีชีวิตของคนในชุมชนตาบลหัวดง โดยผู้รู้และคนใน ชุมชนท้องถ่ินเข้ามามีส่วนในการจัดการท่องเที่ยวอย่างมีจิตสานึกท่ีคานึงถึงความย่ังยืนร่วมถ่ายทอด และสืบสานมรดกวัฒนธรรมต่อไป เครอื ข่ายชมุ ชน หมายถึง กล่มุ คนในพื้นที่ทงั้ ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน และ การ ศาสนา เช่น วัด โรงเรียน คนดี คนเก่ง คนสาคัญ ท่ีอยู่ในพื้นท่ีท้ัง 9 หมู่บ้านของตาบลหัวดง อาเภอ เมืองพจิ ิตร จงั หวัดพิจติ ร การมีส่วนร่วม หมายถึง การร่วมคดิ ร่วมวิเคราะห์ ตดั สินใจเลือก และกาหนดแนวทางการ ดาเนนิ กจิ กรรมการจัดการการท่องเทีย่ วชุมชน การพัฒนา หมายถึง การเปล่ียนแปลงที่มีการกระทาให้เกิดขึ้น หรือมีการวางแผนกาหนด ทศิ ทางไวล้ ว่ งหน้า โดยการเปล่ียนแปลงนต้ี ้องเป็นไปในทิศทางท่ดี ีขึ้น ถ้าเปลีย่ นแปลงไปในทางท่ีไม่ดีก็ ไมเ่ รยี กวา่ การพัฒนา ชุมชน หมายถึง กลุ่มชนท่ีอาศัยอยู่ในตาบลหัวดง โดยมีความรู้สึกผูกพันเป็นอันหน่ึงอัน เดียวกัน แม้จะต่างเช้ือชาติ เผ่าพันธ์ุ ศาสนา และวัฒนธรรมแต่มีความตระหนัก รู้สึกว่าตนเป็นส่วน หนึ่งของชุมชนและรว่ มรกั ษาผลประโยชน์ของชุมชนรว่ มกัน เครือข่ายชุมชน หมายถึง กลุ่มคนในพื้นที่ 9 หมู่บ้านของตาบลหัวดงและภาคีเครือข่ายท่ี เก่ียวข้องประกอบด้วย ประชาชนทั่วไป เจ้าหน้าท่ีภาครัฐ เอกชน พระภิกษุสงฆ์ ครู นักวิชาการ นกั เรยี น นกั ศกึ ษาและกลมุ่ องคก์ รชาวบา้ นซงึ่ มีการตดิ ต่อสมั พนั ธก์ นั อย่างต่อเน่ือง องค์การบริหารส่วนตาบล หมายถึง องค์การบริหารส่วนตาบลหัวดง อาเภอเมืองพิจิตร จังหวดั พจิ ิตร เทศบาล หมายถึง เทศบาลตาบลหัวดง อาเภอเมืองพิจติ ร จังหวัดพจิ ิตร 1.6 ผลทคี่ าดวา่ จะไดร้ บั output มิติเชิงวจิ ยั 1. ไดอ้ งคค์ วามรูเ้ ร่อื ง มรดกวัฒนธรรมชมุ ชนตาบลหัวดง อาเภอเมอื ง จังหวัดพจิ ิตร 2. ได้องค์ความรู้เร่ือง การบริหารจัดการการท่องเที่ยวมรดกวัฒนธรรมชุมชนบนความ หลากหลายชาติพันธ์โุ ดยเครือข่ายชุมชนตาบลหวั ดง มิติเชิงพฒั นา 1. ชุมชนตาบลหัวดง เกิดความรู้เข้าใจกระจ่างชัดในศักยภาพประวัติศาสตร์ วิถีชุมชน ประเพณี ศิลปวฒั นธรรม ทรัพยากรธรรมชาติ โบราณสถานส่งผลให้เกิดความภาคภูมิใจ ตระหนัก รัก

7 หวงแหนและฟื้นฟูมรดกวัฒนธรรมชุมชน ตลอดจนนามาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตและ สง่ เสรมิ การทอ่ งเท่ยี ว 2. ภาคีเครือข่ายทั้งภายในและภายนอกเขา้ รว่ มพฒั นาการทอ่ งเที่ยวโดยชุมชนหวั ดง 3. ชุมชนตาบลหัวดง ได้รับการพัฒนาศักยภาพในการบริหารจัดการการท่องเท่ียวโดยชุมชน และสามารถใหบ้ ริการแกผ่ มู้ าเยือนได้ 4. เกิดกลุ่มท่องเท่ียวชุมชนตาบลหัวดงที่สามารถบริหารจัดการท่องเท่ียวมรดกวัฒนธรรม ชุมชนโดยมกี จิ กรรมและเสน้ ทางท่องเทยี่ วเชิงสรา้ งสรรคอ์ ยา่ งหลกั หลายมิติ เช่น การท่องเที่ยวเรียนรู้ วิถีชีวิต การท่องเท่ียวเชิงประวัติศาสตร์ชุมชน การท่องเที่ยวเพื่อเรียนรู้การทาอาหารคาวหวาน การ ท่องเท่ยี วเรยี นรวู้ ิถีวัฒนธรรมทางน้า Outcome 1. เกดิ การท่องเทย่ี วโดยชมุ ชนรว่ มกันระหวา่ งชุมชนและภาคีเครือข่าย 2. คนในชุมชนความตื่นตัวและร่วมกันพลิกฟ้ืนนาภูมิปัญญาท่ีมีมาปรับประยุกต์เป็น ผลิตภณั ฑช์ ุมชนและบรกิ ารนักท่องเทย่ี ว 3. บ้านหัวดงกลายเป็นแหล่งท่องเท่ียวแห่งใหม่ของจังหวัดพิจิตรที่นักท่องเท่ียวเดินทางเข้า มาเรยี นรู้ สัมผัสวถิ ีวฒั นธรรมและเปิดรบั ประสบการณ์ใหม่จากคน 3 ชาตพิ ันธุ์ 4. เกิดการเช่อื มรอ้ ยเส้นทางทอ่ งเที่ยวมรดกวฒั นธรรมของเมืองพิจติ ร 5. มีเว็ปเพจเพ่ือการประชาสมั พันธแ์ ละขายโปรแกรมท่องเท่ยี วของชมุ ชนตาบลหัวดง 6. เกิดรายได้ที่มาจากการบริหารจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชนเพ่ือสืบสานประเพณี วฒั นธรรมชุมชน Impact 1. สร้างความภาคภูมิใจให้กับชุมชนในการเผยแพร่ประวัติศาสตร์ชุมชน วิถีชุมชน ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติ โบราณสถานของชุมชนให้คนภายนอกได้รับทราบ กิจกรรมการ ทอ่ งเท่ยี วเชิงสร้างสรรค์ให้กับผู้มาเยือนได้มีส่วนร่วมในการสืบสาน อนุรักษ์ วิถีชีวิตชุมชน รวมถึงการ ฟนื้ ฟวู ฒั นธรรมท้องถ่นิ 2. สร้างความเข็มแขง็ ให้กับคนในชุมชนในการจดั การการท่องเที่ยวโดยชมุ ชน 3. ยกระดับคณุ ภาพชีวิตคนในชุมชนตาบลหัวดง 4. เกิดการเช่ือมร้อยต่อยอดการทางานของหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ผู้นาชุมชน กลุ่ม องคก์ ร 1.7 ระยะเวลาดาเนินการวิจยั การวิจัยในครั้งน้ีใช้เวลา 18 เดือน เร่ิมตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2561 – 31 มกราคม พ.ศ. 2563

8 กรอบแนวคิดการวจิ ัย Process Output Input การศึกษาสืบคน้ การดาเนินการสรา้ งเสริม/พัฒนา Output ชมุ ชนให้มีความรู้ในการจดั การ - บุคลากร/ผู้นาท้องถิ่น/ทีมขับเคล่ือน/ ท่องเทยี่ ว 1.ชมุ ชนตาบลหัวดง เห็นศกั ยภาพประวตั ิศาสตร์ วิถีชมุ ชน ภาคเี ครือข่าย 1. วิธกี ารดาเนินงาน ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม ทรพั ยากรธรรมชาติ - ภูมิศาสตร์กายภาพและนิเวศวิทยา โบราณสถานของชมุ ชน ท้องถนิ่ - สร้างภาคีเครือขา่ ยทีมวจิ ัย 2.ชุมชนตาบลหวั ดงมแี นวทางพฒั นาการบรหิ ารจัดการ - ประวัตศิ าสตรท์ ้องถิ่นและภูมนิ าม ชมุ ชน การทอ่ งเท่ยี วโดยชมุ ชนเพื่อสบื สานวัฒนธรรมประเพณี อยา่ งย่ังยืน - พัฒนาการต้ังถิ่นฐานของคนในชุมชน - ปรับฐานคิด/พฒั นาฐานคิด 3.ชมุ ชนตาบลหัวดง มกี ิจกรรมเสน้ ทางทอ่ งเท่ียวที่ การปรับตัวเข้ากับส่ิงแวดล้อมและกระแส เหมาะสมที่จะนาเสนอตอ่ นกั ท่องเท่ียววถิ ชี ุมชน การเปลยี่ นแปลง CBT และ CBR ใหก้ ับชุมชน - ม รด ก วั ฒน ธ ร ร มชุ มช น ป ร ะ เ พ ณี - ภาคเี ครือข่ายเขา้ ร่วม Outcome วฒั นธรรม อาหาร ภูมิปญั ญา การแต่งกาย ภาษา การแสดง ศิลปกรรม หัตถกรรม กระบวนการพฒั นาชมุ ชน CBR 1. เกดิ การทอ่ งเทีย่ วโดยชมุ ชนรว่ มกันระหว่างชมุ ชน โบราณสถาน วิจิตรศิลป์ สุนทรียภาพใน 2. หลกั การทอ่ งเท่ยี วโดยชมุ ชนและ และภาคเี ครือขา่ ย ท้องถิ่น อัตลักษณ์ของท้องถิ่น โลกทัศน์ 2. คนในชมุ ชนความตน่ื ตัว และร่วมกนั พลกิ ฟน้ื นา ค ว า ม เ ช่ื อ พิ ธี ก ร ร ม จิ ต วิ ญ ญ า ณ หลกั การใช้ CBR พัฒนา CBT ภูมิปญั ญาที่มีมาปรับประยุกตเ์ ปน็ ผลิตภณั ฑช์ ุมชน ความสัมพันธ์ของคนในชุมชนท้องถ่ินและ 3. แนวคดิ /การพฒั นาการจัดการ และบรกิ ารนักท่องเท่ียว ความสัมพันธ์ของชุมชนกับส่ิงแวดล้อมใน ท่องเท่ยี วโดยชมุ ชน 3. บ้านหวั ดงกลายเป็นแหลง่ ทอ่ งเทีย่ วแห่งใหม่ของ ธ ร ร ม ช า ติ เ ห นื อ ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ วิ ถี ก า ร 4. การสร้างสานึกการอนรุ ักษ์ จงั หวัดพจิ ติ รทน่ี กั ทอ่ งเทยี่ วเดนิ ทางเข้ามาเรียนรู้ ดารงชวี ติ ประวตั ศิ าสตร์ วถิ ีชมุ ชน ประเพณี สัมผสั วถิ วี ฒั นธรรมและเปดิ รบั ประสบการณใ์ หมจ่ าก - ปัญหาและแนวทางการบริหารจัดการ ศิลปวฒั นธรรม ทรัพยากรธรรมชาติ ชน 3 ชาตพิ นั ธุ์ เพ่ือฟ้ืนฟู อนุรักษ์ ทรัพยากรชุมชนอย่าง โบราณสถานในชมุ ชน 4. เกดิ การเชอ่ื มรอ้ ยเสน้ ทางทอ่ งเท่ียวมรดก ยั่งยืนไปพร้อมกับการใช้เป็นทุนในการ 5. การสร้างการมสี ว่ นรว่ มของ วัฒนธรรมของเมอื งพิจิตร รองรบั การทอ่ งเทย่ี วของชมุ ชน ชุมชนในการจดั การทอ่ งเท่ียวโดย 5.มเี ว็ปเพจเพอื่ การประชาสมั พันธแ์ ละขายโปรแกรม - เทคโนโลยีในการจัดการทรัพยากรจาก ชุมชน ทอ่ งเทีย่ วของชมุ ชนตาบลหัวดง อ ดี ต ก ล า ย ม า เ ป็ น ภู มิ ปั ญ ญ า วิ วั ฒ น์ ใ น 6. แนวทางการพฒั นาชุมชน CBT 6.เกิดรายได้ทีม่ าจากการบรหิ ารจัดการการท่องเท่ียว ปัจจุบันในชุมชน- คุณค่ามรดกวัฒนธรรม ท่ยี ั่งยนื โดยชุมชนเพ่อื สบื สานประเพณีวัฒนธรรมชมุ ชน ชุมชนตาบลหัวดง อาเภอเมอื ง จ.พจิ ติ ร - กระบวนการเรียนรู้และพฤติกรรมการ 7. พฒั นาทกั ษะความสามารถใน Impact เรยี นรู้ การถ่ายทอดภมู ิปญั ญา การบรกิ ารการบรหิ าร การ ประชาสัมพนั ธ์ CBT ของชมุ ชน 1.สร้างความภาคภูมิใจให้กับชุมชนในการเผยแพร่ - สรา้ งเครือขา่ ยชุมชนเพอื่ ร่วมศึกษาและ ตาบลหัวดง ประวัติศาสตร์ วิถีชุมชน ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม พฒั นากิจกรรม เส้นทางทอ่ งเทย่ี วเชงิ 8. เวทแี ลกเปลี่ยน/วเิ คราะห์ ทรัพยากรธรรมชาติ โบราณสถานของชุมชนให้คน สรา้ งสรรคเ์ พ่ือสนับสนุนการท่องเทีย่ ว สงั เคราะหป์ ัญหา/ความตอ้ งการ/ ภายนอกได้รับทราบ สร้างสรรค์กิจกรรมการ มรดกวัฒนธรรมชุมชนบนความ ความพรอ้ มของชมุ ชน/ขอ้ จากัด/ ทอ่ งเทีย่ วใหก้ ับผมู้ าเยอื นได้มีส่วนร่วมในการสืบสาน หลากหลายชาตพิ ันธุ์ ปัญหาอุปสรรค ของทกุ ภาคสว่ นใน อนุรักษ์ วิถีชีวิตชุมชน รวมถึงการฟ้ืนฟูวัฒนธรรม - การสรา้ งการมสี ว่ นร่วมของเครอื ขา่ ย ชุมชน ท้องถน่ิ ชุมชนเพอื่ บริหารจัดการการทอ่ งเทีย่ ว 9. ความคดิ เหน็ /ขอ้ เสนอแนะของ 2. สรา้ งความเข็มแขง็ ใหก้ ับคนในชมุ ชนในการจดั การ มรดกวฒั นธรรมชุมชน การทอ่ งเท่ียวโดยชมุ ชน ชาวบ้านในการเขา้ รว่ ม CBT บรหิ ารจัดการการทอ่ งเทีย่ วมรดกวัฒนธรรมโดยเครอื ข่ายชุมชน ตาบลหวั ดงอยา่ งยั่งยืน

บทที่ 2 เอกสารงานและวจิ ัยท่เี ก่ยี วข้อง การวิจัยเรื่องโครงการการบริหารจัดการการท่องเที่ยวมรดกวัฒนธรรมชุมชนบนความ หลากหลายชาตพิ นั ธโ์ุ ดยเครอื ข่ายชุมชนตาบลหัวดง อาเภอเมืองพิจิตร จังหวัดพิจิตร ครั้งนี้ทีมวิจัยได้ ศึกษาแนวคิด เอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องเพ่ือเป็นพื้นฐานในการกาหนดกรอบแนวคิดที่ใช้ในการ วิจัยซ่งึ ประกอบดว้ ยหัวขอ้ ตา่ ง ๆ ตอ่ ไปนี้ 1) ความหมายของการท่องเท่ียว 2) แนวคดิ การทอ่ งเทีย่ วโดยชุมชน 3) แนวคดิ มรดกวฒั นธรรม 4) แนวคิดเก่ยี วกับการทอ่ งเท่ียวเชงิ วฒั นธรรม 5) แนวคิดการบริหารจัดการทอ่ งเที่ยวเชิงวฒั นธรรม 6) แนวคิดเกีย่ วกบั การมีสว่ นรว่ มของชมุ ชน 7) ภาคี/ผ้เู ก่ยี วขอ้ ง 8) บทบาทขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่ ในการส่งเสริมสนับสนุนการท่องเท่ียวของชุมชน อย่างยงั่ ยนื 9) งานวจิ ยั ที่เกยี่ วข้อง 1. ความหมายของการท่องเที่ยว การท่องเท่ียว (Tourism) ตามความเข้าใจโดยทั่วไป หมายถึง การเดินทางของบุคคลหนึ่ง จาก อีกที่หนึ่งไปยังอีกท่ีหน่ึง เพ่ือพักผ่อนหรือติดต่อทางธุรกิจ โดยมีวัตถุประสงค์ท่ีแตกต่างกันไป (ฉลองศรี พมิ ลสมพงศ์, 2550) การท่องเท่ียวถือว่าเป็นการพักผ่อนอีกรูปแบบหน่ึงที่มีการนากิจกรรม นนั ทนาการ เข้าไปเกี่ยวข้องเพอื่ ใหผ้ เู้ ดนิ ทาง เกิดการผ่อนคลายและมีความสุขระหว่างการเดินทางไป ทากิจกรรมจากท่ีหน่ึง ซึ่งหมายถึงที่อยู่อาศัย ไปยังท่ีหนึ่ง ที่ถือเป็นการท่องเท่ียวเพ่ือเปล่ียน บรรยากาศและส่ิงแวดล้อม เช่นการเดินทางไปชมสถานท่ีท่องเท่ียว ไปเย่ียมเพ่ือน เยี่ยมญาติหรือไป พกั ผ่อนหยอ่ นใจ หรอื ใช้เวลาว่างเพอ่ื ทากิจกรรมทางการกฬี าการพักผ่อนหย่อนใจ หรือการเดินทางไป ศกึ ษาสภาพ แวดลอ้ มธรรมชาติ รวมถงึ การเดินทางไปประชมุ เพื่อการประกอบธุรกิจ หรือการเดินทาง เพื่อไปร่วม กิจกรรมทางธุรกจิ สาขาอาชพี ตา่ ง ๆ จะเหน็ ได้ว่าการท่องเท่ียวเป็นเร่ืองท่ีเก่ียวข้องกับการ เดินทางซ่ึงมี การพัฒนามาจากรูปแบบการเดินทางเพ่ือการดารงชีพ การแสวงหาอาณานิคม การ เดินทางเพ่ือการ พักผ่อน ดังน้ันกิจการด้านการท่องเที่ยวจึงมีการขยายตัวเป็นธุรกิจและเติบโตเป็น อตุ สาหกรรมการ ท่องเทีย่ วที่มีความสาคัญตอ่ การพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมของประเทศ ความหมายของการทอ่ งเที่ยว จากการท่องเที่ยวเป็นกิจกรรมท่ีมีวิวัฒนาการมาจากการเดินทางของมนุษย์โดยมี วัตถุประสงค์ของการเดินทางที่แตกต่างกัน มีการเปล่ียนแปลงไปตามสภาพของสังคมความเป็นอยู่ท่ี

10 สง่ เสรมิ ใหค้ นไดม้ กี ารเดนิ ทางที่สะดวกสบายและรวดเร็วขึ้น ทาให้การเดินทางท่องเท่ียวมากข้ึนและมี การใหค้ วามหมายทางการท่องเทยี่ วตามเงอ่ื นไขท่กี าหนดไวเ้ ปน็ สากล 3 ประการ คือ 1) เปน็ การเดินทางจากแหล่งทตี่ นอาศัยอย่ปู กติไปยงั ที่อ่นื เป็นการช่วั คราว 2) เป็นการเดินทางด้วยความสมัครใจไม่ไดม้ กี ารบังคบั 3) เป็นการเดินทางด้วยวตั ถปุ ระสงคใ์ ด ๆ ก็ตามก็มิใช่เพ่ือการประกอบอาชีพหรือหารายได้ องคก์ ารสหประชาชาตไิ ดก้ าหนดเง่ือนไขของการท่องเท่ยี วไว้ 3 ประการ ดงั น้ี 1. การเดินทางจากแหง่ อาศัยปกตไิ ปยังที่อน่ื เปน็ การช่ัวคราว 2. การเดินทางด้วยความสมัครใจ 3. เป็นการเดนิ ทางด้วยวตั ถปุ ระสงค์ใด ๆ กต็ ามทีม่ ิใช่เพอ่ื ประกอบอาชีพ หรือหารายได้ ซ่ึง สอดคล้องกบั ความหมายของการท่องเที่ยว ฉลองศรี พิมลสมพงศ์ (2550) ได้กล่าวถึงความหมายของการท่องเที่ยว (Tourism) ว่า หมายถงึ การเดนิ ทางเพื่อความเพลิดเพลิน และพักผ่อนหย่อนใจ เป็นการเดินทางที่มีเง่ือนไขสาคัญ 3 ประการ คือ ประการท่ี 1 เดินทางจากทอ่ี ย่อู าศัยปกติไปยงั ท่ีอน่ื เปน็ การชัว่ คราว ประการท่ี 2 เดนิ ทางดว้ ยความสมัครใจ ประการท่ี 3 เดินทางดว้ ยเพือ่ วัตถปุ ระสงคใ์ ดก็ได้ แตไ่ มใ่ ชเ่ พื่อประกอบอาชีพหรอื หารายได้ กนกวรรณ ดุงศรีแก้ว (2549) กล่าวว่า “เป็นการท่องเท่ียวท่ีมีความสัมพันธ์ ระหว่างผู้ท่ี เดินทาง บรกิ ารทีใ่ ช้ในการเดินทาง และจุดหมายปลายทาง กล่าวอีกว่า การท่องเท่ียวนั้นคือ การเดิน ทางจากอีกท่ีหนงึ่ ไปยังอีกท่ีหนึ่ง ด้วยจุดประสงค์ทางการท่องเที่ยว การพักผ่อนหรือติดต่อธุรกิจโดยมี การพกั ผอ่ นคา้ งแรมหรือไปกลบั ภายในวันดงั กล่าว” ชาตรี แกว้ มา (2549) กล่าววา่ “การท่องเทย่ี ว (Tourism) หมายถึง การเดินทางจากท่ีหนึ่ง ไปยงั อีกทหี่ น่ึง ในระยะใกลห้ รือไกล โดยไม่มรี ายได้เกิดข้ึนระหว่างการเดินทางท่องเท่ียวในครั้ง น้ัน ๆ และไม่ใช้เพ่ือการประกอบอาชีพหรือไปพานักอยู่ประจา แต่เดินทางเพื่อวัตถุประสงค์หลาย ๆ อย่าง เช่น เพ่ือการพักผ่อน เพ่ือหาความสนุกสนานเพลิดเพลิน เพื่อประชุมสัมมนา หรือติดต่อธุรกิจ ตลอดจนการเยีย่ มเยือนญาติมติ ร ศรัญญา เลศิ มนไพโรจน์ (2550) ให้ความหมายของการท่องเท่ียวว่า หมายถึง “กิจกรรมที่ เกี่ยวข้องกับการเคล่ือนไหวของการเดินทางของบุคคล จากที่อยู่อาศัยถาวรไปยังท่ีอยู่อาศัยช่ัวคราว เพ่ือวตั ถุประสงคท์ ่ไี มใ่ ชห่ ารายได้ ซ่ึงกจิ กรรมดังกล่าวอาจก่อให้เกิดมนุษยสัมพันธ์ระหว่างบุคคลท่ีร่วม เดนิ ทาง (นกั ทอ่ งเที่ยวหรือแขกผ้มู าเยอื น)” ความสาคัญของการท่องเที่ยว ปรีชา แดงโรจน์ (2544) ได้กล่าวถึงความสาคัญของการ ท่องเท่ยี วไว้เปน็ 3 ดา้ น ใหญ่ ๆ คอื 1) ด้านการพัฒนา (Development) โดยเมื่อเกิดการเดินทางเข้าไปถึงแหล่งท่องเท่ียวการ พัฒนาความเจรญิ ไปยังภูมิภาคน้ัน ๆ อาทิ ระบบสาธารณูปโภค การคมนาคม โรงแรม ภัตตาคารและ รา้ นคา้ 2) ด้านเศรษฐกิจ (Economics) การท่องเท่ียวก่อให้เกิดรายได้ในรูปเงินตราประเทศเป็น จานวนมากเม่ือเทียบกับการผลิตด้านอื่น ๆ โดยรายได้จากการท่องเที่ยวจะมีผลทวีคูณในการสร้าง

11 รายได้หมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจเพิ่มขึ้นและจะทาให้ผลผลิตส่วนรวมของประเทศมีค่าทวีกว่า 2 เท่าตัวและการท่องเที่ยวช่วยกระตุ้นให้เกิดผลผลิตหมุนเวียนภายในประเทศและยังมีการกระจาย รายได้ไปสู่ภูมิภาคทาให้เกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ ทั้งทางตรงและทางอ้อม นอกจากนี้ยังเป็นการ ลดอัตราการวา่ งงานทาให้ ประชากรมีรายได้เพิ่มข้ึน ซ่ึงมีผลต่อประเทศในเรื่องการเพิ่มขึ้นของรายได้ รวมถึงรายได้ของรัฐบาลทเี่ พิม่ ขึ้นในรปู ของภาษีอาการประเภทต่าง ๆ 3) ด้านสังคม (Social) การท่องเท่ียวเป็นส่วนหน่ึงในการมนุษยสัมพันธ์ของมนุษย์ในการ แลก เปล่ียนวัฒนธรรม และสร้างความเป็นมิตรไมตรีและความเข้าใจอันดีระหว่างเจ้าของบ้านและ แขกผู้มาเยือนโดยการท่องเท่ียวมีบทบาทในการพัฒนาสร้างความเจริญในสังคมให้กับท้องถิ่นนั้น ประชาชนก็มีวิถี ชีวิตความเป็นอยู่ท่ีดีข้ึนตามลาดับ อีกทั้งการท่องเท่ียวยังก่อให้เกิดการอนุรักษ์ฟ้ืนฟู มรดกทางธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม หรือยังก่อให้เกิดความภาคภูมิใจและจิตสานึกในการอนุรักษ์อีก ด้วย นอกจากนก้ี ารทอ่ งเทย่ี วยงั ช่วยขจดั ปัญหาความเปล่ยี นแปลงของชมุ ชนเมืองกับชุมชนชนบทและ ท่สี าคัญยงั เป็นการประชาสัมพนั ธแ์ หลง่ ทอ่ งเทย่ี วนั้น ๆ ให้เป็นท่ีรู้จักแก่ประชาชนทั่วไปหรือผู้ท่ีไม่เคย เหน็ มากอ่ น สรุปได้ว่า การท่องเที่ยวหมายถึง การเดินทางของมนุษย์จากสถานที่ใดสถานที่หนึ่งไปยังอีก สถานท่ีหนึ่งหรือการเดินทางจากถิ่นพานักที่อาศัยไปยังสถานท่ีอื่นเป็นการชั่วคราวด้วยความสมัครใจ ไปและเป็นการเดินทางด้วยเหตุผลของการท่องเที่ยวมิใช่เพ่ือการประกอบอาชีพ หรือหารายได้ เช่น การเดินทางเพ่ือการพักผ่อน การเดินทางเพื่อไปชมการแข่งขันกีฬา (อาทิ การแข่งขันกีฬา ซีเกมส์ โอลิมปิก เป็นต้น) การเดินทางเพ่ือการศึกษา การเดินทางเพ่ือประชุมสัมมนา การเดินทางเพ่ือเยี่ยม เ ยื อ น ญ า ติ พี่ น้ อ ง ห รื อ เ พื่ อ น ก า ร เ ดิ น ท า ง เ พื่ อ แ ล ก เ ป ล่ี ย น วั ฒ น ธ ร ร ม เ ป็ น ต้ น (tourismatbuu.wordpress.com) และสิ่งทคี่ ณะผูว้ ิจยั ได้รบั ทราบคือหลักการและความหมาย หัวใจ สาคัญของการท่องเที่ยวท่ีแท้จริง ท้ังน้ีเพ่ือท่ีคณะผู้วิจัยจะได้นาแนวคิด หลักการและความหมายของ การทอ่ งเท่ยี วไปใชป้ ระโยชน์และวางรปู แบบของการจดั การท่องเที่ยวในพื้นท่ีตาบลหัวดง ให้เป็นพื้นที่ ท่ีสามารถจัดการท่องเท่ียวโดยชุมชนได้อย่างแท้จริง และเกิดประโยชน์ต่อหมู่บ้าน ชุมชน และ ประชาชน รวมไปถึงทรัพยากรที่มีค่า เช่น มรดกวัฒนธรรมท่ีงดงาม วิถีกิน วิถีอยู่ ซึ่งท้ังหมดเป็น องค์ประกอบท่ีสาคัญที่จะนามาเชื่อมและร้อยเรียงในการจัดการท่องเท่ียวโดยชุมชนให้มีเอกลักษณ์ เฉพาะของชุมชนตอ่ ไป 2. แนวคิดการท่องเที่ยวโดยชุมชน แนวคดิ การท่องเทีย่ วโดยชุมชน พจนา สวนศรี (2546) ได้ระบุว่า แนวคิดและต้นกาเนิดของคาว่า อีโคทัวร์ริซึม (ecotourism) มาจากประเทศตะวันตก มีการให้คานิยามคานี้หลากหลายขึ้นอยู่กับภูมิหลังของแต่ละ คนหรือสงั คมท่ผี ู้เขียนหรอื นกั วิชาการคลกุ คลีอยู่ โดยส่วนใหญ่จะให้ความสาคัญในเร่ืองการพัฒนาท่ีคู่ ไปกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในบริบทสังคมไทยที่คนกับธรรมชาติมีความ ผูกพนั ใกล้ชดิ กัน แนวคดิ นจี้ งึ เน้นบทบาทของคนและชมุ ชนมากขึ้น การท่องเท่ียวแห่งประเทศไทย (ททท.) ได้ให้ความหมายการท่องเท่ียวเชิงนิเวศไว้ว่า “การ ท่องเท่ียวอย่างมีความรับผิดชอบในแหล่งธรรมชาติที่มีเอกลักษณ์เฉพาะถิ่น และแหล่งวัฒนธรรมที่

12 เกีย่ วเนอ่ื งกบั ระบบนเิ วศในพน้ื ที่ โดยมีกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันของผู้ท่ีเก่ียวข้อง ภายใต้การจัดการ ส่ิงแวดล้อม เป็นการท่องเที่ยวอย่างมีส่วนร่วมของท้องถ่ิน เพ่ือมุ่งเน้นให้เกิดจิตสานึกต่อการรักษา ระบบนเิ วศอย่างยั่งยืน” ซ่ึงมองว่าคนและชุมชนเข้าไปมีบทบาทในการท่องเท่ียวเชิงนิเวศ ในลักษณะ ของการเขา้ ไปมสี ว่ นร่วมกบั สว่ นตา่ งๆ ที่เกยี่ วขอ้ งโดยมแี หล่งธรรมชาตเิ ป็นฐาน จากบทเรียนของการพัฒนาประเทศ โครงการพัฒนาหลายโครงการเป็นโครงการท่ีดีแต่ไม่ สามารถทาได้เน่ืองจากมองท่ีโครงการเป็นตัวต้ังไม่ได้มองที่ประชาชน ดังนั้น การให้บทบาทและ ความสาคัญของประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมและรู้สึกเป็นเจ้าของ เป็นจุดเริ่มต้นของการพัฒนาท่ียั่งยืน ในส่วนขององค์กรประชาชน และองค์กรพัฒนาเอกชน เห็นว่าหากจะให้การท่องเที่ยวเชิงนิเวศยั่งยืน ต้องมองทชี่ มุ ชนเป็นศนู ย์กลาง จงึ เกดิ แนวคิดเรอื่ งการท่องเที่ยวโดยชมุ ชนขึ้น “การท่องเท่ียวโดยชุมชน (community base sustainable tourism) คือการท่องเที่ยวท่ี คานงึ ถึงความยั่งยนื ของสง่ิ แวดลอ้ ม สงั คม และวัฒนธรรม กาหนดทศิ ทางโดยชุมชน จัดการโดยชุมชน เพ่ือชุมชน และชุมชนมีบทบาทเป็นเจ้าของมีสิทธิในการจัดการดูแลเพ่ือให้เกิดการเรียนรู้แก่ผู้มา เยือน” โดยมองว่าการทอ่ งเทยี่ วตอ้ งทางานครอบคลุม 5 ดา้ น พร้อมกัน ทั้งการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วฒั นธรรม และสิ่งแวดล้อม โดยมชี ุมชนเปน็ เจ้าของและมสี ว่ นในการจัดการ นอกจากน้ีการท่องเท่ียวยังสามารถเป็นเคร่ืองมือในการพัฒนา โดยใช้การท่องเท่ียวเป็น เงอื่ นไขและสร้างโอกาสให้องค์กรชมุ ชนเข้ามามีบทบาทสาคัญในการวางแผนทิศทางการพัฒนาชุมชน ของตนในชุมชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในชุมชนที่มีแนวโน้มว่าการท่องเท่ียวจะรุกคืบเข้าไปถึง หรือ ต้องการเปดิ เผยชมุ ชนของตนใหเ้ ป็นทรี่ จู้ ักในวงกว้าง ให้มีการสร้างให้เกิดกระบวนการเรียนรู้เก่ียวกับ การวางแผน การบริหารจัดการทรัพยากรและกระจายอานาจการตัดสินใจโดยเน้นความสาคัญของ การจัดการธรรมชาตแิ วดล้อมและใชก้ ารท่องเทย่ี วเปน็ เครอื่ งมือในการพฒั นาชุมชนไปพรอ้ มกนั ในช่วง 2 - 3 ปี ที่ผ่านมาคาว่า \"Community-based Tourism : CBT\" การท่องเท่ียวท่ีให้ ชุมชนเป็นฐานการบริหารจัดการ \"การท่องเท่ียวโดยชุมชน\" เป็นที่รู้จักและใช้กันอย่างแพร่หลายใน หลายๆความหมาย ความเข้าใจและประสบการณ์ ซ่ึงการท่องเท่ียวโดยชุมชนเป็นส่วนหน่ึงที่จะ นาไปสู่การท่องเที่ยวอย่างย่ังยืนได้ เป็นเรื่องการท่องเท่ียวเชิงวัฒนธรรม การจัดการด้านโฮมสเตย์ ท่ีตอ้ งมี \"ชมุ ชน\" เปน็ ส่วนประกอบสาคัญ 1 รองคณบดี คณะพฒั นาการท่องเทย่ี ว มหาวทิ ยาลัยแม่โจ้ การทอ่ งเท่ยี วกลายเป็น\"เครอื่ งมือ\"ที่รฐั บาลใหค้ วามสาคญั เนอ่ื งจากมีความสาคัญต่อการสร้าง รายได้ เพ่ือพัฒนาประเทศอย่างมากและยังเป็นรายได้ท่ีเป็นอันดับต้นๆ ของประเทศ และมีการ กระจายไปในหลายภาคอย่างค่อนข้างชัดเจน เช่นการเดินทาง ที่พัก การซื้อของท่ีระลึก ภัตตาคาร ร้านค้าต่างๆ จึงมีการประกอบกิจการที่เก่ียวข้องกับการท่องเท่ียวทั้งโดยทางตรงและทางอ้อม ขยาย มากขึ้น เช่นการเพ่ิมข้ึนของสถานที่พัก ท้ังโรงแรมขนาด 5 ดาว 4 ดาว ไปถึงท่ีพักแบบพื้นบ้านที่ เรียกว่า โฮมสเตย์ การเพ่ิมข้ึนของร้านอาหาร และแหล่งบริการอื่นๆ เพื่อดึงดูดความสนใจของ นักท่องเท่ียวทั้งในและต่างประเทศ และการขยายตัวไปในแทบทุกภูมิภาคของไทย ก่อให้เกิดการ ตืน่ ตวั เพราะมองว่าเป็นเรื่องง่ายท่ีจะมีรายได้เพ่ิมจากการท่องเที่ยว ที่เป็นผู้มาซ้ือสินค้าถึงท่ีไม่ว่าจะท่ี ใดกต็ าม

13 แต่จากการที่ทรัพยากรการท่องเท่ียวมีจากัดไม่ว่าจะเป็นทรัพยากรการท่องเที่ยวทางด้าน ธรรมชาติ วัฒนธรรม ประเพณีท้องถ่ิน ซ่ึงผู้ดูแลหรือเป็นเสมือนเจ้าของก็คือประชาชนท่ีอยู่ในชุมชน น้นั ๆ วา่ จะมกี ารบริหารจดั การการท่องเทีย่ วไดอ้ ย่างไร เพราะทรพั ยากรทกุ อย่างต้องมีข้อจากัดในการ ใช้ทั้งสิ้น อย่างไรคือการใช้อย่างยั่งยืน และเป็นไปได้หรือไม่ท่ีจะดาเนินการตามแนวทางเศรษฐกิจ พอเพียง และควรทาอย่างไร เม่ือ \"ชุมชน\" กลายเป็น \"สินค้า\" หรือ \"เครื่องมือ\" ท่ีเป็นทั้งผู้กระทา และผู้ถูกกระทา ในขณะเดียวกันเป็นสิ่งท่ีท้าทายและละเอียดอ่อนอย่างย่ิง เสมือนกับการท่ีต้อง คานึงถึงความรู้สึก ความยินดีของผู้เกี่ยวข้อง ท้ังยังเป็นผู้ท่ีถูกกล่าวอ้างถึงอยู่ตลอดเวลาในการท่ี รัฐบาลจะดาเนินการพัฒนาใดๆจึง \"ต้องให้ความสาคัญต่อชุมชนในระดับต้นๆ และชุมชนต้องได้รับ ประโยชน์\" อย่เู สมอ เมื่อชุมชนมาเกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวก็จะมีคาใหม่ๆเกิดขึ้น อาทิเช่น การท่องเที่ยวชุมชน การทอ่ งเท่ียวโดยชุมชน การทอ่ งเท่ียวผา่ นชุมชน การท่องเที่ยวในชุมชน ก็ข้ึนอยู่กับนิยามแห่งการส่ือ ความหมายต่อคาดังกลา่ ว แตท่ ี่แนน่ อนก็คอื \"ชุมชน\" เป็นสง่ิ ทีต่ ้องถูกกระทบอยา่ งหลีกเล่ียงไม่ได้ และ อย่างไรคือการท่องเที่ยวโดยชุมชน \"Community Based Tourism : CBT \" ท่ีเหมาะสมอันจะเป็น แนวทางสาหรบั การพฒั นาด้านการท่องเทีย่ วในชมุ ชนได้อยา่ งเปน็ รูปธรรมและเห็นผล การท่องเท่ียวโดยชุมชน : \"Community-based Tourism : CBT\" \"เปน็ เรอ่ื งของการเรียนรู้ร่วมกันของคนในชุมชนท้องถ่ินและผู้มาเยือน ในการท่ีจะดูแลรักษา ทรัพยากรด้านต่างๆ ของชุมชนท่ีมีอยู่แล้ว ตลอดจนเป็นเคร่ืองมือในการพัฒนาชุมชนให้เกิดความ ย่ังยนื อันเกดิ จากการมสี ่วนรว่ มของทุกภาคสว่ นในชมุ ชน เพือ่ ประโยชนแ์ ก่ชมุ ชน\" กระบวนการเรียนรูข้ อง CBT : มอี งค์ประกอบที่สาคญั คอื ศักยภาพของคน ต้องเร่ิมที่คนในชุมชนท่ีจะต้องรู้จักรากเหง้าของตนเองให้ดีเสียก่อน เพ่ือ ความพร้อมในการบอกเล่าข้อมลู และคนในชุมชนต้องมีความพร้อมท่ีจะเรียนรู้ มีความสามัคคี ทางาน ร่วมกนั ได้ ศักยภาพของพ้ืนท่ี หมายรวมถึง ทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรมประเพณีภูมิปัญญา ท้องถ่ินที่สืบสานต่อกันมา คนในชุมชนต้องรู้จัก ต้องรักและหวงแหนเห็นคุณค่าของทรัพยากรใน ชุมชนของตน สามารถท่ีจะนามาจัดการได้อย่างคุ้มค่าและยั่งยืน ท้ังน้ีแล้วชุมชนต้องมีความพร้อมใน การเรียนรู้ ตลอดจนมีความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องแนวคิด พื้นฐานทางด้านการท่องเที่ยวโดยชุมชน และการจัดการในพน้ื ทีไ่ ด้ด้วย การจัดการ เป็นเร่ืองท่ีไม่ง่ายนักท่ีจะทาอะไร เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด เกิดความยั่งยืน สมดุลในกลุ่มคนหมู่มาก ดังนั้นชุมชนท่ีจะสามารถบริหารจัดการ การท่องเที่ยวโดยชุมชน : \"Community-based Tourism : CBT\" ได้ต้องเป็นชุมชนท่ีมีผู้นาที่เป็นท่ียอมรับ มีความคิด มีวิสัยทัศน์ ความเข้าใจเร่ืองการท่องเที่ยวโดยชุมชน ท้ังยังต้องได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานทั้ง ภาครฐั ที่เกย่ี วข้อง ตอ้ งมีการพดู คุยกาหนดแนวทางในการเตรียมความพร้อมชุมชนรู้ว่าพื้นที่ของตนจะ มีรูปแบบการท่องเที่ยวอย่างย่ังยืนได้อย่างไร ควรมีกิจกรรมอะไรบ้าง และจะมีการกระจาย จัดสรร รายได้อย่างไร ท้ังหลายทั้งปวงที่กล่าวมาน้ัน ส่ิงสาคัญท่ีสุดของชุมชนก็คือการมีส่วนร่วม อันหมาย รวมถงึ รว่ มในทุก ๆ สงิ่ ทุกอยา่ งเพอ่ื ส่วนรวม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook