คำนำ เอกสารประกอบการสอนนี้ จัดทำขึ้นเพอื่ ใช้ประกอบการสอนรายวชิ า การพยาบาลพ้ืนฐาน สำหรับนักศึกษาหลักสูตร พยาบาลศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 2 จุดมุ่งหมายสำคัญเพื่ออธิบายหลักการ พยาบาลพื้นฐาน ทักษะการปฏิบัติการพยาบาลและวิธีการทำหัตถการทางการพยาบาลที่สำคัญ เป็น แนวทางให้นักศึกษาได้ศึกษาเรียนรู้และฝึกฝนจนเกิดทักษะ สามารถใช้ในการปฏิบัติในสถานการณ์ จริงได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ เอกสารประกอบการสอนนี้แบ่งเนื้อหาเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 ภาคทฤษฎีจำนวน 30 ชั่วโมง ประกอบดว้ ยเนื้อหาและคำถามท้ายบท สว่ นที่ 2 ภาคทดลอง จำนวน 1 หนว่ ยกติ เวลาในการ สอน 30 ชวั่ โมง ประกอบด้วยเน้อื หาเก่ียวกบั การฝึกปฏิบัตใิ นห้องปฏบิ ตั ิการและแบบประเมินทักษะ
สารบญั หนา้ 1 คำนำ 2 สารบญั 11 สารบัญตาราง 12 สารบญั ภาพประกอบ 17 แผนบริหารการสอนประจำวิชา สว่ นท่ื 1 การพยาบาลพน้ื ฐาน ภาคทฤษฎี 35 บทที่ 1 แนวคดิ และหลักการพยาบาลพืน้ ฐาน 35 38 1.1 ภาวะสขุ ภาพ ความเจ็บป่วยและการพยาบาล 42 1.2 บทบาทพยาบาลและทมี สขุ ภาพ 50 1.3 สิทธิผู้ป่วยและจรรยาบรรณวชิ าชพี 51 1.4 หลกั การพยาบาลแบบองค์รวม 55 1.5 หลกั การพยาบาลบนพืน้ ฐานความปลอดภัยของผู้ป่วย 55 1.6 บทสรุป 56 1.7 คำถามทา้ ยบท 1.8 เอกสารอา้ งอิง 60 60 บทที่ 2 การพยาบาลพื้นฐานในการปอ้ งกนั และควบคุมการแพรก่ ระจายเชือ้ 61 2.1 ความหมายของการติดเช้อื 65 2.2 วงจรการติดเชือ้ กลไกและการติดเช้อื ของรา่ งกายมนษุ ย์ 68 2.3 มาตรฐานในการควบคุมการติดเช้ือและป้องกนั การแพร่กระจายเชื้อ 76 2.4 การพยาบาลเพื่อควบคมุ การตดิ เชอ้ื และป้องกนั การแพร่กระจายเช้ือ 76 2.5 บทสรุป 77 2.6 คำถามทา้ ยบท 2.7 เอกสารอา้ งอิง 81 81 บทท่ี 3 หลักการพยาบาลพื้นฐานในการรบั ใหม่ การจำหน่ายและการส่งต่อผปู้ ่วย 97 3.1 การพยาบาลเพ่ือการรับใหม่ในโรงพยาบาล 3.2 การพยาบาลเพ่ือการจำหนา่ ยผู้ปว่ ย
3.3 การพยาบาลเพื่อการส่งต่อผ้ปู ่วย หนา้ 3.4 บทสรปุ 99 3.5 คำถามทา้ ยบท 100 3.6 เอกสารอา้ งอิง 100 103 บทท่ี 4 หลักการและเทคนคิ พยาบาลพื้นฐานในการวัดและประเมนิ สัญญาณชีพ 106 4.1 ความสำคญั ของการวัดและประเมินสัญญาณชีพ 106 4.2 หลักการวดั และประเมนิ สัญญาณชพี 106 4.3 การบันทกึ สัญญาณชพี ในรายงานผปู้ ่วย 113 4.4 บทสรุป 118 4.5 คำถามท้ายบท 118 4.6 เอกสารอา้ งองิ 120 บทท่ี 5 หลักการและเทคนิคการพยาบาลพ้ืนฐานในการดูแลสุขวทิ ยาส่วนบุคคลและ 124 สิง่ แวดล้อม 121 5.1 กระบวนการพยาบาลในการดูแลสขุ วิทยาสว่ นบคุ คล 125 5.2 การดแู ลสขุ วิทยาส่วนบคุ คลในแตล่ ะช่วงเวลาของวนั 127 5.3 หลกั การและวิธีการดูแลสขุ วิทยาส่วนสว่ นบคุ คล 141 5.4 การดูแลส่ิงแวดล้อมขา้ งเตียงผู้ปว่ ย 146 5.5 บทสรปุ 146 5.6 คำถามทา้ ยบท 149 5.7 เอกสารอ้างอิง บทท่ี 6 หลักการและเทคนิคการพยาบาลพ้ืนฐาน ในการช่วยเคลื่อนไหวร่างกายและ 152 การฟืน้ ฟสู ภาพ 149 6.1 องค์ประกอบของการเคล่ือนไหว 155 6.2 การพยาบาลผูป้ ว่ ยทตี่ ้องไดร้ ับการจัดทา่ 166 174 6.3 การพยาบาลผู้ป่วยท่ีต้องได้รับการเคล่ือนย้าย 184 6.4 การพยาบาลเพ่ือฟน้ื ฟสู ภาพและปอ้ งกนั ภาวะแทรกซ้อน 6.5 บทสรุป
6.6 คำถามท้ายบท หน้า 6.7 เอกสารอา้ งองิ 184 188 บทท่ี 7 หลักการและเทคนิคการพยาบาลพื้นฐานในการบรหิ ารยา 7.1 ความรู้เบ้อื งตน้ เกี่ยวกับยา 188 7.2 หลักการบรหิ ารยา 191 7.3 การปอ้ งกนั ความคลาดเคล่ือนทางยา 196 7.4 การบรหิ ารยาทางปาก 208 7.5 การบริหารยาทางผวิ หนังและเยื่อบุ 210 7.6 การบริหารยาฉีด 213 7.7 การบริหารยาพ่น 220 7.8 บทสรปุ 235 7.9 คำถามท้ายบท 236 7.10 เอกสารอ้างองิ 236 239 บทท่ี 8 หลักการและเทคนิคการพยาบาลพนื้ ฐานในการใหส้ ารนำ้ เลอื ดและ ส่วนประกอบของเลือดทางหลอดเลือดดำ 243 8.1 หลักการและวธิ กี ารใหส้ ารน้ำทางหลอดเลือดดำ 243 8.2 การป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ 258 8.3 หลกั การและวธิ กี ารใหเ้ ลอื ดและส่วนประกอบของเลอื ด 260 8.4 การปอ้ งกันภาวะแทรกซ้อนจากการให้เลือดและส่วนประกอบของเลอื ด 274 8.5 บทสรปุ 276 8.6 คำถามทา้ ยบท 277 8.7 เอกสารอา้ งอิง 279 บทท่ี 9 หลักการและเทคนิคการพยาบาลพ้ืนฐานในการทำแผล 283 9.1 ประเภทของแผล 283 9.2 กระบวนการหายของแผล 285 9.3 หลกั การและวธิ ีการทำแผล การตดั ไหม 287 9.4 บทสรปุ 295
9.5 คำถามท้ายบท หนา้ 9.6 เอกสารอ้างองิ 295 298 บทท่ี 10 หลกั การและเทคนิคการพยาบาลพนื้ ฐานในการใหอ้ าหารทางสายยางให้ 301 อาหาร 301 10.1 ความผิดปกตขิ องการรับประทานอาหารท่พี บบ่อย 305 10.2 กระบวนการพยาบาลผ้ปู ่วยทีม่ ีความผิดปกตขิ องการรับประทานอาหาร 310 10.3 หลกั การและวธิ กี ารการใสส่ ายยางให้อาหารทางจมูก 313 10.4 หลักการและวธิ กี ารให้อาหารทางสายยางให้อาหาร 316 10.5 การป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากการคาสายยางให้อาหารและการให้ 318 อาหารทางสายยางให้อาหาร 318 10.6 บทสรปุ 321 10.7 คำถามท้ายบท 10.8 เอกสารอ้างอิง บทท่ี 11 หลกั การและเทคนิคการพยาบาลพ้ืนฐานในการสวนอุจจาระและการสวน 324 ปสั สาวะ 324 11.1 ความผิดปกติของการขบั ถ่ายอุจจาระ 325 11.2 หลักการและวธิ กี ารสวนอุจจาระ 331 11.3 ความผิดปกตขิ องการขับถา่ ยปสั สาวะ 332 11.4 หลักการและวธิ กี ารสวนปสั สาวะ 339 11.5 หลักการและเทคนิคการการบนั ทกึ ปริมาณนำ้ เข้า-ออก 341 11.6 บทสรปุ 341 11.7 คำถามทา้ ยบท 344 11.8 เอกสารอ้างอิง บทที่ 12 หลกั การและเทคนิคการพยาบาลพ้ืนฐานในการบำบัดด้วยออกซเิ จน 347 12.1 ความรู้เบื้องตน้ ภาวะพร่องออกซเิ จน 347 12.2 หลักการและเทคนิคการบำบัดออกซเิ จน 350 12.3 การพยาบาลผู้ป่วยท่ีไดร้ บั การบำบัดดว้ ยออกซิเจน 359
12.4 บทสรุป หน้า 12.5 คำถามทา้ ยบท 360 12.6 เอกสารอ้างอิง 361 362 บทท่ี 13 หลกั การและเทคนิคการพยาบาลพน้ื ฐานในการดูดเสมหะ 366 13.1 ความรเู้ บื้องต้นเกี่ยวกับภาวะเสมหะค่งั ค้าง 366 13.2 การพยาบาลผปู้ ่วยท่ีไดร้ บั การดูดเสมหะทางท่อหลอดลมคอ 366 13.3 หลักการและวิธกี ารดดู เสมหะทางท่อหลอดลมคอ 369 13.4 บทสรปุ 373 13.5 คำถามทา้ ยบท 373 13.6 เอกสารอ้างอิง 375 บทท่ี 14 หลกั การและเทคนิคการพยาบาลพื้นฐานในการเกบ็ สงิ่ สง่ ตรวจ 378 14.1 หลกั การเก็บสิง่ ส่งตรวจ 378 14.2 วธิ กี ารเก็บสิ่งสง่ ตรวจ 379 14.3 บทสรปุ 389 14.4 คำถามท้ายบท 390 14.5 เอกสารอ้างอิง 391 บทที่ 15 หลักการและเทคนิคการพยาบาลพื้นฐานในการพยาบาลผปู้ ่วยระยะ 395 สดุ ท้ายของชีวิต 395 15.1 ความรเู้ บ้ืองต้นเกยี่ วกับผูป้ ว่ ยระยะสุดท้าย 398 15.2 หลกั การพยาบาลแบบประคับประคองและการดูแลระยะสุดทา้ ยของชีวิต 404 15.3 หลักการพยาบาลและวธิ ีปฎิบัตเิ มื่อผู้ปว่ ยท่ีถึงแก่กรรม 405 15.4 บทสรปุ 405 15.5 คำถามท้ายบท 406 15.6 เอกสารอ้างอิง
ส่วนทื่ 2 การพยาบาลพนื้ ฐาน ภาคทดลอง หนา้ บทท่ี 1 วิธีปฎิบัติการพยาบาลพน้ื ฐานในการปอ้ งกนั และควบคุมการแพร่กระจาย เชอ้ื 410 1.1 วธิ กี ารล้างมอื (Hand washing) 410 1.2 วิธกี ารใสถ่ งุ มือปราศจากเชอื้ (Sterile Gloves) 411 1.3 วิธีการเปิดหอ่ ของปลอดเชอื้ และการหยิบจับของปลอดเชื้อ 412 1.4 วิธกี ารสวมและถอดเส้อื กาวน์ปลอดเชอ้ื (sterile gown) 413 1.5 บทสรปุ 414 1.6 แบบประเมนิ ทกั ษะปฏิบตั ิการพยาบาลพ้ืนฐาน 414 1.7 เอกสารอ้างอิง 419 บทท่ี 2 วิธปี ฎิบตั ิการพยาบาลพ้ืนฐานในการวัดและประเมินสญั ญาณชีพ 422 2.1 วธิ ีการวัดอุณหภูมริ า่ งกาย (Temperature measurement) 422 2.2 วิธีการวดั ชพี จร (pulse measurement) 425 2.3 วธิ กี ารวดั อัตราการหายใจ (Respiratory measurement) 426 2.4 วิธีการวัดความดนั โลหิต (Blood pressure measurement) 426 2.5 บทสรุป 427 2.6 แบบประเมินทกั ษะปฏบิ ัติการพยาบาลพ้ืนฐาน 427 2.7 เอกสารอา้ งองิ 431 บทที่ 3 วิธีปฎิบัติการพยาบาลพ้ืนฐานในการดูแลสุขวทิ ยาส่วนบคุ คล 434 3.1 วธิ ปี ฏบิ ัตกิ ารอาบน้ำผปู้ ่วยบนเตียงแบบสมบรู ณ์ 434 3.2 วธิ ปี ฏิบตั ิการนวดหลัง 436 3.3 วิธีปฏิบัตกิ ารทำความสะอาดอวัยวะสบื พันธภ์ุ ายนอก 438 3.4 วิธปี ฏบิ ตั กิ ารสระผมบนเตยี ง 440 3.5 วิธีปฏิบตั ิการเชด็ ตัวลดไข้ 441 3.6 บทสรุป 442 3.7 แบบประเมนิ ทกั ษะปฏบิ ตั ิการพยาบาลพืน้ ฐาน 442 3.8 เอกสารอา้ งองิ 451
บทท่ี 4 วธิ ีปฎบิ ตั ิการพยาบาลพน้ื ฐานในการทำความสะอาดเตยี งผปู้ ่วย หนา้ 4.1 วิธกี ารทำเตียงวา่ ง (empty bed) 453 4.2 วธิ ีการทำเตียงที่มผี ้ปู ่วย (Occupied bed) 453 4.3 วธิ กี ารทำเตยี งผปู้ ว่ ยหลงั จากการผา่ ตดั (Anesthetic bed) 455 4.4 บทสรุป 456 4.5 แบบประเมนิ ทักษะปฏิบตั ิการพยาบาลพน้ื ฐาน 458 4.6 เอกสารอา้ งอิง 458 460 บทที่ 5 วธิ ปี ฎบิ ตั ิการพยาบาลพนื้ ฐานในการจดั ทา่ และเคลื่อนยา้ ยผู้ป่วย 462 5.1 วธิ กี ารจดั ท่านอนผู้ป่วย 462 5.2 วิธีการเคล่อื นยา้ ยผ้ปู ว่ ย 463 5.3 บทสรุป 465 5.4 แบบประเมนิ ทกั ษะปฏิบตั ิการพยาบาลพืน้ ฐาน 466 5.5 เอกสารอ้างอิง 468 บทที่ 6 วิธีปฎบิ ตั ิการพยาบาลพืน้ ฐานในการบริหารยาทางปาก ทางตาและทางหู 472 6.1 วิธีการบริหารยาทางปาก 472 6.2 วธิ ีการบรหิ ารยาทางตา 472 6.3 วิธกี ารบริหารยาทางหู 474 6.4 บทสรุป 475 6.5 แบบประเมินทักษะปฏบิ ตั ิการพยาบาลพน้ื ฐาน 475 6.6 เอกสารอา้ งองิ 482 บทที่ 7 วธิ ีปฎบิ ตั ิการพยาบาลพ้ืนฐานในการฉดี ยาเขา้ ชั้นผิวหนงั ชนั้ ใต้ผิวหนงั และ 485 ชนั้ กล้ามเนือ้ 485 7.1 วธิ ีการยาฉีดเขา้ ช้ันผิวหนงั (intradermal injection) 487 7.2 วธิ กี ารฉดี ยาเขา้ ใตผ้ วิ หนัง (subcutaneous injection) 490 7.3 วธิ ีการฉีดยาเขา้ ชน้ั กลา้ มเนือ้ (intramuscular injection) 491 7.4 บทสรปุ 491 7.5 แบบประเมินทักษะปฏบิ ัติการพยาบาลพน้ื ฐาน
7.6 เอกสารอา้ งอิง หน้า 497 บทท่ี 8 วธิ ีปฎิบตั ิการพยาบาลพน้ื ฐานในการบรหิ ารยาฉีดยาเขา้ หลอดเลือดดำ 499 8.1 วิธีการฉดี ยาเขา้ หลอดเลอื ดดำในระยะสนั้ (intravenous injection 499 push) 8.2 วิธกี ารฉีดยาเข้าหลอดเลอื ดดำแบบหยด (intravenous injection drip) 501 8.3 บทสรุป 502 8.4 แบบประเมนิ ทกั ษะปฏบิ ตั ิการพยาบาลพื้นฐาน 503 8.5 เอกสารอ้างองิ 509 บทท่ี 9 วธิ ีปฎิบตั ิการพยาบาลพืน้ ฐานในการบริหารยาพ่น 512 9.1 วธิ กี ารบรหิ ารยาพน่ 512 9.2 บทสรุป 513 9.3 แบบประเมินทักษะปฏิบัติการพยาบาลพื้นฐาน 514 9.4 เอกสารอ้างอิง 516 บทท่ี 10 วิธปี ฎบิ ตั ิการพยาบาลพ้นื ฐานในการใหส้ ารนำ้ ทางหลอดเลอื ดดำ 518 10.1 วิธีการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ 518 10.2 บทสรุป 520 10.3 แบบประเมินทักษะปฏบิ ตั ิการพยาบาลพน้ื ฐาน 520 10.4 เอกสารอ้างอิง 523 บทท่ี 11 วธิ ปี ฎบิ ตั ิการพยาบาลพืน้ ฐานในการทำแผล 525 11.1 วธิ กี ารทำแผลแบบ Dry dressing 525 11.2 วธิ กี ารทำแผลแบบ Wet dressing 527 11.3 บทสรปุ 529 11.4 แบบประเมินทักษะปฏบิ ัติการพยาบาลพืน้ ฐาน 529 11.5 เอกสารอ้างอิง 532
บทท่ี 12 วิธปี ฎิบตั ิการพยาบาลพ้นื ฐานในการให้อาหารทางสายยางให้อาหาร หน้า 12.1 วธิ กี ารการใส่สายยางให้อาหารทางจมกู 535 12.2 วธิ ีการให้อาหารทางสายยางให้อาหาร 535 12.3 บทสรุป 537 12.4 แบบประเมินทักษะปฏิบัติการพยาบาลพ้ืนฐาน 539 12.5 เอกสารอ้างอิง 540 542 บทที่ 13 วธิ ปี ฎบิ ัติการพยาบาลพ้นื ฐานในการสวนปัสสาวะเปน็ คร้งั คราว 13.1 วธิ ีการสวนปสั สาวะแบบเป็นปัสสาวะเปน็ คร้งั คราว (intermittent 544 catheter) 544 13.2 บทสรุป 13.3 แบบประเมินทกั ษะปฏิบตั ิการพยาบาลพ้นื ฐาน 546 13.4 เอกสารอ้างอิง 546 549 บทท่ี 14 วิธีปฎบิ ัตกิ ารพยาบาลพ้ืนฐานในการใหอ้ อกซเิ จน 14.1 วิธกี ารให้ออกซิเจนดว้ ย Nasal cannula 549 14.2 วิธีการใหอ้ อกซเิ จนด้วย Mask with bag 549 14.3 วธิ กี ารให้ออกซิเจนดว้ ย Collar mask 553 14.4 บทสรปุ 554 14.5 แบบประเมนิ ทักษะปฏิบัตกิ ารพยาบาลพื้นฐาน 555 14.6 เอกสารอ้างอิง 556 558 บทที่ 15 วิธปี ฎบิ ัตกิ ารพยาบาลพื้นฐานในการดดู เสมหะทางท่อหลอดลมคอ 15.1 วิธีการดูดเสมหะทางท่อหลอดลมคอ 560 15.2 บทสรปุ 560 15.3 แบบประเมนิ ทกั ษะปฏิบัติการพยาบาลพน้ื ฐาน 562 15.4 เอกสารอ้างอิง 563 565 บรรณานุกรม เฉลยคำถามทา้ ยบท 563 569
สารบัญตาราง หน้า 57 ตารางที่ 83 ตารางที่ 2-1 แสดงคำศัพทส์ ำคัญทเ่ี กีย่ วขอ้ งป้องกันและควบคมุ การแพร่กระจายเชื้อ 85 ตารางท่ี 3-1 แสดงคำศพั ท์ท่เี ก่ยี วข้องกบั การรบั ใหมผ่ ูป้ ่วยในโรงพยาบาล ตารางที่ 3-2 แสดงแบบประเมนิ แบบแผนสขุ ภาพของกอร์ดอน (11 pattern 98 Gordon) 108 ตารางท่ี 3-3 แสดงรปู แบบการจำหนา่ ยตามหลกั METHOD 111 ตารางท่ี 4-1 แสดงตำแหนง่ ท่ีวัดอณุ หภูมิและค่าเฉล่ียของอุณหภมู ปิ กติ 116 ตารางที่ 4-2 แสดงการแบ่งหมวดหมตู่ ามค่าความดันโลหิต 179 ตารางท่ี 4-2 แสดงการสรุปการวัดสญั ญาณชพี คา่ ปกตแิ ละอปุ กรณใ์ นการวดั 194 ตารางที่ 6-1 แสดงขอบเขตการเคลือ่ นไหวของข้อต่อจำแนกตามชนดิ ของข้อต่อ 198 ตารางที่ 7-1 แสดงตวั อย่างการเรยี กชือ่ ยา 202 ตารางที่ 7-2 แสดงคำอุปสรรค (Prefix) ที่ใช้ในการคำนวณยา 203 ตารางท่ี 7-3 แสดงตัวย่อที่ใช้บอ่ ยในการบริหารยา 205 ตารางท่ี 7-4 แสดงตวั ย่อทเี่ ก่ียวขอ้ งกบั เวลาในการให้ยา ตารางท่ี 7- 5 คำย่อสำหรบั การบันทกึ ในใบ MAR เมอ่ื มีเหตกุ ารณท์ ่ีไม่สามารถให้ยา 246 ผปู้ ว่ ยได้ ตารางที่ 8- 1 แสดงชนิดของสารนำ้ จำแนกตามคา่ ความดันออสโมติก(mOsm/L) และ 261 ผลกระทบต่อเซลล์ 263 ตารางท่ี 8- 2 แสดงลกั ษณะของหมู่เลอื ด ABO 265 ตารางท่ี 8- 3 แสดงหลกั การพจิ ารณาการให้เลือดผ้ปู ว่ ยตามระบบเลือด ABO และ Rh 306 ตารางท่ี 8- 4 แสดงระดบั Hemoglobin และ Hematocrit จำแนกตามเพศและวัย 308 ตารางท่ี 10-1 แสดงตวั อย่างการตรวจรา่ งกายตามระบบเพื่อประเมนิ ภาวะโภชนาการ ตารางที่ 10-2 แสดงตวั อยา่ งการกำหนดเป้าหมาย (Goals) และวตั ถปุ ระสงค์ 349 (Outcomes) 351 ตารางท่ี 12-1 แสดงค่าปกตขิ องระดับแก๊สและความเป็นกรด-ดา่ ง ของเลือด ตารางท่ี 12-2 แสดงชนดิ ของถังออกซิเจนจำแนกตามค่าคงทแ่ี ละความจุของออกซเิ จน
สารบัญภาพประกอบ หนา้ 50 รปู ภาพที่ 63 รูปภาพท่ี 1-1 แสดงลักษณะการพยาบาลแบบองค์รวม 71 รูปภาพท่ี 2-1 แสดงวงจรการตดิ เชื้อ (chain of infection) 71 รปู ภาพที่ 2-2 แสดง การท้งิ เขม็ ในภาชนะทิ้งเข็ม 69 รูปภาพท่ี 2-3 แสดงการสวมปลอกเข็มด้วยเทคนิคมือเดยี ว 70 รูปภาพที่ 2-4 แสดงการล้างมือ 7 ข้นั ตอน 107 รูปภาพที่ 2-5 แสดง ลา้ งมือใน 5 โอกาส (5 moment) 112 รูปภาพท่ี 4-1 แสดงปรอทวัดไข้ 113 รูปภาพท่ี 4-2 ทฤษฎีควบคุมประตู (Gate control theory) 117 รูปภาพที่ 4- 3 แสดงแบบประเมิน pain scale 145 รูปภาพที่ 4-4 แสดงการการบันทกึ สัญญาณชีพตามโจทย์ตัวอย่าง 153 รูปภาพท่ี 5-1 แสดงการพบั ผ้าห่ม การทำเตียงผ้ปู ว่ ยหลงั จากการผ่าตดั 153 รปู ภาพท่ี 6-1 แสดง แนวปกตขิ องร่างกาย (Body alignment) 154 รูปภาพที่ 6.1.2-2 แสดง ทา่ ยืนท่ีถูกต้อง 154 รปู ภาพท่ี 6-3 แสดงท่าน่งั ที่ถูกตอ้ ง 157 รปู ภาพท่ี 6-4 แสดงท่านอนที่ถูกต้อง 158 รปู ภาพท่ี 6-5 แสดงการจดั ท่า protective supine position 159 รปู ภาพที่ 6-6 แสดงการจัดท่า protective side-Lying or Lateral position 160 รปู ภาพที่ 6-7 แสดงการจัดท่า Modified lateral position 161 รปู ภาพท่ี 6-8 แสดงการจัดท่า Protective Prone Position 162 รูปภาพท่ี 6-9 แสดงการจัดท่า Protective Sim’s Position 162 รูปภาพท่ี 6-10 แสดงการจัดท่า Fowler’s position 163 รปู ภาพที่ 6-11 แสดงการจดั ท่า Semi Fowler’s position 163 รูปภาพท่ี 6-12 แสดงการจัดทา่ Orthopneic position 164 รปู ภาพท่ี 6-13 แสดงการจัดทา่ Trendelenburg position 165 รูปภาพท่ี 6-14 แสดงการจัดทา่ Dorsal recumbent position 165 รปู ภาพท่ี 6-15 แสดงการจดั ท่า Lithotomy position 167 รปู ภาพท่ี 6-16 แสดงการจัดทา่ Knee- chest position รปู ภาพที่ 6-17 แสดงการพลกิ ตะแคงตัวแบบ Log rolling method 12
รปู ภาพท่ี หนา้ รปู ภาพท่ี 6-18 แสดงการยกตวั ผปู้ ่วยไปด้านหัวเตยี ง 169 รูปภาพที่ 6-19 แสดงการยกตัวผปู้ ่วยไปด้านหวั เตยี งโดยการโหนบาร์รว่ มดว้ ย 169 รปู ภาพที่ 6-20 แสดงการเคล่ือนยา้ ยผูป้ ว่ ยดว้ ยพยาบาล 3 คน 171 รปู ภาพท่ี 6-21 แสดงการเคลื่อนยา้ ยผูป้ ว่ ยด้วยกระดานเคล่ือนยา้ ย 171 รปู ภาพที่ 6-22 แสดงการเคลื่อนยา้ ยผู้ป่วยดว้ ยกระดานเคล่ือนย้าย 172 รูปภาพท่ี 6-23 แสดงการพยุงผปู้ ่วยเดนิ โดยผชู้ ว่ ยเหลอื 1 คน 173 รปู ภาพท่ี 6-24 แสดงการพยุงผปู้ ว่ ยเดินโดยผ้ชู ่วยเหลอื 2 คน 174 รปู ภาพที่ 6-25 แสดงแบบประเมนิ ความเสยี่ งตอ่ การพลัดตกหกล้ม 176 รปู ภาพท่ี 6-26 แสดงไมเ้ ท้าแบบมาตรฐาน (standard cane) 180 รปู ภาพที่ 6-27 แสดงไม้เทา้ แบบ Wide base cane 180 รปู ภาพที่ 6-28 แสดงไม้คำยัน (crutch) 181 รปู ภาพท่ี 6-29 แสดงการใชง้ าน Axillary crutches ทถี่ กู ต้อง 181 รูปภาพท่ี 6-30 แสดงวธิ ีการก้าวเดนิ ดว้ ยอุปกรณ์ไม้ค้ำยันรักแร้ 182 รูปภาพท่ี 6-31 แสดงวธิ กี ารใชอ้ ปุ กรณช์ ่วยเดนิ ชนิด pick up walker 183 รูปภาพที่ 7-1 แสดงตวั อย่างใบคำสัง่ การรักษา 204 รูปภาพท่ี 7-2 แสดงตัวอย่างใบบนั ทึกการบรหิ ารยา (Medication 206 Administration Record: MAR รูปภาพที่ 7-3 แสดงวิธีการเทเมด็ ยา 211 รูปภาพที่ 7-4 แสดงการเทยานำ้ 211 รูปภาพที่ 7-5 แสดงท่าของผู้ปว่ ยขณะกลืนยาน้ำ 212 รูปภาพท่ี 7- 6 แสดงวิธกี ารให้ยาใตล้ ิ้น 217 รปู ภาพที่ 7-7 แสดงวธิ ีการหยอดตา 215 รปู ภาพท่ี 7-8 แสดงวธิ ีการป้ายตา 216 รปู ภาพท่ี 7-9 แสดงวธิ ีหยอดหใู นผใู้ หญ่ 217 รูปภาพที่ 7-10 แสดงวธิ หี ยอดจมกู 218 รปู ภาพที่ 7-11 แสดงการเหน็บยาช่องคลอดโดยใชน้ ้ิว 218 รปู ภาพท่ี 7-12 แสดงการใสย่ าเข้าช่องคลอดโดย applicator 219 รูปภาพท่ี 7-13 แสดงการสอดยาเข้าทางทวารหนกั 220 รปู ภาพท่ี 7-14 แสดงส่วนประกอบของกระบอกฉีดยาและเข็มฉดี ยา 220 รูปภาพที่ 7- 15 แสดงลกั ษณะขวดยา 218 13
รปู ภาพท่ี หน้า รปู ภาพท่ี 7-16 แสดงวิธหี ักหลอดยาและการดูดยาจากหลอดยา 222 รูปภาพท่ี 7-17 แสดงกระบอกฉดี ยาสำหรับฉีดเข้าช้ันผิวหนงั 224 รูปภาพท่ี 7-18 แสดงตำแหน่งทฉ่ี ดี ยาเข้าชน้ั ผวิ หนงั 224 รปู ภาพท่ี 7-19 แสดงลักษณะการแทงเข็มเข้าชนั้ ผิวหนงั 226 รูปภาพที่ 7-20 แสดงลักษณะต่มุ นูนเมื่อฉดี ยาเขา้ ชนั้ ผิวหนงั 226 รูปภาพท่ี 7-21 แสดงตำแหน่งทฉ่ี ีดยาเข้าใตผ้ ิวหนงั 227 รปู ภาพที่ 7-22 แสดงวิธีแทงเข็มฉดี ยาเข้าใตผ้ ิวหนงั ทำมุม 90 องศา และ 45 องศา 228 รปู ภาพที่ 7-23 แสดง กระบอกฉีดยาสำหรับฉดี อินซลู นิ 229 รูปภาพท่ี 7- 24 แสดงการหาตำแหนง่ ฉดี ยาสะโพกด้านข้าง 230 รปู ภาพที่ 7- 25 ตำแหน่งฉีดยาตะโพกดา้ นหลงั 231 รปู ภาพท่ี 7- 26 แสดงตำแหนง่ ฉีดยาต้นขาด้านขา้ ง 231 รปู ภาพที่ 7-27 แสดงตำแหน่งฉดี ยาต้นแขน 232 รูปภาพที่ 7-28 แสดงฟองอากาศท่เี หลือคา้ งในกระบอกฉดี ยา 233 รูปภาพท่ี 7-29 แสดงการต่ออปุ กรณส์ ำหรบั พน่ ยา 248 รูปภาพที่ 8-1 แสดง ชดุ ให้สารน้ำ (Intravenous set) 248 รปู ภาพที่ 8-2 แสดง Volume- control set หรอื โวลูโทรล เซ็ท 245 รูปภาพที่ 8-3 แสดง สายต่อเพิ่มความยาวของชุดให้สารนำ้ (extension set, 249 extension tube) รูปภาพท่ี 8-4 แสดง ข้อต่อ 3 ทาง (3- way) 249 รปู ภาพที่ 8-5 แสดง เข็มสแคลเวน (scalp vein catheter) 250 รปู ภาพที่ 8-6 แสดง เข็มพลาสติกสำหรับแทงเสน้ (IV catheter) 250 รูปภาพท่ี 8-7 แสดง สายสวนหลอดเลอื ดดำส่วนกลาง (central venous 251 catheter) รปู ภาพที่ 8-8 แสดง วัสดุใสปราศจากเชอื้ (transparent dressing) 251 รูปภาพที่ 8- 9 แสดงตำแหน่งในการเปดิ เสน้ 252 รูปภาพท่ี 8-10 แสดงเคร่อื งควบคุมการไหลของสารนำ้ (Infusion pump) 254 รปู ภาพที่ 9-1 แสดงการดึงลวดเยบ็ แผลออก (off staple) 295 รูปภาพท่ี 10-1 แสดงสายยางใหอ้ าหารทางจมูก 311 รูปภาพท่ี 11-1 แสดงอุปกรณ์สวนอุจจาระ 326 รูปภาพที่ 11-2 แสดงทา่ และวิธกี ารสวนอจุ จาระ 326 14
รปู ภาพที่ หนา้ รปู ภาพที่ 11-3 แสดงวัสดสุ วนอจุ จาระสำเรจ็ รูป 328 รูปภาพที่ 11-4 แสดงการควักอจุ จาระ 329 รปู ภาพที่ 11-5 แสดงสายสวนปัสสาวะยางแดง (catheter / rubber tube) 334 รปู ภาพที่ 11-6 แสดงลักษณะของสายสวนปัสสาวะ Foley’s catheter 336 รูปภาพที่ 11-7 แสดง ตวั อย่างการบันทึกน้ำเขา้ ออก 340 รปู ภาพที่ 12-1 แสดงอุปกรณ์ตรวจวดั ความความอ่ิมตัวออกซเิ จนของฮโี มโกลบนิ 349 จากชีพจร (Pulse oximeter) รูปภาพที่ 12-2 แสดง ถังออกซเิ จน 351 รูปภาพที่ 12-3 แสดง Oxygen Piped line 352 รปู ภาพที่ 12-4 แสดงอปุ กรณ์ให้ออกซเิ จน 352 รภู าพปท่ี 12-5 แสดงลักษณะของสายออกซเิ จนชนิด nasal cannula 350 รูปภาพที่ 12-6 แสดงลักษณะหนา้ กากออกซเิ จนชนดิ ธรรมดา (Simple face 353 mask) รปู ภาพท่ี 12-7 แสดงลักษณะของ Non rebreathing mask 354 รูปภาพที่ 12-8 เปรยี บเทียบลกั ษณะของ Partial rebreathing mask กบั Non 355 rebreathing mask รูปภาพที่ 12-9 แสดง Oxygen hood 355 รปู ภาพที่ 12-10 แสดง Collar mask 356 รปู ภาพท่ี 12-11 แสดง High flow nasal cannula 356 รปู ภาพท่ี 13-1 แสดงอปุ กรณ์สำหรับดดู เสมหะแบบระบบปดิ (close suction) 371 รปู ภาพท่ี 14-1 แสดงแสดงหลอดบรรจุเลือดชนดิ EDTA tube 380 รปู ภาพท่ี 14-2 แสดงแสดงหลอดบรรจุเลอื ดชนดิ sodium citrate tube 380 รปู ภาพที่ 14-3 แสดงหลอดบรรจเุ ลอื ดชนดิ Lithium heparin tube 381 รปู ภาพที่ 14-3 แสดงหลอดบรรจเุ ลอื ดชนิด Lithium heparin tube 382 รูปภาพที่ 14-5 แสดง Sodium Fluoride tube 379 รูปภาพท่ี 14-6 แสดงการเจาะ Arterial blood gas 383 รูปภาพที่ 14-7 แสดง ขวด Hemoculture 384 รูปภาพท่ี 14-8 แสดงการเจาะนำ้ ตาลปลายนว้ิ 384 รูปภาพท่ี 14-9 แสดงลำดับการเรยี งลำดับการนำเลือดใส่หลอดเลอื ด 385 รูปภาพที่ 14-10 แสดงการตรวจปสั สาวะตรวจท่วั ไป (Urine analysis) 386 15
รปู ภาพท่ี หน้า รูปภาพที่ 14-11 แสดงขวดเก็บเสมหะสำเร็จรูป (sputum collection) 388 รปู ภาพท่ี 15-1 แสดงตวั อย่าง หนังสือแสดงเจตนา หรอื living will. 398 16
แผนบริหารการสอนประจำวิชา รหสั วิชา 8016102 รายวชิ า การพยาบาลพ้ืนฐาน 3 (2-2-5) Fundamental Nursing เวลาเรยี น ภาคทฤษฎี 30 ชั่วโมง/ภาคเรียน ภาคทดลอง 30 ช่ัวโมง/ภาคเรยี น คำอธบิ ายรายวชิ า แนวคิด หลักการและเทคนิคการพยาบาลพื้นฐานที่คํานึงถึงการปฏิบัติการพยาบาลแบบองค์ รวม ในการดูแลบุคคลทุกวัยของชีวิตที่มีภาวะสุขภาพปกติและเบี่ยงเบน บนพื้นฐานทฤษฎีการดูแลโดย คํานงึ ถึงสิทธิผรู้ ับบรกิ าร ความปลอดภัยของผู้รับบริการ กฎหมาย และจรรยาบรรณวชิ าชพี The basic concepts, principles and techniques of basic nursing - in relationship to holistic nursing care - for individual of all ages; including both healthy people and people with illnesses. It is based on nursing theories and humanized nursing care concern, along with patient’s rights, patient’ s safety and professional ethics. วตั ถปุ ระสงคท์ ั่วไป 1. อธิบายหลักการของการพยาบาลพื้นฐานแก่บุคคลทุกช่วงวัยให้มีภาวะสุขภาพที่ดี ปลอดภัยจากความเจ็บป่วย คำนึงถึงการพยาบาลแบบองค์รวม รวมทั้งอธิบายวิธีการป้องกันและ ควบคุมการแพร่กระจายเชอ้ื ได้ 2. สามารถสืบค้นข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย ทันสมัย วิเคราะห์และเลือกใช้ หลกั ฐานเชงิ ประจักษใ์ นการวางแผนการพยาบาลได้เหมาะสม 3. ประยุกต์ใช้กระบวนการพยาบาลในการวางแผนการพยาบาลและให้การพยาบาลแก่ บุคคลทีเ่ จบ็ ปว่ ยด้วยโรคไม่ซับซอ้ นได้ 4. สามารถอธิบายหลักการของการพยาบาลพื้นฐานและปฏิบัติการพยาบาลในสถานการณ์ จำลองแก่บุคคลกรณีปัญหาที่ต้องการดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคล การประเมินสัญญาณชีพ การรับใหม่ 17
การวางแผนจำหนา่ ย การช่วยเหลอื เคล่ือนไหวรา่ งกาย การบริหารยา สารน้ำ เลอื ด ส่วนประกอบของ เลือด การเก็บสิ่งส่งตรวจ ปัญหาการมีบาดแผล ปัญหาความบกพร่องในการรับประทานอาหาร การ ขบั ถ่ายบกพร่อง การพร่องออกซเิ จน การขับเสมหะ รวมท้งั การพยาบาลผู้ป่วยระยะสดุ ท้ายได้ 5. สามารถทำงานเป็นทีมในการให้การพยาบาลผู้ป่วยในสถานการณ์จำลองหรือทำงานที่ ไดร้ บั มอบหมายจนประสบผลสำเรจ็ 6. เลอื กใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอกรณศี กึ ษาได้อยา่ งเหมาะสมกบั สถานการณ์ วัตถปุ ระสงคก์ ารปรบั ปรุงรายวิชา ผลการประเมนิ การจัดการเรียนการสอนในปีการศึกษาที่ผ่านมา พบวา่ 1. ผลการประเมนิ การจดั การเรียนการสอนในปีการศึกษาท่ีผ่านมา เท่ากับ 4.53 คะแนน ระดับมากที่สุด 2. ผลการประเมินการจดั การเรียนการสอนในปีการศึกษาท่ีผา่ นมา พบว่า 2.1 การดูแลนักศึกษายังไม่ทั่วถึงเนื่องจากจำนวนอาจารย์สอนภาคทดลองมีน้อย หากมี ภารกจิ อื่นอาจารย์จะมาสอนภาคทดลองช้ากว่ากำหนด 2.2 หากมีจำนวนนักศกึ ษามาก อปุ กรณ์การเรียนการสอนจะไมเ่ พียงพอกับจำนวนนกั ศึกษา ควรจัดให้มีวัสดุ อปุ กรณม์ ากขน้ึ 2.3 การสอนในห้องปฏิบัติการและการคุมสอบ OSCE ของอาจารย์แตล่ ะทา่ นไม่เหมือนกัน การสอบ OSCE เป็นวธิ ีการท่ีดีแตค่ วรจดั ให้เป็นระบบ 3. การพฒั นา/ปรบั ปรุงรายวิชา ดงั น้ี 3.1 เพิ่มจำนวนอาจารย์ผู้สอนภาคทดลองเป็น 6 คน จัดตารางการเรียนแยกเป็น 2 ห้อง อย่างชัดเจน จำนวนอาจารย์ต่อนักศึกษาเท่ากับ 6 – 7 คน เพื่อให้สามารถสอนสาธิตและสาธิต ยอ้ นกลับไดท้ ว่ั ถงึ ทกุ คน 3.2 ประชุมปรึกษาอาจารย์ร่วมสอน เพื่อร่วมกันพัฒนาคู่มือการสอนภาคทดลองและคู่มือ การสอบ OSCE เพื่อให้สามารถจัดการเรยี นการสอนภาคทดลองไดต้ รงกนั 3.3 มอบหมายให้นักศึกษาดูสื่อวิดีทัศน์สื่อวิดีทัศน์การพยาบาลพื้นฐานใน https://nurse.pbru.ac.th/th หรอื YouTube channel: Nursing Practice กอ่ นการเขา้ ฝกึ ปฏิบัติ ภาคทดลอง 3.4 จัดทำชุดการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Tool kit) ในหัตการที่จำเป็นและในปีการศึกษาที่ผา่ น มามีจำนวนนักศึกษาสอบผ่านน้อย จำนวน 2 ชุดการเรียนรู้ คือ injection toolkit และ Dressing toolkit เพ่ือใหน้ กั ศกึ ษานำไปฝกึ ปกิบตั ิจนมคี วามชำนาญ 18
3.5 จัดทำโมเดลช่วยสอนการให้สารน้ำ (intravenous fluid care) เพื่อให้นักศึกษาได้ เรียนรู้ทุกครง้ั ที่มาหอ้ งปฏิบัติการ 3.6 จัดทำ VDO การสอนไว้ใน Google classroom และมีแบบฝึกหัดท้ายบท บทละ 10 ข้อ เพ่อื ให้นักศึกษาได้ทบทวนดว้ ยตนเอง วิธสี อนและกิจกรรมการเรยี นการสอน 1. ภาคทฤษฎีสอนแบบบรรยายและอภปิ รายในชน้ั เรียน 2. ภาคทดลองเป็นการสอนสาธิตและสาธิตย้อนกลับในห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ สขุ ภาพ ส่ือการเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน 2. สื่อวิดีทัศน์การพยาบาลพื้นฐานใน https://nurse.pbru.ac.th/th และ YouTube channel: Nursing Practice 3. ชุดการเรียนรดู้ ้วยตนเอง (Tool kit) 4. โมเดลชว่ ยสอน จำนวนชัว่ โมงทใ่ี ชต้ อ่ ภาคการศกึ ษา 1. บรรยาย 30 ชว่ั โมง 2. การฝึกปฏิบตั ิภาคทดลอง 30 ชัว่ โมง 3. สอนเสรมิ ผู้สอนจะดำเนนิ การสอนเสรมิ ภายหลังการสอบแตล่ ะครั้งในกรณีที่นกั ศึกษาได้ คะแนนต่ำกวา่ รอ้ ยละ 60 4. การศึกษาดว้ ยตนเองไม่น้อยกว่า 5 ชวั่ โมง ตอ่ สัปดาห์ จำนวนชั่วโมงต่อสปั ดาหท์ ่อี าจารย์ใหค้ ำปรกึ ษาและแนะนำทางวชิ าการแกน่ กั ศกึ ษา เปน็ รายบคุ คล 1. อาจารย์ผู้รบั ผิดชอบวิชาแจง้ เวลาให้คำปรึกษาแกน่ ักศึกษาในการปฐมนเิ ทศรายวิชาและ ประกาศไว้ใน Google classroom เพื่อให้นักศึกษาจองวันเวลาที่ต้องการปรึกษาล่วงหน้า ทั้งนี้ นักศึกษาจะตอ้ งประสานงานกับอาจารยผ์ สู้ อนก่อน 2. นักศึกษาสามารถเรียนรู้ทาง on line และปรึกษาอาจารย์ผู้รับผิดชอบวิชาได้ที่ช่องทาง ตา่ ง ๆ ดังน้ี 19
ชือ่ หอ้ งทำงาน เบอร์โทร online อาจารยจ์ ติ รรดา พงศธราธิก ห้อง 208 0818459515 [email protected] FB : Nursing Skills by Jitrada เน้อื หาวชิ า 2 ชวั่ โมง ภาคทฤษฎี บทท่ี 1 แนวคิดและหลกั การพยาบาลพ้ืนฐาน 1.1 ภาวะสขุ ภาพ ความเจบ็ ปว่ ยและการพยาบาล 1.2 บทบาทพยาบาลและทมี สขุ ภาพ 1.3 สทิ ธผิ ู้ป่วยและจรรยาบรรณวิชาชพี 1.4 หลกั การพยาบาลแบบองคร์ วม 1.5 หลกั การพยาบาลบนพ้นื ฐานความปลอดภยั ของผู้ป่วย 1.6 บทสรปุ 1.7 คำถามท้ายบท 1.8 เอกสารอา้ งอิง บทท่ี 2 การพยาบาลพนื้ ฐานในการป้องกนั และควบคุมการแพร่กระจายเชือ้ 2 ช่ัวโมง 2.3 ความหมายของการติดเชอ้ื 2.4 วงจรการติดเช้ือกลไกและการติดเช้ือของร่างกายมนุษย์ 2.3 มาตรฐานในการควบคมุ การตดิ เชือ้ และป้องกันการแพร่กระจายเช้ือ 2.4 การพยาบาลเพ่ือควบคมุ การตดิ เชื้อและป้องกนั การแพร่กระจายเชื้อ 2.5 บทสรุป 2.6 คำถามทา้ ยบท 2.7 เอกสารอ้างอิง 20
บทท่ี 3 หลักการพยาบาลพ้ืนฐานในการรับใหม่ การจำหน่ายและการส่งต่อผปู้ ่วย 2 ชั่วโมง 3.1 การพยาบาลเพื่อการรับใหมใ่ นโรงพยาบาล 3.2 การพยาบาลเพื่อการจำหนา่ ยผปู้ ่วย 3.3 การพยาบาลเพื่อการส่งต่อผูป้ ่วย 3.4 บทสรุป 3.5 คำถามท้ายบท 3.6 เอกสารอา้ งอิง บทที่ 4 หลักการและเทคนคิ พยาบาลพน้ื ฐานในการวดั และประเมินสัญญาณชีพ 2 ชวั่ โมง 4.1 ความสำคญั ของการวดั และประเมนิ สญั ญาณชีพ 4.2 หลกั การวัดและประเมนิ สญั ญาณชีพ 4.3 การบันทกึ สญั ญาณชีพในรายงานผปู้ ่วย 4.4 บทสรปุ 4.5 คำถามทา้ ยบท 4.6 เอกสารอา้ งองิ บทที่ 5 หลักการและเทคนิคการพยาบาลพ้ืนฐานในการดแู ลสุขวทิ ยาสว่ นบุคคล 4 ชว่ั โมง และสง่ิ แวดล้อม 5.1 กระบวนการพยาบาลในการดูแลสุขวิทยาสว่ นบุคคล 5.2 การดแู ลสขุ วทิ ยาสว่ นบคุ คลในแตล่ ะชว่ งเวลาของวนั 5.3 หลกั การและวิธีการดูแลสุขวทิ ยาสว่ นส่วนบุคคล 5.4 การดูแลสิง่ แวดลอ้ มข้างเตียงผู้ปว่ ย 5.5 บทสรุป 5.6 คำถามท้ายบท 5.6 เอกสารอ้างอิง 21
บทท่ี 6 หลักการและเทคนคิ การพยาบาลพน้ื ฐาน ในการชว่ ยเคลื่อนไหวรา่ งกาย 2 ช่ัวโมง และการฟืน้ ฟสู ภาพ 6.1 องค์ประกอบของการเคลื่อนไหว 6.2 การพยาบาลผู้ป่วยท่ตี ้องไดร้ ับการจัดท่า 6.3 การพยาบาลผ้ปู ว่ ยที่ต้องไดร้ ับการเคลือ่ นย้าย 6.4 การพยาบาลเพื่อฟืน้ ฟสู ภาพและป้องกันภาวะแทรกซ้อน 6.5 บทสรปุ 6.6 คำถามท้ายบท 6.7 เอกสารอา้ งอิง บทท่ี 7 หลักการและเทคนคิ การพยาบาลพืน้ ฐานในการบรหิ ารยา 4 ชว่ั โมง 7.1 ความรูเ้ บือ้ งต้นเกีย่ วกบั ยา 7.2 หลกั การบริหารยา 7.3 การป้องกนั ความคลาดเคลื่อนทางยา 7.4 การบรหิ ารยาทางปาก 7.5 การบรหิ ารยาทางผวิ หนังและเยอ่ื บุ 7.6 การบริหารยาฉดี 7.7 การบรหิ ารยาพน่ 7.8 บทสรปุ 7.9 คำถามทา้ ยบท 7.10 เอกสารอา้ งอิง บทที่ 8 หลักการและเทคนิคการพยาบาลพน้ื ฐานในการใหส้ ารนำ้ เลือดและ 2 ชัว่ โมง ส่วนประกอบของเลือดทางหลอดเลอื ดดำ 8.1 หลกั การและวธิ กี ารให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ 8.2 การปอ้ งกันภาวะแทรกซ้อนจากการใหส้ ารน้ำทางหลอดเลือดดำ 8.3 หลักการและวิธีการใหเ้ ลือดและส่วนประกอบของเลอื ด 8.4 การปอ้ งกันภาวะแทรกซ้อนจากการใหเ้ ลือดและส่วนประกอบของเลอื ด 8.5 บทสรุป 8.6 คำถามท้ายบท 8.7 เอกสารอา้ งอิง 22
บทท่ี 9 หลักการและเทคนคิ การพยาบาลพ้ืนฐานในการทำแผล 2 ช่วั โมง 9.1 ประเภทของแผล 9.2 กระบวนการหายของแผล 9.3 หลักการและวิธีการทำแผล การตดั ไหม 9.4 บทสรุป 9.5 คำถามทา้ ยบท 9.6 เอกสารอ้างองิ บทท่ี 10 หลักการและเทคนิคการพยาบาลพน้ื ฐานในการใหอ้ าหารทางสายยางให้ 2 ชว่ั โมง อาหาร 10.1 ความผิดปกตขิ องการรับประทานอาหารทีพ่ บบ่อย 10.2 กระบวนการพยาบาลผ้ปู ่วยท่มี คี วามผดิ ปกติของการรบั ประทาน อาหาร 10.3 หลักการและวิธกี ารการใส่สายยางใหอ้ าหารทางจมูก 10.4 หลกั การและวิธีการให้อาหารทางสายยางให้อาหาร 10.5 การป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากการคาสายยางให้อาหารและการให้ อาหารทางสายยางให้อาหาร 10.6 บทสรปุ 10.7 คำถามทา้ ยบท 10.8 เอกสารอ้างอิง บทที่ 11 หลกั การและเทคนิคการพยาบาลพนื้ ฐานในการสวนอจุ จาระและการ 2 ชวั่ โมง สวนปสั สาวะ 11.1 ความผิดปกตขิ องการขบั ถ่ายอุจจาระ 11.2 หลกั การและวิธกี ารสวนอุจจาระ 11.3 ความผดิ ปกตขิ องการขบั ถ่ายปสั สาวะ 11.4 หลักการและวิธีการสวนปัสสาวะ 11.5 หลักการและเทคนคิ การการบันทึกปริมาณน้ำเข้า-ออก 11.6 บทสรุป 11.7 คำถามทา้ ยบท 23
11.8 เอกสารอ้างอิง บทที่ 12 หลักการและเทคนิคการพยาบาลพ้ืนฐานในการบำบดั ดว้ ยออกซเิ จน 1 ชั่วโมง 12.1 ความรู้เบือ้ งตน้ ภาวะพร่องออกซเิ จน 12.2 หลักการและเทคนิคการบำบัดออกซิเจน 12.3 การพยาบาลผู้ป่วยท่ีได้รบั การบำบดั ด้วยออกซเิ จน 12.4 บทสรุป 12.5 คำถามทา้ ยบท 12.6 เอกสารอ้างอิง บทท่ี 13 หลักการและเทคนิคการพยาบาลพนื้ ฐานในการดูดเสมหะ 1 ชั่วโมง 13.1 ความรเู้ บ้ืองต้นเกีย่ วกับภาวะเสมหะคั่งค้าง 13.2 การพยาบาลผ้ปู ่วยที่ได้รบั การดดู เสมหะทางท่อหลอดลมคอ 13.3 หลกั การและวธิ ีการดูดเสมหะทางทอ่ หลอดลมคอ 13.4 บทสรุป 13.5 คำถามทา้ ยบท 13.6 เอกสารอ้างอิง บทที่ 14 หลกั การและเทคนิคการพยาบาลพนื้ ฐานในการเก็บสงิ่ ส่งตรวจ 1 ชั่วโมง 14.1 หลักการเกบ็ สง่ิ ส่งตรวจ 14.2 วิธีการเกบ็ สิ่งส่งตรวจ 14.3 บทสรุป 14.4 คำถามท้ายบท 14.5 เอกสารอ้างอิง บทท่ี 15 หลกั การและเทคนิคการพยาบาลพน้ื ฐานในการพยาบาลผ้ปู ่วยระยะ 1 ช่ัวโมง สดุ ท้ายของชีวิต 15.1 ความรเู้ บ้อื งต้นเกี่ยวกับผปู้ ่วยระยะสดุ ท้าย 15.2 หลกั การพยาบาลแบบประคับประคองและการดูแลระยะสุดท้ายของ ชีวิต 15.3 หลักการพยาบาลและวิธีปฎิบัติเมือ่ ผู้ปว่ ยท่ีถึงแก่กรรม 24
15.4 บทสรปุ 15.5 คำถามท้ายบท 15.6 เอกสารอ้างอิง รวมภาคทฤษฏี 30 ชั่วโมง ภาคทดลอง 2 ชวั่ โมง บทท่ี 1 วธิ ีปฎิบัติการพยาบาลพ้ืนฐานในการปอ้ งกนั และควบคุมการแพร่กระจาย เชื้อ 1.1 วิธกี ารลา้ งมือ (Hand washing) 1.2 วธิ ีการใสถ่ งุ มือปราศจากเชอื้ (Sterile Gloves) 1.3 วธิ ีการเปิดห่อของปลอดเชอื้ และการหยบิ จบั ของปลอดเช้ือ 1.4 วิธกี ารสวมและถอดเสอื้ กาวน์ปลอดเชอื้ (sterile gown) 1.5 บทสรุป 1.6 แบบประเมินทักษะปฏิบตั ิการพยาบาลพ้ืนฐาน 1.7 เอกสารอ้างอิง บทที่ 2 วธิ ปี ฎิบัติการพยาบาลพ้ืนฐานในการวดั และประเมนิ สญั ญาณชพี 2 ชัว่ โมง 2.1 วธิ ีการวัดอณุ หภูมริ ่างกาย (Temperature measurement) 2.2 วิธีการวัดชพี จร (pulse measurement) 2.3 วธิ กี ารวดั อตั ราการหายใจ (Respiratory measurement) 2.4 วิธกี ารวัดความดนั โลหิต (Blood pressure measurement) 2.5 บทสรุป 2.6 แบบประเมินทักษะปฏบิ ตั ิการพยาบาลพืน้ ฐาน 2.7 เอกสารอ้างอิง บทที่ 3 วิธีปฎิบัติการพยาบาลพ้ืนฐานในการดูแลสขุ วทิ ยาส่วนบุคคล 2 ชั่วโมง 3.1 วิธปี ฏิบัตกิ ารอาบนำ้ ผ้ปู ่วยบนเตียงแบบสมบูรณ์ 3.2 วิธีปฏิบตั กิ ารนวดหลงั 3.3 วธิ ีปฏบิ ตั กิ ารทำความสะอาดอวัยวะสืบพนั ธภ์ุ ายนอก 3.4 วิธปี ฏิบัติการสระผมบนเตียง 25
3.5 วธิ ปี ฏิบัตกิ ารเช็ดตวั ลดไข้ 3.6 บทสรุป 3.7 แบบประเมินทักษะปฏบิ ัติการพยาบาลพืน้ ฐาน 3.8 เอกสารอ้างอิง บทที่ 4 วธิ ปี ฎิบัติการพยาบาลพ้นื ฐานในการทำความสะอาดเตยี งผู้ปว่ ย 2 ช่ัวโมง 4.1 วธิ ีการทำเตยี งว่าง (empty bed) 4.2 วิธกี ารทำเตียงที่มีผปู้ ว่ ย (Occupied bed) 4.3 วิธีการทำเตยี งผ้ปู ่วยหลงั จากการผ่าตดั (Anesthetic bed) 4.4 บทสรปุ 4.5 แบบประเมนิ ทกั ษะปฏบิ ัติการพยาบาลพื้นฐาน 4.6 เอกสารอา้ งอิง บทที่ 5 วิธีปฎบิ ัติการพยาบาลพน้ื ฐานในการจดั ท่าและเคลือ่ นยา้ ยผู้ปว่ ย 2 ชวั่ โมง 5.1 วิธีการจัดทา่ นอนผ้ปู ว่ ย 5.2 วธิ ีการเคล่อื นย้ายผปู้ ่วย 5.3 บทสรปุ 5.4 แบบประเมินทักษะปฏบิ ตั ิการพยาบาลพ้ืนฐาน 5.5 เอกสารอา้ งอิง บทที่ 6 วธิ ีปฎบิ ัติการพยาบาลพ้ืนฐานในการบริหารยาทางปาก ทางตาและทางหู 2 ชว่ั โมง 6.1 วิธกี ารบริหารยาทางปาก 6.2 วิธีการบรหิ ารยาทางตา 6.3 วธิ ีการบริหารยาทางหู 6.4 บทสรปุ 6.5 แบบประเมนิ ทกั ษะปฏิบตั ิการพยาบาลพน้ื ฐาน 6.6 เอกสารอ้างองิ 26
บทที่ 7 วธิ ปี ฎิบตั ิการพยาบาลพืน้ ฐานในการฉดี ยาเขา้ ชัน้ ผิวหนัง ชัน้ ใต้ผวิ หนงั 2 ชว่ั โมง และช้นั กล้ามเนือ้ 7.1 วธิ กี ารยาฉีดเขา้ ชั้นผิวหนงั (intradermal injection) 7.2 วธิ กี ารฉดี ยาเข้าใต้ผิวหนัง (subcutaneous injection) 7.3 วิธกี ารฉีดยาเขา้ ช้นั กลา้ มเน้ือ (intramuscular injection) 7.4 บทสรุป 7.5 แบบประเมนิ ทักษะปฏิบตั ิการพยาบาลพน้ื ฐาน 7.6 เอกสารอา้ งองิ บทที่ 8 วิธปี ฎิบตั ิการพยาบาลพนื้ ฐานในการบรหิ ารยาฉดี ยาเขา้ หลอดเลือดดำ 2 ชว่ั โมง 8.1 วธิ ีการฉดี ยาเขา้ หลอดเลือดดำในระยะส้นั (intravenous injection push) 8.2 วธิ ีการฉีดยาเขา้ หลอดเลอื ดดำแบบหยด (intravenous injection drip) 8.3 บทสรุป 8.4 แบบประเมนิ ทักษะปฏบิ ตั ิการพยาบาลพ้ืนฐาน 8.5 เอกสารอ้างองิ บทท่ี 9 วธิ ปี ฎบิ ัติการพยาบาลพืน้ ฐานในการบรหิ ารยาพ่น 2 ชว่ั โมง 9.1 วธิ ีการบริหารยาพ่น 9.2 บทสรปุ 9.3 แบบประเมนิ ทักษะปฏิบัติการพยาบาลพืน้ ฐาน 9.4 เอกสารอ้างองิ บทที่ 10 วิธีปฎิบัตกิ ารพยาบาลพืน้ ฐานในการให้สารนำ้ ทางหลอดเลือดดำ 2 ชั่วโมง 10.1 วิธกี ารใหส้ ารนำ้ ทางหลอดเลือดดำ 10.2 บทสรุป 10.3 แบบประเมนิ ทักษะปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลพน้ื ฐาน 10.4 เอกสารอ้างอิง 27
บทที่ 11 วิธีปฎบิ ัติการพยาบาลพน้ื ฐานในการทำแผล 2 ชั่วโมง 11.1 วิธกี ารทำแผลแบบ Dry dressing 2 ชว่ั โมง 11.2 วธิ กี ารทำแผลแบบ Wet dressing 2 ชัว่ โมง 11.3 บทสรุป 2 ชั่วโมง 11.4 แบบประเมนิ ทกั ษะปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลพื้นฐาน 11.5 เอกสารอ้างอิง บทที่ 12 วิธีปฎิบตั กิ ารพยาบาลพ้ืนฐานในการใหอ้ าหารทางสายยางให้อาหาร 12.1 วิธีการการใส่สายยางให้อาหารทางจมูก 12.2 วิธีการใหอ้ าหารทางสายยางให้อาหาร 12.3 บทสรปุ 12.4 แบบประเมนิ ทกั ษะปฏิบัติการพยาบาลพ้นื ฐาน 12.5 เอกสารอ้างอิง บทท่ี 13 วิธปี ฎบิ ตั ิการพยาบาลพื้นฐานในการสวนปสั สาวะเปน็ ครงั้ คราว 13.1 วิธกี ารสวนปสั สาวะแบบเปน็ ปสั สาวะเป็นครง้ั คราว (intermittent catheter) 13.2 บทสรปุ 13.3 แบบประเมนิ ทกั ษะปฏบิ ตั ิการพยาบาลพน้ื ฐาน 13.4 เอกสารอ้างอิง บทที่ 14 วธิ ีปฎบิ ตั ิการพยาบาลพ้นื ฐานในการให้ออกซเิ จน 14.1 วิธีการใหอ้ อกซิเจนด้วย Nasal cannula 14.2 วธิ กี ารให้ออกซิเจนด้วย Mask with bag 14.3 วิธีการใหอ้ อกซเิ จนด้วย Collar mask 14.4 บทสรุป 14.5 แบบประเมนิ ทักษะปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลพื้นฐาน 14.6 เอกสารอ้างอิง 28
บทที่ 15 วิธีปฎบิ ัติการพยาบาลพ้นื ฐานในการดูดเสมหะทางท่อหลอดลมคอ 2 ช่วั โมง 15.1 วธิ กี ารดูดเสมหะทางทอ่ หลอดลมคอ 15.2 บทสรุป 15.3 แบบประเมินทกั ษะปฏิบัตกิ ารพยาบาลพนื้ ฐาน 15.4 เอกสารอ้างอิง รวมภาคทดลอง 30 ชั่วโมง การวดั และการประเมินผล 1. การวัดผล ตารางที่ 1.1 แผนการประเมินผลการจัดการเรียนรู้ภาคทฤษฎี งานกจิ กรรม/ แบบประเมิน ผลลัพธ์การเรยี นรู้ % LO3 LO4 LO6 LO1 LO2 -- LO5 - 1.25 - สงั เกตพฤติกรรม แบบประเมินพฤตกิ รรม 1.25 - -- - - 1.25 ภาคทฤษฎี ภาคทฤษฎี 30 3 2 - 37.5 รายงานการสะทอ้ น แบบประเมินรายงานการ 1.25 - -- - - 24 -- - - 36 คดิ ดา้ นคณุ ธรรม สะท้อนคิดดา้ นคณุ ธรรม 30 3 2 - 100 จริยธรรม จรยิ ธรรม สอบ OSCE รวบ แบบประเมินกรณศี ึกษา 2.5 - ยอดตามโจทยใ์ น สถานการณจ์ ำลอง สอบกลางภาค ข้อสอบปรนัย - 24 สอบปลายภาค ข้อสอบปรนยั - 36 รวม 5 60 ตารางที่ 1.2 แผนการประเมินผลการจดั การเรียนรู้ภาคทดลอง งานกจิ กรรม/ แบบประเมนิ ผลลพั ธ์การเรียนรู้ % LO1 LO2 LO3 LO4 LO5 LO6 สงั เกตพฤตกิ รรม แบบประเมินพฤติกรรม 2.5 - - - - - 2.5 ภาคทดลอง ภาคทดลอง 29
สอบ objective ข้อสอบ OSCE - 60 15 - - - 75 - 22.5 structured - 100 clinical examination สอบ OSCE รวบ ปฏิบัตกิ ารพยาบาลตาม 2.5 - 15 3 2 ยอดตามโจทยใ์ น แผนการพในสถานการณ์ สถานการณ์จำลอง จำลอง รวม 5 60 30 3 2 2. การประเมินผล ตารางท่ี 1.3 เกณฑก์ ารประเมินผลการเรียนดว้ ยระบบ ระดบั ความหมายของผลการเรียน คา่ ระดับคะแนน ช่วงคะแนน A ยอดเยย่ี ม (Excellent) 4.00 80-100 B+ ดมี าก (Very Good) 3.50 75-79 B ดี (Good) 3.00 70-74 C+ ดพี อใช้ (Fairly Good) 2.50 65-69 C พอใช้ (Average) 2.00 60-64 D+ อ่อน (Poor) 1.50 55-59 D ออ่ นมาก (Very Poor) 1.00 50-54 E ตก (Fail) 0.00 0-49 การประเมินและปรับปรงุ การดำเนินการของรายวชิ า 1. กลยุทธ์การประเมนิ ประสิทธผิ ลของรายวชิ าโดยนกั ศึกษา 1.1 ประเมนิ การสอนของอาจารย์ผสู้ อนรายบุคคลผ่านระบบการประเมนิ ของมหาวิทยาลั 1.2 การประเมนิ ผลการจดั การเรียนการสอนรายวิชา 1.3 ผู้เรียนประเมินตนเองในแต่ละคาบเกี่ยวกับการบรรลุผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ตามที่ รายวิชากำหนด 1.4 การสนทนากลุ่มย่อยระหว่างผู้สอนและสัมภาษณ์ผู้เรียนในประเด็นต่างๆ เช่น ประสิทธิผลของวิธีการ เรียนการสอน ผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ ทรัพยากร และสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ เป็นตน้ 30
2. กลยทุ ธก์ ารประเมินการสอน 2.1 พิจารณาจากผลการผลการสอบกลางภาค การสอบปลายภาค การสอบ OSCE การสอบ รวบยอดตามโจทย์สถานการณ์ของนกั ศึกษาประกอบกับผลการประเมินการสอนจากนกั ศึกษา 2.2 พิจารณาผลการประเมินอาจารย์ผู้สอนโดยอาจารย์ผู้ร่วมสอน อาจารย์ผู้รับผิดชอบ หลกั สตู รและผบู้ งั คับบญั ชา 2.3 การทวนสอบผลการเรียนรโู้ ดยคณะกรรมการทวนสอบเพือ่ ประเมินผลการเรยี นการสอน 3. การปรบั ปรุงการสอน 3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน ปรับปรุงการสอนโดยใช้ผลการประเมินประสิทธิภาพ การสอนรายวิชา 3.2 นำผลการสัมมนาการจัดการเรียนการสอนมาปรับปรุงคู่มือ หนังสือหรือตำราการ พยาบาลพืน้ ฐานและการพฒั นาสอ่ื การเรียนการสอน 4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธ์ขิ องนกั ศึกษาในรายวิชา 4.1 ทวนสอบมาตรฐานผลสมั ฤทธ์ขิ องนกั ศกึ ษาโดยระบบคณะกรรมการบริหารหลักสูตร 4.2 การดำเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสทิ ธิผลของรายวิชา 4.3 ปรับปรุงระบบการเรียนการสอน การวัดและการประเมินผลจากผลการประเมินของ นกั ศกึ ษา ผลการทวนสอบมาตรฐานผลสมั ฤทธิ์รายวิชาและผลจากการสมั มนาอาจารยผ์ ูส้ อน 31
ส่วนที่ 1 การพยาบาลพ้นื ฐาน ภาคทฤษฎี 32
แผนบริหารการสอนประจำบทท่ี 1 แนวคิดและหลักการพยาบาลพื้นฐาน หัวขอ้ เนอื้ หาประจำบท 1. ภาวะสุขภาพ ความเจ็บป่วยและการพยาบาล 2. บทบาทพยาบาลและทมี สขุ ภาพ 3. สทิ ธิผ้ปู ่วยและจรรยาบรรณวชิ าชพี 4. หลักการพยาบาลแบบองคร์ วม 5. หลักการพยาบาลบนพ้ืนฐานความปลอดภยั ของผู้ป่วย จำนวนชว่ั โมงที่สอน: ภาคทฤษฎี 2 ชว่ั โมง วตั ถุประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม 1. อธิบายความหมายของภาวะสขุ ภาพและความเจบ็ ป่วย 2. ระบุการพยาบาลตามบทบาทอสิ ระและบทบาทในทมี สหสาขาวชิ าชีพ 3. วางแผนการพยาบาลโดยใชห้ ลักการพยาบาลแบบองค์รวมบนพนื้ ฐานความปลอดภัยของ ผูป้ ว่ ย วธิ สี อนและกิจกรรมการเรยี นการสอน 1. วิธีสอน 1.1 บรรยายแบบมสี ่วนร่วม 1.2 อภิปรายกลุ่มย่อย 1.3 ยกตวั อยา่ งกรณศี กึ ษาเพอ่ื การอภิปราย 2. กิจกรรมการเรยี นการสอน 2.1 บรรยายเรื่องการเจ็บป่วยแบบเรื้อรังและแบบเฉียบพลัน บทบาทและความรับผิดชอบ ของพยาบาล บทบาทอิสระและบทบาทในทีมสหสาขาวิชาชีพ หลักการพยาบาลที่คำนึงถึงหลักการ พยาบาลแบบองคร์ วม (Holistic care) ผูเ้ รยี นร่วมอภปิ รายและยกตวั อย่างในแต่ละหวั ข้อ 2.2 บรรยายการวางแผนการพยาบาลโดยใช้หลักการพยาบาลแบบองค์รวมบนพื้นฐาน ความปลอดภัยของผู้ปว่ ย ยกตวั อยา่ งกรณีศกึ ษาและใหผ้ ูเ้ รยี นรว่ มกันวางแผนการพยาบาล 33
2.3 สรุปการเรียนรู้และให้ผู้เรียนเล่มเกมส์ตอบคำถามแบบฝึกหัดท้ายบทด้วยโปรแกรม สำเร็จรปู สมารท์ โฟน สื่อการเรยี นการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน 2. โปรแกรมสำเร็จรูป Power Point Presentation 3. โปรแกรมสำเร็จรูป Quizziz.com การวดั ผลและประเมินผล 1. การเขา้ ชนั้ เรียนร่วมกบั การสงั เกตพฤตกิ รรมการเรียน 2. การสังเกตการมสี ว่ นรว่ มในอภิปรายและตอบคำถาม 3. การทำแบบฝึกหดั ทา้ ยบท 4. การสอบกลางภาค 34
บทท่ี 1 แนวคิดและหลกั การพยาบาลพืน้ ฐาน การพยาบาล เป็นการดูแลช่วยเหลือบุคคลให้มีภาวะสุขภาพที่ดี ปลอดภัยจากความ เจ็บป่วย ความเข้าใจเกี่ยวกับความเจ็บป่วยและบทบาทของพยาบาล ตลอดจนเข้าใจถึงความสำคัญ ของสทิ ธิผู้ปว่ ย และจรรยาบรรณวชิ าชพี เพ่อื ช่วยใหเ้ กิดความปลอดภยั สูงสุดแก่ผู้ป่วยตอ่ ไป 1.1 ภาวะสขุ ภาพและความเจบ็ ป่วย ความหมายของสุขภาพ ได้มีผู้ให้ความหมายไว้เป็นจำนวนมาก ในบทนี้จะขอยกตัวอย่าง ความหมายของคำว่า สุขภาพ ไวพ้ อ สงั เขป ดงั น้ี องค์การอนามัยโลก ให้ความหมายของสุขภาพไว้ว่า “ สุขภาพ หมายถึง ภาวะแห่งความ สมบูรณ์ของร่างกาย จิตใจ การอยใู่ นสังคมอยา่ งปกติสขุ ” (World Health Organization, 1974 อ้าง ใน สปุ ราณี เสนาดสิ ัย, 2558 ) พระราชบญั ญตั สิ ุขภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. 2550 กลา่ วว่า “ สขุ ภาพ หมายถงึ ภาวะของมนุษย์ ทีส่ มบรู ณ์ท้ังทางกาย ทาง จิต ทางปัญญา และทางสังคม เชื่อมโยงการเป็นองค์รวมอย่างสมดลุ ” (ราช กจิ จานุเบกษา, 2550 อา้ งใน สปุ ราณี เสนาดสิ ัย, 2558) สุปราณี เสนาดิสัย กล่าวว่า “สุขภาพองค์รวม หมายถึง การมีร่างกายแข็งแรง สมบูรณ์ ไม่ เจบ็ ปว่ ยงา่ ย ถา้ เจบ็ ปว่ ยก็ ไดร้ ับการดแู ลอย่างดี ไมเ่ สียชีวิตก่อนวยั อันควร มีจิตใจร่นื เรงิ ผ่องใส สบาย สะอาด สงบ ไม่ทุกข์ ไม่ทุรทุราย วุ่นวาย มีชีวิต ความเป็นความเป็นอยู่ในสังคมเป็นอย่างดี อยู่ใน ครอบครวั ทีอ่ บอุ่น และมีชมุ ชนทเี่ ข้มแขง็ ” (สปุ ราณี เสนาดสิ ยั , 2558) ดงั น้นั จึงสรปุ วา่ สุขภาพ หมายถึง การทีบ่ ุคคลมรี ่างกายทส่ี มบรู ณ์ แข็งแรง มีจิตใจท่ีเข้มแข็ง สามารถใช้ชีวิตอยู่ ได้เป็นอย่างดีในครอบครัว ในสังคม แตเ่ มื่อมีการเจ็บป่วยก็ได้รับจากดูแลเป็นอย่าง ดจี นคงไว้ซง่ึ ความสมบูรณแ์ ขง็ แรงดงั เดมิ ความเจ็บป่วย หมายถึง การมีความเบี่ยงเบนของภาวะสุขภาพทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ ครอบครัว สังคม ทำให้บุคคลไม่มีความสุข ไม่สามารถดูแลตนเองได้ ไม่สามารถดำรงไว้ซึ่งภาวะ สุขภาพที่ดีได้ ความเจ็บป่วยเป็นภาวะส่วนบุคคลที่ผู้อื่นไม่สามารถบอกแทนได้ ความเจ็บป่วยไม่ได้ หมายความถึงการเป็นโรค เนือ่ งจากความหมายของโรค หมายถึง การเปลย่ี นแปลงหนา้ ทขี่ องร่างกาย 35
เป็นผลให้ความสามารถและการทำงานของอวัยวะต่างๆ ลดลง หรือการเกิดโรคส่งผลให้ช่วงชีวิตของ บุคคลมีระยะเวลาสั้นลง จึงกล่าวได้ว่า โรคทำให้เกิดความเจ็บป่วยขึ้นกับบุคคล (สุปราณี เสนาดิสัย, 2558) 1.1.1 ประเภทของความเจ็บปว่ ย การเจบ็ ป่วยสามารถแบ่งไดเ้ ป็น 2 ประเภท ดงั น้ี 1) ความเจ็บป่วยเฉียบพลัน (Acute illness) เป็นภาวะที่มีอาการเจ็บป่วยเกิดขึ้น ภายในระยะเวลาอันส้นั อาการจะเกดิ ขน้ึ ทันทีทนั ใดและหายไปอยา่ งรวดเรว็ ซึ่งมที ้งั การเจ็บป่วยแบบ ที่ไม่รุนแรง เช่น หวัด ท้องเสีย หรืออาจเป็นชนิด รุนแรงต้องได้รับการรกั ษาดว้ ยยาปฏชิ วี นะหรือการ ผ่าตดั เมือ่ ได้รบั การรักษาจนหายจากความเจบ็ ปว่ ยแล้ว บุคคล จะกลบั เข้าสูภ่ าวะปกตไิ ด้ 2) ความเจ็บป่วยเรื้อรัง (Chronic illness) เป็นภาวะที่การเจ็บป่วยเกิดขึ้นเป็น ระยะเวลายาวนานต้ังแต่ 6 เดอื นขนึ้ ไป ความเจบ็ ปว่ ยเรอ้ื รงั มักเกิดข้ึนช้า ๆ มชี ว่ งที่โรครุนแรง กำเริบ ช่วงที่อาการทุเลาลงหรือหายไป สลับไปมา การพยาบาลที่สำคัญในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะเจ็บป่วย เรอ้ื รัง ควรเป็นการปรับการดำเนินชวี ติ ใหส้ อดคลอ้ งกบั สภาวะ ความเจ็บป่วย 1.1.2 ระยะของความเจ็บปว่ ย ระยะที่ 1 ระยะที่มอี าการเกิดขน้ึ บคุ คลเริม่ รบั รู้ถงึ ความผิดปกตทิ ่ีเกดิ ขน้ึ ในร่างกาย อาการ นน้ั อาจชัดเจนหรือไมก่ ไ็ ด้ หากอาการยังคงดำเนินตอ่ ไปเรอื่ ยๆ หรอื คอ่ ยๆ แยล่ งก็จะเข้าสูร่ ะยะต่อไป ระยะที่ 2 ระยะยอมรับในบทบาทการเป็นผู้ปว่ ย ระยะนี้ผู้ป่วยคิดว่าตนเองป่วยและแสวงหา ข้อมูลเพื่อยืนยันว่าเคยมี ใครมีอาการเช่นเดียวกับตนเองบ้าง บุคคลอาจเลือกวิธีการดูแลสขุ ภาพตาม ความเชอ่ื ของตน เช่น ใชย้ าสมนุ ไพร ซอื้ ยามา รบั ประทานหรือไปพบแพทย์ ระยะที่ 3 การยอมรบั ในบทบาทการพ่ึงพาคนอื่น ระยะนบี้ คุ คลจะยอมรบั การวินิจฉยั โรคและ ให้ความร่วมมือในการ รักษา บุคคลต้องการความช่วยเหลือและกำลังใจ ผู้ป่วยอาจต้องเข้ารับการ รกั ษาในโรงพยาบาล หรอื หากผปู้ ว่ ยหรือครอบครวั สามารถจัดการการเจ็บปว่ ยได้ ผู้ปว่ ยนนั้ ก็จะได้รับ การดูแลที่บา้ น ระยะที่ 4 ระยะการฟื้นตัวและกลับคืนสู่สภาพปกติ ระยะนี้การพึ่งพาบุคคลอื่นจะหายไป สามารถรับผิดชอบตนเอง ได้ บุคคลที่ได้รับการดูแล การให้สุขศึกษาที่ดี จะสามารถกลับสู่ภาวะปกติ ได้ แต่หากเป็นการเจ็บป่วยแบบเร้ือรงั ระยะการฟ้ืน หายจะถูกแทนท่ีดว้ ย การปรบั ตัวที่เหมาะสมกับ ขอ้ จำกัดทางสขุ ภาพ 36
1.1.3 ผลกระทบของความเจ็บป่วย 1) ผลกระทบต่อตัวผู้ป่วย ผู้ป่วยจะประสบกับการเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรม อารมณ์ การเปลี่ยนแปลงทางด้านภาพลักษณ์ ที่มีผลต่อวิถีชีวิต โดยผู้ป่วยอาจมีการแสดงอารมณ์หรือ พฤติกรรมที่แตกต่างไปจากเดิม ทั้งนี้การแสดงออกของบุคคลอาจแตกตา่ งกัน ขึ้นอยู่กับ ลักษณะของ ความเจบ็ ป่วย ความรนุ แรงของการเจ็บป่วยและธรรมชาติของการเจบ็ ป่วย โดยเฉพาะการเจบ็ ป่วยท่ีมี ความ รนุ แรงอาจจะทำใหผ้ ู้ป่วยมอี ารมณ์ในขณะเจ็บปว่ ย ซ่งึ ประกอบไปด้วย (1) ความวิตกกังวล (anxiety) เป็นความรู้สึกที่ไม่แน่นอน ความกลัวความเจ็บป่วย ที่มาคุกคาม ค่าใช้จ่ายในการรักษา กลัวการต้องออกจากงาน ซึ่งพฤติกรรมที่แสดงออกอาจแตกต่าง กันไป (2) ความกลัว (fear) อาจกลัวร่างกายไม่กลับมาเป็นปกติ กลัวความตาย บางครั้ง อาจเป็นความตกใจ (shock) ซึ่งเป็นการ ตอบสนองด้วยอารมณ์ที่รุนแรง มักเกิดในผู้ป่วยที่ได้รับการ วินจิ ฉยั โรคท่ีรนุ แรง (3) มีพฤติกรรมถดถอยต้องการความสนใจ ความเอาใจใส่มากขึ้น เมื่อไม่ได้รับความ สนใจอาจแสดงอาการหงุดหงิด พาลหาเรือ่ งได้ ซงึ่ อาจแสดงออกในหลายลกั ษณะ ไดแ้ ก่ - ปฏิเสธ (denial) เป็นการปฏิเสธความเจ็บป่วยที่เกิดขึ้น การไม่ยอมรับความ จริง ซึ่งการไม่ยอมรับความจริงในระยะ สั้นอาจเป็นการจัดการความเจ็บป่วยได้ แต่หากเกิดขึ้นใน ระยะยาวอาจส่งผลเสยี ได้ - โกรธ (angry) ผู้ป่วยอาจแสดงความโกรธผู้อื่น เช่น บุคคลในครอบครัว บุคลากรทางการแพทย์ เก็บตัว (withdrawal) การปฏิเสธที่จะมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่น ซึ่งการเก็บ ตัวนอ้ี าจเปน็ อาการแสดงเรม่ิ ตน้ ของภาวะ ซมึ เศร้าได้ - จจู้ ้ี จุกจกิ มากเกินกว่าปกติ ท้งั ทไ่ี มเ่ คยเปน็ มากอ่ น - คดิ กับความเจ็บปว่ ยของตนเองตลอดเวลา ตอ้ งการใหผ้ อู้ นื่ พูดเกีย่ วกับเรื่องของ ตนเอง ไมค่ อ่ ยฟงั เร่ืองความ เจบ็ ป่วยของผ้อู ่นื - ความสนใจสง่ิ แวดล้อมรอบข้างลดลง สนใจเร่อื งของตนเองมากข้ึน บางคนอาจ สนใจทำเรื่องท่ีตนไม่เคยสนใจทำมาก่อน 37
- เจตคติเปลี่ยนแปลงไป จากคนที่เคยทำอะไรด้วยตนเองได้ กลายเป็นคนท่ี ต้องการการเอาใจใส่อย่างใกล้ชิด ผู้ป่วย ที่นอนโรงพยาบาลอาจแสดงออกโดยการเรยี กพยาบาลบ่อย ๆ เรียกร้องความสนใจจากญาติมากขึน้ 2) ผลกระทบต่อครอบครัว การเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นส่งผลกระทบต่อครอบครัวของผู้ป่วย เนื่องมาจากการเป็นสมาชิกในครอบครัวของผู้ป่วยเมื่อเกิดความเจ็บป่วยบทบาทในครอบครัวอาจมี การเปลี่ยนแปลงไป โดยเฉพาะผูท้ ีเ่ ป็นหัวหนา้ ครอบครวั ทีม่ ีหน้าท่ีในการหารายไดห้ ลักของครอบครวั ทง้ั น้ผี ลกระทบทเ่ี กิดข้ึนกบั ครอบครวั มีความเกีย่ วเน่ืองกับการเจบ็ ปว่ ยที่มคี วามรุนแรง หรือระยะเวลา ในการเจ็บป่วยทีย่ าวนาน 1.2 การพยาบาล บทบาทพยาบาลและทมี สุขภาพ 1.2.1 ขอบเขตหน้าทีข่ องพยาบาล ขอบเขตหน้าที่ของพยาบาลในการปฏิบัติการพยาบาล (ถนอมขวัญ ทวีบูรณ์ ,2553) พยาบาลสามารถทำกิจกรรมในการปฏิบัติการพยาบาลและสามารถตัดสินใจในการปฏิบัติการ พยาบาลได้ด้วยตนเอง รวมทั้งการปฏิบัติการพยาบาลตามแผนการรักษาของแพทย์ ดังนั้น จึงแบ่ง ลักษณะการปฏบิ ตั ิการพยาบาลได้ 2 ลักษณะ คือ 1) การปฏบิ ัติการพยาบาลโดยอิสระ (Independent nursing) พยาบาลสามารถใช้ ความรู้ ความสามารถ ศาสตร์ทางการพยาบาลและให้การพยาบาล ผู้ใช้บริการได้อย่างอิสระ โดยไม่ต้องมีคำสั่งการรักษา จึงเป็นบทบาทอิสระของพยาบาล (Independent role) เชน่ การพลิกตะแคงตัวผู้ปว่ ยทีไ่ ม่สามารถชว่ ยเหลอื ตนเองได้ การเช็ดตวั ลดไข้ การสงั เกตอาการเปล่ียนแปลงของผปู้ ่วย การบันทึกอาการผปู้ ่วยและการติดตามประเมินสญั ญาณชีพ เมือ่ มีการเปลย่ี นแปลง ให้คำปรกึ ษาสุขภาพ แนะนำ ร่วมวางแผนการดูแลตนเองของผ้ปู ว่ ย 2) การปฏิบัติการพยาบาลไม่อิสระ (Dependent nursing) พยาบาลต้องปฏิบัติการ พยาบาลรว่ มกับวชิ าชีพอืน่ หรือแพทย์ผ้รู ักษา เพอื่ ใหผ้ ใู้ ช้บริการ ไดร้ บั การดูแลรักษาอย่างถูกต้องและ ปลอดภัย เช่น การให้ยา และการรักษาด้วยวิธีการต่างๆ จึงเป็นบทบาทไม่อิสระของพยาบาล (Independent role) เช่น การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ การเตรียมผ่าตัด การเตรียมผู้ป่วยเพ่ือ การตรวจพิเศษต่างๆ พยาบาลจะต้องปฏิบัติการพยาบาลโดยใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์รู้เหตุ รู้ผล ของการกระทำผสมผสานกบั ศิลปะแหง่ วิชาชีพ เพื่อให้การพยาบาลได้อย่างอิสระหรือการพยาบาลที่ 38
ไม่อิสระ ตามขอบเขตของวิชาชีพการพยาบาล จากงานวิจัยและความคิดเห็นของผู้รู้จะเห็นว่า คุณลักษณะที่สำคัญของพยาบาลที่ผู้รับบริการต้องการคือพยาบาลต้องมีจรรยาบรรณในวิชาชีพ ซึ่ง ได้แก่ ความรับผิดชอบ การเคารพสิทธิของบุคคลซึ่งจะทำให้พยาบาลปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรู้ ความสามารถ ความเขา้ ใจและไม่ละเมิดสิทธิของอน่ื มคี วามเคารพในคุณค่าและศกั ด์ิศรีของความเป็น ของบคุ คล 1.2.2 หนา้ ท่ีและความรบั ผดิ ชอบของพยาบาล พยาบาลมคี วามรับผดิ ชอบและบทบาทหน้าทที่ ่แี ตกต่างกนั ไปตามลักษณะของงานทีป่ ฏิบัติใน สถานพยาบาล แต่โดยภาพรวมแล้วพยาบาลมีบทบาทหน้าทห่ี ลักดงั ต่อไปน้ี 1) การบรรเทาอาการหรือการพยาบาลแบบประคับประคอง ( alleviative or palliative) เป็นการปฏบิ ตั ิการพยาบาลเพ่ือใหผ้ ู้ปว่ ยบรรเทาหรือปราศจากความทุกข์ทรมาน ทั้งด้าน ร่างกาย และจิตใจ ให้ผู้ป่วยมีความสุขสบาย สามารถ ดำรงชีวิตประจำวันได้ตามปกติหรือใกล้เคียง ปกติ ซึ่งเป็นบทบาทอิสระของพยาบาลที่สามารถให้การพยาบาลได้โดย ไม่ต้องมีคำสั่งการรักษาของ แพทย์ เช่น การดูแลความสุขสบาย ความสะอาดร่างกาย การป้องกันแผลกดทับ การจัด ท่าที่สุข สบาย การดแู ลสง่ิ แวดล้อม การดูแลดา้ นจิตใจ อารมณ์ 2) การสร้างเ สริ มส ุ ขภ า พแ ล ะ กา ร ฟื ้น ฟ ูสภ า พ ( health promotion and rehabilitation) เป็นการปฏิบัติการพยาบาลเพื่อ เสริมสร้างสุขภาพที่ดีให้กับประชาชน เช่น การให้ ความรู้ การเป็นที่ปรึกษาเพื่อให้ประชาชนสุขภาพที่ดี การพักผ่อน ที่เหมาะสม การออกกำลังกาย รวมถึงการให้คำแนะนำการปฏบิ ัตติ ัวเพื่อการฟ้ืนฟภู ายหลังการผ่าตัด เพือ่ ชว่ ยให้ ผู้ป่วยมีการฟื้นตัวที่ ดี 3) การป้องกันโรค (prevention) เป็นการปฏิบัตกิ ารพยาบาล การให้สุขศึกษาทีม่ ุง่ เนน้ การปอ้ งกนั การเกดิ โรคใน ประชาชนท่ีมสี ขุ ภาพดี กลุ่มทมี่ คี วามเส่ียงตอ่ การเกิดโรคต่าง ๆ 4) การรักษาพยาบาล (curative) เป็นการปฏิบัติการพยาบาลตามแผนการรักษาของ แพทย์ ซึ่งเป็นบทบาทไม่อิสระ พยาบาลต้องดูแลให้ผู้ป่วยได้รับการรักษาอย่างถูกต้องตามแผนการ รักษาของแพทย์ 39
1.2.3 บทบาทของพยาบาล การปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลเพ่ือให้เกิดความสอดคล้องกบั ความต้องการของผู้ป่วย ผู้ที่มีสุขภาพดี ครอบครัว ชุมชน พยาบาลต้องสวมบทบาทต่าง ๆ ดังน้ี 1) ผู้ให้การดูแล (care provider) เป็นการดูแลช่วยเหลือให้เกิดความสุขสบาย การ ช่วยเหลือกิจวัตรประจำวัน รวมทั้งการปฏิบัติหน้าที่รวมกับทีมสุขภาพอื่น ๆ ตามแผนการรักษาของ แพทย์ 2) ผู้ติดต่อสื่อสาร (communicator) เป็นผู้ทำความเข้าใจและแลกเปลี่ยนข้อมูลของ ผปู้ ว่ ยกบั ครอบครัว 3) ผ้สู อน (teacher) เป็นผู้ให้ความรทู้ ีถ่ ูกตอ้ งใหป้ ระชาชนสามารถดแู ลสุขภาพตนเองได้ 4) ผใู้ หค้ ำปรึกษา (counselor) กับผูป้ ว่ ยแต่ละรายทมี่ ปี ญั หาสขุ ภาพท่ีแตกต่างกนั 5) ผู้พิทักษ์สิทธิผู้ป่วย (advocator) การปกป้องและพิทักษ์สิทธิของผู้ป่วยนั้นเป็นสิ่งที่ สำคัญในระบบสุขภาพ เนื่องจากผู้ให้บริการทางสุขภาพมีความรู้มากกว่าผู้ป่วย เมื่อให้การรักษาท่ี มุ่งเน้นผลลัพธ์ของการรักษาอาจมี การละเลยความต้องการของผู้ป่วยได้ โดยเฉพาะในสังคม วัฒนธรรมที่มีความเกรงใจผู้ให้การรักษาจนไม่กล้าสอบถามใด ๆ พยาบาลในฐานะที่อยู่ใกล้ชิดผู้ป่วย ต้องให้การพยาบาลดว้ ยความเคารพในสิทธิผู้ป่วย รวมทั้งช่วย ให้ผู้ปว่ ยตระหนักในสิทธิของตนเองใน การรกั ษาหรอื ช่วยปกป้องผูป้ ่วยไมใ่ ห้ถกู ผู้อืน่ ละเมิดได้ 6) ผู้จัดการ (manager) เป็นการทำหน้าที่บริหารจัดการในกระบวนการรักษาพยาบาล ประสานงานกับทีมสุขภาพ ต่าง ๆ เพื่อให้ผู้ป่วยหรือผู้รับบริการได้รับการดูแลที่ถูกต้อง ปลอดภัย ภายในระยะเวลาทเี่ หมาะสม ประหยัด ค่าใช้จา่ ย 7) ผู้วิจัย (researcher) เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการให้การพยาบาลผู้ป่วย พยาบาลจำเป็นต้องนำความรู้ใหม่ ๆ หลักฐานเชิงประจักษ์ มาพัฒนาการพยาบาล บทบาทผู้วิจัยน้ี หมายความถึง การทำวิจยั และการนำผลการวจิ ัยมาใชใ้ นการพฒั นาการปฏิบัตกิ ารพยาบาลด้วย 8) บทบาทพิเศษเพิ่มเติม (Extended career roles) เช่น เป็นพยาบาลเวชปฏิบัติ พยาบาลเฉพาะทางหรอื ผู้เชยี่ วชาญในคลนิ ิก สาขาต่างๆ เชน่ สาขาการพยาบาลผใู้ หญ่-ผสู้ งู อายุ หวั ใจ และหลอดเลอื ด มารดา-ทารก จิตเวช คร/ู อาจารยพ์ ยาบาล นกั วิจยั ทางการพยาบาล พยาบาลวิสัญญี ซ่งึ นบั ว่าเป็นผู้ทม่ี ีเอกสทิ ธิและมีความอสิ ระในบทบาทของตนเองท่ีค่อนขา้ งสงู 40
1.2.4 ทมี สขุ ภาพ การดูแลสุขภาพประชาชนจำเป็นต้องอาศัยความรู้ที่มาจากหลายสาขาวิชาชีพ โดยทำงาน ร่วมกันในลักษณะของ ทีมสหสาขาวิชาชีพ (multidisciplinary team) เพื่อให้การช่วยเหลือ สนับสนุน ดูแลผู้รับบริการให้ได้รับประโยชน์สูงสุด โดยทีมสหสาขาวิชาชีพที่พบได้บ่อยประกอบไป ด้วย 1) แพทย์ รับผิดชอบประเมินความผิดปกติของร่างกาย จิตใจ วินิจฉัยโรค และให้การ รกั ษาด้วยวธิ ีการตา่ ง ๆ เชน่ รกั ษา ด้วยยา ผา่ ตัด 2) พยาบาล มีหน้าท่ีดูแลผู้ป่วยให้สุขสบาย ปลอดภัยให้ผู้ป่วยได้รับการรักษาที่ถูกต้อง ฟื้นฟสู มรรถภาพรา่ งกาย ส่งเสรมิ สุขภาพ ปอ้ งกนั โรค 3) เภสัชกร เป็นผู้เชี่ยวชาญเรื่องฤทธิ์ของยา ผลของยาที่เกิดกับผู้ป่วย มีหน้าที่ในการ จัดหา เตรียมยา จ่ายยาให้ผ้ปู ่วย ประเมินประวัตกิ ารแพย้ า ผลข้างเคียงของยา ให้คำปรกึ ษาเรื่องการ ใช้ยาแกบ่ คุ ลากรทีมสขุ ภาพ 4) นักกายภาพบำบัด ประเมินและให้การบำบัดทางกายภาพ พัฒนาความแข็งแรงของ กลา้ มเนอื้ ทีช่ ว่ ยในการเคล่ือนไหว รา่ งกาย 5) นักกิจกรรมบำบัด ทำหน้าที่ประเมินและค้นหาปัญหาในการทำกิจกรรม การดำเนิน ชีวิตของผู้ป่วย 6) นักเวชศาสตร์สื่อความหมาย เป็นนักแก้ไขการได้ยิน แก้ไขการพูด ช่วยเหลือฟื้นฟู ประสิทธิภาพในการได้ยินและการพดู 7) นักสังคมสงเคราะห์ ทำหน้าที่ประเมิน วิเคราะห์ แก้ไขปัญหาด้านค่ารักษาพยาบาล สนบั สนุน ชว่ ยเหลือใหผ้ ปู้ ว่ ยสามารถ กลับไปใชช้ วี ติ ในสังคมได้ 8) โภชนากร เป็นผู้ทำหน้าที่คำนวณพลังงาน สารอาหาร และคิดสูตรอาหารเพ่ือ ให้บรกิ ารแกผ่ ปู้ ว่ ยทมี่ ขี อ้ จำกัดเรอ่ื ง ภาวะโรคต่าง ๆ 9) นกั เทคนคิ การแพทย์ เป็นผูท้ ำหน้าท่ีวิเคราะห์ผลเลือด ปสั สาวะ อจุ จาระและสารคัด หลัง่ ตา่ ง ๆ วเิ คราะหส์ ารพษิ หรอื สารปนเปอื้ นต่าง ๆ 10) นักรังสีเทคนิค เป็นผู้ถ่ายภาพทางรงั สี เคลื่อนแม่เหลก็ ไฟฟ้า และการใช้รังสีในการ รกั ษา 41
1.3 สิทธิผ้ปู ว่ ยและจรรยาบรรณวิชาชพี พยาบาล 1.3.1 สิทธิของผ้ปู ว่ ย (human rights) สิทธิมนุษยชนมีหลักสำคัญที่ยอมรับในระดับสากลนั้น คือ บุคคลมีสิทธิที่จะตัดสินใจใน กิจการ ต่างๆ ส่วนตัวด้วยตนเอง ซึ่งแสดงถึงความเป็นอิสระของมนุษย์ โดยเฉพาะผู้ป่วยถือว่าเป็น บุคคลที่จะต้องได้รับความช่วยเหลือทั้งในด้านร่างกาย จิตใจ ตลอดจนการได้รับรู้ข้อมูลต่างๆ เพ่ือ สมควรประกอบการ ตัดสินใจของตนเอง ฉะนั้นผู้ป่วยจึงเป็นบุคคลสำคัญที่จะต้องได้รับการพิทักษ์ สิทธิ ในหลายๆประเทศได้ นำสิทธิของผู้ป่วยมาบัญญัติเป็นกฎหมาย สำหรับประเทศไทยมิได้ระบุไว้ เป็นกฎหมายโดยตรง แต่มีกำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2540 มาตรา 28 ว่า บคุ คลยอ่ มอา้ งศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์หรือใชเ้ สรีภาพของตนได้เท่าที่ไม่ละเมิดสิทธเิ สรีภาพของบุคคล อื่นๆ ผู้ประกอบวิชาชีพ สภาวิชาชีพ และหน่วยงานที่มีส่วนสัมพันธ์กับผู้ป่วย ได้แก่ แพทยสภา สภาการพยาบาล สภาเภสัชกรรม ทนั ตแพทยสภา คณะกรรมการการควบคุมประกอบโรคศลิ ปะ ได้ รว่ มกนั ออกประกาศสทิ ธขิ องผปู้ ่วย เม่ือวนั ท่ี 16 เมษายน 2541 ไว้ดงั นี้ 1) ผูป้ ว่ ยทกุ คนมสี ทิ ธพิ นื้ ฐานทไ่ี ดร้ บั บริการด้านสขุ ภาพ ตามบญั ญัติไว้ในรัฐธรรมนญู 2) ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะรับบริการจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพไม่มีการเลือกปฏิบัติ เนื่องจากความแตกต่างด้านฐานะ เชื้อชาติ สัญชาติ ศาสนา สังคม ลัทธิการเมือง เพศ อายุ ความ เจ็บป่วย 3) ผู้ป่วยที่ขอรับบริการด้านสุขภาพมีสิทธิจะได้รับข้อมูลอย่างเพียงพอ จาก ผู้ประกอบการวิชาชีพด้านสุขภาพ สามารถเลือกตัดสินใจในการยอมรับหรือไม่ยินยอมให้ ผู้ประกอบการวิชาชีพด้านสขุ ภาพปฎบิ ัตติ ่อตน เวน้ แต่เปน็ การช่วยเหลือรีบด่วนหรือจำเปน็ 4) ผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะเส่ียงอันตรายถึงชีวิต มีสิทธิที่จะได้รับการช่วยเหลอื รีบดว่ นจากผู้ ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยทันทีตามความจำเป็นแก่กรณี ไม่ว่าผู้ป่วยจะร้องขอความช่วยเหลือ หรือไม่ 5) ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับทราบชื่อ สกุล ประเภทของผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพท่ี เปน็ ผ้ใู ห้บรกิ ารแก่ตน 6) ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะขอความเห็นจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพอื่นที่มิได้เป็นผู้ ใหบ้ รกิ ารแก่ตน มีสทิ ธิในการขอเปล่ยี นการบรกิ ารและสถานบริการ 42
7) ผู้ป่วยมีสิทธิท่ีจะได้รับการปกปิดข้อมูลเกี่ยวกับตนเองจาก ผู้ประกอบวิชาชีพด้าน สุขภาพ โดยเคร่งครัด จะไดร้ บั ความยนิ ยอมจากผ้ปู ่วยหรอื การปฏบิ ัติหนา้ ที่ตามกฎหมาย 8) ผู้ป่วยมสี ิทธิที่จะไดร้ ับทราบข้อมูลอย่างครบถ้วนในการตัดสนิ ใจเขา้ ร่วม หรือถอนตัว จากเป็นผถู้ ูกทดลองในการทำวจิ ัยผู้ประกอบวิชาชีพด้านสขุ ภาพ 9) ผปู้ ่วยมีสทิ ธิท่ีจะได้รบั ทราบข้อมลู เกย่ี วกับการรักษาพยาบาลเฉพาะของตนที่ปรากฏ ในเวชระเบียนเมอ่ื ร้องขอทง้ั นข้ี อ้ มูลดงั กล่าวตอ้ งไมเ่ ปน็ การละเมดิ สิทธสิ ่วนตวั ของบคุ คลอ่ืน 10) บดิ า มารดา หรอื ผ้แู ทนโดยชอบธรรม ใชส้ ทิ ธิแทนผู้ป่วยท่ีเป็นเด็กอายุยังไม่เกินสิบ แปดปบี รบิ รู ณ์ ผบู้ กพรอ่ งทางกายหรอื จิตใจ ไม่สามารถใช้สทิ ธดิ ว้ ยตนเองได้ 1.3.2 การพทิ กั ษส์ ิทธผิ ู้ป่วย สิทธิของผู้ป่วยทั้ง 10 ประเด็นนี้ ผู้ประกอบวิชาชีพต้องทำความเข้าใจและวิเคราะห์ว่าใน บทบาทของผู้ประกอบวิชาชีพในแต่ละสาขานั้น โดยอิสระในวิชาชีพตนเองและที่เกี่ยวข้องมีบทบาท อะไรบ้างในการปฏิบัติงานในวิชาชีพของตนเองที่พึงปฏิบัติ พึงละเว้น และสนองตอบสิทธิของผู้ป่วย ต่างๆ ผู้ประกอบวิชาชีพพยาบาลนั้นมีประเด็นสำคัญในบทบาทของผู้ประกอบวิชาชีพพยาบาลที่จะ สนองตอบต่อสิทธิผู้ป่วย ซึ่งกองการพยาบาลสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดแนว ทางการดำเนินงานเพอื่ พทิ ักษ์สิทธขิ องผปู้ ่วย สำหรบั พยาบาลพอสรปุ ไดด้ ังนค้ี อื 1) การสนองตอบต่อสิทธิพื้นฐานที่จะรับบริการด้านสุขภาพ ตามที่บัญญัติไว้ใน รัฐธรรมนญู นนั้ ผู้ประกอบวิชาชพี พยาบาลจะตอ้ งใช้ความรู้ในวิชาชพี และวิจารณญาณในการตัดสินใจ ดูแลผู้ใช้บริการเป็นรายๆความเหมาะสมพึงมีพึงได้ของผู้ใช้บริการทุกลักษณะเพื่อการดูแลที่ถูกต้อง เหมาะสม 2) สิทธิที่จะได้รับบริการจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพโดยไม่มีการเลือกปฏิบัติน้ัน ผู้ประกอบวิชาชีพพยาบาลจะต้องปฏิบัติต่อผู้ใช้บริการทุกรายเท่าเทียมกันอย่างสุภาพอ่อนโยน เอื้อ อาทร เคารพในความเชือ่ เก่ยี วกับศาสนาและละเว้นจากการปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ีมอี คติ 3) สทิ ธิท่ีจะไดร้ บั ทราบขอ้ มลู อย่างเพยี งพอในดา้ นบริการด้านสขุ ภาพ เพือ่ ประกอบการ ตัดสินใจเวลาของการรับบริการของผู้ป่วยประเด็นนี้เป็นบทบาทสำคัญของพยาบาลที่จะต้องเผชิญ ตลอดเวลาของการปฏิบัติงานพยาบาล ให้ความสำคัญของบทบาทในการที่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับระเบียบ กฎเกณฑ์ของหน่วยงาน ข้อมูลในการใหบ้ ริการสุขภาพ การวนิ ิจฉัย พยากรณ์โรค การบำบดั รกั ษาและ 43
การเสี่ยงต่ออันตรายโดยต้องคำนึงถึงประเด็นจริยธรรมเกี่ยวกับการบอกความจริง รวมถึงข้อมูลท่ี ใหบ้ ริการและปฏิบตั ิการตอ่ ผู้ปว่ ยในทุกครัง้ การรับทราบข้อมูลในการตดั สนิ ใจของผ้ปู ่วย 4) ผู้ประกอบวิชาชีพพยาบาลต้องมีบทบาทในการช่วยเหลือผู้ป่วย ภาวะเสี่ยงอันตราย ถึงชวี ิตทนั ที ต้องไมป่ ฏเิ สธการชว่ ยเหลอื ผ้ทู ี่อยใู่ นระยะอันตราย 5) ผู้ประกอบวิชาชีพพยาบาลต้องแสดงข้อมูลบ่งชี้ ชื่อ สกุล ตำแหน่ง คุณวุฒิ ของ ตนเองแก่ผู้รับบริการ รวมทั้งยอมรับและเข้าใจของผู้ป่วยในการขอทราบความเห็นในการดูแลรักษา ปรบั เปลีย่ นผูใ้ ห้บริการหรอื สถานบริการ 6) บทบาทของผู้ประกอบการวิชาชีพพยาบาลที่สำคัญประการหนึ่งในเรื่องข้อมูล ข่าวสารเกีย่ วกบั ผูป้ ่วย คือการเก็บรายงานเกีย่ วกับความเจ็บป่วยไวเ้ ปน็ สัดสว่ นเป็นระบบ ไม่เปิดเผย ความลับของผปู้ ่วย เว้นแตจ่ ะไดร้ บั ความยนิ ยอมจากผู้ปว่ ยและหรอื การปฏิบัติตามหนา้ ทีต่ ามกฎหมาย 7) บทบาทของพยาบาลในการให้ข้อมูลอยา่ งครบถ้วน เพื่อประกอบในการตัดสินใจร่วม หรือถอนตัวจากการเป็นผู้ถูกทดลองในการวิจัยด้านสุขภาพ ทั้งนี้ บทบาทของพยาบาลต้องกำหนด ระเบียบปฏิบัติขั้นตอนการปฏิบัติไว้อย่างชัดเจน โปร่งใส เพื่อผู้ร่วมทดลองโดยเฉพาะผู้ ถูกทดลอง ทราบขน้ั ตอน 8) ผู้ประกอบวิชาชีพพยาบาลต้องมีบทบาทในการกำหนดระเบียบขั้นตอนการปฏิบัติ เพื่อสทิ ธขิ องผ้ปู ่วยในการขอทราบขอ้ มูลเกยี่ วกบั การรักษาของตน 9) ผู้ประกอบวิชาชีพพยาบาลต้องมีบทบาทในการปกป้องการละเมิดสิทธิของผู้ป่วยท้ัง ในด้านของการปฏิบัติการพยาบาล และการเป็นผู้แทนโดยชอบธรรม โดยการวิเคราะห์ตัดสินใจด้วย ความรแู้ ละขอ้ มูลทถ่ี กู ต้องของผปู้ ว่ ย 1.3.3 จรรยาบรรณวิชาชีพพยาบาล จรรยาบรรณวิชาชีพพยาบาลเป็นการประมวลหลักความประพฤติให้บุคคลในวิชาชีพยึดถือ ปฏิบัติ ซึ่งสมาคม พยาบาลแห่งสหรัฐอเมริกา (The America Nurses Association A.N.A.) ได้ กำหนดสาระสำคัญของจรรยาบรรณวิชาชีพ พยาบาลไว้ดังนี้ (กองการพยาบาล ส านักงาน ปลดั กระทรวงสาธารณสขุ , 2560) 1) พยาบาลพึงให้บริการพยาบาลด้วยความเคารพในศักดิ์ศรีและความแตกตา่ งระหว่าง บุคคล โดยไม่จำกัดในเรื่อง สถานภาพทางสังคม เศรษฐกิจ คุณสมบัติเฉพาะกิจหรือสภาพปัญหา ทางดา้ นสขุ ภาพอนามยั ของผ้ปู ่วย 44
2) พยาบาลพึงเคารพสิทธิส่วนตัวของผู้ป่วย โดยรักษาข้อมูลเกี่ยวกับผู้ป่วยไว้เป็น ความลับ 3) พยาบาลพึงให้การปกป้องคุ้มครองแก่ผู้ป่วยในกรณีที่มีการให้บริการสุขภาพอนามัย และความปลอดภัย ถูกกระทำที่อาจเกิดจากความไม่รู้ ขาดศีลธรรม จริยธรรม หรือการกระทำที่ผิด กฎหมายจากบคุ คลหนงึ่ บุคคลใด 4) พยาบาลมหี น้าทร่ี ับผิดชอบในการตัดสินใจและใหก้ ารพยาบาลแกผ่ ู้ป่วยแต่ละราย 5) พยาบาลพงึ ดำรงไวซ้ ึ่งสมรรถนะในการปฏิบตั ิการพยาบาล 6) พยาบาลพึงตัดสินใจด้วยความรอบคอบถี่ถว้ นใช้ข้อมลู สมรรถนะและคุณสมบัติอ่ืน ๆ เป็นหลักในการขอคำ ปรึกษาหารือ ยอมรับในหน้าที่ความรับผิดชอบ รวมถึงการมอบหมายกิจกรรม การปฏบิ ัติการพยาบาลให้ผูอ้ น่ื ปฏิบัติ 7) พยาบาลพงึ มสี ่วนร่วมและสนับสนุนใจกจิ กรรมการพัฒนาความรเู้ ชงิ วิชาชีพ 8) พยาบาลพึงมีส่วนร่วมและสนับสนุนในการพัฒนาวิชาชีพและส่งเสริมมาตรฐานการ ปฏบิ ัตกิ ารพยาบาล 9) พยาบาลพึงมีสว่ นร่วมในการท่ีจะกำหนดและดำรงไว้ซ่ึงสถานะภาพของการทำงานท่ี จะนำไปส่กู ารปฏบิ ัติ พยาบาลที่มีคณุ ภาพสงู 10) พยาบาลพึงมีส่วนร่วมในการปกป้อง คุ้มครองผู้รับบริการจากการเสนอข้อมูลที่ผิด และดำรงไวซ้ ่ึงความสามัคคีใน วชิ าชพี 11) พยาบาลพึงร่วมมอื และเปน็ เครือขา่ ยกบั สมาชิกดา้ นสุขภาพอนามยั และบุคคลอื่น ๆ ในสังคมเพอื่ สง่ เสริมชุมชน และสนองตอบความต้องการด้านสุขภาพอนามยั ของสงั คม 1.3.4 จรรยาบรรณวิชาชพี การพยาบาลตอ่ ประชาชน สำหรับสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยได้กำหนดจรรยาบรรณวิชาชีพพยาบาล พ.ศ.2528 มุ่งเน้นให้พยาบาลได้ประพฤติปฏิบัติหน้าที่ความรับผิดชอบ โดย กำหนดเป็นความรับผิดชอบต่อ ประชาชน ความรับผิดชอบตอ่ ประเทศชาติ ตอ่ ผูร้ ่วมวิชาชีพและต่อตนเองดงั น้ี 1) ประกอบวิชาชพี ด้วยประกอบด้วยความมสี ติ ตระหนักในคุณคา่ และศักดิ์ศรีของความ เปน็ มนษุ ย์ 2) ปฏิบัติต่อประชาชนด้วยความเสมอภาคตามสิทธิมนุษยชน โดยไม่คำนึงถึง เชื้อชาติ ศาสนา และสถานภาพของ บคุ คล 45
3) ละเว้นการปฏิบัตทิ ่มี ีอคติและการใช้อำนานหนา้ ทเี่ พือ่ ผลประโยชน์ส่วนตน 4) พึงเก็บรักษาเร่อื งสว่ นตัวของผ้รู ับบริการไวเ้ ปน็ ความลับ เวน้ แต่ด้วยความยนิ ยอมของ ผู้น้นั หรือเมื่อต้องปฏิบัติ ตามกฎหมาย 5) พึงปฏิบัติหน้าที่โดยใช้ความรู้ความสามารถอย่างเต็มที่ในการวินิจฉัยและการแก้ไข ปญั หาสขุ ภาพอนามัยอย่าง เหมาะสมแก่สภาพของบคุ คล ครอบครวั และชมุ ชน 6) พงึ ป้องกันภยนั ตรายอนั จะมีผลต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน 1.3.5 จรรยาบรรณวชิ าชพี การพยาบาลตอ่ สังคมและประเทศชาติ พยาบาลมีหน้าที่และความรับผิดชอบต่อสังคมและประเทศชาติ จึงพึงมีจรรยาบรรณวิชาชพี ต่อสังคมและประเทศชาติดว้ ย ดงั น้ี 1) พงึ ประกอบกจิ แห่งวชิ าชีพให้สอดคล้องกบั นโยบายอนั ยงั ประโยชนแ์ ก่สาธารณชน 2) พึงรับผิดชอบร่วมกับประชาชนในการเริ่มสนับสนุนกิจกรรมที่ก่อให้เกิดสันติสุขและ ยกระดับคุณภาพชีวติ 3) พึงอนรุ ักษแ์ ละสง่ เสริมศลิ ปวัฒนธรรมประจำชาติ 4) พงึ ประกอบวิชาชีพโดยมุ่งส่งเสริมความมนั่ คงของชาติ ศาสนาและสถาบันกษัตริย์ 1.3.6 จรรยาบรรณวชิ าชีพการพยาบาลต่อวชิ าชีพ 1) พึงตระหนักและถือปฏิบัติในหน้าที่ความรับผิดชอบตามหลักการแห่งวิชาชีพการ พยาบาล 2) พฒั นาความรูแ้ ละวิธีปฏิบัตใิ หไ้ ด้มาตรฐานแหง่ วิชาชีพ 3) พงึ ศรัทธาสนับสนุนและใหค้ วามรว่ มมือในกจิ กรรมแห่งวชิ าชีพ 4) พึงสรา้ งและธำรงไวซ้ ง่ึ สทิ ธิอันชอบธรรมในการประกอบวิชาชพี การพยาบาล 5) พึงเผยแพรช่ อื่ เสียงและคุณคา่ แห่งวชิ าชพี ใหเ้ ป็นท่ีปรากฏแกส่ งั คม 1.3.7 จรรยาบรรณวชิ าชีพการพยาบาลตอ่ ผู้ร่วมวิชาชีพและผู้ประกอบวิชาชพี อื่น 1) ใหเ้ กยี รติ เคารพให้สทิ ธิและหน้าทีข่ องผู้ร่วมวิชาชีพและผู้อ่นื 2) เห็นคณุ คา่ และยกยอ่ งผู้มคี วามรู้ ความสามารถในศาสตรส์ าขาต่าง ๆ 3) พงึ รกั ษาไวซ้ ึ่งความสมั พันธ์อันดี กบั ผู้รว่ มงานทง้ั ภายในและภายนอกวิชาชพี 46
ถกู ทค่ี วร 4) ยอมรับความต้องการพืน้ ฐานของมนุษย์ และชักนำให้ประพฤติปฏิบัตหิ น้าที่ในทางที่ ธรรม 5) พึงอำนวยความสะดวก ให้ความร่วมมือแก่ผู้ร่วมงานในการปฏิบัติภารกิจอันชอบ การนนั้ ๆ 6) ละเว้นการส่งเสริมหรือปกป้องผู้ประพฤติผิดเพื่อผลประโยชน์แห่งตนหรือผู้กระทำ 1.3.8 จรรยาบรรณวชิ าชีพการพยาบาลตอ่ ตนเอง 1) ประพฤติตนและประกอบกิจแห่งวิชาชพี โดยถกู ตอ้ งตามกฎหมาย 2) ยึดมน่ั ในคุณธรรมและจริยธรรมแห่งวิชาชีพ 3) ประพฤติปฏิบัติตนให้เป็นแบบอย่างที่ดี ทั้งในด้านการประกอบกิจแห่งวิชาชีพและ สว่ นตัว 4) ใฝร่ พู้ ฒั นาแนวคิดให้กวา้ งและยอมรบั การเปลีย่ นแปลง 5) ประกอบกจิ แหง่ วิชาชีพดว้ ยความเตม็ ใจและเต็มกำลงั ความสามารถ 6) ปฏิบตั ิหน้าทด่ี ว้ ยความมีสติ รอบรู้ เชื่อมั่นและมีวิจารณญาณอันรอบคอบ 1.3.9 คณุ ลกั ษณะพยาบาลในอนาคต การวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้มาจากผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งเป็นผู้ที่มีความรู้ ประสบการณ์ในการศึกษา พยาบาลและศึกษาทั่วไปรวมทั้งด้านการสาธารณสุข พบว่า คุณลักษณะของผู้สำเร็จการศึกษาท่ี ประสงค์ในอนาคต เพื่อปรับตัวให้เข้ากับการก้าวสู่ประชาคมอาเซียน มีแนวโน้มที่จะมีความสามารถ ด้านตา่ งๆ ดัง วิจิตรา กุสุมภ์และคณะ (2555) กลา่ วไว้ดังน้ี 1) ความสามารถดา้ นทักษะเก่ียวกบั มนษุ ยแ์ ละมวลชน ทกั ษะในการพูด สอ่ื สาร การสอน/ถ่ายทอดความรู้ ให้แกผ่ ู้อ่นื ทักษะด้านภาษา และสามารถใช้ภาษาสากลได้ ได้แก่ ภาษาอังกฤษ ภาษาประเทศเพื่อนบ้าน เช่น ภาษาพม่า เวียดนาม อื่นๆ ความรู้ทางสังคมที่แตกต่างและหลากหลาย ด้านลักษณะธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม คุณลักษณะนิสัย ภาวะความเจ็บป่วยและโรคต่างๆ ทั้งของนานาชาติและประเทศไทย ความรู้และ ทักษะของความเป็นมนุษย์ เข้าใจเพื่อนมนุษย์ (Empathy) การปฏิสัมพันธ์ การมีมนุษยสัมพันธ์ 47
ความสามารถในการให้คำปรึกษา ทักษะเชี่ยวชาญด้านจิตวิทยาชุมชนและสังคม มีค่านิยมร่วมทาง สังคม 2) ความสามารถดา้ นวิชาการ มีความรู้ในเรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวกับการบริการสุขภาพและศาสตร์อื่นๆ ความรู้ด้าน กฎหมาย รัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติวิชาชีพ ความรู้ด้านเศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ สาธารณสุข ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์สุขภาพโดยเน้นวิชาใหม่ๆเช่น Behavioral Science, Psychological Science การประชาสัมพันธ์ จิตวิทยา การตลาด ความรอบรู้ ทัน เหตุการณ์ โภชนาการ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สืบค้นด้วยตนเอง คิดอย่างมีวิจารณญาณ รู้จักคิดและตัดสินใจ สามารถเลือกว่าสิ่งใดควรถูก-ผดิ การเรียนรู้ตลอดชีวิต แสวงหาความรู้ดว้ ยวธิ ี ต่างๆ ทักษะการศกึ ษาค้นคว้าดว้ ยตนเอง 3) ความสามารถด้านการปฏบิ ตั กิ ารพยาบาล (1) ความสามารถในการพยาบาลเฉพาะสาขา/เฉพาะทาง มีความรู้เชี่ยวชาญเฉพาะ สาขาใดสาขาหนึ่ง ขณะเดียวกันมีความรู้ความสามารถในเชิงกวา้ ง รอบรู้ทุกด้านทำให้ยืดหยุ่นทำงาน มีความรู้เชีย่ วชาญเฉพาะทางมากขึ้น เช่น การพยาบาลฉุกเฉินและอุบัติเหตุ การพยาบาลแม่และเด็ก การพยาบาลครอบครัว (2) ความสามารถที่เน้นการส่งเสริมสุขภาพ (promotion) การป้องกันโรค (prevention) และการฟนื้ ฟสู ขุ ภาพ (rehabilitation) ความรู้ความสามารถด้านชมุ ชนมากข้ึนมีทักษะ การดูแลชุมชนและการคนื พลังให้ประชาชนดูแลตนเอง สามารถช่วยเหลือบคุ คล ครอบครัว ชุมชนได้ ทั้งในลักษณะปกติหรือและผดิ ปกติ ตงั้ แตเ่ กิดจนถึงเสยี ชวี ติ (3) ความรู้เร่อื งโรคมากขึ้น สามารถตรวจรกั ษาเบ้ืองตน้ และสง่ ต่อได้ (4) ความรู้ความสามารถด้านวชิ าชีพ (5) สามารถดูแลผู้ป่วยแบบองคร์ วม มีลักษณะการดูแลทค่ี รบวงจรและตอ่ เนอ่ื ง 4) คณุ สมบตั ดิ ้านคุณธรรมและจริยธรรม (1) มีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ เช่น เมตตา กรุณา ซื่อสัตย์ เสียสละ ขยนั รับผิดชอบ อดทน มนี ้ำใจ ดูแลช่วยเหลอื ใหบ้ รกิ าร ฯลฯ (2) มคี วามรกั เจตคติทด่ี ตี อ่ วชิ าชพี มีใจรกั ในการให้บริการ 48
(3) มีความสำนกึ รับผิดชอบตอ่ สังคม มีจติ สำนกึ ในการชว่ ยเหลือเพื่อนมนษุ ยส์ ามารถ วเิ คราะหพ์ ฤติกรรมเชิงจริยธรรม (analytic competency) ของผู้ประกอบวชิ าชีพและคน้ หาแนวทาง ปฏิบตั ิใหด้ ว้ ยตนเอง รักตนเองและผ้อู ่ืน 5) ความสามารถด้านการใช้เทคโนโลยแี ละสารสนเทศ สามารถใช้เทคโนโลยีในการสืบค้นข้อมูลและสื่อสารกับคนทั่วโลกได้ สามารถใช้ คอมพิวเตอร์ เครื่องมือที่ใช้เทคนิคสูง เทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ ทักษะในเรื่องการใช้ เครื่องคอมพิวเตอร์ภายในสำนักงาน (office automation) ความรู้สารสนเทศทางการพยาบาล ความรู้ขอ้ มลู ข่าวสาร 6) ความสามารถดา้ นภาวะผู้นำ (leadership) โดยการเป็นผ้นู ำทางการพยาบาลต้องมลี กั ษณะของการมภี าวะผู้นำ สามารถทำงานเป็นทีม ร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี สามารถนำเสนอตัวเองเพื่อเป็นแบบอย่างให้ผู้อื่น การเป็นผู้มีวิสัยทัศน์ท่ี กว้างไกล การมคี วามคิดริเรม่ิ สรา้ งสรรค์ สามารถสร้างนวตั กรรมทางการพยาบาลหรือเป็นผู้ที่ส่งเสริม ผู้อ่นื สร้างนวัตกรรมทางการพยาบาลได้ รวมทั้งการมีทักษะการเจรจาต่อรอง 7) ความสามารถด้านการบรหิ ารทางการพยาบาล (nursing management) พยาบาลวิชาชีพในยุคอนาคตต้องมีความรู้การบริหารจัดการในองค์กร รวมทั้งความรู้ ความสามารถประกอบการอิสระหรือทำงานอิสระของตนเองได้ ทักษะการแก้ปัญหา ในยุคที่มีการ เปลี่ยนแปลงทางสังคมและวฒั นธรรม การเปลย่ี นยุคสู่ยคุ ดจิ ติ อล ความสามารถด้านการบริหารจดั การ จงึ มคี วามจำเปน็ อย่างย่งิ 8) คณุ สมบตั ดิ ้านบคุ ลิกภาพ พยาบาลวิชาชีพต้องไม่แสดงอารมณ์หงุดหงิดในการติดต่อกับผู้รับบริการ มีวุฒิภาวะและ บคุ ลกิ ภาพดี ยิม้ แย้มแจม่ ใส มลี กั ษณะความรสู้ ึกเชงิ วิชาชพี ต่อผูร้ ับบริการ รวมท้งั มเี ขา้ ใจในสังคม วัฒ ธรรมท่ีแตกตา่ งกนั สามารถใหก้ ารพยาบาลแบบข้ามวัฒนธรรมได้ 9) ความสามารถด้านการวิจัยมีความรู้ ความสามารถทำการวิจัยเบื้องต้น การเก็บรวบรวม การวิเคราะหข์ อ้ มลู 10) ความสามารถในการมีส่วนร่วมทางการเมืองและการปกครอง มีความรู้และมีส่วนร่วม ทางการเมือง 11) คณุ สมบตั ดิ า้ นอนุรักษส์ ่งิ แวดล้อมรกั สงิ่ แวดลอ้ ม 49
ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่าพยาบาลในอนาคตจะต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ในการดูแลสุขภาพของ ประชาชนอย่างครบวงจร พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องทั้งด้านวิชาการ มีทักษะในการบริการ ความสามารถในการส่ือสารภาษาอังกฤษและภาษาเพื่อนบ้านของสมาชิกประชาคมอาเซียนเป็นอย่าง ดี มีความรู้ด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การบริหารจัดการ มีภาวะผู้นำมีส่วนร่วมในการพัฒนา ประชาธปิ ไตย ปรับตัวให้ทนั โลกทนั สมยั ท่จี ะกา้ วสปู่ ระชาคมอาเซยี น 1.4 หลักการพยาบาลแบบองคร์ วม (Holistic care) การพยาบาลแบบองคร์ วม (Holistic care) หมายถงึ การพยาบาลที่คำนงึ ถึงความสมดุล ของรา่ งกาย จิตใจ สังคมและจิตวิญญาณของบคุ คล ครอบครัว ชุมชน ซงึ่ มีความสอดคล้องกลมกลนื กัน ดังแสดงในรปู ภาพท่ี 1.4.1 รปู ภาพท่ี 1-1 แสดงลักษณะการพยาบาลแบบองคร์ วม 1.4.1 หลกั การพยาบาลแบบองคร์ วม หลกั การพยาบาลแบบองคร์ วมตามท่ี ยทุ ธชัย ไชยสิทธ์ ได้กล่าวไว้ประกอบ 8 หลกั การ (ยทุ ธชัย ไชยสทิ ธ,์ 2556) ดงั นี้ 1) ตระหนักถึงความเป็นองคร์ วมของบุคคล 2) สร้างสภาพแวดลอ้ มต่อการมีปฏสิ ัมพนั ธร์ ะหว่างพยาบาลกับผูร้ บั บริการ 3) ผู้รบั บรกิ ารมีสว่ นร่วมในการดูแลสุขภาพตนเอง 50
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 517
- 518
- 519
- 520
- 521
- 522
- 523
- 524
- 525
- 526
- 527
- 528
- 529
- 530
- 531
- 532
- 533
- 534
- 535
- 536
- 537
- 538
- 539
- 540
- 541
- 542
- 543
- 544
- 545
- 546
- 547
- 548
- 549
- 550
- 551
- 552
- 553
- 554
- 555
- 556
- 557
- 558
- 559
- 560
- 561
- 562
- 563
- 564
- 565
- 566
- 567
- 568
- 569
- 570
- 571
- 572
- 573
- 574
- 575
- 576
- 577
- 578
- 579
- 580
- 581
- 582
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 550
- 551 - 582
Pages: