คำนำ เอกสารประกอบการสอนน้ี จัดทำขึ้นเพอื่ ใชประกอบการสอนรายวิชา การพยาบาลพ้ืนฐาน สำหรับนักศึกษาหลักสูตร พยาบาลศาสตรบัณฑิต ชั้นปที่ 2 จุดมุงหมายสำคัญเพื่ออธิบายหลักการ พยาบาลพื้นฐาน ทักษะการปฏิบัติการพยาบาลและวิธีการทำหัตถการทางการพยาบาลที่สำคัญ เปน แนวทางใหนักศึกษาไดศึกษาเรียนรูและฝกฝนจนเกิดทักษะ สามารถใชในการปฏิบัติในสถานการณ จริงไดอยางมปี ระสทิ ธิภาพ เอกสารประกอบการสอนนี้แบงเนื้อหาเปน 2 สวน คือ สวนที่ 1 ภาคทฤษฎีจำนวน 30 ชั่วโมง ประกอบดว ยเนอื้ หาและคำถามทายบท สว นที่ 2 ภาคทดลอง จำนวน 1 หนวยกิต เวลาในการ สอน 30 ชวั่ โมง ประกอบดวยเนื้อหาเกย่ี วกบั การฝกปฏิบัตใิ นหอ งปฏบิ ตั ิการและแบบประเมนิ ทักษะ
สารบัญ หนา 1 คำนำ 2 สารบัญ 11 สารบัญตาราง 12 สารบัญภาพประกอบ 17 แผนบริหารการสอนประจำวิชา สวนท่ื 1 การพยาบาลพืน้ ฐาน ภาคทฤษฎี 35 บทที่ 1 แนวคดิ และหลักการพยาบาลพืน้ ฐาน 35 38 1.1 ภาวะสุขภาพ ความเจบ็ ปวยและการพยาบาล 42 1.2 บทบาทพยาบาลและทมี สขุ ภาพ 50 1.3 สทิ ธผิ ปู ว ยและจรรยาบรรณวชิ าชพี 51 1.4 หลกั การพยาบาลแบบองคร วม 55 1.5 หลักการพยาบาลบนพืน้ ฐานความปลอดภัยของผปู วย 55 1.6 บทสรุป 56 1.7 คำถามทา ยบท 1.8 เอกสารอางอิง 60 60 บทที่ 2 การพยาบาลพน้ื ฐานในการปอ งกนั และควบคมุ การแพรก ระจายเช้อื 61 2.1 ความหมายของการตดิ เช้อื 65 2.2 วงจรการตดิ เชื้อกลไกและการติดเชือ้ ของรา งกายมนษุ ย 68 2.3 มาตรฐานในการควบคุมการติดเชอ้ื และปองกนั การแพรกระจายเช้ือ 76 2.4 การพยาบาลเพ่ือควบคมุ การตดิ เชอื้ และปองกนั การแพรกระจายเช้อื 76 2.5 บทสรุป 77 2.6 คำถามทา ยบท 2.7 เอกสารอางอิง 81 81 บทที่ 3 หลักการพยาบาลพ้ืนฐานในการรบั ใหม การจำหนา ยและการสง ตอผูปวย 97 3.1 การพยาบาลเพื่อการรบั ใหมในโรงพยาบาล 3.2 การพยาบาลเพ่ือการจำหนา ยผูปว ย
3.3 การพยาบาลเพื่อการสงตอผปู วย หนา 3.4 บทสรุป 99 3.5 คำถามทา ยบท 3.6 เอกสารอางอิง 100 100 103 บทท่ี 4 หลักการและเทคนคิ พยาบาลพน้ื ฐานในการวัดและประเมินสัญญาณชีพ 106 4.1 ความสำคญั ของการวัดและประเมินสัญญาณชพี 106 4.2 หลกั การวดั และประเมินสญั ญาณชีพ 106 4.3 การบันทึกสัญญาณชีพในรายงานผปู วย 113 4.4 บทสรุป 118 4.5 คำถามทายบท 118 4.6 เอกสารอา งอิง 120 บทท่ี 5 หลักการและเทคนิคการพยาบาลพน้ื ฐานในการดูแลสขุ วิทยาสว นบุคคลและ 124 สิง่ แวดลอม 121 5.1 กระบวนการพยาบาลในการดูแลสขุ วิทยาสวนบคุ คล 125 127 5.2 การดแู ลสขุ วทิ ยาสว นบคุ คลในแตล ะชว งเวลาของวนั 141 146 5.3 หลกั การและวิธีการดูแลสขุ วิทยาสว นสวนบุคคล 146 5.4 การดูแลสง่ิ แวดลอมขา งเตยี งผูปว ย 149 5.5 บทสรุป 5.6 คำถามทา ยบท 5.7 เอกสารอางองิ บทท่ี 6 หลักการและเทคนคิ การพยาบาลพื้นฐาน ในการชวยเคล่ือนไหวรางกายและ 152 การฟน ฟสู ภาพ 149 6.1 องคป ระกอบของการเคล่ือนไหว 155 6.2 การพยาบาลผูป วยทตี่ องไดรับการจัดทา 166 174 6.3 การพยาบาลผปู ว ยท่ีตองไดรับการเคลือ่ นยาย 184 6.4 การพยาบาลเพื่อฟนฟสู ภาพและปองกันภาวะแทรกซอน 6.5 บทสรปุ
6.6 คำถามทายบท หนา 6.7 เอกสารอา งองิ 184 188 บทท่ี 7 หลักการและเทคนคิ การพยาบาลพืน้ ฐานในการบรหิ ารยา 7.1 ความรูเบ้อื งตน เกี่ยวกบั ยา 188 7.2 หลักการบรหิ ารยา 191 7.3 การปอ งกนั ความคลาดเคลื่อนทางยา 196 7.4 การบรหิ ารยาทางปาก 208 7.5 การบริหารยาทางผวิ หนงั และเย่ือบุ 210 7.6 การบริหารยาฉีด 213 7.7 การบริหารยาพน 220 7.8 บทสรปุ 235 7.9 คำถามทายบท 236 7.10 เอกสารอา งองิ 236 239 บทท่ี 8 หลักการและเทคนคิ การพยาบาลพนื้ ฐานในการใหส ารนำ้ เลอื ดและ สว นประกอบของเลือดทางหลอดเลอื ดดำ 243 8.1 หลักการและวธิ กี ารใหส ารน้ำทางหลอดเลือดดำ 243 8.2 การปอ งกันภาวะแทรกซอนจากการใหสารนำ้ ทางหลอดเลือดดำ 258 8.3 หลกั การและวธิ กี ารใหเ ลือดและสวนประกอบของเลอื ด 260 8.4 การปองกนั ภาวะแทรกซอนจากการใหเ ลือดและสวนประกอบของเลอื ด 274 8.5 บทสรปุ 276 8.6 คำถามทา ยบท 277 8.7 เอกสารอา งอิง 279 บทท่ี 9 หลักการและเทคนคิ การพยาบาลพื้นฐานในการทำแผล 283 9.1 ประเภทของแผล 283 9.2 กระบวนการหายของแผล 285 9.3 หลกั การและวิธีการทำแผล การตดั ไหม 287 9.4 บทสรปุ 295
9.5 คำถามทายบท หนา 9.6 เอกสารอางองิ 295 298 บทที่ 10 หลกั การและเทคนิคการพยาบาลพนื้ ฐานในการใหอ าหารทางสายยางให 301 อาหาร 301 10.1 ความผิดปกตขิ องการรับประทานอาหารทีพ่ บบอย 305 10.2 กระบวนการพยาบาลผูปว ยทีม่ คี วามผดิ ปกตขิ องการรับประทานอาหาร 310 313 10.3 หลักการและวิธกี ารการใสส ายยางใหอ าหารทางจมูก 316 10.4 หลักการและวธิ ีการใหอาหารทางสายยางใหอาหาร 318 10.5 การปอ งกันภาวะแทรกซอนจากการคาสายยางใหอาหารและการให 318 321 อาหารทางสายยางใหอาหาร 10.6 บทสรปุ 10.7 คำถามทายบท 10.8 เอกสารอางอิง บทที่ 11 หลกั การและเทคนิคการพยาบาลพนื้ ฐานในการสวนอุจจาระและการสวน 324 ปสสาวะ 324 11.1 ความผิดปกตขิ องการขบั ถายอจุ จาระ 325 11.2 หลกั การและวธิ ีการสวนอุจจาระ 331 332 11.3 ความผิดปกติของการขับถายปสสาวะ 339 341 11.4 หลักการและวธิ กี ารสวนปสสาวะ 341 11.5 หลักการและเทคนิคการการบนั ทกึ ปริมาณนำ้ เขา-ออก 344 11.6 บทสรุป 11.7 คำถามทา ยบท 11.8 เอกสารอางอิง บทท่ี 12 หลกั การและเทคนิคการพยาบาลพื้นฐานในการบำบัดดว ยออกซิเจน 347 12.1 ความรูเ บื้องตนภาวะพรองออกซิเจน 347 350 12.2 หลักการและเทคนคิ การบำบัดออกซิเจน 359 12.3 การพยาบาลผูปว ยที่ไดรับการบำบัดดวยออกซเิ จน
12.4 บทสรปุ หนา 12.5 คำถามทา ยบท 360 12.6 เอกสารอางอิง 361 362 บทท่ี 13 หลกั การและเทคนิคการพยาบาลพน้ื ฐานในการดูดเสมหะ 366 13.1 ความรเู บื้องตนเกี่ยวกับภาวะเสมหะค่งั คาง 366 13.2 การพยาบาลผปู ว ยที่ไดรับการดูดเสมหะทางทอหลอดลมคอ 366 13.3 หลกั การและวิธกี ารดดู เสมหะทางทอหลอดลมคอ 369 13.4 บทสรุป 373 13.5 คำถามทา ยบท 373 13.6 เอกสารอางอิง 375 บทท่ี 14 หลกั การและเทคนิคการพยาบาลพื้นฐานในการเกบ็ สงิ่ สง ตรวจ 378 14.1 หลกั การเก็บสิง่ สงตรวจ 378 14.2 วธิ กี ารเก็บส่งิ สงตรวจ 379 14.3 บทสรุป 389 14.4 คำถามทายบท 390 14.5 เอกสารอางอิง 391 บทที่ 15 หลักการและเทคนิคการพยาบาลพื้นฐานในการพยาบาลผปู วยระยะ 395 สดุ ทายของชีวิต 395 15.1 ความรเู บอ้ื งตน เก่ียวกบั ผูป วยระยะสุดทาย 398 404 15.2 หลักการพยาบาลแบบประคับประคองและการดูแลระยะสดุ ทา ยของชีวิต 405 405 15.3 หลกั การพยาบาลและวิธปี ฎบิ ัตเิ มื่อผูปว ยท่ีถึงแกกรรม 406 15.4 บทสรุป 15.5 คำถามทายบท 15.6 เอกสารอางอิง
สวนทื่ 2 การพยาบาลพนื้ ฐาน ภาคทดลอง หนา บทท่ี 1 วิธีปฎบิ ัติการพยาบาลพน้ื ฐานในการปอ งกนั และควบคมุ การแพรกระจาย เชอ้ื 410 1.1 วธิ กี ารลางมือ (Hand washing) 410 1.2 วิธกี ารใสถ งุ มือปราศจากเชื้อ (Sterile Gloves) 411 1.3 วิธีการเปดหอ ของปลอดเชอื้ และการหยิบจับของปลอดเชอื้ 412 1.4 วิธกี ารสวมและถอดเส้อื กาวนปลอดเชอ้ื (sterile gown) 413 1.5 บทสรปุ 414 1.6 แบบประเมนิ ทกั ษะปฏิบตั ิการพยาบาลพ้ืนฐาน 414 1.7 เอกสารอางอิง 419 บทท่ี 2 วิธปี ฎบิ ตั ิการพยาบาลพื้นฐานในการวัดและประเมินสญั ญาณชีพ 422 2.1 วธิ ีการวัดอุณหภูมิรา งกาย (Temperature measurement) 422 2.2 วิธีการวดั ชพี จร (pulse measurement) 425 2.3 วธิ กี ารวดั อัตราการหายใจ (Respiratory measurement) 426 2.4 วิธีการวัดความดันโลหิต (Blood pressure measurement) 426 2.5 บทสรุป 427 2.6 แบบประเมินทักษะปฏิบัติการพยาบาลพ้ืนฐาน 427 2.7 เอกสารอา งองิ 431 บทที่ 3 วิธีปฎิบัติการพยาบาลพ้นื ฐานในการดูแลสุขวทิ ยาสวนบคุ คล 434 3.1 วธิ ปี ฏบิ ตั กิ ารอาบน้ำผปู วยบนเตียงแบบสมบรู ณ 434 3.2 วธิ ปี ฏิบตั ิการนวดหลัง 436 3.3 วิธีปฏิบัตกิ ารทำความสะอาดอวัยวะสบื พันธภุ ายนอก 438 3.4 วิธปี ฏบิ ัตกิ ารสระผมบนเตียง 440 3.5 วิธีปฏิบัติการเชด็ ตวั ลดไข 441 3.6 บทสรุป 442 3.7 แบบประเมนิ ทกั ษะปฏบิ ตั ิการพยาบาลพืน้ ฐาน 442 3.8 เอกสารอา งองิ 451
บทที่ 4 วธิ ปี ฎิบตั ิการพยาบาลพื้นฐานในการทำความสะอาดเตยี งผปู วย หนา 4.1 วธิ กี ารทำเตียงวา ง (empty bed) 453 4.2 วิธกี ารทำเตียงทมี่ ีผปู ว ย (Occupied bed) 453 4.3 วธิ กี ารทำเตียงผูปว ยหลังจากการผา ตัด (Anesthetic bed) 455 4.4 บทสรุป 456 4.5 แบบประเมนิ ทักษะปฏิบัติการพยาบาลพื้นฐาน 458 4.6 เอกสารอา งองิ 458 460 บทท่ี 5 วิธีปฎิบัติการพยาบาลพื้นฐานในการจัดทา และเคล่อื นยา ยผูปวย 462 5.1 วธิ ีการจดั ทานอนผูปวย 462 463 5.2 วธิ ีการเคลือ่ นยายผปู ว ย 465 466 5.3 บทสรปุ 468 5.4 แบบประเมินทักษะปฏบิ ตั ิการพยาบาลพนื้ ฐาน 5.5 เอกสารอา งองิ บทท่ี 6 วิธีปฎิบตั ิการพยาบาลพื้นฐานในการบรหิ ารยาทางปาก ทางตาและทางหู 472 6.1 วิธกี ารบริหารยาทางปาก 472 6.2 วธิ ีการบริหารยาทางตา 472 6.3 วิธีการบริหารยาทางหู 474 6.4 บทสรปุ 475 6.5 แบบประเมินทกั ษะปฏบิ ตั ิการพยาบาลพน้ื ฐาน 475 6.6 เอกสารอางองิ 482 บทที่ 7 วธิ ปี ฎบิ ตั ิการพยาบาลพน้ื ฐานในการฉีดยาเขา ชั้นผิวหนัง ชน้ั ใตผวิ หนงั และ 485 ชนั้ กลามเนอื้ 485 7.1 วิธกี ารยาฉีดเขาช้นั ผิวหนงั (intradermal injection) 487 490 7.2 วธิ ีการฉีดยาเขาใตผ วิ หนัง (subcutaneous injection) 491 7.3 วิธีการฉีดยาเขา ช้นั กลา มเน้ือ (intramuscular injection) 491 7.4 บทสรุป 7.5 แบบประเมินทกั ษะปฏิบตั ิการพยาบาลพน้ื ฐาน
7.6 เอกสารอางองิ หนา 497 บทท่ี 8 วิธีปฎิบัติการพยาบาลพื้นฐานในการบริหารยาฉดี ยาเขาหลอดเลือดดำ 499 8.1 วธิ กี ารฉีดยาเขาหลอดเลอื ดดำในระยะสนั้ (intravenous injection 499 push) 8.2 วธิ กี ารฉดี ยาเขา หลอดเลือดดำแบบหยด (intravenous injection drip) 501 8.3 บทสรุป 502 8.4 แบบประเมินทักษะปฏบิ ัติการพยาบาลพืน้ ฐาน 503 8.5 เอกสารอา งอิง 509 บทท่ี 9 วิธปี ฎิบตั ิการพยาบาลพื้นฐานในการบริหารยาพน 512 9.1 วธิ ีการบรหิ ารยาพน 512 9.2 บทสรุป 513 514 9.3 แบบประเมินทักษะปฏบิ ัติการพยาบาลพื้นฐาน 516 9.4 เอกสารอางองิ บทท่ี 10 วธิ ีปฎบิ ตั ิการพยาบาลพนื้ ฐานในการใหส ารนำ้ ทางหลอดเลือดดำ 518 10.1 วิธกี ารใหสารน้ำทางหลอดเลือดดำ 518 10.2 บทสรุป 520 520 10.3 แบบประเมินทกั ษะปฏิบตั กิ ารพยาบาลพนื้ ฐาน 523 10.4 เอกสารอางอิง บทที่ 11 วิธปี ฎิบัตกิ ารพยาบาลพน้ื ฐานในการทำแผล 525 11.1 วิธีการทำแผลแบบ Dry dressing 525 11.2 วธิ กี ารทำแผลแบบ Wet dressing 527 529 11.3 บทสรปุ 529 532 11.4 แบบประเมนิ ทักษะปฏบิ ัติการพยาบาลพนื้ ฐาน 11.5 เอกสารอางอิง
บทท่ี 12 วิธปี ฎิบตั ิการพยาบาลพน้ื ฐานในการใหอ าหารทางสายยางใหอาหาร หนา 12.1 วิธีการการใสสายยางใหอ าหารทางจมกู 535 12.2 วิธกี ารใหอ าหารทางสายยางใหอ าหาร 535 12.3 บทสรุป 537 12.4 แบบประเมินทกั ษะปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลพน้ื ฐาน 539 12.5 เอกสารอางอิง 540 542 บทที่ 13 วธิ ปี ฎิบัตกิ ารพยาบาลพ้ืนฐานในการสวนปสสาวะเปน คร้งั คราว 13.1 วิธีการสวนปส สาวะแบบเปนปส สาวะเปนครงั้ คราว (intermittent 544 catheter) 544 13.2 บทสรุป 13.3 แบบประเมินทกั ษะปฏิบตั ิการพยาบาลพ้ืนฐาน 546 13.4 เอกสารอางอิง 546 549 บทท่ี 14 วธิ ปี ฎิบัตกิ ารพยาบาลพน้ื ฐานในการใหออกซเิ จน 14.1 วิธีการใหออกซิเจนดวย Nasal cannula 549 14.2 วิธีการใหออกซิเจนดวย Mask with bag 549 14.3 วิธกี ารใหออกซเิ จนดว ย Collar mask 553 14.4 บทสรุป 554 14.5 แบบประเมินทักษะปฏิบตั กิ ารพยาบาลพ้ืนฐาน 555 14.6 เอกสารอางอิง 556 558 บทที่ 15 วธิ ปี ฎบิ ัติการพยาบาลพนื้ ฐานในการดดู เสมหะทางทอหลอดลมคอ 15.1 วธิ ีการดดู เสมหะทางทอ หลอดลมคอ 560 15.2 บทสรุป 560 15.3 แบบประเมินทกั ษะปฏิบตั ิการพยาบาลพน้ื ฐาน 562 15.4 เอกสารอางอิง 563 565 บรรณานุกรม เฉลยคำถามทา ยบท 563 569
สารบญั ตาราง หนา 57 ตารางท่ี 83 ตารางที่ 2-1 แสดงคำศัพทสำคัญที่เกีย่ วของปองกนั และควบคมุ การแพรกระจายเช้ือ 85 ตารางท่ี 3-1 แสดงคำศพั ททเี่ กี่ยวขอ งกับการรับใหมผ ปู ว ยในโรงพยาบาล ตารางที่ 3-2 แสดงแบบประเมนิ แบบแผนสุขภาพของกอรดอน (11 pattern 98 Gordon) 108 ตารางท่ี 3-3 แสดงรปู แบบการจำหนายตามหลกั METHOD 111 ตารางท่ี 4-1 แสดงตำแหนงท่ีวัดอุณหภูมแิ ละคา เฉลย่ี ของอุณหภมู ิปกติ 116 ตารางที่ 4-2 แสดงการแบงหมวดหมตู ามคาความดันโลหติ 179 ตารางท่ี 4-2 แสดงการสรุปการวดั สัญญาณชพี คา ปกติและอุปกรณในการวัด 194 ตารางที่ 6-1 แสดงขอบเขตการเคลอ่ื นไหวของขอตอจำแนกตามชนิดของขอตอ 198 ตารางที่ 7-1 แสดงตวั อยางการเรียกช่อื ยา 202 ตารางที่ 7-2 แสดงคำอปุ สรรค (Prefix) ท่ีใชในการคำนวณยา 203 ตารางท่ี 7-3 แสดงตวั ยอที่ใชบอ ยในการบรหิ ารยา 205 ตารางท่ี 7-4 แสดงตัวยอท่เี กี่ยวของกบั เวลาในการใหยา ตารางท่ี 7- 5 คำยอสำหรบั การบนั ทึกในใบ MAR เมื่อมีเหตกุ ารณท่ีไมสามารถใหยา 246 ผปู ว ยได ตารางที่ 8- 1 แสดงชนดิ ของสารน้ำจำแนกตามคา ความดันออสโมติก(mOsm/L) และ 261 ผลกระทบตอเซลล 263 ตารางท่ี 8- 2 แสดงลักษณะของหมูเลอื ด ABO 265 ตารางท่ี 8- 3 แสดงหลกั การพจิ ารณาการใหเลือดผปู วยตามระบบเลือด ABO และ Rh 306 ตารางท่ี 8- 4 แสดงระดบั Hemoglobin และ Hematocrit จำแนกตามเพศและวัย 308 ตารางท่ี 10-1 แสดงตัวอยางการตรวจรา งกายตามระบบเพื่อประเมนิ ภาวะโภชนาการ ตารางที่ 10-2 แสดงตัวอยา งการกำหนดเปา หมาย (Goals) และวัตถุประสงค 349 (Outcomes) 351 ตารางท่ี 12-1 แสดงคาปกติของระดับแกส และความเปน กรด-ดา ง ของเลือด ตารางท่ี 12-2 แสดงชนิดของถังออกซิเจนจำแนกตามคา คงทแ่ี ละความจุของออกซเิ จน
สารบัญภาพประกอบ หนา 50 รปู ภาพที่ 63 รูปภาพท่ี 1-1 แสดงลักษณะการพยาบาลแบบองครวม 71 รูปภาพท่ี 2-1 แสดงวงจรการติดเช้ือ (chain of infection) 71 รปู ภาพท่ี 2-2 แสดง การทิ้งเข็มในภาชนะท้ิงเข็ม 69 รูปภาพที่ 2-3 แสดงการสวมปลอกเข็มดว ยเทคนิคมือเดียว 70 รูปภาพที่ 2-4 แสดงการลางมือ 7 ข้นั ตอน 107 รูปภาพที่ 2-5 แสดง ลา งมือใน 5 โอกาส (5 moment) 112 รูปภาพท่ี 4-1 แสดงปรอทวัดไข 113 รูปภาพที่ 4-2 ทฤษฎคี วบคุมประตู (Gate control theory) 117 รูปภาพท่ี 4- 3 แสดงแบบประเมนิ pain scale 145 รูปภาพที่ 4-4 แสดงการการบันทกึ สญั ญาณชพี ตามโจทยต วั อยา ง 153 รูปภาพที่ 5-1 แสดงการพบั ผาหม การทำเตียงผูปวยหลังจากการผา ตัด 153 รปู ภาพท่ี 6-1 แสดง แนวปกตขิ องรา งกาย (Body alignment) 154 รูปภาพท่ี 6.1.2-2 แสดง ทา ยืนท่ถี ูกตอง 154 รปู ภาพที่ 6-3 แสดงทาน่ังท่ีถูกตอ ง 157 รปู ภาพที่ 6-4 แสดงทานอนที่ถูกตอง 158 รปู ภาพที่ 6-5 แสดงการจัดทา protective supine position 159 รปู ภาพท่ี 6-6 แสดงการจดั ทา protective side-Lying or Lateral position 160 รปู ภาพท่ี 6-7 แสดงการจัดทา Modified lateral position 161 รปู ภาพท่ี 6-8 แสดงการจดั ทา Protective Prone Position 162 รูปภาพท่ี 6-9 แสดงการจดั ทา Protective Sim’s Position 162 รูปภาพที่ 6-10 แสดงการจัดทา Fowler’s position 163 รปู ภาพท่ี 6-11 แสดงการจัดทา Semi Fowler’s position 163 รูปภาพท่ี 6-12 แสดงการจัดทา Orthopneic position 164 รปู ภาพท่ี 6-13 แสดงการจัดทา Trendelenburg position 165 รูปภาพท่ี 6-14 แสดงการจัดทา Dorsal recumbent position 165 รปู ภาพที่ 6-15 แสดงการจัดทา Lithotomy position 167 รปู ภาพที่ 6-16 แสดงการจดั ทา Knee- chest position รปู ภาพที่ 6-17 แสดงการพลิกตะแคงตวั แบบ Log rolling method 13
รปู ภาพที่ หนา รปู ภาพท่ี 6-18 แสดงการยกตวั ผปู ว ยไปดา นหวั เตียง 169 รูปภาพท่ี 6-19 แสดงการยกตวั ผปู วยไปดานหัวเตยี งโดยการโหนบารร ว มดวย 169 รูปภาพท่ี 6-20 แสดงการเคล่ือนยา ยผูปว ยดว ยพยาบาล 3 คน 171 รปู ภาพท่ี 6-21 แสดงการเคลื่อนยา ยผปู ว ยดว ยกระดานเคลื่อนยาย 171 รปู ภาพที่ 6-22 แสดงการเคลื่อนยา ยผูปวยดว ยกระดานเคล่ือนยา ย 172 รูปภาพท่ี 6-23 แสดงการพยุงผปู ว ยเดนิ โดยผชู วยเหลอื 1 คน 173 รูปภาพท่ี 6-24 แสดงการพยุงผูปว ยเดนิ โดยผูชว ยเหลือ 2 คน 174 รูปภาพที่ 6-25 แสดงแบบประเมนิ ความเสยี่ งตอ การพลดั ตกหกลม 176 รปู ภาพที่ 6-26 แสดงไมเ ทา แบบมาตรฐาน (standard cane) 180 รปู ภาพท่ี 6-27 แสดงไมเ ทา แบบ Wide base cane 180 รูปภาพที่ 6-28 แสดงไมคำยัน (crutch) 181 รูปภาพท่ี 6-29 แสดงการใชงาน Axillary crutches ทีถ่ กู ตอ ง 181 รูปภาพท่ี 6-30 แสดงวิธีการกาวเดนิ ดวยอปุ กรณไมค้ำยันรักแร 182 รูปภาพท่ี 6-31 แสดงวิธีการใชอ ุปกรณช วยเดินชนิด pick up walker 183 รูปภาพที่ 7-1 แสดงตวั อยางใบคำสัง่ การรักษา 204 รปู ภาพที่ 7-2 แสดงตวั อยางใบบันทกึ การบริหารยา (Medication 206 Administration Record: MAR รปู ภาพที่ 7-3 แสดงวธิ กี ารเทเมด็ ยา 211 รูปภาพท่ี 7-4 แสดงการเทยานำ้ 211 รูปภาพท่ี 7-5 แสดงทาของผูปว ยขณะกลนื ยาน้ำ 212 รูปภาพท่ี 7- 6 แสดงวธิ กี ารใหยาใตล้นิ 217 รปู ภาพที่ 7-7 แสดงวธิ กี ารหยอดตา 215 รปู ภาพที่ 7-8 แสดงวธิ กี ารปา ยตา 216 รปู ภาพที่ 7-9 แสดงวธิ หี ยอดหใู นผใู หญ 217 รูปภาพท่ี 7-10 แสดงวิธีหยอดจมูก 218 รูปภาพท่ี 7-11 แสดงการเหน็บยาชอ งคลอดโดยใชนว้ิ 218 รปู ภาพที่ 7-12 แสดงการใสยาเขา ชอ งคลอดโดย applicator 219 รูปภาพท่ี 7-13 แสดงการสอดยาเขา ทางทวารหนัก 220 รูปภาพท่ี 7-14 แสดงสวนประกอบของกระบอกฉดี ยาและเขม็ ฉีดยา 220 รูปภาพท่ี 7- 15 แสดงลกั ษณะขวดยา 218 14
รปู ภาพที่ หนา รปู ภาพที่ 7-16 แสดงวธิ หี ักหลอดยาและการดูดยาจากหลอดยา 222 รูปภาพท่ี 7-17 แสดงกระบอกฉดี ยาสำหรบั ฉีดเขา ชน้ั ผิวหนงั 224 รปู ภาพท่ี 7-18 แสดงตำแหนงทีฉ่ ดี ยาเขาช้ันผิวหนงั 224 รูปภาพท่ี 7-19 แสดงลักษณะการแทงเขม็ เขา ชน้ั ผิวหนัง 226 รปู ภาพท่ี 7-20 แสดงลักษณะตมุ นนู เมอื่ ฉดี ยาเขา ชนั้ ผิวหนัง 226 รปู ภาพท่ี 7-21 แสดงตำแหนงท่ีฉดี ยาเขา ใตผ ิวหนัง 227 รูปภาพที่ 7-22 แสดงวธิ ีแทงเขม็ ฉีดยาเขาใตผิวหนงั ทำมุม 90 องศา และ 45 องศา 228 รูปภาพที่ 7-23 แสดง กระบอกฉีดยาสำหรบั ฉีดอนิ ซูลิน 229 รูปภาพท่ี 7- 24 แสดงการหาตำแหนง ฉดี ยาสะโพกดานขา ง 230 รปู ภาพที่ 7- 25 ตำแหนงฉีดยาตะโพกดา นหลัง 231 รปู ภาพที่ 7- 26 แสดงตำแหนงฉดี ยาตนขาดา นขา ง 231 รปู ภาพท่ี 7-27 แสดงตำแหนงฉีดยาตน แขน 232 รปู ภาพท่ี 7-28 แสดงฟองอากาศท่ีเหลือคางในกระบอกฉดี ยา 233 รปู ภาพที่ 7-29 แสดงการตอ อปุ กรณสำหรบั พนยา 248 รูปภาพที่ 8-1 แสดง ชดุ ใหสารน้ำ (Intravenous set) 248 รูปภาพท่ี 8-2 แสดง Volume- control set หรือ โวลูโทรล เซท็ 245 รปู ภาพท่ี 8-3 แสดง สายตอเพิม่ ความยาวของชุดใหสารนำ้ (extension set, 249 extension tube) รูปภาพท่ี 8-4 แสดง ขอตอ 3 ทาง (3- way) 249 รูปภาพท่ี 8-5 แสดง เข็มสแคลเวน (scalp vein catheter) 250 รปู ภาพที่ 8-6 แสดง เข็มพลาสตกิ สำหรบั แทงเสน (IV catheter) 250 รปู ภาพท่ี 8-7 แสดง สายสวนหลอดเลอื ดดำสว นกลาง (central venous 251 catheter) รปู ภาพที่ 8-8 แสดง วสั ดุใสปราศจากเชอื้ (transparent dressing) 251 รปู ภาพท่ี 8- 9 แสดงตำแหนงในการเปดเสน 252 รูปภาพที่ 8-10 แสดงเคร่ืองควบคมุ การไหลของสารนำ้ (Infusion pump) 254 รูปภาพท่ี 9-1 แสดงการดงึ ลวดเย็บแผลออก (off staple) 295 รปู ภาพที่ 10-1 แสดงสายยางใหอ าหารทางจมูก 311 รูปภาพท่ี 11-1 แสดงอปุ กรณสวนอจุ จาระ 326 รปู ภาพท่ี 11-2 แสดงทา และวิธีการสวนอุจจาระ 326 15
รปู ภาพท่ี หนา รปู ภาพที่ 11-3 แสดงวสั ดสุ วนอุจจาระสำเรจ็ รูป 328 รูปภาพที่ 11-4 แสดงการควักอจุ จาระ 329 รปู ภาพท่ี 11-5 แสดงสายสวนปส สาวะยางแดง (catheter / rubber tube) 334 รปู ภาพท่ี 11-6 แสดงลักษณะของสายสวนปส สาวะ Foley’s catheter 336 รูปภาพท่ี 11-7 แสดง ตัวอยา งการบันทึกนำ้ เขาออก 340 รปู ภาพท่ี 12-1 แสดงอุปกรณตรวจวัดความความอิ่มตัวออกซเิ จนของฮโี มโกลบนิ 349 จากชพี จร (Pulse oximeter) รปู ภาพที่ 12-2 แสดง ถังออกซเิ จน 351 รูปภาพท่ี 12-3 แสดง Oxygen Piped line 352 รปู ภาพที่ 12-4 แสดงอุปกรณใหอ อกซิเจน 352 รูภาพปท่ี 12-5 แสดงลักษณะของสายออกซิเจนชนดิ nasal cannula 350 รูปภาพที่ 12-6 แสดงลักษณะหนากากออกซเิ จนชนิดธรรมดา (Simple face 353 mask) รปู ภาพท่ี 12-7 แสดงลักษณะของ Non rebreathing mask 354 รูปภาพที่ 12-8 เปรียบเทียบลกั ษณะของ Partial rebreathing mask กบั Non 355 rebreathing mask รูปภาพที่ 12-9 แสดง Oxygen hood 355 รปู ภาพท่ี 12-10 แสดง Collar mask 356 รปู ภาพท่ี 12-11 แสดง High flow nasal cannula 356 รปู ภาพท่ี 13-1 แสดงอปุ กรณส ำหรบั ดูดเสมหะแบบระบบปด (close suction) 371 รปู ภาพท่ี 14-1 แสดงแสดงหลอดบรรจเุ ลอื ดชนดิ EDTA tube 380 รปู ภาพท่ี 14-2 แสดงแสดงหลอดบรรจเุ ลือดชนดิ sodium citrate tube 380 รปู ภาพที่ 14-3 แสดงหลอดบรรจเุ ลือดชนิด Lithium heparin tube 381 รูปภาพท่ี 14-3 แสดงหลอดบรรจุเลือดชนดิ Lithium heparin tube 382 รูปภาพที่ 14-5 แสดง Sodium Fluoride tube 379 รูปภาพท่ี 14-6 แสดงการเจาะ Arterial blood gas 383 รปู ภาพที่ 14-7 แสดง ขวด Hemoculture 384 รปู ภาพท่ี 14-8 แสดงการเจาะนำ้ ตาลปลายนวิ้ 384 รปู ภาพท่ี 14-9 แสดงลำดบั การเรยี งลำดบั การนำเลือดใสหลอดเลอื ด 385 รูปภาพท่ี 14-10 แสดงการตรวจปสสาวะตรวจท่วั ไป (Urine analysis) 386 16
รูปภาพท่ี หนา รูปภาพที่ 14-11 แสดงขวดเก็บเสมหะสำเร็จรูป (sputum collection) 388 รปู ภาพท่ี 15-1 แสดงตวั อยาง หนังสือแสดงเจตนา หรอื living will. 398 17
แผนบรหิ ารการสอนประจำวชิ า รหสั วชิ า 8016102 รายวิชา การพยาบาลพ้นื ฐาน 3 (2-2-5) Fundamental Nursing เวลาเรยี น ภาคทฤษฎี 30 ช่วั โมง/ภาคเรียน ภาคทดลอง 30 ชัว่ โมง/ภาคเรยี น คำอธบิ ายรายวชิ า แนวคิด หลักการและเทคนิคการพยาบาลพื้นฐานที่คํานึงถึงการปฏิบัติการพยาบาลแบบองค รวม ในการดูแลบุคคลทุกวัยของชีวิตที่มีภาวะสุขภาพปกติและเบี่ยงเบน บนพื้นฐานทฤษฎีการดูแลโดย คํานึงถึงสิทธผิ ูร บั บริการ ความปลอดภัยของผูรับบริการ กฎหมาย และจรรยาบรรณวชิ าชพี The basic concepts, principles and techniques of basic nursing - in relationship to holistic nursing care - for individual of all ages; including both healthy people and people with illnesses. It is based on nursing theories and humanized nursing care concern, along with patient’s rights, patient’ s safety and professional ethics. วตั ถปุ ระสงคทั่วไป 1. อธิบายหลักการของการพยาบาลพื้นฐานแกบุคคลทุกชวงวัยใหมีภาวะสุขภาพที่ดี ปลอดภัยจากความเจ็บปวย คำนึงถึงการพยาบาลแบบองครวม รวมทั้งอธิบายวิธีการปองกันและ ควบคุมการแพรก ระจายเชื้อได 2. สามารถสืบคนขอมูลจากแหลงขอมูลที่หลากหลาย ทันสมัย วิเคราะหและเลือกใช หลักฐานเชิงประจักษในการวางแผนการพยาบาลไดเหมาะสม 3. ประยุกตใชกระบวนการพยาบาลในการวางแผนการพยาบาลและใหการพยาบาลแก บคุ คลที่เจ็บปว ยดว ยโรคไมซบั ซอ นได 4. สามารถอธิบายหลักการของการพยาบาลพื้นฐานและปฏิบัติการพยาบาลในสถานการณ จำลองแกบุคคลกรณีปญหาที่ตองการดูแลสุขวิทยาสวนบุคคล การประเมินสัญญาณชีพ การรับใหม 18
การวางแผนจำหนาย การชว ยเหลือเคลอ่ื นไหวรา งกาย การบรหิ ารยา สารนำ้ เลอื ด สวนประกอบของ เลือด การเก็บสิ่งสงตรวจ ปญหาการมีบาดแผล ปญหาความบกพรองในการรับประทานอาหาร การ ขบั ถายบกพรอ ง การพรอ งออกซเิ จน การขับเสมหะ รวมทั้งการพยาบาลผูปว ยระยะสุดทายได 5. สามารถทำงานเปนทีมในการใหการพยาบาลผูปวยในสถานการณจำลองหรือทำงานท่ี ไดรบั มอบหมายจนประสบผลสำเรจ็ 6. เลอื กใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศในการนำเสนอกรณีศึกษาไดอยางเหมาะสมกับสถานการณ วตั ถุประสงคการปรับปรุงรายวิชา ผลการประเมินการจัดการเรียนการสอนในปการศึกษาทผ่ี านมา พบวา 1. ผลการประเมินการจัดการเรยี นการสอนในปการศึกษาท่ีผา นมา เทา กบั 4.53 คะแนน ระดับมากท่สี ดุ 2. ผลการประเมินการจัดการเรียนการสอนในปการศึกษาที่ผา นมา พบวา 2.1 การดูแลนักศึกษายังไมทั่วถึงเนื่องจากจำนวนอาจารยสอนภาคทดลองมีนอย หากมี ภารกจิ อน่ื อาจารยจะมาสอนภาคทดลองชา กวา กำหนด 2.2 หากมีจำนวนนักศกึ ษามาก อุปกรณการเรียนการสอนจะไมเพียงพอกับจำนวนนักศึกษา ควรจัดใหม ีวัสดุ อปุ กรณมากขน้ึ 2.3 การสอนในหองปฏิบัติการและการคุมสอบ OSCE ของอาจารยแตละทา นไมเ หมือนกัน การสอบ OSCE เปน วธิ ีการทด่ี แี ตค วรจดั ใหเ ปน ระบบ 3. การพัฒนา/ปรบั ปรุงรายวชิ า ดังน้ี 3.1 เพิ่มจำนวนอาจารยผูสอนภาคทดลองเปน 6 คน จัดตารางการเรียนแยกเปน 2 หอง อยางชัดเจน จำนวนอาจารยตอนักศึกษาเทากับ 6 – 7 คน เพื่อใหสามารถสอนสาธิตและสาธิต ยอนกลบั ไดท ว่ั ถงึ ทกุ คน 3.2 ประชุมปรึกษาอาจารยรวมสอน เพื่อรวมกันพัฒนาคูมือการสอนภาคทดลองและคูมือ การสอบ OSCE เพอ่ื ใหสามารถจัดการเรยี นการสอนภาคทดลองไดต รงกนั 3.3 มอบหมายใหนักศึกษาดูสื่อวิดีทัศนสื่อวิดีทัศนการพยาบาลพื้นฐานใน https://nurse.pbru.ac.th/th หรือ YouTube channel: Nursing Practice กอ นการเขาฝกปฏิบตั ิ ภาคทดลอง 3.4 จัดทำชุดการเรียนรูดวยตนเอง (Tool kit) ในหัตการที่จำเปนและในปการศึกษาที่ผา น มามีจำนวนนักศึกษาสอบผานนอย จำนวน 2 ชุดการเรียนรู คือ injection toolkit และ Dressing toolkit เพ่อื ใหน ักศึกษานำไปฝก ปกบิ ตั จิ นมีความชำนาญ 19
3.5 จัดทำโมเดลชวยสอนการใหสารน้ำ (intravenous fluid care) เพื่อใหนักศึกษาได เรียนรทู กุ ครงั้ ท่ีมาหอ งปฏบิ ัติการ 3.6 จัดทำ VDO การสอนไวใน Google classroom และมีแบบฝกหัดทายบท บทละ 10 ขอ เพ่อื ใหน ักศึกษาไดทบทวนดว ยตนเอง วิธีสอนและกจิ กรรมการเรียนการสอน 1. ภาคทฤษฎสี อนแบบบรรยายและอภปิ รายในชนั้ เรียน 2. ภาคทดลองเปนการสอนสาธิตและสาธิตยอนกลับในหองปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร สขุ ภาพ ส่ือการเรยี นการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน 2. สื่อวิดีทัศนการพยาบาลพื้นฐานใน https://nurse.pbru.ac.th/th และ YouTube channel: Nursing Practice 3. ชุดการเรยี นรดู วยตนเอง (Tool kit) 4. โมเดลชว ยสอน จำนวนช่ัวโมงท่ใี ชต อภาคการศึกษา 1. บรรยาย 30 ชว่ั โมง 2. การฝกปฏิบัติภาคทดลอง 30 ชัว่ โมง 3. สอนเสรมิ ผสู อนจะดำเนนิ การสอนเสรมิ ภายหลังการสอบแตล ะครง้ั ในกรณีทน่ี ักศึกษาได คะแนนต่ำกวา รอ ยละ 60 4. การศึกษาดว ยตนเองไมนอยกวา 5 ชวั่ โมง ตอ สปั ดาห จำนวนชัว่ โมงตอสปั ดาหท ่อี าจารยใหคำปรกึ ษาและแนะนำทางวชิ าการแกนกั ศกึ ษา เปน รายบคุ คล 1. อาจารยผรู บั ผิดชอบวิชาแจง เวลาใหคำปรึกษาแกน ักศึกษาในการปฐมนิเทศรายวิชาและ ประกาศไวใน Google classroom เพื่อใหนักศึกษาจองวันเวลาที่ตองการปรึกษาลวงหนา ทั้งนี้ นักศกึ ษาจะตอ งประสานงานกับอาจารยผ ูส อนกอน 2. นักศึกษาสามารถเรียนรูทาง on line และปรึกษาอาจารยผูรับผิดชอบวิชาไดที่ชองทาง ตา ง ๆ ดังนี้ 20
ช่ือ หองทำงาน เบอรโทร online อาจารยจิตรรดา พงศธราธิก หอง 208 0818459515 [email protected] FB : Nursing Skills by Jitrada เนื้อหาวชิ า 2 ชั่วโมง ภาคทฤษฎี บทท่ี 1 แนวคิดและหลกั การพยาบาลพนื้ ฐาน 1.1 ภาวะสขุ ภาพ ความเจ็บปวยและการพยาบาล 1.2 บทบาทพยาบาลและทีมสขุ ภาพ 1.3 สทิ ธผิ ปู ว ยและจรรยาบรรณวชิ าชพี 1.4 หลักการพยาบาลแบบองคร วม 1.5 หลักการพยาบาลบนพ้ืนฐานความปลอดภยั ของผูปว ย 1.6 บทสรปุ 1.7 คำถามทายบท 1.8 เอกสารอางอิง บทท่ี 2 การพยาบาลพ้นื ฐานในการปองกนั และควบคมุ การแพรกระจายเชือ้ 2 ช่ัวโมง 2.3 ความหมายของการติดเชอื้ 2.4 วงจรการตดิ เชอ้ื กลไกและการติดเชอ้ื ของรา งกายมนุษย 2.3 มาตรฐานในการควบคมุ การติดเชื้อและปองกนั การแพรกระจายเชอื้ 2.4 การพยาบาลเพ่ือควบคมุ การติดเช้ือและปองกนั การแพรกระจายเชื้อ 2.5 บทสรปุ 2.6 คำถามทายบท 2.7 เอกสารอางอิง 21
บทท่ี 3 หลักการพยาบาลพ้ืนฐานในการรบั ใหม การจำหนายและการสงตอผปู วย 2 ชั่วโมง 3.1 การพยาบาลเพ่ือการรบั ใหมใ นโรงพยาบาล 3.2 การพยาบาลเพ่ือการจำหนา ยผปู วย 3.3 การพยาบาลเพ่ือการสงตอผูป วย 3.4 บทสรปุ 3.5 คำถามทายบท 3.6 เอกสารอา งอิง บทที่ 4 หลักการและเทคนิคพยาบาลพน้ื ฐานในการวดั และประเมินสัญญาณชีพ 2 ชวั่ โมง 4.1 ความสำคัญของการวดั และประเมนิ สญั ญาณชีพ 4.2 หลักการวดั และประเมนิ สญั ญาณชีพ 4.3 การบันทกึ สัญญาณชพี ในรายงานผปู วย 4.4 บทสรปุ 4.5 คำถามทายบท 4.6 เอกสารอางองิ บทที่ 5 หลักการและเทคนิคการพยาบาลพื้นฐานในการดแู ลสุขวทิ ยาสว นบุคคล 4 ชว่ั โมง และสง่ิ แวดลอม 5.1 กระบวนการพยาบาลในการดูแลสุขวิทยาสว นบุคคล 5.2 การดแู ลสขุ วิทยาสวนบคุ คลในแตล ะชว งเวลาของวนั 5.3 หลักการและวิธีการดูแลสุขวทิ ยาสว นสวนบุคคล 5.4 การดูแลสง่ิ แวดลอ มขางเตียงผูปว ย 5.5 บทสรุป 5.6 คำถามทา ยบท 5.6 เอกสารอางองิ 22
บทท่ี 6 หลักการและเทคนคิ การพยาบาลพ้นื ฐาน ในการชว ยเคลื่อนไหวรางกาย 2 ช่ัวโมง และการฟน ฟูสภาพ 6.1 องคประกอบของการเคลื่อนไหว 6.2 การพยาบาลผปู วยที่ตองไดร ับการจัดทา 6.3 การพยาบาลผูป ว ยทต่ี องไดร ับการเคลือ่ นยาย 6.4 การพยาบาลเพ่ือฟนฟสู ภาพและปองกันภาวะแทรกซอน 6.5 บทสรปุ 6.6 คำถามทายบท 6.7 เอกสารอา งอิง บทท่ี 7 หลักการและเทคนคิ การพยาบาลพนื้ ฐานในการบรหิ ารยา 4 ชว่ั โมง 7.1 ความรูเ บือ้ งตน เกยี่ วกบั ยา 7.2 หลักการบริหารยา 7.3 การปอ งกันความคลาดเคลื่อนทางยา 7.4 การบรหิ ารยาทางปาก 7.5 การบรหิ ารยาทางผวิ หนังและเยอ่ื บุ 7.6 การบริหารยาฉดี 7.7 การบรหิ ารยาพน 7.8 บทสรุป 7.9 คำถามทา ยบท 7.10 เอกสารอา งองิ บทที่ 8 หลักการและเทคนิคการพยาบาลพ้ืนฐานในการใหส ารนำ้ เลือดและ 2 ชัว่ โมง สวนประกอบของเลือดทางหลอดเลอื ดดำ 8.1 หลกั การและวิธกี ารใหสารน้ำทางหลอดเลือดดำ 8.2 การปอ งกนั ภาวะแทรกซอนจากการใหส ารน้ำทางหลอดเลือดดำ 8.3 หลกั การและวธิ ีการใหเ ลือดและสวนประกอบของเลอื ด 8.4 การปองกันภาวะแทรกซอนจากการใหเ ลือดและสวนประกอบของเลอื ด 8.5 บทสรุป 8.6 คำถามทายบท 8.7 เอกสารอา งอิง 23
บทท่ี 9 หลักการและเทคนิคการพยาบาลพ้ืนฐานในการทำแผล 2 ชั่วโมง 9.1 ประเภทของแผล 9.2 กระบวนการหายของแผล 9.3 หลกั การและวิธีการทำแผล การตดั ไหม 9.4 บทสรุป 9.5 คำถามทายบท 9.6 เอกสารอา งอิง บทท่ี 10 หลักการและเทคนิคการพยาบาลพนื้ ฐานในการใหอาหารทางสายยางให 2 ชว่ั โมง อาหาร 10.1 ความผดิ ปกติของการรับประทานอาหารทพี่ บบอย 10.2 กระบวนการพยาบาลผปู วยท่มี คี วามผดิ ปกติของการรบั ประทาน อาหาร 10.3 หลกั การและวิธีการการใสสายยางใหอ าหารทางจมูก 10.4 หลักการและวิธกี ารใหอาหารทางสายยางใหอาหาร 10.5 การปองกนั ภาวะแทรกซอนจากการคาสายยางใหอาหารและการให อาหารทางสายยางใหอาหาร 10.6 บทสรุป 10.7 คำถามทายบท 10.8 เอกสารอางอิง บทที่ 11 หลกั การและเทคนิคการพยาบาลพืน้ ฐานในการสวนอจุ จาระและการ 2 ชัว่ โมง สวนปส สาวะ 11.1 ความผิดปกตขิ องการขบั ถายอุจจาระ 11.2 หลกั การและวิธีการสวนอุจจาระ 11.3 ความผดิ ปกตขิ องการขบั ถา ยปส สาวะ 11.4 หลักการและวธิ ีการสวนปสสาวะ 11.5 หลกั การและเทคนคิ การการบันทกึ ปริมาณน้ำเขา-ออก 11.6 บทสรุป 11.7 คำถามทา ยบท 24
11.8 เอกสารอางอิง บทที่ 12 หลักการและเทคนิคการพยาบาลพ้ืนฐานในการบำบดั ดว ยออกซเิ จน 1 ชั่วโมง 12.1 ความรูเบือ้ งตน ภาวะพรองออกซเิ จน 12.2 หลกั การและเทคนคิ การบำบัดออกซิเจน 12.3 การพยาบาลผูปว ยท่ีไดรบั การบำบดั ดวยออกซเิ จน 12.4 บทสรุป 12.5 คำถามทา ยบท 12.6 เอกสารอางอิง บทท่ี 13 หลักการและเทคนิคการพยาบาลพนื้ ฐานในการดูดเสมหะ 1 ชั่วโมง 13.1 ความรเู บ้ืองตนเกีย่ วกับภาวะเสมหะคั่งคาง 13.2 การพยาบาลผปู ว ยที่ไดรบั การดดู เสมหะทางทอหลอดลมคอ 13.3 หลกั การและวธิ ีการดูดเสมหะทางทอ หลอดลมคอ 13.4 บทสรุป 13.5 คำถามทา ยบท 13.6 เอกสารอางอิง บทที่ 14 หลกั การและเทคนิคการพยาบาลพนื้ ฐานในการเก็บสงิ่ สงตรวจ 1 ชั่วโมง 14.1 หลักการเกบ็ สง่ิ สงตรวจ 14.2 วธิ กี ารเกบ็ สิ่งสงตรวจ 14.3 บทสรุป 14.4 คำถามทายบท 14.5 เอกสารอางอิง บทท่ี 15 หลกั การและเทคนิคการพยาบาลพน้ื ฐานในการพยาบาลผปู วยระยะ 1 ช่ัวโมง สดุ ทายของชีวติ 15.1 ความรเู บ้อื งตนเกี่ยวกับผปู วยระยะสดุ ทาย 15.2 หลักการพยาบาลแบบประคับประคองและการดูแลระยะสดุ ทายของ ชีวติ 15.3 หลักการพยาบาลและวิธีปฎิบตั เิ มือ่ ผูปว ยท่ีถึงแกกรรม 25
15.4 บทสรุป 15.5 คำถามทา ยบท 15.6 เอกสารอางอิง รวมภาคทฤษฏี 30 ชวั่ โมง ภาคทดลอง 2 ชัว่ โมง บทท่ี 1 วิธปี ฎบิ ัติการพยาบาลพน้ื ฐานในการปอ งกันและควบคุมการแพรกระจาย เชอ้ื 1.1 วิธกี ารลา งมอื (Hand washing) 1.2 วธิ ีการใสถงุ มือปราศจากเชอื้ (Sterile Gloves) 1.3 วิธกี ารเปด หอ ของปลอดเชื้อและการหยิบจบั ของปลอดเช้ือ 1.4 วิธกี ารสวมและถอดเสื้อกาวนปลอดเชอื้ (sterile gown) 1.5 บทสรุป 1.6 แบบประเมินทักษะปฏิบัติการพยาบาลพนื้ ฐาน 1.7 เอกสารอา งองิ บทท่ี 2 วิธีปฎิบตั ิการพยาบาลพน้ื ฐานในการวดั และประเมนิ สญั ญาณชพี 2 ชั่วโมง 2.1 วิธีการวัดอุณหภมู ิรา งกาย (Temperature measurement) 2.2 วิธกี ารวัดชพี จร (pulse measurement) 2.3 วิธกี ารวัดอัตราการหายใจ (Respiratory measurement) 2.4 วิธกี ารวดั ความดันโลหิต (Blood pressure measurement) 2.5 บทสรุป 2.6 แบบประเมินทกั ษะปฏบิ ตั ิการพยาบาลพืน้ ฐาน 2.7 เอกสารอางองิ บทท่ี 3 วิธีปฎบิ ัติการพยาบาลพ้นื ฐานในการดูแลสุขวิทยาสวนบุคคล 2 ชั่วโมง 3.1 วธิ ีปฏบิ ตั ิการอาบน้ำผูปวยบนเตียงแบบสมบูรณ 3.2 วธิ ีปฏิบัติการนวดหลงั 3.3 วิธีปฏบิ ตั กิ ารทำความสะอาดอวัยวะสบื พนั ธภุ ายนอก 3.4 วธิ ปี ฏบิ ตั ิการสระผมบนเตียง 26
3.5 วธิ ีปฏบิ ตั ิการเช็ดตวั ลดไข 3.6 บทสรปุ 3.7 แบบประเมินทักษะปฏบิ ัติการพยาบาลพืน้ ฐาน 3.8 เอกสารอา งอิง บทที่ 4 วธิ ปี ฎบิ ตั ิการพยาบาลพนื้ ฐานในการทำความสะอาดเตยี งผูปว ย 2 ช่ัวโมง 4.1 วธิ ีการทำเตียงวา ง (empty bed) 4.2 วิธีการทำเตยี งท่ีมผี ปู วย (Occupied bed) 4.3 วธิ ีการทำเตียงผปู วยหลังจากการผา ตัด (Anesthetic bed) 4.4 บทสรปุ 4.5 แบบประเมนิ ทกั ษะปฏิบตั ิการพยาบาลพื้นฐาน 4.6 เอกสารอา งองิ บทที่ 5 วธิ ีปฎบิ ตั ิการพยาบาลพ้ืนฐานในการจัดทา และเคลือ่ นยา ยผูปว ย 2 ชวั่ โมง 5.1 วธิ ีการจัดทานอนผูป วย 5.2 วิธีการเคลอ่ื นยายผูปวย 5.3 บทสรุป 5.4 แบบประเมินทกั ษะปฏิบัติการพยาบาลพ้ืนฐาน 5.5 เอกสารอา งองิ บทที่ 6 วิธปี ฎิบตั ิการพยาบาลพน้ื ฐานในการบริหารยาทางปาก ทางตาและทางหู 2 ชว่ั โมง 6.1 วธิ ีการบริหารยาทางปาก 6.2 วิธีการบริหารยาทางตา 6.3 วธิ ีการบริหารยาทางหู 6.4 บทสรปุ 6.5 แบบประเมินทักษะปฏบิ ตั ิการพยาบาลพน้ื ฐาน 6.6 เอกสารอา งองิ 27
บทที่ 7 วธิ ปี ฎิบัติการพยาบาลพน้ื ฐานในการฉดี ยาเขา ชัน้ ผิวหนัง ชัน้ ใตผ ิวหนงั 2 ชว่ั โมง และชน้ั กลามเนอื้ 7.1 วธิ ีการยาฉีดเขา ชัน้ ผวิ หนงั (intradermal injection) 7.2 วธิ ีการฉีดยาเขาใตผ ิวหนัง (subcutaneous injection) 7.3 วธิ ีการฉีดยาเขา ชั้นกลา มเนอ้ื (intramuscular injection) 7.4 บทสรุป 7.5 แบบประเมินทกั ษะปฏบิ ัติการพยาบาลพน้ื ฐาน 7.6 เอกสารอางอิง บทที่ 8 วิธปี ฎิบัติการพยาบาลพื้นฐานในการบริหารยาฉดี ยาเขา หลอดเลือดดำ 2 ชว่ั โมง 8.1 วธิ ีการฉดี ยาเขา หลอดเลอื ดดำในระยะสัน้ (intravenous injection push) 8.2 วธิ ีการฉดี ยาเขา หลอดเลือดดำแบบหยด (intravenous injection drip) 8.3 บทสรุป 8.4 แบบประเมนิ ทักษะปฏบิ ัติการพยาบาลพ้ืนฐาน 8.5 เอกสารอางองิ บทท่ี 9 วิธปี ฎบิ ัติการพยาบาลพืน้ ฐานในการบริหารยาพน 2 ชว่ั โมง 9.1 วิธีการบรหิ ารยาพน 9.2 บทสรปุ 9.3 แบบประเมินทักษะปฏบิ ตั ิการพยาบาลพืน้ ฐาน 9.4 เอกสารอา งองิ บทที่ 10 วิธปี ฎิบัตกิ ารพยาบาลพืน้ ฐานในการใหสารน้ำทางหลอดเลือดดำ 2 ชั่วโมง 10.1 วิธกี ารใหสารนำ้ ทางหลอดเลือดดำ 10.2 บทสรปุ 10.3 แบบประเมินทักษะปฏิบตั กิ ารพยาบาลพื้นฐาน 10.4 เอกสารอางอิง 28
บทท่ี 11 วธิ ปี ฎิบัติการพยาบาลพื้นฐานในการทำแผล 2 ชั่วโมง 11.1 วิธีการทำแผลแบบ Dry dressing 2 ชว่ั โมง 11.2 วธิ กี ารทำแผลแบบ Wet dressing 2 ชัว่ โมง 11.3 บทสรุป 2 ชั่วโมง 11.4 แบบประเมนิ ทักษะปฏิบัตกิ ารพยาบาลพื้นฐาน 11.5 เอกสารอางอิง บทท่ี 12 วธิ ีปฎบิ ตั กิ ารพยาบาลพืน้ ฐานในการใหอ าหารทางสายยางใหอาหาร 12.1 วิธกี ารการใสสายยางใหอาหารทางจมูก 12.2 วธิ ีการใหอาหารทางสายยางใหอาหาร 12.3 บทสรุป 12.4 แบบประเมนิ ทักษะปฏบิ ตั ิการพยาบาลพ้นื ฐาน 12.5 เอกสารอางอิง บทท่ี 13 วิธปี ฎิบตั กิ ารพยาบาลพืน้ ฐานในการสวนปส สาวะเปน ครงั้ คราว 13.1 วธิ ีการสวนปสสาวะแบบเปน ปสสาวะเปนครง้ั คราว (intermittent catheter) 13.2 บทสรุป 13.3 แบบประเมินทกั ษะปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลพนื้ ฐาน 13.4 เอกสารอางอิง บทท่ี 14 วธิ ีปฎิบัติการพยาบาลพนื้ ฐานในการใหอ อกซเิ จน 14.1 วิธีการใหออกซิเจนดว ย Nasal cannula 14.2 วิธีการใหออกซเิ จนดว ย Mask with bag 14.3 วิธกี ารใหอ อกซเิ จนดว ย Collar mask 14.4 บทสรุป 14.5 แบบประเมนิ ทกั ษะปฏิบตั ิการพยาบาลพ้ืนฐาน 14.6 เอกสารอางอิง 29
บทที่ 15 วธิ ีปฎบิ ัติการพยาบาลพืน้ ฐานในการดดู เสมหะทางทอหลอดลมคอ 2 ชั่วโมง 15.1 วธิ ีการดูดเสมหะทางทอ หลอดลมคอ 15.2 บทสรุป 15.3 แบบประเมินทักษะปฏบิ ัติการพยาบาลพนื้ ฐาน 15.4 เอกสารอางอิง รวมภาคทดลอง 30 ชวั่ โมง การวัดและการประเมินผล 1. การวัดผล ตารางท่ี 1.1 แผนการประเมินผลการจดั การเรยี นรูภาคทฤษฎี งานกิจกรรม/ แบบประเมนิ ผลลัพธการเรยี นรู % LO3 LO4 LO6 LO1 LO2 -- LO5 - 1.25 - สังเกตพฤตกิ รรม แบบประเมินพฤติกรรม 1.25 - -- - - 1.25 ภาคทฤษฎี ภาคทฤษฎี 30 3 2 - 37.5 รายงานการสะทอน แบบประเมินรายงานการ 1.25 - -- - - 24 -- - - 36 คดิ ดานคณุ ธรรม สะทอนคิดดา นคณุ ธรรม 30 3 2 - 100 จรยิ ธรรม จริยธรรม % LO6 สอบ OSCE รวบ แบบประเมินกรณศี กึ ษา 2.5 - - 2.5 ยอดตามโจทยใ น สถานการณจ ำลอง สอบกลางภาค ขอสอบปรนัย - 24 สอบปลายภาค ขอสอบปรนยั - 36 รวม 5 60 ตารางท่ี 1.2 แผนการประเมินผลการจัดการเรยี นรูภาคทดลอง งานกจิ กรรม/ แบบประเมิน ผลลพั ธการเรียนรู LO3 LO4 LO1 LO2 -- LO5 - สงั เกตพฤตกิ รรม แบบประเมินพฤติกรรม 2.5 - ภาคทดลอง ภาคทดลอง 30
สอบ objective ขอสอบ OSCE - 60 15 - - - 75 - 22.5 structured - 100 clinical examination สอบ OSCE รวบ ปฏิบัติการพยาบาลตาม 2.5 - 15 3 2 ยอดตามโจทยใ น แผนการพในสถานการณ สถานการณจ ำลอง จำลอง รวม 5 60 30 3 2 2. การประเมินผล ตารางท่ี 1.3 เกณฑก ารประเมินผลการเรียนดว ยระบบ ระดบั ความหมายของผลการเรียน คาระดับคะแนน ชว งคะแนน A ยอดเยย่ี ม (Excellent) 4.00 80-100 B+ ดมี าก (Very Good) 3.50 75-79 B ดี (Good) 3.00 70-74 C+ ดพี อใช (Fairly Good) 2.50 65-69 C พอใช (Average) 2.00 60-64 D+ ออน (Poor) 1.50 55-59 D ออ นมาก (Very Poor) 1.00 50-54 E ตก (Fail) 0.00 0-49 การประเมินและปรับปรงุ การดำเนนิ การของรายวิชา 1. กลยุทธการประเมนิ ประสทิ ธผิ ลของรายวิชาโดยนักศกึ ษา 1.1 ประเมินการสอนของอาจารยผสู อนรายบคุ คลผานระบบการประเมนิ ของมหาวทิ ยาลั 1.2 การประเมินผลการจดั การเรยี นการสอนรายวิชา 1.3 ผูเรียนประเมินตนเองในแตละคาบเกี่ยวกับการบรรลุผลสัมฤทธิ์การเรียนรูตามที่ รายวิชากำหนด 1.4 การสนทนากลุมยอยระหวางผูสอนและสัมภาษณผูเรียนในประเด็นตางๆ เชน ประสิทธิผลของวิธีการ เรียนการสอน ผลสัมฤทธิ์การเรียนรู ทรัพยากร และสิ่งสนับสนุนการเรียนรู เปนตน 31
2. กลยุทธการประเมนิ การสอน 2.1 พจิ ารณาจากผลการผลการสอบกลางภาค การสอบปลายภาค การสอบ OSCE การสอบ รวบยอดตามโจทยสถานการณของนักศึกษาประกอบกับผลการประเมินการสอนจากนักศกึ ษา 2.2 พิจารณาผลการประเมินอาจารยผูสอนโดยอาจารยผูรวมสอน อาจารยผูรับผิดชอบ หลกั สตู รและผบู งั คับบัญชา 2.3 การทวนสอบผลการเรียนรโู ดยคณะกรรมการทวนสอบเพ่อื ประเมนิ ผลการเรียนการสอน 3. การปรับปรุงการสอน 3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน ปรับปรุงการสอนโดยใชผลการประเมินประสิทธิภาพ การสอนรายวิชา 3.2 นำผลการสัมมนาการจัดการเรียนการสอนมาปรับปรุงคูมือ หนังสือหรือตำราการ พยาบาลพน้ื ฐานและการพฒั นาส่อื การเรยี นการสอน 4. การทวนสอบมาตรฐานผลสมั ฤทธิ์ของนักศกึ ษาในรายวิชา 4.1 ทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธ์ิของนกั ศึกษาโดยระบบคณะกรรมการบริหารหลกั สูตร 4.2 การดำเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรงุ ประสทิ ธิผลของรายวชิ า 4.3 ปรับปรุงระบบการเรียนการสอน การวัดและการประเมินผลจากผลการประเมินของ นักศกึ ษา ผลการทวนสอบมาตรฐานผลสมั ฤทธิ์รายวิชาและผลจากการสมั มนาอาจารยผูสอน 32
สวนที่ 1 การพยาบาลพ้นื ฐาน ภาคทฤษฎี 33
แผนบริหารการสอนประจำบทท่ี 1 แนวคดิ และหลักการพยาบาลพื้นฐาน หัวขอเน้อื หาประจำบท 1. ภาวะสุขภาพ ความเจบ็ ปวยและการพยาบาล 2. บทบาทพยาบาลและทมี สขุ ภาพ 3. สทิ ธผิ ูปวยและจรรยาบรรณวิชาชพี 4. หลักการพยาบาลแบบองคร วม 5. หลกั การพยาบาลบนพนื้ ฐานความปลอดภยั ของผูปว ย จำนวนชั่วโมงท่ีสอน: ภาคทฤษฎี 2 ชัว่ โมง วัตถุประสงคเ ชิงพฤติกรรม 1. อธบิ ายความหมายของภาวะสขุ ภาพและความเจบ็ ปว ย 2. ระบกุ ารพยาบาลตามบทบาทอสิ ระและบทบาทในทีมสหสาขาวิชาชีพ 3. วางแผนการพยาบาลโดยใชห ลักการพยาบาลแบบองคร วมบนพ้ืนฐานความปลอดภัยของ ผปู ว ย วิธสี อนและกิจกรรมการเรียนการสอน 1. วธิ สี อน 1.1 บรรยายแบบมีสว นรวม 1.2 อภิปรายกลุม ยอย 1.3 ยกตวั อยา งกรณศี กึ ษาเพอื่ การอภิปราย 2. กิจกรรมการเรียนการสอน 2.1 บรรยายเรื่องการเจ็บปวยแบบเรื้อรังและแบบเฉียบพลัน บทบาทและความรับผิดชอบ ของพยาบาล บทบาทอิสระและบทบาทในทีมสหสาขาวิชาชีพ หลักการพยาบาลที่คำนึงถึงหลักการ พยาบาลแบบองครวม (Holistic care) ผเู รยี นรว มอภปิ รายและยกตัวอยางในแตละหวั ขอ 2.2 บรรยายการวางแผนการพยาบาลโดยใชหลักการพยาบาลแบบองครวมบนพื้นฐาน ความปลอดภยั ของผูปวย ยกตัวอยา งกรณีศึกษาและใหผูเรียนรว มกนั วางแผนการพยาบาล 34
2.3 สรุปการเรียนรูและใหผูเรียนเลมเกมสตอบคำถามแบบฝกหัดทายบทดวยโปรแกรม สำเร็จรปู สมารทโฟน สื่อการเรยี นการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน 2. โปรแกรมสำเร็จรูป Power Point Presentation 3. โปรแกรมสำเรจ็ รูป Quizziz.com การวดั ผลและประเมนิ ผล 1. การเขา ชัน้ เรยี นรวมกบั การสงั เกตพฤตกิ รรมการเรียน 2. การสงั เกตการมสี ว นรว มในอภิปรายและตอบคำถาม 3. การทำแบบฝกหัดทา ยบท 4. การสอบกลางภาค 35
บทที่ 1 แนวคดิ และหลักการพยาบาลพื้นฐาน การพยาบาล เปนการดูแลชวยเหลือบุคคลใหมีภาวะสุขภาพที่ดี ปลอดภัยจากความ เจ็บปวย ความเขาใจเกี่ยวกับความเจ็บปวยและบทบาทของพยาบาล ตลอดจนเขาใจถึงความสำคัญ ของสทิ ธผิ ปู ว ย และจรรยาบรรณวิชาชพี เพื่อชวยใหเ กิดความปลอดภัยสูงสุดแกผ ูปว ยตอไป 1.1 ภาวะสุขภาพและความเจบ็ ปวย ความหมายของสุขภาพ ไดมีผูใหความหมายไวเปนจำนวนมาก ในบทนี้จะขอยกตัวอยาง ความหมายของคำวา สขุ ภาพ ไวพอ สงั เขป ดงั นี้ องคการอนามัยโลก ใหความหมายของสุขภาพไววา “ สุขภาพ หมายถึง ภาวะแหงความ สมบรู ณข องรางกาย จิตใจ การอยใู นสงั คมอยา งปกติสุข” (World Health Organization, 1974 อา ง ใน สปุ ราณี เสนาดสิ ยั , 2558 ) พระราชบัญญตั สิ ุขภาพแหง ชาติ พ.ศ. 2550 กลา ววา “ สุขภาพ หมายถึง ภาวะของมนุษย ท่ีสมบูรณทงั้ ทางกาย ทาง จิต ทางปญ ญา และทางสงั คม เชื่อมโยงการเปน องคร วมอยางสมดลุ ” (ราช กิจจานุเบกษา, 2550 อางใน สุปราณี เสนาดสิ ยั , 2558) สุปราณี เสนาดิสัย กลาววา “สุขภาพองครวม หมายถึง การมีรางกายแข็งแรง สมบูรณ ไม เจ็บปว ยงาย ถาเจ็บปวยก็ ไดร ับการดูแลอยางดี ไมเ สยี ชวี ิตกอนวัยอันควร มจี ิตใจรื่นเริง ผอ งใส สบาย สะอาด สงบ ไมทุกข ไมทุรทุราย วุนวาย มีชีวิต ความเปนความเปนอยูในสังคมเปนอยางดี อยูใน ครอบครัวทอ่ี บอนุ และมีชุมชนท่ีเขม แขง็ ” (สุปราณี เสนาดิสยั , 2558) ดงั น้ันจงึ สรปุ วา สขุ ภาพ หมายถงึ การท่บี ุคคลมีรางกายท่ีสมบรู ณ แขง็ แรง มีจิตใจที่เขมแข็ง สามารถใชชีวติ อยู ไดเ ปน อยางดใี นครอบครัว ในสังคม แตเ มอื่ มกี ารเจบ็ ปว ยก็ไดร ับจากดูแลเปนอยาง ดจี นคงไวซ่ึงความสมบูรณแขง็ แรงดังเดมิ ความเจ็บปวย หมายถึง การมีความเบี่ยงเบนของภาวะสุขภาพทั้งทางดานรางกาย จิตใจ ครอบครัว สังคม ทำใหบุคคลไมมีความสุข ไมสามารถดูแลตนเองได ไมสามารถดำรงไวซึ่งภาวะ สุขภาพที่ดีได ความเจ็บปวยเปนภาวะสวนบุคคลที่ผูอื่นไมสามารถบอกแทนได ความเจ็บปวยไมได หมายความถงึ การเปน โรค เนอื่ งจากความหมายของโรค หมายถงึ การเปลย่ี นแปลงหนาท่ขี องรางกาย 36
เปนผลใหความสามารถและการทำงานของอวัยวะตางๆ ลดลง หรือการเกิดโรคสงผลใหชวงชีวิตของ บุคคลมีระยะเวลาสั้นลง จึงกลาวไดวา โรคทำใหเกิดความเจ็บปวยขึ้นกับบุคคล (สุปราณี เสนาดิสัย, 2558) 1.1.1 ประเภทของความเจ็บปวย การเจ็บปวยสามารถแบงไดเปน 2 ประเภท ดังนี้ 1) ความเจ็บปวยเฉียบพลัน (Acute illness) เปนภาวะที่มีอาการเจ็บปวยเกิดขึ้น ภายในระยะเวลาอนั ส้นั อาการจะเกิดข้ึนทนั ทีทันใดและหายไปอยางรวดเรว็ ซึ่งมที ัง้ การเจ็บปวยแบบ ที่ไมรุนแรง เชน หวัด ทองเสีย หรืออาจเปนชนิด รุนแรงตองไดรบั การรกั ษาดว ยยาปฏิชีวนะหรือการ ผาตดั เมื่อไดรับการรกั ษาจนหายจากความเจบ็ ปว ยแลว บคุ คล จะกลับเขาสภู าวะปกตไิ ด 2) ความเจ็บปวยเรื้อรัง (Chronic illness) เปนภาวะที่การเจ็บปวยเกิดขึ้นเปน ระยะเวลายาวนานตั้งแต 6 เดอื นข้ึนไป ความเจบ็ ปวยเร้ือรงั มักเกิดข้นึ ชา ๆ มชี ว งท่ีโรครุนแรง กำเริบ ชวงที่อาการทุเลาลงหรือหายไป สลับไปมา การพยาบาลที่สำคัญในการดูแลผูปวยที่มีภาวะเจ็บปวย เร้อื รัง ควรเปน การปรับการดำเนนิ ชวี ิตใหสอดคลอ งกบั สภาวะ ความเจบ็ ปว ย 1.1.2 ระยะของความเจ็บปวย ระยะท่ี 1 ระยะทมี่ อี าการเกิดข้นึ บคุ คลเรม่ิ รบั รูถงึ ความผดิ ปกตทิ ี่เกดิ ขึน้ ในรางกาย อาการ น้ันอาจชดั เจนหรอื ไมกไ็ ด หากอาการยังคงดำเนนิ ตอไปเรือ่ ยๆ หรือคอ ยๆ แยล งก็จะเขาสูร ะยะตอไป ระยะที่ 2 ระยะยอมรับในบทบาทการเปน ผูปว ย ระยะนี้ผูปว ยคิดวาตนเองปวยและแสวงหา ขอมูลเพื่อยืนยันวาเคยมี ใครมีอาการเชนเดียวกับตนเองบาง บุคคลอาจเลือกวิธีการดูแลสุขภาพตาม ความเชอื่ ของตน เชน ใชย าสมุนไพร ซือ้ ยามา รบั ประทานหรอื ไปพบแพทย ระยะท่ี 3 การยอมรบั ในบทบาทการพ่ึงพาคนอนื่ ระยะนีบ้ คุ คลจะยอมรบั การวินิจฉยั โรคและ ใหความรวมมือในการ รักษา บุคคลตองการความชวยเหลือและกำลังใจ ผูปวยอาจตองเขารับการ รักษาในโรงพยาบาล หรือหากผปู ว ยหรือครอบครัว สามารถจดั การการเจ็บปวยได ผปู ว ยนั้นกจ็ ะไดร ับ การดแู ลทบ่ี าน ระยะที่ 4 ระยะการฟนตัวและกลับคืนสูสภาพปกติ ระยะนี้การพึ่งพาบุคคลอื่นจะหายไป สามารถรับผิดชอบตนเอง ได บุคคลที่ไดรับการดูแล การใหสุขศึกษาที่ดี จะสามารถกลับสูภาวะปกติ ได แตหากเปนการเจ็บปวยแบบเรื้อรงั ระยะการฟน หายจะถกู แทนท่ีดวย การปรับตัวท่ีเหมาะสมกับ ขอจำกดั ทางสุขภาพ 37
1.1.3 ผลกระทบของความเจบ็ ปว ย 1) ผลกระทบตอตัวผูปวย ผูปวยจะประสบกับการเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรม อารมณ การเปลี่ยนแปลงทางดานภาพลักษณ ที่มีผลตอวิถีชีวิต โดยผูปวยอาจมีการแสดงอารมณหรือ พฤติกรรมที่แตกตางไปจากเดิม ทั้งนี้การแสดงออกของบุคคลอาจแตกตา งกัน ขึ้นอยูกับ ลักษณะของ ความเจ็บปวย ความรนุ แรงของการเจบ็ ปว ยและธรรมชาติของการเจบ็ ปว ย โดยเฉพาะการเจ็บปวยท่ีมี ความ รุนแรงอาจจะทำใหผ ูปวยมีอารมณในขณะเจ็บปวย ซึง่ ประกอบไปดวย (1) ความวิตกกังวล (anxiety) เปนความรูสึกที่ไมแนนอน ความกลัวความเจ็บปวย ที่มาคุกคาม คาใชจายในการรักษา กลัวการตองออกจากงาน ซึ่งพฤติกรรมที่แสดงออกอาจแตกตาง กันไป (2) ความกลัว (fear) อาจกลัวรางกายไมกลับมาเปนปกติ กลัวความตาย บางคร้ัง อาจเปนความตกใจ (shock) ซึ่งเปนการ ตอบสนองดวยอารมณที่รุนแรง มักเกิดในผูปวยที่ไดรับการ วินิจฉยั โรคที่รุนแรง (3) มีพฤติกรรมถดถอยตองการความสนใจ ความเอาใจใสม ากขึ้น เมื่อไมไดรบั ความ สนใจอาจแสดงอาการหงุดหงดิ พาลหาเรื่องได ซงึ่ อาจแสดงออกในหลายลักษณะ ไดแก - ปฏิเสธ (denial) เปนการปฏิเสธความเจ็บปวยที่เกิดขึ้น การไมยอมรับความ จริง ซึ่งการไมยอมรับความจริงในระยะ สั้นอาจเปนการจัดการความเจ็บปวยได แตหากเกิดขึ้นใน ระยะยาวอาจสง ผลเสียได - โกรธ (angry) ผูปวยอาจแสดงความโกรธผูอื่น เชน บุคคลในครอบครัว บุคลากรทางการแพทย เก็บตัว (withdrawal) การปฏิเสธที่จะมีปฏิสัมพันธกับบุคคลอื่น ซึ่งการเก็บ ตวั นอ้ี าจเปนอาการแสดงเรม่ิ ตนของภาวะ ซมึ เศรา ได - จูจี้ จกุ จิกมากเกินกวาปกติ ทัง้ ท่ไี มเคยเปน มากอน - คิดกับความเจ็บปวยของตนเองตลอดเวลา ตอ งการใหผอู น่ื พูดเก่ียวกับเรื่องของ ตนเอง ไมค อ ยฟง เร่อื งความ เจบ็ ปวยของผูอ ่นื - ความสนใจสิ่งแวดลอมรอบขางลดลง สนใจเร่อื งของตนเองมากขึ้น บางคนอาจ สนใจทำเรือ่ งทตี่ นไมเ คยสนใจทำมากอ น 38
- เจตคติเปลี่ยนแปลงไป จากคนที่เคยทำอะไรดวยตนเองได กลายเปนคนท่ี ตองการการเอาใจใสอยางใกลชิด ผูปวย ที่นอนโรงพยาบาลอาจแสดงออกโดยการเรียกพยาบาลบอย ๆ เรยี กรอ งความสนใจจากญาติมากข้นึ 2) ผลกระทบตอครอบครัว การเจ็บปวยที่เกิดขึ้นสงผลกระทบตอครอบครัวของผูปวย เนื่องมาจากการเปนสมาชิกในครอบครัวของผูปวยเมื่อเกิดความเจ็บปวยบทบาทในครอบครัวอาจมี การเปลี่ยนแปลงไป โดยเฉพาะผูท ีเ่ ปนหัวหนา ครอบครัวทีม่ ีหนา ท่ีในการหารายไดห ลักของครอบครวั ทง้ั นผี้ ลกระทบทีเ่ กิดข้ึนกับครอบครวั มีความเกีย่ วเน่ืองกบั การเจ็บปวยท่ีมคี วามรุนแรง หรือระยะเวลา ในการเจบ็ ปวยที่ยาวนาน 1.2 การพยาบาล บทบาทพยาบาลและทีมสุขภาพ 1.2.1 ขอบเขตหนาทขี่ องพยาบาล ขอบเขตหนาที่ของพยาบาลในการปฏิบัติการพยาบาล (ถนอมขวัญ ทวีบูรณ ,2553) พยาบาลสามารถทำกิจกรรมในการปฏิบัติการพยาบาลและสามารถตัดสินใจในการปฏิบัติการ พยาบาลไดดวยตนเอง รวมทั้งการปฏิบัติการพยาบาลตามแผนการรักษาของแพทย ดังนั้น จึงแบง ลกั ษณะการปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลได 2 ลักษณะ คือ 1) การปฏบิ ตั ิการพยาบาลโดยอิสระ (Independent nursing) พยาบาลสามารถใช ความรู ความสามารถ ศาสตรทางการพยาบาลและใหการพยาบาล ผูใชบริการไดอยางอิสระ โดยไมตองมีคำสั่งการรักษา จึงเปนบทบาทอิสระของพยาบาล (Independent role) เชน การพลกิ ตะแคงตัวผปู ว ยทไี่ มสามารถชวยเหลอื ตนเองได การเชด็ ตัวลดไข การสังเกตอาการเปล่ียนแปลงของผูป วย การบนั ทกึ อาการผปู วยและการติดตามประเมนิ สญั ญาณชีพ เมอื่ มกี ารเปลีย่ นแปลง ใหคำปรกึ ษาสุขภาพ แนะนำ รวมวางแผนการดูแลตนเองของผูปว ย 2) การปฏิบัติการพยาบาลไมอิสระ (Dependent nursing) พยาบาลตองปฏิบัติการ พยาบาลรว มกับวชิ าชีพอ่นื หรือแพทยผรู ักษา เพ่ือใหผใู ชบ ริการ ไดร บั การดแู ลรักษาอยางถูกตองและ ปลอดภัย เชน การใหยา และการรักษาดวยวิธีการตางๆ จึงเปนบทบาทไมอิสระของพยาบาล (Independent role) เชน การใหสารน้ำทางหลอดเลือดดำ การเตรียมผาตัด การเตรียมผูปวยเพื่อ การตรวจพิเศษตางๆ พยาบาลจะตองปฏิบัติการพยาบาลโดยใชความรูทางวิทยาศาสตรรูเหตุ รูผล ของการกระทำผสมผสานกับศิลปะแหง วิชาชีพ เพื่อใหการพยาบาลไดอยางอิสระหรือการพยาบาลท่ี 39
ไมอิสระ ตามขอบเขตของวิชาชีพการพยาบาล จากงานวิจัยและความคิดเห็นของผูรูจะเห็นวา คุณลักษณะที่สำคัญของพยาบาลที่ผูรับบริการตองการคือพยาบาลตองมีจรรยาบรรณในวิชาชีพ ซ่ึง ไดแก ความรับผิดชอบ การเคารพสิทธิของบุคคลซึ่งจะทำใหพยาบาลปฏิบัติหนาที่ดวยความรู ความสามารถ ความเขา ใจและไมละเมิดสิทธิของอื่น มคี วามเคารพในคุณคาและศักดิศ์ รีของความเปน ของบุคคล 1.2.2 หนาท่ีและความรับผดิ ชอบของพยาบาล พยาบาลมีความรับผดิ ชอบและบทบาทหนาทท่ี ีแ่ ตกตางกนั ไปตามลักษณะของงานทป่ี ฏิบัติใน สถานพยาบาล แตโดยภาพรวมแลว พยาบาลมีบทบาทหนาทห่ี ลักดงั ตอ ไปนี้ 1) การบรรเทาอาการหรือการพยาบาลแบบประคับประคอง (alleviative or palliative) เปนการปฏิบตั ิการพยาบาลเพื่อใหผูปว ยบรรเทาหรือปราศจากความทุกขทรมาน ท้ังดาน รางกาย และจิตใจ ใหผูปวยมีความสุขสบาย สามารถ ดำรงชีวิตประจำวันไดตามปกติหรือใกลเคียง ปกติ ซึ่งเปนบทบาทอิสระของพยาบาลที่สามารถใหการพยาบาลไดโดย ไมตองมีคำสั่งการรักษาของ แพทย เชน การดูแลความสุขสบาย ความสะอาดรางกาย การปองกันแผลกดทับ การจัด ทาที่สุข สบาย การดแู ลสิ่งแวดลอม การดแู ลดา นจติ ใจ อารมณ 2) การส รางเ ส ริ มส ุ ขภ า พแ ล ะ กา ร ฟ น ฟ ูส ภ า พ (health promotion and rehabilitation) เปนการปฏิบัติการพยาบาลเพื่อ เสริมสรางสุขภาพที่ดีใหกับประชาชน เชน การให ความรู การเปนที่ปรึกษาเพื่อใหประชาชนสุขภาพที่ดี การพักผอน ที่เหมาะสม การออกกำลังกาย รวมถึงการใหค ำแนะนำการปฏบิ ัติตัวเพื่อการฟน ฟูภายหลังการผาตดั เพือ่ ชวยให ผูปวยมีการฟนตัวที่ ดี 3) การปองกันโรค (prevention) เปนการปฏิบัติการพยาบาล การใหสุขศึกษาที่มุง เนน การปอ งกนั การเกดิ โรคใน ประชาชนท่มี สี ุขภาพดี กลุม ทมี่ ีความเสย่ี งตอการเกิดโรคตาง ๆ 4) การรักษาพยาบาล (curative) เปนการปฏิบัติการพยาบาลตามแผนการรักษาของ แพทย ซึ่งเปนบทบาทไมอิสระ พยาบาลตองดูแลใหผูปวยไดรับการรักษาอยางถูกตองตามแผนการ รักษาของแพทย 40
1.2.3 บทบาทของพยาบาล การปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลเพื่อใหเกิดความสอดคลองกบั ความตองการของผูปวย ผูท่ีมีสุขภาพดี ครอบครัว ชุมชน พยาบาลตอ งสวมบทบาทตา ง ๆ ดังน้ี 1) ผูใหการดูแล (care provider) เปนการดูแลชวยเหลือใหเกิดความสุขสบาย การ ชวยเหลือกิจวัตรประจำวัน รวมทั้งการปฏิบัติหนาที่รวมกับทีมสุขภาพอื่น ๆ ตามแผนการรักษาของ แพทย 2) ผูติดตอสื่อสาร (communicator) เปนผูทำความเขาใจและแลกเปลี่ยนขอมูลของ ผปู วยกบั ครอบครัว 3) ผสู อน (teacher) เปนผใู หความรทู ่ถี กู ตองใหป ระชาชนสามารถดูแลสขุ ภาพตนเองได 4) ผูใ หค ำปรึกษา (counselor) กับผูปวยแตละรายทีม่ ปี ญ หาสขุ ภาพทแ่ี ตกตางกัน 5) ผูพิทักษสิทธิผูปวย (advocator) การปกปองและพิทักษสิทธิของผูปวยนั้นเปนสิ่งที่ สำคัญในระบบสุขภาพ เนื่องจากผูใหบริการทางสุขภาพมีความรูมากกวาผูปวย เมื่อใหการรักษาท่ี มุงเนนผลลัพธของการรักษาอาจมี การละเลยความตองการของผูปวยได โดยเฉพาะในสังคม วัฒนธรรมที่มีความเกรงใจผูใหการรักษาจนไมกลาสอบถามใด ๆ พยาบาลในฐานะที่อยูใกลชิดผูปวย ตองใหการพยาบาลดวยความเคารพในสิทธิผูปวย รวมทั้งชวย ใหผูปว ยตระหนักในสิทธิของตนเองใน การรกั ษาหรอื ชวยปกปอ งผปู ว ยไมใหถูกผอู ่นื ละเมิดได 6) ผูจัดการ (manager) เปนการทำหนาที่บริหารจัดการในกระบวนการรักษาพยาบาล ประสานงานกับทีมสุขภาพ ตาง ๆ เพื่อใหผูปวยหรือผูรับบริการไดรับการดูแลที่ถูกตอง ปลอดภัย ภายในระยะเวลาทเี่ หมาะสม ประหยดั คา ใชจ าย 7) ผูวิจัย (researcher) เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการใหการพยาบาลผูปวย พยาบาลจำเปนตองนำความรูใหม ๆ หลักฐานเชิงประจักษ มาพัฒนาการพยาบาล บทบาทผูวิจัยนี้ หมายความถึง การทำวจิ ยั และการนำผลการวจิ ยั มาใชใ นการพัฒนาการปฏิบัติการพยาบาลดว ย 8) บทบาทพิเศษเพิ่มเติม (Extended career roles) เชน เปนพยาบาลเวชปฏิบัติ พยาบาลเฉพาะทางหรอื ผูเชี่ยวชาญในคลนิ ิก สาขาตา งๆ เชน สาขาการพยาบาลผูใหญ-ผูสูงอายุ หัวใจ และหลอดเลอื ด มารดา-ทารก จติ เวช ครู/อาจารยพยาบาล นักวจิ ัยทางการพยาบาล พยาบาลวิสัญญี ซึ่งนับวาเปน ผทู ่มี เี อกสิทธแิ ละมีความอิสระในบทบาทของตนเองทค่ี อนขา งสงู 41
1.2.4 ทมี สุขภาพ การดูแลสุขภาพประชาชนจำเปนตองอาศัยความรูที่มาจากหลายสาขาวิชาชีพ โดยทำงาน รวมกันในลักษณะของ ทีมสหสาขาวิชาชีพ (multidisciplinary team) เพื่อใหการชวยเหลือ สนับสนุน ดูแลผูรับบริการใหไดรับประโยชนสูงสุด โดยทีมสหสาขาวิชาชีพที่พบไดบอยประกอบไป ดว ย 1) แพทย รับผิดชอบประเมินความผิดปกติของรางกาย จิตใจ วินิจฉัยโรค และใหการ รกั ษาดวยวิธกี ารตา ง ๆ เชน รักษา ดว ยยา ผาตัด 2) พยาบาล มีหนาที่ดูแลผูปวยใหสุขสบาย ปลอดภัยใหผูปวยไดรับการรักษาที่ถูกตอง ฟนฟสู มรรถภาพรา งกาย สงเสรมิ สุขภาพ ปองกนั โรค 3) เภสัชกร เปนผูเชี่ยวชาญเรื่องฤทธิ์ของยา ผลของยาที่เกิดกับผูปวย มีหนาที่ในการ จดั หา เตรียมยา จายยาใหผ ูป ว ย ประเมินประวัตกิ ารแพยา ผลขา งเคยี งของยา ใหค ำปรกึ ษาเร่ืองการ ใชย าแกบุคลากรทีมสุขภาพ 4) นักกายภาพบำบัด ประเมินและใหการบำบัดทางกายภาพ พัฒนาความแข็งแรงของ กลา มเน้ือที่ชว ยในการเคลื่อนไหว รางกาย 5) นักกิจกรรมบำบัด ทำหนาที่ประเมินและคนหาปญหาในการทำกิจกรรม การดำเนิน ชวี ิตของผูปวย 6) นักเวชศาสตรสื่อความหมาย เปนนักแกไขการไดยิน แกไขการพูด ชวยเหลือฟนฟู ประสทิ ธิภาพในการไดย นิ และการพูด 7) นักสังคมสงเคราะห ทำหนาที่ประเมิน วิเคราะห แกไขปญหาดานคารักษาพยาบาล สนับสนนุ ชวยเหลือใหผปู วยสามารถ กลับไปใชชีวติ ในสังคมได 8) โภชนากร เปนผูทำหนาที่คำนวณพลังงาน สารอาหาร และคิดสูตรอาหารเพ่ือ ใหบ ริการแกผ ปู ว ยทม่ี ขี อ จำกัดเรอื่ ง ภาวะโรคตา ง ๆ 9) นักเทคนิคการแพทย เปนผูทำหนา ทีว่ ิเคราะหผ ลเลือด ปส สาวะ อจุ จาระและสารคัด หล่ังตาง ๆ วิเคราะหส ารพษิ หรือสารปนเปอ นตา ง ๆ 10) นักรังสีเทคนิค เปนผูถายภาพทางรังสี เคลื่อนแมเหล็กไฟฟา และการใชรังสีในการ รักษา 42
1.3 สิทธิผปู วยและจรรยาบรรณวิชาชีพพยาบาล 1.3.1 สิทธิของผปู ว ย (human rights) สิทธิมนุษยชนมีหลักสำคัญที่ยอมรับในระดับสากลนั้น คือ บุคคลมีสิทธิที่จะตัดสินใจใน กิจการ ตางๆ สวนตัวดวยตนเอง ซึ่งแสดงถึงความเปนอิสระของมนุษย โดยเฉพาะผูปวยถือวาเปน บุคคลที่จะตองไดรับความชวยเหลือทั้งในดานรางกาย จิตใจ ตลอดจนการไดรับรูขอมูลตางๆ เพ่ือ สมควรประกอบการ ตัดสินใจของตนเอง ฉะนั้นผูปวยจึงเปนบุคคลสำคัญที่จะตองไดรับการพิทักษ สิทธิ ในหลายๆประเทศได นำสิทธิของผูปวยมาบัญญัติเปนกฎหมาย สำหรับประเทศไทยมิไดระบุไว เปนกฎหมายโดยตรง แตมีกำหนดไวในรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2540 มาตรา 28 วา บคุ คลยอ มอางศักด์ิศรีความเปน มนุษยห รือใชเสรภี าพของตนไดเทาที่ไมล ะเมดิ สิทธเิ สรีภาพของบุคคล อื่นๆ ผูประกอบวิชาชีพ สภาวิชาชีพ และหนวยงานที่มีสวนสัมพันธกับผูปวย ไดแก แพทยสภา สภาการพยาบาล สภาเภสัชกรรม ทันตแพทยสภา คณะกรรมการการควบคุมประกอบโรคศิลปะ ได รว มกันออกประกาศสทิ ธขิ องผปู วย เมือ่ วันท่ี 16 เมษายน 2541 ไวด งั น้ี 1) ผปู ว ยทกุ คนมสี ทิ ธิพืน้ ฐานทไี่ ดรบั บริการดา นสุขภาพ ตามบญั ญตั ิไวใ นรฐั ธรรมนญู 2) ผูปวยมีสิทธิที่จะรับบริการจากผูประกอบวิชาชีพดานสุขภาพไมมีการเลือกปฏิบัติ เนื่องจากความแตกตางดานฐานะ เชื้อชาติ สัญชาติ ศาสนา สังคม ลัทธิการเมือง เพศ อายุ ความ เจบ็ ปว ย 3) ผูปวยที่ขอรับบริการดานสุขภาพมีสิทธิจะไดรับขอมูลอยางเพียงพอ จาก ผูประกอบการวิชาชีพดานสุขภาพ สามารถเลือกตัดสินใจในการยอมรับหรือไมยินยอมให ผปู ระกอบการวชิ าชีพดานสขุ ภาพปฎิบตั ิตอ ตน เวน แตเ ปน การชว ยเหลอื รบี ดวนหรือจำเปน 4) ผูปวยที่อยูในภาวะเส่ียงอันตรายถึงชีวิต มีสิทธิที่จะไดรับการชวยเหลือรีบดวนจากผู ประกอบวิชาชีพดานสุขภาพโดยทันทีตามความจำเปนแกกรณี ไมวาผูปวยจะรองขอความชวยเหลือ หรอื ไม 5) ผูปวยมีสิทธิที่จะไดรับทราบชื่อ สกุล ประเภทของผูประกอบวิชาชีพดานสุขภาพที่ เปน ผูใหบรกิ ารแกตน 6) ผูปวยมีสิทธิที่จะขอความเห็นจากผูประกอบวิชาชีพดานสุขภาพอื่นที่มิไดเปนผู ใหบริการแกต น มสี ทิ ธใิ นการขอเปลย่ี นการบริการและสถานบรกิ าร 43
7) ผูปวยมีสิทธิท่ีจะไดรับการปกปดขอมูลเกี่ยวกับตนเองจาก ผูประกอบวิชาชีพดาน สุขภาพ โดยเครงครดั จะไดรบั ความยินยอมจากผูปว ยหรือการปฏบิ ตั หิ นา ที่ตามกฎหมาย 8) ผูป ว ยมีสิทธิทีจ่ ะไดร ับทราบขอมูลอยางครบถวนในการตัดสนิ ใจเขารวม หรือถอนตัว จากเปน ผูถกู ทดลองในการทำวจิ ัยผปู ระกอบวิชาชพี ดา นสขุ ภาพ 9) ผูปว ยมีสทิ ธิท่จี ะไดรบั ทราบขอมลู เก่ียวกับการรักษาพยาบาลเฉพาะของตนที่ปรากฏ ในเวชระเบียนเมอ่ื รอ งขอทั้งน้ีขอมูลดงั กลา วตอ งไมเปน การละเมดิ สิทธสิ ว นตวั ของบคุ คลอืน่ 10) บดิ า มารดา หรอื ผแู ทนโดยชอบธรรม ใชสิทธแิ ทนผูปว ยที่เปนเด็กอายุยังไมเกินสิบ แปดปบรบิ รู ณ ผบู กพรอ งทางกายหรือจติ ใจ ไมส ามารถใชส ทิ ธดิ วยตนเองได 1.3.2 การพิทกั ษส ิทธิผปู ว ย สิทธิของผูปวยทั้ง 10 ประเด็นนี้ ผูประกอบวิชาชีพตองทำความเขาใจและวิเคราะหวาใน บทบาทของผูประกอบวิชาชีพในแตละสาขานั้น โดยอิสระในวิชาชีพตนเองและที่เกี่ยวของมีบทบาท อะไรบางในการปฏิบัติงานในวิชาชีพของตนเองที่พึงปฏิบัติ พึงละเวน และสนองตอบสิทธิของผูปวย ตางๆ ผูประกอบวิชาชีพพยาบาลนั้นมีประเด็นสำคัญในบทบาทของผูประกอบวิชาชีพพยาบาลที่จะ สนองตอบตอสิทธิผูปวย ซึ่งกองการพยาบาลสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขไดกำหนดแนว ทางการดำเนนิ งานเพื่อพิทักษสิทธขิ องผูปวย สำหรับพยาบาลพอสรปุ ไดดังน้ีคือ 1) การสนองตอบตอสิทธิพื้นฐานที่จะรับบริการดานสุขภาพ ตามที่บัญญัติไวใน รัฐธรรมนูญนนั้ ผูป ระกอบวชิ าชีพพยาบาลจะตอ งใชความรูใ นวิชาชพี และวิจารณญาณในการตัดสินใจ ดูแลผูใชบริการเปนรายๆความเหมาะสมพึงมีพึงไดของผูใชบริการทุกลักษณะเพื่อการดูแลที่ถูกตอง เหมาะสม 2) สิทธิที่จะไดรับบริการจากผูประกอบวิชาชีพดานสุขภาพโดยไมมีการเลือกปฏิบัตินั้น ผูประกอบวิชาชีพพยาบาลจะตองปฏิบัติตอผูใชบริการทุกรายเทาเทียมกันอยางสุภาพออนโยน เอ้ือ อาทร เคารพในความเชื่อเกย่ี วกบั ศาสนาและละเวน จากการปฏิบัตหิ นา ท่ีมอี คติ 3) สทิ ธิท่จี ะไดรบั ทราบขอ มูลอยางเพียงพอในดานบรกิ ารดานสุขภาพ เพือ่ ประกอบการ ตัดสินใจเวลาของการรับบริการของผูปวยประเด็นนี้เปนบทบาทสำคัญของพยาบาลที่จะตองเผชิญ ตลอดเวลาของการปฏิบัติงานพยาบาล ใหความสำคัญของบทบาทในการที่ใหขอมูลเกี่ยวกับระเบียบ กฎเกณฑของหนวยงาน ขอมูลในการใหบ ริการสขุ ภาพ การวินิจฉัย พยากรณโ รค การบำบดั รักษาและ 44
การเสี่ยงตออันตรายโดยตองคำนึงถึงประเด็นจริยธรรมเกี่ยวกับการบอกความจริง รวมถึงขอมูลท่ี ใหบ ริการและปฏิบตั ิการตอ ผูปวยในทุกครง้ั การรับทราบขอ มูลในการตดั สนิ ใจของผปู วย 4) ผูประกอบวิชาชีพพยาบาลตองมีบทบาทในการชวยเหลือผูปวย ภาวะเสี่ยงอันตราย ถึงชวี ติ ทันที ตอ งไมป ฏิเสธการชว ยเหลอื ผทู ี่อยใู นระยะอนั ตราย 5) ผูประกอบวิชาชีพพยาบาลตองแสดงขอมูลบงชี้ ชื่อ สกุล ตำแหนง คุณวุฒิ ของ ตนเองแกผูรับบริการ รวมทั้งยอมรับและเขาใจของผูปวยในการขอทราบความเห็นในการดูแลรักษา ปรับเปล่ยี นผใู หบ ริการหรอื สถานบรกิ าร 6) บทบาทของผูประกอบการวิชาชีพพยาบาลที่สำคัญประการหนึ่งในเรื่องขอมูล ขาวสารเกีย่ วกับ ผูปวย คอื การเก็บรายงานเกย่ี วกับความเจบ็ ปวยไวเ ปน สัดสว นเปนระบบ ไมเปดเผย ความลับของผูปวย เวน แตจ ะไดร บั ความยินยอมจากผปู ว ยและหรือการปฏบิ ตั ิตามหนา ที่ตามกฎหมาย 7) บทบาทของพยาบาลในการใหขอมูลอยา งครบถวน เพอ่ื ประกอบในการตัดสินใจรวม หรือถอนตัวจากการเปนผูถูกทดลองในการวิจัยดานสุขภาพ ทั้งนี้ บทบาทของพยาบาลตองกำหนด ระเบียบปฏิบัติขั้นตอนการปฏิบัติไวอยางชัดเจน โปรงใส เพื่อผูรวมทดลองโดยเฉพาะผูถูกทดลอง ทราบข้นั ตอน 8) ผูประกอบวิชาชีพพยาบาลตองมีบทบาทในการกำหนดระเบียบขั้นตอนการปฏิบัติ เพือ่ สิทธิของผปู ว ยในการขอทราบขอ มูลเก่ยี วกบั การรักษาของตน 9) ผูประกอบวิชาชีพพยาบาลตองมีบทบาทในการปกปองการละเมิดสิทธิของผูปวยทั้ง ในดานของการปฏิบัติการพยาบาล และการเปนผูแทนโดยชอบธรรม โดยการวิเคราะหตัดสินใจดวย ความรแู ละขอมูลที่ถกู ตอ งของผปู วย 1.3.3 จรรยาบรรณวิชาชพี พยาบาล จรรยาบรรณวิชาชีพพยาบาลเปนการประมวลหลักความประพฤติใหบุคคลในวิชาชีพยึดถือ ปฏิบัติ ซึ่งสมาคม พยาบาลแหงสหรัฐอเมริกา (The America Nurses Association A.N.A.) ได กำหนดสาระสำคัญของจรรยาบรรณวิชาชีพ พยาบาลไวดังนี้ (กองการพยาบาล ส านักงาน ปลัดกระทรวงสาธารณสขุ , 2560) 1) พยาบาลพึงใหบริการพยาบาลดวยความเคารพในศักดิ์ศรีและความแตกตางระหวาง บุคคล โดยไมจำกัดในเรื่อง สถานภาพทางสังคม เศรษฐกิจ คุณสมบัติเฉพาะกิจหรือสภาพปญหา ทางดานสขุ ภาพอนามัยของผูป ว ย 45
2) พยาบาลพึงเคารพสิทธิสวนตัวของผูปวย โดยรักษาขอมูลเกี่ยวกับผูปวยไวเปน ความลับ 3) พยาบาลพึงใหการปกปองคุมครองแกผูปวยในกรณีที่มีการใหบริการสุขภาพอนามัย และความปลอดภัย ถูกกระทำที่อาจเกิดจากความไมรู ขาดศีลธรรม จริยธรรม หรือการกระทำที่ผิด กฎหมายจากบคุ คลหนง่ึ บคุ คลใด 4) พยาบาลมหี นา ทรี่ ับผดิ ชอบในการตัดสนิ ใจและใหการพยาบาลแกผ ูปวยแตล ะราย 5) พยาบาลพึงดำรงไวซ ึ่งสมรรถนะในการปฏิบตั ิการพยาบาล 6) พยาบาลพึงตัดสินใจดวยความรอบคอบถ่ีถว นใชขอมลู สมรรถนะและคุณสมบัติอื่น ๆ เปนหลักในการขอคำ ปรึกษาหารือ ยอมรับในหนาที่ความรับผิดชอบ รวมถึงการมอบหมายกิจกรรม การปฏบิ ตั ิการพยาบาลใหผ ูอ่ืนปฏิบตั ิ 7) พยาบาลพงึ มสี ว นรว มและสนบั สนนุ ใจกจิ กรรมการพัฒนาความรูเชิงวิชาชพี 8) พยาบาลพึงมีสวนรวมและสนับสนุนในการพัฒนาวิชาชีพและสงเสริมมาตรฐานการ ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาล 9) พยาบาลพึงมีสว นรว มในการท่ีจะกำหนดและดำรงไวซึ่งสถานะภาพของการทำงานท่ี จะนำไปสูก ารปฏิบตั ิ พยาบาลท่มี ีคุณภาพสงู 10) พยาบาลพึงมีสวนรวมในการปกปอง คุมครองผูรับบริการจากการเสนอขอมูลที่ผิด และดำรงไวซ งึ่ ความสามัคคใี น วชิ าชพี 11) พยาบาลพึงรวมมอื และเปน เครือขายกับสมาชิกดานสขุ ภาพอนามยั และบุคคลอื่น ๆ ในสังคมเพ่อื สงเสรมิ ชมุ ชน และสนองตอบความตองการดา นสขุ ภาพอนามัยของสังคม 1.3.4 จรรยาบรรณวิชาชพี การพยาบาลตอประชาชน สำหรับสมาคมพยาบาลแหงประเทศไทยไดกำหนดจรรยาบรรณวิชาชีพพยาบาล พ.ศ.2528 มุงเนนใหพยาบาลไดประพฤติปฏิบัติหนาที่ความรับผิดชอบ โดย กำหนดเปนความรับผิดชอบตอ ประชาชน ความรบั ผดิ ชอบตอ ประเทศชาติ ตอ ผูรวมวชิ าชีพและตอตนเองดังนี้ 1) ประกอบวชิ าชีพดวยประกอบดว ยความมีสติ ตระหนกั ในคุณคาและศักดิ์ศรีของความ เปน มนษุ ย 2) ปฏิบัติตอประชาชนดวยความเสมอภาคตามสิทธิมนุษยชน โดยไมคำนึงถึง เชื้อชาติ ศาสนา และสถานภาพของ บคุ คล 46
3) ละเวนการปฏบิ ตั ิทีม่ ีอคตแิ ละการใชอ ำนานหนา ที่เพอื่ ผลประโยชนสว นตน 4) พงึ เกบ็ รักษาเร่ืองสวนตวั ของผรู บั บริการไวเปน ความลับ เวน แตด ว ยความยินยอมของ ผนู นั้ หรือเมื่อตองปฏบิ ตั ิ ตามกฎหมาย 5) พึงปฏิบัติหนาที่โดยใชความรูความสามารถอยางเต็มที่ในการวินิจฉัยและการแกไข ปญ หาสุขภาพอนามยั อยา ง เหมาะสมแกสภาพของบคุ คล ครอบครวั และชมุ ชน 6) พงึ ปองกันภยันตรายอันจะมีผลตอสุขภาพอนามยั ของประชาชน 1.3.5 จรรยาบรรณวิชาชพี การพยาบาลตอสงั คมและประเทศชาติ พยาบาลมีหนาที่และความรับผิดชอบตอสังคมและประเทศชาติ จึงพึงมีจรรยาบรรณวิชาชพี ตอสงั คมและประเทศชาตดิ ว ย ดงั น้ี 1) พึงประกอบกิจแหง วชิ าชพี ใหสอดคลอ งกับนโยบายอนั ยังประโยชนแ กส าธารณชน 2) พึงรับผิดชอบรวมกับประชาชนในการเริ่มสนับสนุนกิจกรรมที่กอใหเกิดสันติสุขและ ยกระดับคุณภาพชีวิต 3) พึงอนรุ ักษและสง เสริมศิลปวัฒนธรรมประจำชาติ 4) พงึ ประกอบวชิ าชีพโดยมุงสง เสริมความมนั่ คงของชาติ ศาสนาและสถาบันกษตั ริย 1.3.6 จรรยาบรรณวิชาชีพการพยาบาลตอวิชาชพี 1) พึงตระหนักและถือปฏิบัติในหนาที่ความรับผิดชอบตามหลักการแหงวิชาชีพการ พยาบาล 2) พัฒนาความรูแ ละวิธีปฏิบตั ใิ หไ ดมาตรฐานแหง วิชาชีพ 3) พึงศรัทธาสนับสนุนและใหค วามรวมมอื ในกจิ กรรมแหง วิชาชพี 4) พงึ สรา งและธำรงไวซง่ึ สทิ ธอิ ันชอบธรรมในการประกอบวิชาชพี การพยาบาล 5) พึงเผยแพรชื่อเสียงและคุณคา แหงวชิ าชพี ใหเ ปนทป่ี รากฏแกส งั คม 1.3.7 จรรยาบรรณวิชาชีพการพยาบาลตอ ผรู วมวชิ าชพี และผูประกอบวิชาชีพอื่น 1) ใหเ กยี รติ เคารพใหสิทธิและหนา ท่ีของผูร วมวชิ าชพี และผูอ นื่ 2) เห็นคุณคา และยกยอ งผูมคี วามรู ความสามารถในศาสตรสาขาตา ง ๆ 3) พึงรักษาไวซง่ึ ความสมั พันธอ ันดี กับผรู วมงานทั้งภายในและภายนอกวิชาชพี 47
ถูกท่คี วร 4) ยอมรับความตองการพื้นฐานของมนุษย และชักนำใหประพฤติปฏิบัติหนาที่ในทางท่ี ธรรม 5) พึงอำนวยความสะดวก ใหความรวมมือแกผูรวมงานในการปฏิบัติภารกิจอันชอบ การนนั้ ๆ 6) ละเวนการสงเสริมหรือปกปองผูประพฤติผิดเพื่อผลประโยชนแหงตนหรือผูกระทำ 1.3.8 จรรยาบรรณวชิ าชพี การพยาบาลตอ ตนเอง 1) ประพฤติตนและประกอบกิจแหงวิชาชีพ โดยถกู ตอ งตามกฎหมาย 2) ยดึ มั่นในคณุ ธรรมและจริยธรรมแหงวิชาชพี 3) ประพฤติปฏิบัติตนใหเปนแบบอยางที่ดี ทั้งในดานการประกอบกิจแหงวิชาชีพและ สวนตัว 4) ใฝร พู ัฒนาแนวคดิ ใหกวางและยอมรับการเปลี่ยนแปลง 5) ประกอบกจิ แหงวิชาชพี ดวยความเต็มใจและเต็มกำลังความสามารถ 6) ปฏบิ ตั ิหนา ที่ดว ยความมีสติ รอบรู เช่อื มั่นและมีวิจารณญาณอนั รอบคอบ 1.3.9 คณุ ลักษณะพยาบาลในอนาคต การวิเคราะหขอมูลที่ไดมาจากผูทรงคุณวุฒิ ซึ่งเปนผูที่มีความรู ประสบการณในการศึกษา พยาบาลและศึกษาทั่วไปรวมทั้งดานการสาธารณสุข พบวา คุณลักษณะของผูสำเร็จการศึกษาท่ี ประสงคในอนาคต เพื่อปรับตัวใหเขากับการกาวสูประชาคมอาเซียน มีแนวโนมที่จะมีความสามารถ ดา นตางๆ ดัง วิจติ รา กสุ ุมภและคณะ (2555) กลาวไวด ังนี้ 1) ความสามารถดา นทักษะเกย่ี วกับมนษุ ยและมวลชน ทักษะในการพูด สอื่ สาร การสอน/ถา ยทอดความรู ใหแกผอู ืน่ ทักษะดานภาษา และสามารถใชภาษาสากลได ไดแก ภาษาอังกฤษ ภาษาประเทศเพื่อนบาน เชน ภาษาพมา เวียดนาม อื่นๆ ความรูทางสังคมที่แตกตางและหลากหลาย ดานลักษณะธรรมชาติ สิ่งแวดลอม คุณลักษณะนิสัย ภาวะความเจ็บปวยและโรคตางๆ ทั้งของนานาชาติและประเทศไทย ความรูและ ทักษะของความเปนมนุษย เขาใจเพื่อนมนุษย (Empathy) การปฏิสัมพันธ การมีมนุษยสัมพันธ 48
ความสามารถในการใหคำปรึกษา ทักษะเชี่ยวชาญดานจิตวิทยาชุมชนและสังคม มีคานิยมรวมทาง สังคม 2) ความสามารถดา นวิชาการ มีความรูในเรื่องตางๆ ที่เกี่ยวกับการบริการสุขภาพและศาสตรอื่นๆ ความรูดาน กฎหมาย รัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติวิชาชีพ ความรูดานเศรษฐศาสตร เศรษฐศาสตร สาธารณสุข ความรูดานวิทยาศาสตร วิทยาศาสตรสุขภาพโดยเนนวิชาใหมๆเชน Behavioral Science, Psychological Science การประชาสัมพันธ จิตวิทยา การตลาด ความรอบรู ทัน เหตุการณ โภชนาการ ความสามารถในการคิดวิเคราะห สืบคนดวยตนเอง คิดอยางมีวิจารณญาณ รูจักคิดและตัดสนิ ใจ สามารถเลือกวาสิ่งใดควรถูก-ผดิ การเรียนรูตลอดชีวิต แสวงหาความรูดว ยวธิ ี ตางๆ ทักษะการศึกษาคน ควา ดวยตนเอง 3) ความสามารถดา นการปฏบิ ตั กิ ารพยาบาล (1) ความสามารถในการพยาบาลเฉพาะสาขา/เฉพาะทาง มีความรูเชี่ยวชาญเฉพาะ สาขาใดสาขาหน่ึง ขณะเดียวกันมีความรูความสามารถในเชิงกวาง รอบรูทุกดานทำใหยืดหยุนทำงาน มีความรูเชีย่ วชาญเฉพาะทางมากขึ้น เชน การพยาบาลฉุกเฉินและอุบตั ิเหตุ การพยาบาลแมและเดก็ การพยาบาลครอบครวั (2) ความสามารถที่เนนการสงเสริมสุขภาพ (promotion) การปองกันโรค (prevention) และการฟน ฟูสุขภาพ (rehabilitation) ความรคู วามสามารถดานชุมชนมากขนึ้ มีทักษะ การดูแลชุมชนและการคืนพลังใหประชาชนดูแลตนเอง สามารถชวยเหลือบุคคล ครอบครัว ชุมชนได ท้งั ในลกั ษณะปกตหิ รือและผิดปกติ ต้งั แตเ กดิ จนถงึ เสยี ชวี ติ (3) ความรูเ รือ่ งโรคมากขน้ึ สามารถตรวจรักษาเบื้องตนและสง ตอได (4) ความรคู วามสามารถดา นวชิ าชีพ (5) สามารถดูแลผปู วยแบบองครวม มีลกั ษณะการดแู ลท่คี รบวงจรและตอ เนอื่ ง 4) คุณสมบตั ดิ า นคณุ ธรรมและจรยิ ธรรม (1) มีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ เชน เมตตา กรุณา ซื่อสัตย เสียสละ ขยัน รับผิดชอบ อดทน มีน้ำใจ ดแู ลชวยเหลือ ใหบ ริการ ฯลฯ (2) มคี วามรกั เจตคติท่ดี ตี อ วชิ าชพี มีใจรกั ในการใหบรกิ าร 49
(3) มีความสำนกึ รบั ผดิ ชอบตอ สงั คม มีจิตสำนกึ ในการชว ยเหลือเพื่อนมนษุ ยส ามารถ วเิ คราะหพ ฤตกิ รรมเชิงจริยธรรม (analytic competency) ของผูประกอบวิชาชพี และคนหาแนวทาง ปฏบิ ตั ิใหด วยตนเอง รกั ตนเองและผูอ่นื 5) ความสามารถดา นการใชเ ทคโนโลยแี ละสารสนเทศ สามารถใชเทคโนโลยีในการสืบคนขอมูลและสื่อสารกับคนทั่วโลกได สามารถใช คอมพิวเตอร เครื่องมือที่ใชเทคนิคสูง เทคโนโลยีทางวิทยาศาสตรการแพทย ทักษะในเรื่องการใช เครื่องคอมพิวเตอรภายในสำนักงาน (office automation) ความรูสารสนเทศทางการพยาบาล ความรูข อ มูลขา วสาร 6) ความสามารถดานภาวะผนู ำ (leadership) โดยการเปน ผูนำทางการพยาบาลตองมีลกั ษณะของการมีภาวะผูนำ สามารถทำงานเปนทีม รวมกับผูอื่นไดเปนอยางดี สามารถนำเสนอตัวเองเพื่อเปนแบบอยางใหผูอื่น การเปนผูมีวิสัยทัศนที่ กวา งไกล การมีความคิดริเรม่ิ สรา งสรรค สามารถสรา งนวัตกรรมทางการพยาบาลหรือเปนผูที่สงเสริม ผอู ่นื สรางนวตั กรรมทางการพยาบาลได รวมทั้งการมที กั ษะการเจรจาตอ รอง 7) ความสามารถดานการบรหิ ารทางการพยาบาล (nursing management) พยาบาลวิชาชีพในยุคอนาคตตองมีความรูการบริหารจัดการในองคกร รวมทั้งความรู ความสามารถประกอบการอิสระหรือทำงานอิสระของตนเองได ทักษะการแกปญหา ในยุคที่มีการ เปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม การเปลี่ยนยคุ สยู คุ ดิจิตอล ความสามารถดา นการบรหิ ารจัดการ จึงมคี วามจำเปนอยา งยิ่ง 8) คณุ สมบตั ดิ า นบคุ ลิกภาพ พยาบาลวิชาชีพตองไมแสดงอารมณหงุดหงิดในการติดตอกับผูรับบริการ มีวุฒิภาวะและ บุคลกิ ภาพดี ยม้ิ แยม แจม ใส มลี ักษณะความรูสกึ เชิงวิชาชีพตอผูร ับบริการ รวมท้ังมีเขา ใจในสงั คม วัฒ ธรรมท่ีแตกตา งกัน สามารถใหก ารพยาบาลแบบขามวฒั นธรรมได 9) ความสามารถดานการวิจัยมีความรู ความสามารถทำการวิจัยเบือ้ งตน การเก็บรวบรวม การวิเคราะหข อ มูล 10) ความสามารถในการมีสวนรวมทางการเมืองและการปกครอง มีความรูและมีสวนรวม ทางการเมือง 11) คณุ สมบตั ดิ านอนรุ กั ษส่งิ แวดลอ มรกั สิง่ แวดลอม 50
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 517
- 518
- 519
- 520
- 521
- 522
- 523
- 524
- 525
- 526
- 527
- 528
- 529
- 530
- 531
- 532
- 533
- 534
- 535
- 536
- 537
- 538
- 539
- 540
- 541
- 542
- 543
- 544
- 545
- 546
- 547
- 548
- 549
- 550
- 551
- 552
- 553
- 554
- 555
- 556
- 557
- 558
- 559
- 560
- 561
- 562
- 563
- 564
- 565
- 566
- 567
- 568
- 569
- 570
- 571
- 572
- 573
- 574
- 575
- 576
- 577
- 578
- 579
- 580
- 581
- 582
- 583
- 584
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 550
- 551 - 584
Pages: