Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คลังธรรมเล่ม๓

Description: คลังธรรมเล่ม๓

Search

Read the Text Version

www.kalyanamitra.org

คลังธรรม เล่ม ๓ โดย พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองสี สูรเตโช) ป.ธ. ๙,ราชบัณฑิต ไ และคณะ f www.kalyanamitra.org

คลังธรรม เล่ม ๓ ISBN 978-974-493-805-6 รวบรวมเรียบเรึยงโดย พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี ธุ[รเตโช) ป.ธ.๙,ราชบณฑิต และคณะ สำ นักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ จัดพิมพ์เพี่อส่งเสริมการเผยแผ่พระพทธศาสนา พิมพ์ครั้งแรก ะ กันยายน ๒๕๔๖ จำ นวน ๒,000 ชุด : โรงพิมพ์เลี่ยงเ^ยง ๒๒ฅ ถนนบำรุงเมือง เขตพระนคร กรงเทพฯ ๑0๒00 พิมพ์ครังฑีสอง : เมษายน ๒๕๕๖ จำ นวน ๔,๑00 ซุด โรงพิมพ์มหามกุฎราชวิทยาลัย ๑๒๙ หมู่ ฅ ถ.ศาลายา-นครชัยศรี ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม ๗๓๑๗0 โทร.0-๒๘00-๒๓๗๓-๔ หมวดรับงานพิมพ์ โทร./โทรสาร 0-๒๒๘๑-๗๗๙0 www.kalyanamitra.org

[๔] คณะผู้จัดทำหนังสอคลังธรรม ๑. พระธรรมกิตติวงส์ (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙,ราชบัณฑิต ๒. พระF(รีกิตติโมลี (สุรพล สุรพโล) ป.ธ. ๙ ฅ. พระโสภณธรรมวาที (บุญมา อาคมปุณฺโณ) ป.ธ. ๘ ๔. พระเมธีวราลงการ (ไพคิด ธมมินฺโท) ป.ธ. ๙ ๔. พระมหาพร อิทธิวโร ป.ธ. ๙ ๖. พระมหากำพล คุณงกโร ป.ธ. ๙ ๗. พระมหาวัฒนา จนฺทโชโต ป.ธ. ๙ ๘. พระครูโสภิตธรรมรังสี (บุญส่ง ธมมรํสี) ป.ธ. ๔ ๙. นายเอนก ขำ ทอง นักวิชาการศาสนา ป.ธ. ๙ ๑๐. นายแก้ว ชิตตะขบ นักวิชาการศาสนา ป.ธ. ๙ บรรณาธการ ะ พระธรรมกตตวงศ พิสูจน์อักษร ะ พระศรีกิตติโมลี พระเมธีวราลังการ ข้อมูลและประสานงาน เอนก ขำ ทอง บรรณกรจัดรูปเล่ม ะ พระครูใสกิตธรรมรังสี ะ แก้ว ชิดตะขบ สุจินต์ ศรีป็ญญาพล www.kalyanamitra.org

คำ นำ แานักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์มีภารทจที่สำคัญส่ๆนทนึ๋ง คือส่งเสริมการเผยแผ่พระศาสนา โดยมุ่งหวังให้ประซาซนมีความรู้ ความ เข้าใจ และเข้าถึงหลักธรรมคำสอนทางพระคาสนา พร้อมทั้งสามารถนำไป ปฏิบัติให้เกิดผลเป็นรูปธรรม และนำมาพัฒนาคุณภาพชีวิตให้มีคุณธรรม เป็น คนดีของลังคมซึ่งส่งผลดีต่อการสิบทอดพระคาสนาและคํๅรงตวๅนฐfงบคุข ของลังคมได้ โครงการจัดพิมพ์หนังสิอซุด \"คลังธรรม\" นี้จึงเป็นส่วนหนึ่งของการ สนับสนุนการดำเนินการตามภารกิจคังกล่าว ด้วยพิจารณาแล้วเห็นว่า หนังสิอชุดนี้พระธรรมกิตติวงคั(ทองดี สุรเตโซ)ป.ธ.๙,ราซบัณฑิต และคณะ ได้จัดทำขึ้นและเคยจัดพิมพ์เผยแพร่มาแล้วคราวหนึ่ง ซึ่งได้รับความนิยม เป็นอย่างมากจากทั้งพระสงฆ์และคฤหัสถ์ผู้สนใจใฝ่เรียนรู้พระธรรมคํๅลฎน ของสมเด็จพระลัมมาลัมพุทธเจ้า ด้วยว่าหนังสิอชุดนี้ได้คัดกรองเพินหา พระพุทธพจน์สำคัญที่ปรากฎในพระไตรป็ฎกมาจัดเป็นหมวดหมู่เพ์ยความ สะดวกแก่การคืกษาด้นควัาและอ้างอิง โดยประกอบด้วยพระบาลีที่เป็น พุทธพจน์ แหล่งทีมา อรรถกถา/คำแปล และคำอธิบายย่อยในบางหัวข้อ ดังนั้นจึงได้สนับสบุนการจัดพิมพ์หนังสิอชุดนี้ เพี่อถวายพระสงฆ์และมอบ ให้แก่สำนักเรียน/สถาบันการคืกษาต่าง-เ ดลอดจนผู้สนใจทั้วไป อันเป็นการ สนับสนุนการเผยแผ่หลักธรรมคำสอนทางพระพุทธคาสนๆให้กวัๆงฃวางมาๆ ยิ่งขึ้น www.kalyanamitra.org

[๖] ส์าใ!'กงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ขอ'นอมกวายการจัดพิมพ์ หใ!'งสิอชุด \"คลังธรรม\" เป็นพุทธยูซา เพี่อให้เป็นประทีปธรรมแก่พุทธบริษัท ใใกหยู่เหล่าได้สิกษาเรียนรู้ต่อไป และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหารังสิอชุดนี้จะ นำ มาพี่งประโยช'นแก่ผู้ที่ได้รับไปเป็นธรรมบรรณวกวรอับ''รมอริย^ ส่วนตน ตามสมควร ขอกราบขอบพระคุณ พระธรรมกิตติวงสิ และผู้เกี่ยวข้องทุกviานที่ ได้ช่วยตำเ'นนการจัดพิมพ์หนังสีอชุด \"คลังธรรม\" นี้ให้สำเร็จเรียบร้อยและ เใ!เยมด้วยธรรมอันบริบรณ์'คุกประการ (นายจรายู อศรางคูร ณ อทุธยา) ผ้อำ นวยการสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ www.kalyanamitra.org

คำ นำ (พิมพ์ครั้งแรก) ในการเทศนาแต่ละครั้งนั้นผู้เทศน์มักมีปัญหาเหมือนกันอยู่อย่าง หนึ่งคือต้องเสิยเวลาคิดเรื่องที่จะเทศน์หรือคิดบทอุเทศที่จะยกขึ้นเทศนา เบื้องต้นให้ตรงกับเรื่องที่จะเทศน์ ทำ ให้เสิยเวลาไม่น้อย หนังสีอชุด \"คลัง ธรรม\" นี้ ก่อกำเนิดมาก็ต้วยเหตุผลข้อนี้ และเนึ่องจากวัดราชโอรสาราม เป็นศูนย์อบรมพระนักเทศน์ส่วนกลาง มีพระนักเทศน์ที่ฝานการอบรมไป แล้วจำนวนมาก ในแต่ละรุ่นนั้นพระนักเทศน์จะให้ความเห็นว่าน่าจะมี หนังสิอประเภทอำนวยความสะดวกในการเทศน์ ซึ่งเป็นหนังสิอรวบรวม ธรรมต่างๆ จากพระไตรป็ฎกบ้าง อรรถกถาบ้าง หรือจากที่อี่นบ้าง โดย เฉพาะมีบาลีที่สามารถนำไปเป็นบทอุเทศไต้ ซึ่งมีหลักฐานอางอิงแน่นอนไว้ เป็นคูมีอในการเทศน์หรือแนะนำซาวบ้าน เพื่อเป็นหลักยึดหรือเป็นแนวที่ ถูกต้องไม่ผิดเพี้ยน ความเห็นและข้อแนะนำของพระนักเทศน์อย่างนี้เป็น แรงผลักดันหรือเป็นตัวเร่งสำคัญให้รืบจัดทำหนังลีอชุดนี้ออกมา ซึ่ง หมายความว่าตลาดต้องการอย่างนี้ ในการจัดทำหนังลีอชุดนี้นั้นก็อาดัยพระนักเทศน์ที่ฝานการอบรมแล้ว เป็นองค์คณะโดยต่างไปรวบรวมหัวข้อธรรมจากที่ต่างๆ พรอมทั้งที่มา คำ แปล ตลอดถึงรายละเอียดอื่นๆ แล้วนำมาพิจารณาดัดสรรร่วมกันว่าจะ คงหัวข้อธรรมใดไว้ ซึ่งกว่าจะรวบรวมไต้ก็เลียเวลาไม่น้อย แต่ก็ไต้แนวทาง ที่ดีจากหนังลีอ ๒ เล่ม คือ ธรรมาวลี ซึ่งรวบรวมโดย พระธรรมวราจารย์ (แบน กิตุติสาโร) วัดบวรนิเวศวิหาร และคลังปรืยัคิธรรม ของนายแพทย์ www.kalyanamitra.org

[๘] เกิด ธนซาต ทำ ให้ประหยัดเวลาได้มากทีเดียว และข้อความบางตอนก็ได้ คัดมาจากหนังสือทั้งสองเล่มนี้ จึงขอขอบพระคุณท่านเจ้าของหนังสือทั้ง สองท่านไว้ ณ ที่นี้ด้วย หนังสือชุดนี้มี ๓ เล่ม สำ เร็จเป็นรูปเล่มได้ด้วยดีก็เพราะได้อาคัย องค์คณะทำงานหลายท่าน ดังปรากฏซื่อในหนังสือนี้แล้วส่วนหนึ่ง และ ยังมีอีกหลายท่านที่ซ่วยพิมพ์ด้นฉบับ ตรวจทานด้นฉบับเป็นด้น จึงขอ ขอบพระคุณทุกท่านไว้ ณ ที่นี้เซ่นกัน สำ หรับทุนในการจัดพิมพ์นั้นได้รับงบประมาณในส่วนของการฟ้ก อบรมพระนักเทศน์จากสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งซาติ ซื่งจัดงบ ประมาณทั้งในการแกอบรมและพิมพ์เอกสาร หนังสือถวายแก่พระนักเทศน์ ทุกรูปทุกรุ่นติดต่อกันเรื่อยมา นับเป็นกุศลมหาศาลที่ซ่วยกันอุปถัมภ์ธำรง รักษาพระพุทธศาสนาไว้ในรูปแบบการเผยแผ่ จึงขอขอบพระคุณเจ้าหน้าที่ ^ห้การสนับสนุนงานแกอบรมพระนักเทศน์ด้วยดีดลอดมา หรังว่าหนังสือชุด \"คลังธรรม\" ทั้ง ฅ เล่มนี้จะเป็นประโยซน์แก่ พระนักเทศน์และผู้ที่สนใจตามสมควร ในอนาคตอาจมีคลังธรรมเล่ม ๔ ออกมาสนองความด้องการ เพราะหัวข้อธรรมที่ยังมีได้รวบรวมไว้ยังมีอีกมาก (พระธรรมกิตติวงศ์) รัดราซโอรสาราม กรุงเทพฯ ๒๖ สิงหาคม ๒๕๔๖ www.kalyanamitra.org

คำ ชี้แจง เพื่อเข้าใจเจตนารมณ์ที่สำคัญของการจัดทำหนังสิอชุด \"คลังธรรม\" นี้ และเพื่อใช้หนังสิอชุดนี้ได้ถูกต้องตามเจตนารมณ์ จึงขอซี้แจงทำความ เข้าใจไว้เ?เนเบื้องด้นคังนี้ ๑. หนังสีอชุดนี้จัดทำขึ้นเพื่อเปีนคู่มือสำหรับพระนักเทศน์เป็นหลัก มืได้มุ่งให้เป็นหนังสิออ้างอิงทางวิชาการ หลักฐานและรายละเอียดต่างๆ จึงไม่สมบูรณ์เต็มที่ แต่ผู้มุ่งเซิงวิชาการหรือมุ่งหลักฐานอ้างอิงก็สามารถไป สิบด้นด้นตอเพื่อให1ด้รายละเอียดโดยไม่ยากนัก ๒. หัวข้อธรรมที่รวบรวมไว้ มุ่งเฟ้นเฉพาะธรรมที่เห็นว่าจะเป็น ประโยชน์ในทางปฏิบัติในชีวิตประจำรันเป็นหลักใหญ่ กล่าวคีอรวบรวมเฉพาะ ธรรมประเภทปหาคัพพธรรม(ธรรมที่ควรละ)ลัจฉิกาคัพพธรรม(ธรรมที่ควร เข้าใจให้แจ่มแจ้ง) และภาเวคัพพธรรม (ธรรมที่ควรเจริญ) เป็นล่วนใหญ่ ส่วนหัวข้อธรรมประ๓ทวิญเญยยธรรม (ธรรมที่ควรรู้) นั้นได้รวบรวมไว้แต่ ฟ้อย ทั้งนี้เพราะธรรมประเภทนั้นมีจำนวนมาก หากรวบรวมไว้ด้วยมากๆ ก็จะกลายเป็นตำราเล่มใหญ่ไป และแม้หัวข้อธรรมประเภทที่ด้องการก็ รวบรวมไว!ม่หมดเสิยทีเดียว ด้วยมีจำนวนมากเซ่นกัน จึงรวบรวมไว้เท่า ที่พอจ;\" ''\" ต. ในการตั้งซื่อหัวข้อธรรม เซ่น ปุคคลกถา ลันติกถา ก็ตั้งไว้ เป็นคัวอย่างเท่านั้น โดยตั้งตามอัตโนมัติบัาง ตั้งตามแบบที่ท่านตั้งไว้โน www.kalyanamitra.org

[๑๐] พระไตรป็ฎก!เาง ตั้งตามซื่อสูตรหรือเรื่องนั้นๆ บ้าง ขอให้ถีอว่าเป็นซื่อ สมมติเท่านั้น ท่านผู้นำเรื่องนั้นๆ ไปเทศน์อาจตั้งซื่อเรื่องเป็นอย่างอื่นตาม ที่เห็นสมควรได้ตามถนัด ๔. ข้อย่อยของธรรมที่มีเลขกำกับไว้ว่า ๑. ๒. ต. เป็นด้นก่อน บอกที่มานั้น เป็นการเก็บความหรือสรุปเนื้อหาสาระไว้ตั้นๆ เป็นเบื้องด้น สำ หรับจดจำให้เห็นซัดเจน ซื่งเหมาะสำหรับจดจำไปใฐดหรือเทศน์เพราะ นั้นและกระซับ แตใจความอาจไม่ตรงกับข้อความบาลีทั้งหมดทุกคำเพราะ เป็นการเก็บความหรือสรุปเนื้อหาเท่านั้น ส่วนรายละเอียดจริงๆ ด้องดูที บาลีและคำแปลประกอบ ๕. การนับข้อธรรมเป็น ๑. ๒. ต. นั้น ก็กำหนดนับตามข้อความ ที่ปรากฏในบาลี เซ่น ทุกนิบาต มีหัวข้อธรรมหมวดละ ๒ ติกนิบาต มี หัวข้อธรรมหมวดละ ต แต่บาลีส่วนใหญ่มีได้กำหนดหัวข้อย่อยไว้ว่ามีเท่าไร ที่นับจำนวนไว้!ห้นื้ก็ทำตามที่นิยมทำกันมาแต่อดีตบ้าง ตกลงกันว่าน่าจะ เป็นอย่างนั้นบ้าง หากไม่สะดวกใจที่จะนับก็ไม่ด้องนับก็ได้ หรือเห็นว่านับ ไม่ถูกด้องจะตัดหรือเพิ่มก็ได้ตามถนัด ทั้งนื้เพราะข้อสำคัญมีใซ่อยู่ที่จำนวน ข้อยอยว่ามีเท่าไร แต่อยู่ที่เนื้อหาสาระแท่งธรรมที่นำเสนอไปนั้นครบถ้วน สมบูรณ์หรือไม่ ๖. สำ หรับบาลีที่ยกมาอ้างไว้นั้นมีที่มาหลายแห่ง และใส่อักษรย่อ ที่มาไว้ให้เพิ่อการลีบด้นด้นตอที่ถูกด้อง สำ หรับตัวเลขนั้นเป็นที่รู้กันในหมู่ นักวิชาการว่า ตัวเลขข้างด้นหมายถึงเล่มที่ ตัวเลขตรงกลางหมายถึงข้อที่ และตัวเลขสุดห้ายหมายถึงหน์า เซ่น ๑อ/๒ต/๑๕๑ ก็หมายความว่า เล่มที ๑๐ ข้อที่ ๒ต หน้าที่ ๑๕๑ ตังนื้ แต่บางแห่งไม่ได้บอกหน้าไว้เพราะหนังลีอ www.kalyanamitra.org

[๑๑] บางเล่มพิมพ์หลายครั้งหลายแห่ง หน้าไม่ตรงกัน จึงละไกั บอกแค่เล่ม และข้อก็พอจะสิบค้นได้ และหากที่มาไม่ชัดเจนหรือไม่มีบาลีก็ละไว้ บอก แต่เพียงที่มาที่เป็นค้นฉบับ เซ่น คลังปริยัติธรรม แต่เพี่อความสะดวกใน การสิบค้น จึงไค้ทำบัญชียักษรย่อบอกซื่อลัมภีรั้1ว้1นหบังสิอนี้ด้วยแล้ว ๗. บาลีที่ยกขึ้นมาแสดงไว้นั้นสำหรับเป็นหัวข้ออุเทศหรือนิกเขปบท เบื้องค้นแห่งเทศนาตามคตินิยม บาลีตอนใดเห็นว่าไม่ยาวเกินไป เซ่นเป็น รูปคาถาอยู่แล้ว ก็คงไว้ทั้งหมดไม่ตัดย่อ ส่วนบาลีตอนใดเห็นว่ายาวเกินไป ก็ยกมาแสดงเป็นบางส่วน ที่เหลือก็ใส่เครื่องหมาย ... ไว้ ขอให้เข้าใจว่า เครื่องหมายนึ๊1ค้ละบาลัIว้บางส่วน แต่บางแห่งเห็นว่าบาลีนั้นเป็นสิงสำคัญ สำ หรับผู้ที่สามารถแปลไค้เองก็คงไว้ให้ แม้จะดูยืดยาวไปบ้างก็เป็นประโยชน์ แต่เมื่อ่นำไปเป็นหัวข้อเทศนาก็สามารถตัดทอนไค้ตามที่ค้องการ ทั้งนี้ก็อยู่ ในดุลยพินิจของท่านผู้จะนำไปใข้เป็นสำคัญ ๘. คำ แปลบาลีนั้น ถ้าเห็นว่าซํ้ากับเนื้อหาที่แสดงไว้แล้วข้างค้นก็ จะละไว้ ใส่เฉพาะข้อค้นกับข้อสุดท้ายเท่านั้น ส่วนที่ละไว้ก็พึงใส่ตาม ข้อความข้างค้นนั้น แต่ถ้าเห็นว่ามีข้อความแปลกกันหรือมีเบื้อหารายละเอียด มากกว่าที่แสดงไว้ข้างค้นก็จะใส่เต็มไว้ บางแห่งย่อบาลีไว้ แต่ในคำแปล จะใส่ข้อความที่เต็มสมบูรถilว้เพี่อเป็นข้อมูลว่าบาลีข้างค้นไค้ละข้อความ อะไรไว้ ซึ่งท่านที่รู้บาลีดีย่อมทำความเข้าใจได!ม่ยากบัก ๙. เนื่องจากหบังสิอที่นำมาเป็นหลักฐานอ้างอีงมีแหส่งที่มาหลายที่ และพิมพ์หลายครั้ง ข้อความส่วนใหญ่จะตรงกัน แต่ที่ไม่ตรงกันก็มีอยู่ ตังนั้น หากผู้ค้กษาค้นคว้าเซิงวิชาการไปค้นหาเห็นว่าไม่ตรงกันก็พึงไปสิบค้นจากอีก สำ บักหนื่งหรือที่พิมพ์อีกปีหนื่ง ย่อมไค้ความกระจ่างในเรื่องบื้ หบังสิอที่มี www.kalyanamitra.org

[๑๒] ผิดเพี้ยนกันมากที่สุดคือมิลินทป้ญหาและโลกนีติ สำ หรับที่นำมาอ้างอิงใน หนังสิอนี้ พระไตรปีฎกภาษาบาลีใช้ฉบับสังคายนา ที่พิมพ์เมื่อปี พ.ศ. ๒๕ฅอ อรรถกถาใช้ฉบับของมหาจุฬาฯ ที่พิมพ์เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๒ มิลินทปัญหาใช้ ฉบับของมหาจุฬาฯ ที่พิมพ์เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔อ และโลกนีติ ใช้ฉบับของ ราชบัณฑิตยสถาน ที่พิมพ์เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๙ ส่วนหนังลีอคลังปริยัติธรรม ใช้ฉบับของนายแพทย์เกิด ธนซาด ที่พิมพ์เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๑๓ เป็นหลัก ๑อ. ข้อความบาลีที่ยกมาไว้อาจมีซํ้าช้อนกันบ้าง ทั้งนี้เพราะเจตนา ต้องการให้ทราบว่าถ้าจะนับข้อความนั้นเป็นข้อย่อยก็จัดอยู่ในหมวดนี้ แต่ ถ้าจะไฝนับเป็นช้อย่อยก็จัดอยู่ในหมวดนี้ ดังนี้เป็นต้น ไม่พึงเห็นว่า เป็นการซํ้าช้อนกันเกินไป ๑๑. ในการแปลนั้นใช้ต้นฉบับพระไตรปิฎกฉบับภาษาไทยเป็นหลัก แต่ก็มีดัดเติมบ้างเพี่อให้สะดวกในการทำความเช้าใจ และย่อมมีปรากฏ อยู่บ้างที่ช้อความบาลีอย่างเดียวกัน แต่อยู่ต่างหมวดกัน คาแปลกลับ ไม่เหมีอนกัน ทั้งนี้เกิดจากการปรับเปลี่ยนคำแปลให้เหมีอนกันในการตรวจ ต้นฉบับยังไม่หมด เพราะคำแปลจากต้นฉบับที่มาก็ยังมีที่คลาดเคลี่อนกัน อยู่บ้าง จำ ต้องมาปรับเปลี่ยนใหม่ให้เหมีอนกัน ที่ยังไม่ปรับเปลี่ยนก็อาจ ยังมีหลงเหลืออยู่บ้าง ถึงกระนั้นก็ตามก็ต่างกันโดยพยัญชนะเท่านั้น ว่าโดย เนี้อหาสาระแล้วมื่ไต้แตกต่างกันเลย คณะผู้จัดทำ www.kalyanamitra.org

[<>>๓] อัคษรย่อบอกชื่อคัมภีร์ พระบาลีไตรปีฎก ๔๕ เลม พระบาลีวินัยโเฎก ๘ เล่ม เล่มที่ คำ ย่อ คำ เต็ม ๑ วิ.มหาวิ. วินยป็ฏเก มหาวิภงุคปาลิ (ปฟ้ม ภาโค) ๒ วิ.มหาวิ. วินยปีฏเก วินยป็ฏเก มหาวิภงคปาลิ (ทุติโย ภาโค) ฅ วิ.ภิฤชุนี. วินยป็ฏเก วินยปีฏเก ภิกขนีวิภงฺคปาลิ Gl วิ.มหา. วินยป็ฏเก ๕ วิ.มหา. วินยปีฏเก มหาวคฺคปาลิ (ปฟ้ม ภาโค) วินยปีฎเก ๖ วิ.จุลฺ. มหาวคคปาลิ (ทุติโย ภาโค) ๗ วิ.จุลฺ. จุลฺลวคฺคปาลิ (ปรโม ภาโค) จุลฺลวคคปาลิ (ทุติโย ภาโค) ๔ วิ.ป. ปริวารปาลิ เล่มที่ คำ ย่อ พระบาลีสุดดันดปีฎค ๒๕ เล่ม ๙ ที.สิ. คำ เต็ม ๑๐ ที.ม. ๑๑ ที.ปา. ฒตนฺตปีฎเก ทีฆนิกายสุส สิลฤฃนฺธวคฺคปาลิ สุตตนฺตปีฏเก ทีฆนิกายสฺส มหาวคฺคปาลิ สุตฺตนฺตปีฏเก ทีฆนิกายสฺส ปาฏิกวคคปาลิ หมายถึง พระไตรขฎกภาษามคธ ฉบับสังคีติเตปีฎก ะ ทยฺยรฏฺธสฺส สงคีติเตฃฎกํ ๒๕๓๐ ทุฑธวสเส(ฉบับสังคายนา ในพระบรมรา^ปถัมภ์ พุทธสักราซ*๒๕ต๐)และ พระไตรขฎก ภาษาไทย ฉบับหลวง เฉลิมพระเกียรติ พุทธศักราช ๒๕๔๒ www.kalyanamitra.org

[๑๔] เล่มที่ คำ ย่อ คำ เต็ม ๑๒ ม.มู. สุตฺตนฺตปีฏเก มซฺฌิมนิกายสฺส มูลปณฺณาสปาลิ สุต.ตนฺตป็ฏเก มซฌิมนิกายส.ส มซฺฌิมปณฺณาสปาลิ ๑ฅ ม.ม. สุต.ตนฺตป็ฎเก มซฺฌิมนิกายสฺส อุปริปณฺณาสปาลิ ๑๔ ม.อุ. ๑๔ สํ.ส. สุต.ตนฺตป็ฏเก สํยุตฺตนิกายสฺส สคาถาวค.คปาลิ ๑๖ สํ.นิ. สุตฺตนฺตป็ฏเก สํยุต.ตนิกายส.ส นิทานวค.คปาลิ ๑๗ สํ.ข. สุต.ตนฺตปีฎเก สํยุต.ตนิกายสุส ขนุธวคฺคปาลิ ๑๔ สํ.สฬๆ. สุตฺตนฺตป็ฏเก สํยุร^ตนิกายสฺส สฟิายตนวคฺคปาลิ ๑๙ สํ.ม. สุตฺตนุตป็ฏเก สํยุต.ตนิกายสฺส มหาวคฺคปาลิ ๒๐ อง..เอกก. สุตตนุตปีฏเก อง.คุตฺตรนิกายสฺส เอกกนิปาตปาลิ อง.ทุก. สุตฺตนุตปิฏเก อง.คุต.ตรนิกายสุส ทุกนิปาตปาลิ อง..ดิก. สุต.ตนุตปิฏเก อง.คุต.ตรนิกายสฺส ดิกนิปาตปาลิ ๒๑ อง..จตุก.ก. สุตฺตนุตป็ฏเก อง.คุต.ตรนิกายสฺส จตุก.กนิปาตปาลิ ๒๒ อง..ปฌ.จก. สุตฺตนุตป็ฏเก อง.คุตุตรนิกายสฺส ปฌฺจกนิปาตปาลิ อง..ฉฤก. สุต.ตนุตปิฏเก อง.คุe^ตรนิกายสฺส ฉฦกนิปาตปาลิ ๒ฅ องฺ.สต.ตก. สุต.ตนุตปีฏเก อง.คุตตรนิกายสฺส สต.ตกนิปาตปาลิ องฺ.อฏจก. สุต.ตนุตป็ฏเก อง.คุตตรนิกายสฺส อฎจกนิปาตปาลิ อง..นวก. สุตฺตนุตปีฎเก อง.คุตตรนิกายสฺส นากนิปาตปาลิ ๒๔ อง..ทสก. สุต.ตนุตปิฏเก อง.คุต.ตรนิกายสุส ทสกนิปาตปาลิ องฺ.เอกาทสก. สุต.ตนฺตปีฎเก อง.คุต.ตรนิกายร?ส เอกาทสกนิปาตปาลิ ๒๔ ชุ.ชุ. สุต.ตนุตปีฎเก ชุทฺทกนิกายสฺส ชุท.ทกปาจปาลิ ชุ.ธ. สุ!?!ตนุตปิฏเก ชุท.ทกนิกายสุส ธมุมปทปาลิ ฃุ-อุ- สุตฺตนุตป็ฎเก ชุทฺทกนิกายสฺส อุทานปาลิ www.kalyanamitra.org

[g)^] เล่มท คำ ย่อ คำ เต็ม ชุ.อิติ. สุตุตนฺตป็ฎเก ชุท.ทกนิกายสฺส อิติวุตุตกปาลิ ชุ-สุ- สุตตนฺตป็ฏเก ชุทฺทกนิกายสฺส สุตุตนิปาตปาลิ ๒๖ ชุ.วิ. สุตตนุตปีฏเก ชุทฺทกนิกายสฺส วิมานวตุถุปาลิ ชุ.ฟต. สุตฺตนุตป็ฏเก ชุทฺทกนิกายสฺส เปตวตุลุปาลิ ชุ.เถร. สุตฺตนุตป็ฏเก ชุทฺทกนิกายสฺส เถรคาถาปาลิ ชุ.เถรี. สุตตนุตป็ฏเก ชุทฺทกนิกายสฺส เถรีคาถาปาลิ ๒๗ ชุ.ซา. สุตฺตนุตป็ฏเก ชุท.ทกนิกายสฺส ชาตกปาลิ (ปรโม ภาโค) ๒๘ ชุ.ชา. สุตุตนุตปีฏเก ชุทฺทกนิกายสฺส ชาตกปาลิ (ทุติโย ภาโค) ๒๙ ชุ.มหา. สุตฺตนุตปีฎเก ชุทฺทกนิกายสฺส มหานิท.เทสปาลิ ฅ๐ ชุ•จูฟิ■ สุตฺตนุตปีฏเก ชุท.ทกนิกายสฺส จูฬนิท.เทสปาลิ ๓๑ ชุ.ปฏิ. สุตฺตนุตป็ฏเก ชุทฺทกนิกายสฺส ปฎิสม.ภิทามคฺคปาลิ ๓๒ ชุ.อป. สุตตนุตปิฏเก ชุทฺทกนิกายสฺส อปทานปาลิ ๓๓ ชุ.อป. สุตตนุตปีฏเก ชุท.ทกนิกายสุส อปทานปาลิ ชุ.พุทธ. สุตฺตนุตป็ฎเก ชุทฺทกนิกายสุส พุทฺธวํสปาลิ ชุ.จริยา. สุตตนุตป็ฏเก ชุทฺทกนิกายสฺส จริยาปิฎกปาลิ พระบาลีอภิธรรมปีฎก ๑๒ เล่ม เล่มที่ คำ ย่อ คำ เต็ม ๓๔ อภิ.สง. อภิธม.มป็ฎเก ธม.มสงฺคณีปาลิ ๓๔ อภิ.วิ. อภิธมฺมป็ฎเก วิภงฺคปาลิ ๓๖ อภิ.ฮา. อภิธมฺมป็ฎเก ธาตุกถาปาลิ อภิ.ปุ. อภิธม.มป็ฏเก ปุคุคลปฌฺฌตฺติปาลิ ๓๗ อภิ.ก. อภิธม.มปีฎเก กถาวตฺลุปาลิ www.kalyanamitra.org

[๑๖] คำ เต็ม เล่มที่ คำ ย่อ อภิธมุมปีฏเก ยมกปาลิ อภิธม.มปิฏเก ยมกปาลิ ๓๘ อภิ.ย. อภิธม.มปีฏเก ปฏจานปาลิ ๓๙ อภิ.ย. อภิธม.มปิฏเก ปฏจานปาลิ ๔๐ อภิ.ป. อภิธม.มปีฏเก ปฏจานปาลิ ๔๑ อภิ.ป. อภิธม.มป็ฏเก ปฏจานปาลิ ๔๒ อภิ.ป. อภิธม.มป็ฏเก ปฏจานปาลิ ๔๓ อภิ.ป. อภิธมุมปีฎเก ปฏจานปาลิ ๔๔ อภิ.ป. ๔๔ อภิ.ป. คัมภีร์อรรถกถา* อรรถกถาพระบาลีวินัยปีฎก เล่มที่ คำ ย่อ คำ เต็ม ๑ วิ.อ. ๑ สมนุตปาสาทิกาย นาม วินยป็ฎกฏจกลาย ปาราชิกกณฑ วณฺณนา (มหาวิภงฺควณฺณนา) ๒ วิ.อ. ๒ สมนุตปาสาทิกาย นาม วินยป็ฏกฏจกลาย สํฆาทิเสสาทิ กล4ฑวณฺณนา (มหาวิภงฺควณฺณนา) ๓ วิ.อ. ฅ สมนุตปาสาทิกาย นาม วินยป็ฎกฎจกลาย มหาวคฺคาทิ วณฺณนา (มหาขนุธกาทิวณฺณนา) กงขา.อ. กงขาวิตรณีอฏจกลา วิ.สง.คห. วินยสง.คหอฎจกลา * หมายถึง คัมภึร์อรรถกลาภาษามคธ ฉบับมหาธุฬาถงกรณราชวิทยาถัย ยกเว้นคัมภีร์ ธมฺมปทฏรกถา www.kalyanamitra.org

[๑๗] อรรถกถาพระบาลีสูตตันตปีฎก ฑีฆฟ้กาย(๓ คัมภีร์ ๓ เล่ม) เล่มที คำ ย่อ คำ เต็ม ๑ ที.สิ.อ. สุมงคลวิลาสินิยา นาม ทีฆปิกายฏ^กทาย สิลฤขนฺฐ วคฺควณฺณนา ๒ ที.ม.อ. สุมงคลวิลาสินิยา นาม ทีฆนิกายฏ^กถาย มหาวคฺค วณฺณนา ฅ ที.ปา.อ. สุมงฺคลวิลาสินิยา นาม ทีฆนิกายฎฺรุกทาย ปาฏิกวคค วณฺณนา มัชฌิมนิกาย(๓ คัมภีร์ CO เล่ม) เลมที คำ ย่อ คำ เต็ม ๑,๒ ม.มู.อ. ปปฌฺจลูทนิยา นาม มซฺฌิมนิกายฏฺธุกทาย มูลปณุณาส วณฺณนา ฅ ม.ม.อ. ปปฌุจสูทนิยา นาม มชุฌิมนิกายฏฺ^กทาย มซฌิมปณฺณาส วณฺณนา ๔ ม.อุ.อ. ปปฌฺจสูทนิยา นาม มซฺฌิมนิกายฏฺ?กทาย อุปริปณฺณาล วณฺณนา สังยุฅตนิกาย (๕ คัมภีร์ en เล่ม) เลมที คำ ย่อ คำ เต็ม ๑ สิ.ส.อ. สารตฺทปปกาสินิยา นาม สิยุตฺตนิกายฏชุกทาย ลคาทา วคฺควณฺณนา ๒ สิ.นิ.อ.,สิ.ข.อ. สารตฺทปฺปกาสินิยา นฺาม สิยุตฺตนิกายฏชุกทาย นิทๅน วคฺคขนฺอวารวคฺควณฺณนา www.kalyanamitra.org

[๑๘] เล่มที่ คำ ย่อ mm ฅ สํ.สฟิา.อ.,สํ.ม.อ. สารตถปฺปกาสินิยา นาม สํยุตฺตนิกายฎ^กถาย สฟิายตนวคฺคมหาวารวคฺควณฺณนา อังคุตตรนิกาย (๑© นิบาต ๓ เล่ม) เล่มที่ คำ ย่อ คำ เต็ม ๑ องุ.อ. มโนรถปูรณิยา นาม องฺคุตฺตรนิกายฎจกถาย เอกก นิปาตวณุณนา ๒ อง..ทุก.อ, องฺ.ดิก.อ., องฺ.จตุๆก.อ. มโนรถปูรณิยา นาม อง.คุต.ตรนิกายฏจกถาย ทุกาทิ นิปาตวณฺณนา ๓ อง..ปฌฺจก.อ, อง..ฉก.ก.อ., อง..สต.ตก.อ., อง..อฎฺจก.อ.. อง..นวก.อ., อง..ทสก.อ- อง..เอกาทสก.อ. มโนรถปูรณิยา นาม อง.คุต.ตรนิกายฏจกถาย ปฌ.จกาทิ นิปาตวณฺณนา ฃุททกนิกาย คำ ย่อ คำ เต็ม ข.ข.อ. ปรมตฺกโขติกาย นาม ชุทฺทกนิกายฏรกถาย ชุทฺทกปารวรนณนา ข.ร.อ. ธ}^มปทฏรกถา (ปรโม ภาโค - อฏรโม ภาโค)* (๘ เถ่น) ข.อุ.อ. ปรมตฺถทีปนิยา นาม ชุV!ทกนิกาย£jรกถาย อุทานวถ)ณนา ชุ.อติ.อ. ปรมต.ถทีปนิยา นาม ชุทฺทกนิกาย/)รกถาย อิติๅตฺตกวณฺณนา * ทมายรง คัมภ็รอแแททาธรรมบทภาษามM ทป๋บมหามรฎราธรทยาทัย www.kalyanamitra.org

[๑๙] เล่มทึ คำ ล่อ คำ เต็ม ชุ.สุ.อ. ปรมฤถโชติกาย นาม ชุทุทกนิกาย/]รกถาย สุ?เตนิปาตวณฺณนา ชุ.วิ.อ. (๒ เล่ม) ชุ.เปต.อ. ชุ.เถร.อ. ปรม?!ถทีปนิยา นาม ชุทฺทกนิกายqรกถาย วิมานว?)อุวณฺณนา ปรม?!ถโชติกาย นาม ชุทฺทกนิกายqรกถาย เปตว?!ธุวณฺณนา ปรม?!ถทีปนิยา นาม ชุทุทกนิกายqรกถาย เถรคาถาวณณนา ชุ.เถรี.อ. (๒ เล่ม) ชุ.ชา.อ. ปรม?!ถทีปนิยา นาม ชุททกนิกายqรกถาย เถรีคาถาวณฺณนา ชุทฺทกนิกาเย ชาตกปาที[ยา ส์วณฺณนาภูตา ชาตกฎรกถา ปรโม ภาโค - ทสโม ภาโค เอกกนิปาตวณฺณนา - มหานิปาตวณฺณนา (๑๐ เล่ม) ชุ.ม.อ. สV!ธมฺมปฺปซฺโชติกาย นาม ชุทฺทกนิกายqรกถาย มหานิทฺเทส วณฺณนา ชุ.จู.อ. สทฺธมุมปปซฺโชติกาย นาม ชุทฺทกนิกายqรกถาย จูฬนิVjเทส ชุ.ป.อ. วณุณนา ชุ.อป.อ. สทธมุมปปกาสินิยา นาม ชุฤทกนิกายqรกถาย ปฏสมุภิทา มคควณฺณนา (๒ เล่ม) วิสุทฺธชนวิลาสินิยา นาม ชุทฺทกนิกายqรกถาย อปทานวณุณนา (๒ เล่ม) ชุ.ทุทุธ.อ. มธุร?!ถวิลาสินิยา นาม ชุทุทกนิกายqรกถาย ทุทุธวํสวถ/ณนา ชุ.จรียา.อ. ปรม?!ถทีปนิยา นาม ชุทุทกนิกายqรกถาย จรียาป็ฏกวณณนา www.kalyanamitra.org

[๒๐] อรรถกถาพระบาลีอภิธรรมปีฎก คำ ย่อ คำ เตึม อภิ.สiอ. อฏจสาลินิยา นาม อภิธมมฏ^กถาย ธมฺมสง.คณีวณฺณนา อภิ.วิ.อ. สมโมหวิโนทนิยา นาม อภิธม.มฎฺจกถาย วิภง.ควณฺณนา อภิ.ปญฺจ.อ. ปฌฺจปกรณฏจกถาย ธาตุกถาทิวณฺณนา คัมภีร์ทีนอกจากพระไตรปีฎกมละ®'5รถกลา (เฉพาะทอ้าง)* คำ ย่อ คำ เต็ม มิลินฺท. มิลินฺทปทเหปกรณ ('^ ''ล่3>1) วิสุทธิ. สุตฺตนฺตปีฎเก จตุนฺนํ อาคมานํ สาธารณฎจกถาภูตํ ภทฺทนุต- มหาพุทธโฆสตุเถเรน กตํ วิสุทธิมคฺคปกรณํ (ปจโม ภาโค-ทุติโย ภาโค : ฉบับมหาจุฟิา ฯ) ('อ เล่ม) สารตุถ. สารตุถทีปนีฏีกา เล่ม) ที.สิ. ฏี. ทิฆนิกาย สาธุวิลาสินี สิลก.ขนุธวคฺคอภินวฏีกา (๒ เล่ม) * หมายถึง คัมภึร์ฎีกาภาษามคธ ฉบับมหาชุฬาองกรฌราชวิทยารัย www.kalyanamitra.org

[๒๑] คำ ชืแจงการใช้อักษรย่อ อักษรย่อบอกคัมภีร์ท็่ใข้อ้างอิงการทำเซิงอรรถใน หนังสือคลังธรรม ■ส์ พึงทราบว่า การอ้างคัมภีร์พระไตรป็ฎก ได้อ้างเฉพาะเล่มและซิอ โดยเลขหนัา บอกเล่ม เลขหลังบอกข้อ ตัวอย่าง เซ่น วิ.มหาวิ. ffl/a/o หมายถึง วินยปีฏเก มหาวภงุลปาล(ปอโมภาโค) เล่ม a ข้อ®หนัา a หรือพระ บาสิวินัยป็ฎก มหาวิอังค์(ปฐมภาค) เล่ม 0 ข้อ ร, ในส่วนของการอ้างอิงคัมภีร์อรรถกถาและคัมภีร์ปทรณ์วิเฐฐร็เหฐกวาก พระไตรป็ฎกและอรรถกถา ได้อ้างอิงเฉพาะเล่มและหน้าเป็นส่ๆคัญ โดย บอกขี่อเต็มของอรรถกถานัน ๆ ไว้ด้วย มีการอ้างอิง la ลักษณะ คีอ (©) คัมภีรทพิมพ ๒ เล่มวบ หรือ (ท เล่มชุน ได้อ้างอิงเล่มและหน้า ประกอบกัน โดย เลขหน้า หมายถึงเล่มหรือภาค เลขหลัง หมายถึง หน้าของเล่มหนังสิอของคัมภีร์นั้น «) ตัวอย่าง เซ่น วิ.ค.®/®๑๘ หมายถึง สมนุตปาสาทิกาย นาม วินยปีฎกฎฺอกลาย ปาราชิกกล('ทวฌฺลเนา (มหา วิภงฺควณฺฌนา) หรืออรรถกถาสมันตํปาสาทิภา แห่งพระวินัย'ป็ฎก เล่ม a หน้า ๑๑๘ (๒) คัมภีร์อรรถกถาที่พิมพ์เล่มเดียวจบ โดยไม่จัดพิมพ์เป็นภาค ๑ ภาค ๒ ได้อ้างอิงเฉพาะหน้า คัวอย่าง เซ่น ที.สี.อ. ๘๔ หมายถึง ลุ[มงคลวิลาสินิยา นาม ทีฆนิกายฎ®กถาย สีลคุขนธวคุควถเฉเนา หรือ อรรถกถาสุมังคลวิลาสิน แห่งพระสุดคันตป็ฎก ทีฆนิกาย สิลขันรวรรค หน้า ๘๔ อนึง เนองจากได้อ้างถึงคัมภีร์ฎีกาน้อยมาก จึงแลดงอักษรย่อบอภที่อ คัมภีร์ดังกล่าว เฉพาะที่อ้างถึง www.kalyanamitra.org

' :■ -'y- ■ :< •ไ.\" ^ \\ '■ '. ■ • ะ . ■.ะ-- ^ s : :Mไ-,uv- .• ■^ r ^ •ะy-\\:- ' Z j 's ■').■ ะ' .f-i ะ;:r - ,:VvV-^ . - s i' s ■ๆ^ V--Vv-i-l,:j„r;_ ■^. ' :'■ • '•?.';j\".i- V': ^;-:'ะ'-;น; ะ;:'\";;:;': -::,:น,I';;''vU .'' ■■ ■ ■^. ะ\"^ะ;'; if--:;''.- ;•'.นน-:น;; \"' .: น:; . -!\"ะ-\"■ .น;: - ะ . ;น่;นนน \" s ••■น'\"-ะ';น ;'' ะ'\"' s ะน:'••:•. - น่: ,-นิ^'น\"'นนน;;โ';นนิน1ะ-; :;1,: ;■ • ;'i; นฺ.• •นน: ;■ \" ะ::.' ■\"\": :7นินฺ - น:'ะ-\"น่ '■ '\" 'ะ;น่.:นิ น;-น - ะ น.; - ;• ะน ;:r,-;,;v,. .'-น .-\"v\" 7:;'น; นิน่ • นิ น น่ไ,■ไ: โ 'น;'••'ไ .•'น•ะ.- นิ;:; น:;.:.-;;นิ;.นิ'\"' ะ . นินุ V-M*นิ www.kalyanamitra.org

คลังธรรม ฟม ๓ สารบญ หน้า [๙] [๑ฅ] คำ นำ [๒ฅ] คำ นำ พิมพ์ครั้งพรก คำ ซี้แจง อักษรม่อชื่อคัมภีร์ สารบัญ หมวด ๗ เรื่อง ว่าด้วย หน้า ธัญญคลา ธัญชาติ ๗ ๑ 1]คคลบัผณัดดิกลา บัญญัติประ๓ทอริยบุคคล ๗ ๒ โพชผังลกลา อสัทธัมมกลา โพซฌงค์ ๗ (a. สัทธัมมกลา อส์ทธรรม ๗ ๕ สัป1jริสธัมมกลา ส์ทธรรม ๗ ๕ วิอุ[ทธิกลา ๖ ส์ปปุริสธรรม ๗ ๗ คัมมวิปากกลา ๘ ความหมดจดที่สูงขึ้นไปเป็นขั้น ๆ ๗ กฎแฟงกรรม ๗ www.kalyanamitra.org

[๒๔] คลังธรรม เรื่อง วาด้วย หน้า กายูปมากถา อุปมาแห่งกาม ๗ ๑๑ วัตฅปทกถา วัตรบท ๗ ๑๒ ธาดูโสกถา คนธาตุแท้เดียวกัน ๗ ๑ฅ อันโต\\เติกถา ลักษณะของภิกษุผู้เน่าใน ๗ ๑๔ อภาวนียกถา ลักษณะของภิกษุทีไม่น่านับถือ ๗ ๑๔ พสกถา กำ ลัง ๗ ๑๖ อริยธนกถา อริยทรัพย์ ๗ ๑๗ ๑๘ สัญโญชนกถา ลังโยชน์ กิเลสเครื่องผูกมัด ๗ ๑๙ อนุลัย กิเลสที่นอนเนื่องอยูในลันดาน ๗ ๒0 อาjสยกถา ลักษณะตระกูลที่ภิกษุควรเข้าไป ๗ ๒๑ ออังฤสกถา เปรียบบุคคลกับการว่ายนํ้า ๗ อุท!)ปมาา]คคลกถา อาาJเนยยาทิกถา บุคคลผู้ควรแก่ของคำนับเป็นต้น ๗ อปริหานิยธัมมกถา อปริหานิยธรรมสำหรับผู้บริหาร ๗ ๒๔ ภิกชุอปริหานิยธัมมกถา(๑) อปริหานัยธรรมสำหรับภิกษุ ๗ (นัยที่ ๑) ๒๕ ภิกชุอปริหานิยธัมมกถา(๒) อปริหานัยธรรมสำหรับภิกษุ ๗ (นัยที่ ภิกชุอปริหานิยธัมมกลา(๓) อปริหานัยธรรมสำหรับภิกษุ ๗ (นัยที่ ฅ) ๒๘ ภิกอุอปริหานิยธัมมกถา(๔) อปริหานัยธรรมสำหรับภิกษุ ๗ (นัยที่ ๔) ๒๙ ภิกขุอปริหานิยธัมมกถา(๕) อปริหานัยธรรมสำหรับภิกษุ ๗ (นัยที่ ๕) ตอ เสฃหานิกถา ความเสีอมของเสขภิกษุ ๗ ต๑ ความเสิอมของอุบาสกอุบาสิกา ๗ อุปาสกหานิกถา ความเจริญของอุบาสกอุบาสิกา ๗ ต๒ อุปาสกอัมภวกถา ฅฅ ดารวตากถา ความเคารพที่โม่ทำใท้เสีอม ๗ ต๔ ต๕ มิตตกถา คุณสมบัติของมิตรที่ควรคบ ๗ กัลยาณมิตตกถา ลักษณะของกัลยาณมิตร ๗ ต๖ www.kalyanamitra.org

สารบัญ [๒๕] เรื่อง ว่าด้วย หน้า วสกถา ลักษณะของผู้มีอำนาจเหนือจิต ๗ ฅ๗ ฅ๘ อัคคิกถา ไฟ ๗ ๔อ ๔๑ อาสวฃยกถา เหตุให้เนอาสวะได้เร็ว ๗ สัตตรตนกถา รัตนะ ๗ ภริยากถา ภริยาสักฃณกถา ภรรยา ๗ ๔๒ สป้ตตอันตกถา ลักษณะเฉพาะของภรรยา ๗ ๔ฅ รุปนิสกถา ๔๗ ชีวิดูปมากถา ความปรารถนาของคนที่เ!เนสัตรูกัน ๗ ๕0 ธรรมที่สนับสนุนกันให้สมบูรถ! ๗ วินยธรกถา (๑) วินยธรกถา(๒) อุปมาแห่งชีวิต ๗ ๕๑ วินยธรกถา(๓) วินยธรกถา(๔) คุณสมบัติของพระวินัยธร ๗ (นัยที่ ๑) ๕๓ อธิกรณสมถกถา คุณสมบัติของพระวินัยธร ๗ (นัยที่ ๒) ๕๔ ยสวัฑฒนธัมมกถา คุณสมบัติของพระวินัยธร ๗ (นัยที่ ฅ) ๕๕ ฟ้ณฑิดูปนิสสยกถา คุณสมบัติของพระวินัยธร ๗ (นัยที่ ๔) ๕๖ ฟ้ณฑิตปฏิปทากถา วิธีระงับอธิกรถ! ๗ ๕๗ ภเชถกถา ธรรมเปีนเครื่องเจริญยศ ๗ ๕๘ วสลกถา อุปนืลัยของบัณฑิต ๗ ๕๙ ใสรตกถา ข้อปฏิบัติของบัณฑิต ๗ ๖อ อุ[ภริยากถา ลักษณะของผู้น่าคบหา ๗ ๖๑ สัตตปริอัณฑกถา สัตตสตกกถา ลักษณะคนเลว ๗ ๖๒ สัถลกถา ๖๓ ลักษณะของผู้สงบเสงี่ยม ๗ ลักษณะของภรรยาที่ดี ๗ ๖๔ ภูเขาลัตตบริกัณฑ์ ๗ ๖๕ มหาทานลัตตสดก (ทานอย่างละเจ็ดร้อย) ๗ ๖๖ กิเลสที่เป็นตุจลูกศรเสิยดแทงใจ ๗ ๖๗ www.kalyanamitra.org

[๒๖] คลังธรรม เรอง วาด้วย หน้า มัจเฉร^ดดคลา กิเลสที่ประกอบกับความตระหนี่ ๗ ๖๘ มานกถา ประ๓ทของมานะ ๗ ๖๙ ๗0 ทุฑธสารีริกธาดูกลา พระบรมสารีริกธาตุองค์ใหญ่ ๗ วิญญาณขันธกลา วิญญาณขันธ์ ๗ ๗๑ ความตายในกาลที่ยังไม่สมควร ๗ ๗๒ อกาลมรณกลา ลักษณะของดวงอาทิตย์ ๗ ๗ฅ ฐริยังคกลา ฐริยังฤปมากลา เปรียบลักษณะของพระโยคาวจร สีหังคกลา กับดวงอาทิตย์ ๗ ๗๔ ราชสีหังดูปมากลา องค์สมบัติของราชสีห์ ๗ ๗๔ โมหจริตลักฃณกลา เปรียบลักษณะของพระโยคาวจร สัทธาจริตลักขณกลา วิตักกจริตลักขณกลา กับราชสีห์ ๗ ๗๖ ชุทธิจริตลักขณกลา ลักษณะประจำของคนโมหจริต ๗ ๗๗ สัปปายาสัปปายกลา ลักษณะประจำของคนลัทธาจริต ๗ ๗๘ ^ปสังหรณกลา ลักษณะประจำของคนวิตกจริต ๗ ๗๙ ๘๐ อนัสสาสฟ้สสาสกลา ลักษณะประจำของคนพุทธจริต ๗ สัตตรตนกลา ลัปปายะและอลัปปายะ ๗ ๘๑ ขัมมวิจย^ปปาทกลา ฟ้สสัทธิรุปปาทกลา การระลึกถึงความตายโดยเปรียบกับผู้อี่น ๗ ๘๓ มหาสรกลา ^ม่มีลมหายใจ ๗ ๘๔ สหชาตกลา คุณสมบัติของรัตนะ ๗ ๘๔ หัวใจพระอภิธรรม ๗ เหตุให้เกิดธัมมวิจยลัมโพชฌงค์ ๗ ๘๖ เหตุให้เกิดป้สลัทธิลัมโพชฌงค์ ๗ ๘๗ สระใหญ่ ๗ ๘๘ สหชาต ๗ ๘๘ ๘๙ www.kalyanamitra.org

สารบัญ [๒๗] เรื่อง ว่าด้วย หน้า เสฎฐนารีกถา ลักษณะนารีที่ปรร เสรีฐ ๗ ๙๑ ๙๒ ชาตรตนกถา รัตนชาติ ๗ ๙ฅ ๙๔ ลักษณะของการคบมิตร ๗ ๙๔ ๙๖ ความไร้ทรัพย์เป็นยูลแหงความวิฟ้ติ ๗ ๙๖ ๙๗ สัฅฅมหาสถาน ๗ คำ นมัสการ\\เซาสัฅฅมหาสถาน ๗ ข้อความที่ไม่ควรกล่าวในที่ประชุ[ม ๗ คนห่างตำรา ๗ หมวด ๘ เวรัญชกถา เวรัญซพราหมณ์กล่าวหาพระพุทธเจ้า ๘ ๙๘ ชุทธปริยายกถา พระพุทธองค์ทรงยอมรับข้อกล่าวหาโดยปริยาย ๘ ๙๙ อธิคฅธัมมกถา ลักษณะของธรรมที่ตรัสรู้ ๘ ๑๐๑ ลัฎฐปานกถา(๑) นํ้าปานะ ๘ (นัยที่ ๑) อัฎฐปานกถา(๒) นํ้าปานะ ๘ (นัยที่ ๒) ๑๐๒ พรที่วิสาขามหาอุบาสิกาทูลขอ ๘ วิสาขาวรกถา ๑๐๓ ธัมมวินลัจฉริยกถา ๑๐๔ คๅ[ธัมมกถา ข้ออัศจรรย์ของพระธรรมวินัย ๘ ๑๐๔ วิชชากถา ครุธรรมของภิกษุณี ๘ ๑๐๗ ญาณทัสสนากินีหารกถา วิขขา ๘ ๑๐๙ อริยสาวกกถา ลักษณะของสมาธิจิตที่จะเกิดปัญญารู้เห็น ๘ ๑๑0 สาริริกธาดูยูปกถา ยถาฦจจรัณณกถา ลักษณะของอริยสาวก^ด้ธรรมจ้กษุ ๘ ๑๑๑ อริยอัฏฐังคิกมัคคกถา สถานที่สร้างพระสถูปบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ๘ ๑๑๒ พระพุทธคุณที่ท้าวลักกะสรรเสริญตามเป็นจริง ๘ ๑๑ฅ 9 ๑๑๖ อรยมรรคมองศ ๘ www.kalyanamitra.org

[๒๘] คลังธรรม เรื่อง ว่าด้วย หใวัา มิจฉัตดกถา สภาวะที่ผิด ๘ ๑๑๗ ทักขิเณยยกถา ทักฃิไณย! คล ๘ ๑๑^ คูสีฅวัฅธุกถา ๑๒0 ข้ออ้างของผู้เกียจคร้าน ๘ วิโมกขกถา วิโมกข์ ๘ ๑๒๒ ทุทธโฆสกถา ลักษณะพระสุรเสียงของพระพุทธเจ้า ๘ ๑๒๓ [รสกถา อริยกันฅสืลกถา ลักษณะของลัดบุรุษ ๘ ๑๒๔ นครูปมากถา ลักษณะของอริยกันตสืล ๘ ๑๒๕ วิราคเววจนกถา อุปมาธรรมนคร ๘ ๑๒๖ ปญญาปฎิลาภกถา ไวพจใ!(คำเรียกแทน) วิราคธรรม ๘ ๑๒๗ กัปปียภิกชุกถา (๑) กัปป็ยภิกชุกถา(๒) เหตุปัจจัยให1ด้ปัญญา ๘ ๑๒๘ โสกธัมมกถา ลักษณะของภิกษุที่ไม่เปีนที่รัก ๘ (นัยที่ ๑) ๑๓อ สมณกรัณฑวกถา ลักษณะของภิกษุที่ไม่เปีนที่รัก ๘ (นัยที่ เอ) ๑๓๑ มลกถา โลกธรรม ๘ ๑๓๒ ภูตกถา ลักษณะของสมณะหยากเยื่อ ๘ ๑๓๔ ใ]ริสพันธนกถา มลทิน ๘ ๑๓๕ อิตถีพันธนกถา ๑๓๖ คุณสมบัติของนักการทูต ๘ ๑๓๗ พลกถา ๑๓๘ เครื่องผูกมัดขายของหญิง ๘ กักฃณกถา เครื่องผูกมัดหญิงของชาย ๘ มหาใ]ริสวิทักกกถา กำ ลัง ๘ ๑๓๙ ทานวัตธุกถา(๑) ทานวัตดูกถา(๒) สมัยที่พลาดโอกาสประพฤติพรหมจรรย์ ๘ ๑๔อ ธุเฃตทังคกถา มหาปุริสวิตก ความตรีกอย่างมหาบุรุษ ๘ ๑๔๔ เหตุผลในการให้ทาน ๘ (นัยที่ ๑) ๑๔๕ เหตุผลในการให้ทาน ๘ (นัยที่ ๒) ๑๔๖ ลักษณะของนาที่ไม่ดี ๘ ๑๔๗ www.kalyanamitra.org

สารบัญ [๒๙] เรื่อง ว่าด้วย หน้า ทุสสมณพราหมณังคกถา ลักษณะของสมณพราหมถ!ที่ไม่ดี ๘ Q<a(m สัป1jริสทานกถา การให้ทานอย่างลัดบุรุษ ๘ ๑๔๙ สัป1jริสัตถกถา วัตถุประสงค์ในการเกิดมาของลัดบุรุษ ๘ ๑๕0 ใ^ญญากิสันทกถา ห้วงบุญกุศล ๘ ๑๔!อ สัพพลทุสชุจจริตวิปากกถา วิบากอย่างเบาของทุจริต ๘ ๑๔๔ อุโปสถสืลกถา อุโบสถสิล ๘ ๑๔๔ มนาปกายิกเทวุปฟ้คติกถา เหตุให้สตรีไปเกิดเปีนเทวดามนาปกายิกา ๘; ๑๔๗ สีลวตีกถา ลักษณะของสตรีที่มีดีลธรรม ๘ ๑๖0 อธัมมวินยกถา ส์งที่มิใช่ธรรมมิใช่วินัย ๘ ๑๖๑ ธัมมวินยกถา ส์งที่เป็นธรรมเปีนวินัย ๘ ๑๖๒ กามาธิวจนกถา คำ ที่เป็นซื่อของกาม ๘ ๑๖๔ อนริยโวหารกถา ถ้อยคำแบบอนารยซน ๘ ๑๖๔ อริยโวหารกถา ถ้อยคำแบบอารยขน ๘ ๑๖๖ ปริสากถา บริษัท ๘ ๑๖๗ ฎมิจาลกถา สาเหตุให้แผ่นดินไหวรุนแรง ๘ ๑๖๘ ฆรเมสิสัมปทากถา คุณธรรมที่นำสุขมาให้แก่ผู้ครองเรีอน ๘ ๑๖๙ เสกฃปริหานิกถา เหตุเส์อมของพระเสขะ ๘ ๑๗๑ ฃิปปปริยาฟ้ตติกโจรกถา ลักษณะของมหาโจรที่เส์อมเร็ว ๘ ๑๗๒ ชุทธาธิวจนกถา พระนามของพระพุทธเจ้า ๘ ๑๗ฅ ฟ้ฅฅนิคูชชนกถา ๑๗๔ องค์แห่งอุบาสกที่ควรถูกคว่าบาตร ๘ ๑๗๔ อัปปสาทปเวทนียกถา ลักษณะของภิกษุที่ควรเลิกเลื่อมใส ๘ ๑๗๖ ลักษณะของผู้ที่ควรคบ ๘ ภเชถกถา อ[ุ ขกถา เหตุนาความสุขมาให้ ๘ ๑๗๗ ๑๗๘ ภิกชุอุณกถา องค์คุณของ^ด้นามว่าภิกษุ ๘ www.kalyanamitra.org

[๓๐] คลังธรรม เรื่อง ว่าด้วย หน้า คสิกัม^ปกรณคลา เครื่องอุปกรณ์ทำนาของพระพุทธเจ้า ๘ ๑๗๙ อามคันธกถา ลักษณะของคนมีกลิ่นคาว ๘ ๑๘๐ มหานิรยกลา สามิกาวชานนกลา มหานรก ๘ ๑๘๑ ธัมมสโมธานกลา ๑๘๒ ปริวัชเยกลา สาเหตุที่ภรรยาดูหมิ่นสามี ๔ คัตลวินาสกกลา ธรรมสโมธาน ๘ ๑๘61 ปึญญาปฎิลาภกลา สถานที่ที่ไม่ควรปรึกษาหารือกัน ๘ ๑๘๘ มหาวิโลกนกลา ๑๘๕ ปาณาติปาตืกลา บุคคลที่เก็บความลับไม่ได้ ๘ ๑๘๖ อกาลมรณกลา เหตุให้เกิดปัญญาแก่กล้า ๘ ^คังคา^ตดกลา ข้อเลือกเพื่อความยิ่งใหญ่ ๘ ๑๘๗ ว่าด้วยบุคคลผู้ฆ่าลัตว์ ๘ ๑๘๘ ราคจริตกลา การตายในเวลาไม่สมควร ๘ ๑๘๙ มรณาบุสสติกลา ๑๙๐ ปฎิสัมฟิทปจจยกลา ลักษณะผู้ทีไม่ควรสมาทานธุดงค์ ๘ ปริกขารกลา ลักษณะของคนราคจริต ๘ ๑๙๑ ^ปสัมปทากลา ว่าด้วยวิธีระลึกถึงความตาย ๘ ๑Gโ^ ตลาคคัตลกลา ธรรมที่เป็นปัจจัยแก่ปฏิสัมภิทาญาณ ๘ ๑๙ฅ อานันทวรกลา ว่าด้วยบริขาร ๘ ๑๙๔ สังเวควัตลุกลา การอุปสมบท ๘ ๑๙๕ พราหมณนามกลา ๑๙๖ เหตุที่ทรงพระนามว่าตถาคต ๘ สมณลุขกลา พรทพระอานนท์ทูลขอพระพุทธเจ้า ๘ ๑๙๗ ลุมมัตตกกลา เรื่องที่นำสลดใจ ๘ ๑๙๘ สาลาปริโภคาฑีนวกลา ที่อพราหมณ์ผู้ทำนายพุทธลักษณะ ๘ ๑๙๙ ความสุขของสมณะ ๘ ๒๐๐ ลักษณะคนบ้า ๘ ๒๐๑ โทษในการใช้สอยที่อยู่อาลัยของสมณะ ๘ ๒๐๒ www.kalyanamitra.org

สารบัญ [๓๑] เรอง ว่าด้วย หน้า โลคิยมังคลคลา ส์งที่ฟ้นมงคลแบบโลก ๘ ๒0ฅ ๒0๔ ทิสาชุทิสอรหันตคาลา พระอรหันต์ ๘ ทิศ ๒๐๖ พระประจำวัน ๘ หมวด ๙ า)ทธๆณกลา พระพุทธคุณ ๙ ๒๐๗ ๒๐๔ นวังคสัตลุสาสนกลา คำ ส์งสอนของพระศาสดามีองต์ ๙ ๒๑๐ ติทิวคามีกลา ธรรมอันนำบุคคลไปส่ไตรทิพย์ ๙ อาฆาตวัตลุกลา สาเหตุแฟงความอาฆาต ๙ ๒๑๑ อาฆาตปฎิวินยกลา วิธีกำ จัดความอาฆาต ๙ ๒๑๒ สัตตาวาสกลา อัตตาวาส ภูมีเป็นที่อยู่ของอัตว์ ๙ ๒๑ฅ อลุพพวิหารกลา ธรรมเครื่องอยู่ที่ประณีตขึ้นไปตามลำดับ ๙ ๒๑๔ อลุพพนิโรธกลา ธรรมที่ดับต่อกันไปตามลำดับ ๙ ๒๑๖ เฑวตาภาสิตวิสัชชนากลา พระพุทธเจ้าทรงแก้ภารตของเทวดา ๙ หมวด ๒๑๘ หมวดที่ ๑ ๒๑๘ หมวดที่ ๒ ๒๑๙ หมวดที่ ฅ ๒๑๙ หมวดที่ ๔ ๒๒0 หมวดที่ ๕ ๒๒๑ หมวดที่ ๖ ๒๒๒ หมวดที่ ๗ ๒๒๒ หมวดที่ ๘ ๒๒ฅ หมวดที่ ๙ ๒๒๔ สังฆลุณกลา พระอังฆคุณ ๙ ๒๒๕ www.kalyanamitra.org

[๓๒] คลังธรรม เรื่อง ว่าด้วย หน้า 1]คคฉกลา บุคคลที่ปรากฏในโลก ๙ 1ร]|£]๖ อไชุเนยยาทิใJคคลกถา บุคคลที่ควรแก่ของคำนับเป็นต้น ๙ ๒๒๗ นาลังถูลกถา ลักษณะตระกูลที่ภิกษุไม่ควรเข้าไป ๙ ๒๒๘ อลังฤลกถา ลักษณะตระกูลที่ภิกษุควรเข้าไป ๙ อรหัตตาภัพพกถา ลักษณะของผู1ม่ควรบรรลุอรหัต ๙ ๒๓0 นทหรมรณกถา สาเหตุที่ไม่ตายแต่วัยหนุ่มสาว ๙ ๒ฅ® พฤติกรรมของหญิงที่ทำให้สามีเส์อมเสีย ๙ ๒ฅ๕ ปโทสาวหิตถีกถา ข้อกำหนดบุคคลที่สมและไม่สมซื่อ ๙ ๒ฅ๖ นโสราชาทิกถา ฆราวาสธัมมกถา ธรรมของผู้ครองเรือน ๙ ๒๓๗ มานกถา ความสำคัญตัว ๙ ๒๓๘ โฉถูตตรธัมมกถา โลกุตตรธรรม ๙ ๒๓๙ ใ^ริสมฉกถา มลทินของคน ๙ ๒๔0 ส้ม{[ตดิกถา สมบัติของพระผู้มีพระภาคเจ้า ๙ ๒๔® วิฟ้สสนาญาณกถา วิปัสสนาญาณ ๙ ๒๔๒ สมณไ[เตกถา พระสมณทูตที่เผยแผ่พระศาสนายุคแรก ๙ ๒๔๓ นาฎยรสกถา รสวรรณคดี ๙ ๒๔๗ พระทุทธปฏิมาประจำนพเคราะห์ ๙ ๒๔๘ นพรัตน์ แก้ว ๙ ๒๔๘ หมวด ๑๐ วินยปญญัตดิอัตถวสกถา วัตถุประสงค์ในการบัญญัติพระวินัย ®0 ๒๔๙ รุตตริมบุสสธัมมกถา อุตตริมนุสสธรรม ๑อ ๒๔0 อิตถีกถา สตริ ®0 ๒๔๒ ภริยากถา ภรรยา ๑อ ๒๔๓ www.kalyanamitra.org

สารบัญ [cdot] เรื่อง ว่าด้วย หน้า ปาติโมกฃทเทสกถา เหตุให้สวดพระปาติโมกข์โดยย่อ ๑อ ๒๕๔ ประโยชน์ของข้าวยาคู ๑อ ๒๕๕ ยาๆฤณกถา ๒๕๖ สถานที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ๑อ สารีริกถูปกถา นาถกรณธัมมกถา ธรรมอันทำที่พี่ง ๑อ ๒๕๘ กสิณายตนกถา กสิณ สิงเหนี่ยวใจให้เ{เนสมาธิ ๑0 ๒๖อ อถูสลคัมมปถกถา อกุศลกรรมบถ ๑อ ๒๖๑ ถูสลคัมมปถกถา กุศลกรรมบถ ๑อ ๒๖๒ ตถาคตพลญาณกถา พระญาณอันเป็นกำลังของพระพุทธเจ้า ๑อ ๒๖ฅ ทุทธสัมปทากถา(๑) พระคุณสมบัติของพระพุทธเจ้า ๑อ (นัยที่ ๑) ๒๖๕ ทุทธสัมปทากถา(๒) พระคุณสมบัติของพระพุทธเจ้า ๑อ (นัยที่ ๒) ๒๖๖ ชุทธสัมปทากถา (๑)) พระคุณสมบัติของพระพุทธเจ้า ๑อ (นัยที่ ฅ) ๒๖๗ ชุทธสัมปทากถา(๔) พระคุณสมบัติของพระพุทธเจ้า ๑อ (นัยที่ ๔) ๒๖๘ พุทธสัมปทากถา(๕) พระคุณสมบัติของพระพุทธเจ้า ๑อ (นัยที่ ๕) ๒๖๙ พุทธสัมปทากถา (๖) พระคุณสมบัติของพระพุทธเจ้า ๑อ (นัยที่ ๖) ๒๗0 พุทธสัมปทากถา(๗) พระคุณสมบัติของพระพุทธเจ้า ๑อ (นัยที่ ตเ) ๒๗๑ พุทธสัมปทากถา(๘) พระคุณสมบัติของพระพุทธเจ้า ๑อ (นัยที่ ๘) ปสาทนึยกถา ธรรมเป็นที่ตั้งแห่งความเลื่อมใส ๑อ ๒๗๓ กายคตาสติอานิสังสกถา อานิสงส์ของกายคตาสติ ๑อ ๒๗๕ อพุสสติกถา อนุสสด ๑อ ๒๗๗ ๒๗๘ กาลามชุตตกถา หลักปฏิบัติเกี่ยวกับความเชื่อ ๑อ ทานวัตถุกถา สิงที่พีงให้เป็นทาน ๑อ ๒๗๙ ถุสลสิลานิสังสกถา อานิสงส์สืลที่เป็นกุศล ๑อ ๒๘0 สมันตปาสาฑิกกถา ลักษณะของภิกษุผู้น่าเลื่อมใสรอบด้าน ๑0 ๒๘๑ สังโยชนกถา(๑) ลังโยชน์ ๑จ (นัยที่ ๑) ๒๘๓ www.kalyanamitra.org

[๓๔] คลังธรรม เรื่อง วาด้วย หน้า สังโยชนคลา(๒) สังโยชน์ ๑อ (นัยที่ ๒) ๒๘๔ ๒๘๕ ปาติโมกขัฎฐปนากลา เหตุให้หยุดสวดพระปาติโมกฃ1ด้ ๑อ ๒6^ ลูพพาหิกากลา ๒๘๗ ^ปชฌายังคกลา คุณสมบัติของภิกษุผู้ดารรื้อฟ้นอธิกรณ์ ๑0 ๒๘๙ ๒๙๐ สังฆเภทกลา คุณสมบัติของพระอุปัชฌาย์ ๑๐ สังฆสามัคคีกลา อภิณหป้จจเวกขณกลา เหตุที่ทำให้สงฆ์แตกกัน ๑๐ เหตุให้สงฆ์พร้อมเพรียงกัน ๑๐ สรีรัฎฐธัมมกลา ธรรมที่บรรพชิตควรพิจารณาเนือง ๆ ๑๐ ๒๙๒ สารณียธัมมกลา สิงที่ตั้งอยูในสรีระที่ควรพิจารณาเนือง ๆ ๑๐ ๒๙๓ สัญญากลา(๑) สัญญากลา(๒) ลักษณะของผู้มีสารณียธรรม ๑๐ ๒๙๔ สัญญากลา(๓) สัญญา ๑๐ (นัยที่ ๑) ๒๙๖ ธัมมijจฉาวิสัชชนากลา กลาวัดฤกลา สัญญา ๑๐ (นัยที่ ๒) ๒๙๗ 1]ลลภอิฎฐธัมมกลา สัญญา ๑๐ (นัยที่ ฅ) ๒๙๘ ปริมันลธัมมกลา ถามตอบเกี่ยวกับธรรม ๑๐ ๒๙๙ อาหารธัมมกลา ถ้อยคำที่ควรใ{เด ๑๐ ๓๐๐ อริยวัฑผิกลา สิงที่น่าปรารถนาที่ได้โดยยาก ๑๐ ๓๐๑ ปาปภิกชุกลา สิงที่เป็นอันตรายต่อสิงที่น่าปรารถนา ๑๐ ๓0๒ นิคันลาสัทธัมมกลา สิงที่เป็นอาหารต่อสิงที่น่าปรารถนา ๑๐ ๓๐๓ อาฆาตวัตธุกลา อาฆาตปฏิวินยกลา ความเจริญที่ประเสรีฐส์าหรับคฤหัสถ์ ๑๐ ๓๐๕ นๅฑผิกลา ลักษณะภิกษุเลวที่มีนิสัยเหมือนกา ๑๐ ๓๐๗ ปฦภาติกลา อสัทธรรมของพวกนิครนถ์ ๑๐ ๓๐๘ สาเหตุแห่งความอาฆาต ๑๐ ๓๐๙ วิธีกำ จัดความอาฆาต ๑๐ ๓๑๐ ลักษณะภิกษุที่เจริญในพระธรรมวินัยไม่ได้ ๑๐ ๓๑๑ เหตุให้พระธรรมเทศนาแจํมแจ้ง ๑๐ ๓๑๒ www.kalyanamitra.org

สารบัญ [๓๕] เรื่อง ว่าด้วย หน้า ปริหานกลา เหตุที่ทำให้เส์อมในพระธรรมวินัย ๑0 ฅ๑๓ เหตุให้ภิกษุอยู่สบายทั่วทิศ ๑อ ผาธุ[วิหารกถา ธรรมเป็นเหตุไม่ให้บรรลุอรหัตตผล ๑0 ๓๑๕ ๓๑๖ อรหัตตาภัพพกลา มิจฉัตตกลา สภาวะที่ผิด ๑อ ๓๑๗ สัมมัตตกลา ฐานกลา สภาวะที่ถูก ๑0 ๓๑๘ ภิกชุธัมมกลา โทษที่ผู้ทำร้ายต่อ^ม่ทำริายตอบจะได้รับ ๑0 ๓๑๙ ชชนภิกชุกลา คุณธรรมของผู้เป็นภิกษุ ๑อ ๓๒๑ อามคันธกลา สีลสภาวกลา ลักษณะของภิกษุผู้เป็นปุถุชน ๑อ ๓๒๒ ปรโลกาภยกลา สิงที่มีกลิ่นคาว ๑อ ๓๒๓ ปจฉานุตาปกลา สภาวะของสืล ๑จ ๓๒๔ ๓๒๕ ราชธัมมกลา ผู้!ม่ด้องกลัวปรโลก ๑อ ๓๒๖ เหตุที่ทำให้เดือดร้อนในภายหลัง ๑อ มิตตาทุพภกลา ทศพิธราชธรรม ๑อ ๓๒๙ ทสวรกลา อานิสงส์ของการไม่ประทุษร้ายมิตร ๑0 ๓๓๑ มโนสัททกลา พรที่พระนางผุสดืทูลขอจากห้าวลักกะ ๑อ ๓๓๔ สัมมาทิฐิกลา ijgชชนกลา สัพท์ที่มีความหมายว่าใจ ๑อ ๓๓๕ มิจฉาทิฐิกลา ๓๓๖ ความเห็นที่เป็นลัมมาทิฐิ ๑อ ๓๓๗ อิทธิกลา เหตุที่ซี่อว่าปุถุชน ๑อ ๓๓๙ ทสปารมิกลา ความเห็นที่เป็นมิจฉาทิฐิ ๑๐ คันตคาหิกทิฐิกลา ฤทธิ ๑๐ ๓๔๐ เวสสันตรคัมมกลา บารมี ๑๐ ๓๔๑ สีลสัมฟ้นโนปมากลา ๓๔๒ ความเห็นผิดที่สุดโต่ง ๑๐ ๓๔๓ ๓๔๔ คุณธรรมของพระเวสลันดร ๑๐ อุปมาผู้มิดืล ๑๐ www.kalyanamitra.org

[๓๖] คลังธรรม เรื่อง ว่าด้วย หน้า ขิปปสมิทธิคลา เหตุที่บรรพชิตทำกิจสำเร็จได้เร็ว ๑0 ๓๔๕ สมณชุสสีลค^ุณกลา ฃ้อดีของสมณะผู้ทุสืล ๑อ ๓๔๖ ทักขิณาวิโสธกทุสสีลกลา เหตุผลที่สมณะทุสิลทำทักรเนาให้สำเร็จผล ๑อ ๓๔๘ อทานสัมมดกลา การให้ที่ไม่นับว่าเป็นทาน ๑๐ ๓๕๐ โอญญาตกลา คนที่ถูกดูหมิ่นในโลก ๑๐ ๓๕๑ นิพพานลักขณกลา ลักษณะของพระนิพพาน ๑๐ ๓๕๒ ธุฅคุณารหกลา ลักษณะของผู้สมควรออกธุดงค์ ๑๐ ๓๕๓ ธุตังคสมาทานโทสกลา โทษของการสมาทานธุดงค์เพี่อลาภลักการะ ๑อ ๓๕๔ ปลิโพธกลา ห่วงกังวล ๑๐ ๓๕๕ อ^ภกลา อสุภกรรมฐาน ๑๐ ๓๕๖ ใ]ญญกิริยาวัตธุกลา วิธีการทำบุญ ๑๐ ๓๕๗ พรห่มจริยัตลกลา คันธมาทนกลา คุณธรรมที่อยูโนขอบข่ายคำว่าพรหมจรรย์ ๑อ ๓๕๘ คุณิสาธัมมกลา กลิ่นไม้หอมที่อยู่บนภูเขาคันธมาทน์ ๑๐ ๓๕๙ หัตลิคุสกลา ข้อปฏิบัติสำหรับหญิงสะใภ้ ๑๐ ๓๖๐ ตระกูลข้าง ๑๐ ๓๖๑ วัยชีวิต ๑0 ๓๖๒ ๓๖๓ ฑกฃ์ ๑๐ ประการ ๓๖๔ ๓๖๔ ลักษณะของคนไม่เลักธรรม ๑๐ ๓๖๕ หายนะที่เกิดในชาตินี้ด้วยเหตุ ๑๐ บุคคลที่ไม่ควรประทุษร้าย ๑๐ งานลันปราศจากโทษ ๑๐ ๓๖๕ หัวใจบารมิ ๑๐ ๓๖๖ หัวใจพระเลัา ๑๐ ชาติ ๓๖๗ www.kalyanamitra.org

สารบัญ [๓๗] เรื่อง ว่าด้วย หน้า ห§4วด ๑๑ สชุทยวารป้จจยาการกถา ปัจจยาการสายเกิด ๑๑ ๓๖๘ ๓๖๙ นิโรธวารฟ้จจยาการกถา ป้จจยาการสายดับ ๑๑ ๓๗อ ๓๗๑ เมตตานิสังสกถา อานิสงส์การเจริญเมตตา ๑๑ ๓๗๒ ๓๗๓ ธัมมนครกถา ธรรมนคร ๑๑ ๓๗๔ ฅ๗๔ วิริยสัมโพชฌังคุปปาทกถา ธรรมเป็นเหตุให้เกิดวิริยส์มโพซฌงค์ ๑๑ ๓๗๖ ๓๗๗ ปีติสัมโพชฌังคุปปาทกถา ธรรมเป็นเหตุให้เกิดป็ติส์มโพซฌงค์ ๑๑ ๓๗๘ สมาธิสัมโพชฌังคุปปาทกถา ธรรมเป็นเหตุให้เกิดสมาธิส์มโพซผงค์ ๑๑ อทินนาทานเวรมณีอานิสังสกถา อานิสงส์ของการเว้นจากอทินนาทาน ๑๑ ปมาทสักขณกถา ลักษณะความประมาท ๑๑ ลักษณะของคนเจียมตน ๑๑ นิวาต1jคคลกถา สัคคิกถา กองไฟ ๑๑ จักกวัตติวัตตกถา หมวด ๑๒ ๓๗๙ จักกวัตติวัตตกถา ๓๘๑ จักรวรรดิวัตร ๑๒ (นัยพระบาลี) ๓๘๒ สามีจิปฏิปนนกถา จักรวรรดิวัตร ๑๒ (นัยอรรถกถา) ๓๘๔ ๓๘๔ โลกกถา ลักษณะของผู้มีสามีจิปฏินัดิ ๑๒ ๓๘๖ ๓๘๗ สัญญาธารณกถา โลก ๑๒ ๓๘๙ ปฎิจจสมุปปปาทกถา ลำ ดับการตั้งอยู่ในอรหัตตผล ๑๒ นอปจิติการกถา ปฏิจจสมุปบาท ๑๒ พรหมจริสัตถกถา ผู1ม่ทำความยำเกรง ๑๒ คุณธรรมที่อยู่ในขอบข่าย ของคำว่าพรหมจรรย์ ๑๒ www.kalyanamitra.org

[๓๘] คลังธรรม เรื่อง ว่าด้วย หน้า ชาตกสโมธานกถา ประมวลบุคคลในเวสสันดรชาดก ๑๒ ฅ๙0 วากจีรานิสังสกถา คุณสมบัติของผ้าเปลือกไม้ (ผ้าป่าน) ๑๒ ฅ๙๑ อคุสสจิฅตกถา อกุศลจิต ๑๒ ฅ๙ฅ กัมมกถา กรรม ๑๒ ฅ๙๕ หมวด ๑๓ ภิกชุนีเอตฑัคคกถา ตำ แหน่งเอตทัคคะผ้ายภิกษุณี ๑ฅ ฅ๙๗ ^สังคกถา ธุดงค์ ๑ฅ ฅ๙๙ ภควาสัฑทัตถกถา ความหมายของพุทธคุณบทว่า ภควา ๑ฅ ๔00 สิ่งที่ควรปฎิบตภายหลังพุทธปรินิพพาน ๑๓ ๔0๒ เพลงพิณพาทย์ประจำกัณฑ์มหาชาติ ๑๓ ๕06ไ หมวด ๑๔ จิตตปริทมกถา วิธีสิก?ต ๑๕ ๕0๕ บุสาวาทเวรมณีอานิลังสกถา อานิสงส์แห่งการเว้นมุสาวาท ๑๕ ๕0๕ อนากุลกัมมันตกถา ลักษณะของการงานไม่อากูลคั่งค์าง ๑๕ ๔0๖ หมวด ๑๕ พุทธลัททัตถกถา ความหมายของบทพุทธคุณว่า พุทโธ ๑๕ ๕0๕ จรณกถา จรณะ ๑๕ ๕๑0 ฟิตตกถา ภัตตาหาร ๑๕ ๔๑๑ www.kalyanamitra.org

สารบัญ [๓๙] เรื่อง ว่าด้วย หด้า หมวด ๑๖ ๘๑b-i ๘๑๘ ภยเภรวกถา ผู้อยู่ในเสนาสนะป่าลำบาก ๑๖ ๘๑๖ ๘๑๘ กิเลสกถา โทษเครื่องเศร้าหมองจิต ๑๖ ๘๒อ โทวจัสสกรณกถา ๔๒๑ โสวจัสสกรณกถา ธรรมเป็นเหตุให้เป็นคนว่ายาก ๑๖ ๔๒๒ มหาชนปทกถา ธรรมเป็นเหตุให้เป็นผู้ว่าง่าย ๑๖ ๔๒๘ ซื่อแคว้นใหญในซมพูทวีป ๑๖ ๘๒๘ ๘๒๗ สมณาวุธกถา อาวุธของสมณะ ๑๖ ๘๓๖ ๘๓๘ กัลยาณมิดดลักขณกถา ลักษณะของมิตรแห้ ๑๖ ๘๓๙ ๘๘๑ นธัมมาภิสมยกถา ผู้ที่ไม่สามารถบรรลุธรรมได้ ๑๖ มหาอุ[ปีนกถา มหาสุบิน ๑๖ พระทุทธทำนายมหาอุ[บิน ๑๖ อตัปป็ยวัตรุกถา ส์งทีไม่รู้จักอิ่ม ๑๖ ปีณฑปาตกถา อาหารบิณฑบาต ๑๖ ทุสสีลยาทีนวกถา โทษของการเป็นผู้ทุสิล ๑๖ เปาวจรฎมิกถา รูปพรหม ๑๖ สติรุปฟ้ชชนกถา หมวด ๑๗ ๘๘๓ เหตุเกิดสติ ๑๗ ๘๘๘ ๘๘๖ สังฆเภทวัตรุกถา หมวด ๑๘ ๘๘๘ สังฆสามัคคีวัตรุกถา เหตุที่ทำให้สงฆ์แตกกัน ๑๘ มหาวิฟ้สสนากถา เหตุที่ทำให้สงฆ์สามัคคีกัน ๑๘ มหาวีบิสสนา ๑๘ www.kalyanamitra.org

[๔๐] คลังธรรม เรื่อง ว่าด้วย หน้า ธาดูกถา ธาตุ ๑๘ ๕๔๙ สิปปกถา สิปปกถา สิลปศาสตร์ ๑๘ (ตามคัมภีร์มิลินท์) ๔๔๑ ชุเปดกถา สืลปศาสตร์ ๑๘ (ตามคัมภีร์โลกนีติ) ๔๕๒ อนนุรูปวิหารกถา คุณสมบัติของผู้สมาทานรุดงคั[ด้ดี ๑๘ ๔๕๔ ทานานิสังสกถา ลักษณะที่อยู่ที้[ฝเหมาะแก่การบำเพ็ญเพียร ๑๘ ๔๕๕ อานิสงส์ของทาน ๑๘ ๔๕๖ หมวด ๒๐ สักกายทิฐิกถา ส์กกายทิฐิ ๒๐ ๔๕๗ หมวดรูป ๔๕๗ สมณกรณธัมมกถา อพรหมจริยานิสังสกถา หมวดเวทนา ๔๕๗ จงมีสฅิอย่า ๒๐ หมวดสัญญา ๔๕๗ หมวดสังขาร ๔๕๗ หมวดวิญญาณ ๔๕๘ ๔๕๙ คุณธรรมที่ทำให้เป็นสมณะ ๒๐ อานิสงส์ของการเว้นจากอพรหมจรรย์ ๒๐ ๔๖๐ ๔๖๑ หมวด ๒๑ อปริอุ[ฑธุปปาทป็จจยกถา วิธีแสวงหาปัจจัยที่ไม่เหมาะแก่ภิกษุ ๒๑ ๔๖๒ อินทรียกถา หมวด ๒๒ ๔๖๔ อินทรีย์ ๒๒ www.kalyanamitra.org

สารบัญ [๔๑] เรื่อง ว่าด้วย หน้า หมวด ๒๓ ๕๖๖ ปาณาดิปาดเวรมณีอานิสังสคลา อานิสงส์ของเว้นจากการฆ่าสัตว์ ๒ฅ ป้จจยกถา หมวด ๒๔ ๔๖๘ ๔๗อ ธุปาทายเปกถา ปัจจัย ๒๔ รูปอาสัย ๒๔ อาอริยฤณกถา หมวด ๒๕ ๔๗๒ จิฅฅชุพพลึกรณกถา ๔๗๓ คุณของอาจารย์ ๒๕ ๔๗๕ โสภนเจตสิกกถา เหตุที่ทำจิตให้ทุรพล ๒๕ โสภนเจตสิก ๒๕ มทกถา หมวด ๒๗ ๔๗๗ ความมัวเมา ๒๗ หมวด ๒๘ ติรัจฉานกถา เรื่องพูดคุยที่ขวางทางสวรรค์นิพพาน ๒๘ ๔๗๙ อัฏฐานกถา เรื่องที่เป็นไปไม่ได้ ๒๘ ๔๘อ ปฎิสัลลานคุณกถา คุด้งคคุณกถา คุณของการหลีกเร้น ๒๘ ๔๘๒ คณของธุดงค์ ๒๘ ๔๘๓ www.kalyanamitra.org

[๔๒] คลังธรรม หน้า ๔๘๕ เรื่อง ว่าดวย ทุทธกถา หมวด ๒๙ พระพุทธเจ้า ๒๙ หมวด ๓๒ นฟ้พพาเชตัพพา]คคลกถา ลักษณะคนที้!ฝควรให้บรรพซาอุปสมบท ฅ๒ ๔๘๘ มหาา]ริสลักขณกถา ลักษณะมหาบุรุษ ฅ๒ ๔๙0 ทวัตติงสาการกถา อาการ ฅ๒ ๔๙ฅ า]พพนิมิตตกถา บุพนิมิต ฅ๒ ๔๙๔ หมวด ๓๕ ๔๙๗ อุ[ราเมรยมัชชปมาทัฎฐานานิสังสกถา อานิสงส์ของการเว้นจากการ ดื่มสุราเมรัย ฅ๕ มังคลกถา หมวด ๓๘ ๔๙๙ มงคล ๓๘ อิตถีมายากถา หมวด ๔๐ ๕อฅ เอตทัคคกถา มายาหญิง ๔อ หมวด ๔๑ พระสาวกผ้ดำรงตำแหน่งเอตทัคคะ ๔๑ ๕อ๕ www.kalyanamitra.org

สารบัญ [๔๓] เรื่อง ว่าด้วย หน้า ทุฑธวัสสาวาสกถา หมวด ๔๕ สถานที่ประทับจำพรรษาของพระพุทธเจ้า ๔๕ ๕อ๘ อพุพยัญชนกถา หมวด ๘๐ พระอนุพยัญชนะของพระพุทธเจ้า ๘อ ๕๑อ หมวด ๑๐๘ ตัณหาวิจริตกถา การเที่ยวแสดงตัวของตัณหา ๑อ๔ ๕๑๕ ๕๑๙ ตัณหาวิจริต ๑๐๘ (ตามนัยอรรถกถา) ภาคผนวก ๑ ทานานิสังสกถา อานิสงส์ในการถวายทานวัตอุต่าง ๆ ๕๒๑ สูจิฆรานิสังสกถา อานิสงส์การถวายกล่องเข็ม ฅ ๕๒๒ ๕๒๒ ยังสพัทธานิสังสกถา อานิสงส์การถวายผ้ายังสะ ฅ ๕๒ฅ ภาชนานิสังสกถา อานิสงส์การถวายภาชนะใช้สอย ฅ ถาสกานิสังสกถา ๕๒๔ อานิสงส์การถวายขันนํ้า ต รุปาหนานิสังสกถา ๕๒๕ เมฌตดานิสังสกถา อานิสงส์การถวายรองเท้า ฅ ๕๒๖ อานิสงส์การถวายกล้องเป่าควัน ต ทีปานิสังสกถา ๕๒๗ อานิสงส์การถวายที่ตั้งตะเกียง ต ๕๒๘ สัตถกทานานิสังสกถา อานิสงส์การถวายมีด ๕ ๕๒๙ อานิสงส์การถวายเข็ม ๕ ๕ฅอ สูจิทานานิสังสกถา ๕ต๑ นฃจเฉทนทานานิสังสกถา อานิสงส์การถวายมีดตัดเล็บ ๕ ปริสสาวนทานานิสังสกถา อานิสงส์การถวายผ้ากรองนํ้า ๕ www.kalyanamitra.org

[c^c^] คลังธรรม เรอง ว่าด้วย หน้า เตลธารทานานิสังสกถา อานิสงส์การถวายภาซนะนํ้ามัน ๕ ๕๓๒ ๕๓๓ มุข1jญฉนทานานิสังสกถา อานิสงส์การถวายผ้าเช็ดหน้า ๕ ทัณฑทานานิสังสกถา อานิสงส์การถวายไม้เท้า ๕ ๕๓๔ สัป!แฅลทานานิสังสกถา อานิสงส์การถวายเนยใสและนํ้ามัน ๕ ๕๓๕ ถัมภทานานิสังสกถา อานิสงส์การถวายเสา ๕ ๕๓๖ ฟ้ลลังกทานานิสังสกถา อานิสงส์การถวายบัลลังก์ ๕ ๕๓๗ ฉัฅฅทานานิสังสกถา อานิสงส์การกั้นฉัตรถวายพระ ๕ ๕๓๘ โอทนทานานิสังสกถา ๕๓๙ อานิสงส์การถวายข้าวสุก ๕ กายพันธทานานิสังสกถา อานิสงส์การถวายประคดเอว ๖ ๕๔อ พิมโพหนทานานิสังสกถา อานิสงส์การถวายหมอน ๖ ๕๔๑ ฉัฅฅานิสังสกถา อานิสงส์การถวายร่ม ๘ ๕๔๒ ชุสสานิสังสกถา อานิสงส์การถวายผ้า ๘ ๕๔๔ ตาลน้ณณานิสังสกถา อานิสงส์การถวายพัดใบตาล ๘ ๕๔๕ อัญชนานิสังสกถา อานิสงส์การถวายยาหยอดตา ๘ ๕๔๖ ฟ้ตตานิสังสกถา อานิสงส์การถวายบาตร ๑อ ๕๔๗ เภสัชชานิสังสกถา อานิสงส์การถวายเภลัซ ๑0 ๕๔๘ ดูมพกกรัณฑานิสังสกถา อานิสงส์การถวายคนโทนํ้าและผอบ ๑อ ๕๔๙ อันนปานานิสังสกถา อานิสงส์การถวายข้าวและนํ้า ๑0 ๕๕๐ ๕๕๑ รูปานิสังสกถา อานิสงส์การถวายรูป ๑อ www.kalyanamitra.org

สารบัญ [๔๕] เรื่อง ว่าด้วย หน้า ภาคผนวก ๒ ๕๕ฅ ปกิณณกกถา ประมวลความรู้เบ็ดเตล็ด ๕๕๔ ๕๕๔ อานิสงส์การกวาดวัด ๕ ๕๕๕ ๕๕๕ อานิสงส์ของโลกิยสรณคมน์ ๑๐ ๕๕๖ อานิสงส์การนอบน้อมพระวัฅนฅวัย ๑๐ ๕๕๖ อานิสงส์ของพรหมจรรย์ ๑๐ ๕๕๗ อานิสงส์ของการประพฤติธรรม ๑๐ ๕๕๘ อานิสงส์ของการไม่ดื่มนํ้าเมา ๑๐ ๕๕๘ อานิสงส์ของการสำรวม ๑๐ ๕๕GC* บัณฑิตต้องมีฤณสมบ็ด ๑๐ ๕๖๐ อานิสงส์การคบบัณฑิต ๑๑ ๕๖๐ อานิสงส์ของความเ!เนคนกดัญญ ๑๑(นย'ก ๑) ๕๖๑ อานิสงส์ของความเป็นคนกด้ญญ ๑๑ (นัยที่ ๒) ๕๖๒ ๕๖ฅ อานิสงส์ของการมีระเบียบวินัย ๑๓ อานิสงส์ของการตั้งตนไวัชอบ ๑๓ อานิสงส์ของความอดทน ๑๓ 'พึงเคารพพระสงฆ์ด้วยอาการ ๑๕ www.kalyanamitra.org

คลังธรรม หมวด ๗ www.kalyanamitra.org

หมวด ๗ ธัญญกลา ว่าด้วยธัญชาติ ๗ ๑. สาลิ ข้าวสาลี ๒. วีหิ ข้าวจ้าว ข้าวเหนียว ฅ. ยวะ ข้าวละมาน ข้าวฟ้าง (a.. โคธูมะ ๕. กังดู ลูกเดือย ๖. วรกะ หญ้ากับแก้ ๗. ดูฑรูสกะ ที่มา : สิกขาบทที่ ๔ ลสุณวรรค ปาจิตติยกัณฑ์ วิ.ภิกชุนี. ฅ/«๖๗ อามกธญฌํ นาม สาลิ วีหิ ยโว โคธูโม กงุดู วรโก กทุรูสโก ฯ แปล : ที่ซื่อว่า ข้าวดิบ ได้แก่ ข้าวสาลี ๑ ข้าวจ้าว ๑ ข้าวเหนียว ๑ ข้าวละมาน ๑ ข้าวฟ้าง ๑ ลกเดิอย ๑ หญ้ากับแก้ ๑ ฯ www.kalyanamitra.org

๒ คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงส์ ปุคคลifณณัตติคลา ว่าด้วยบัญญัติประเภทอริยบุคคล ๗ ๑. รุภโตภาควิเ^ต ผู้หรุดฟ้นทั้งสองส่วน ๒. ^fญญาวิด ผู้หลุดฟันสัวย!]ญญา ต. กายสักขี ผู้เป็นพยานด้วยนามกาย ๔. ทิฎเ{เตตะ ผู้บรรลุส์มมาทิฐิ ๕. สัทธาวิชุต ผู้หลุดฟันด้วยศรัทธา ๖. ธัมมาชุสารื ผู้แล่นไปตามธรรมคือปัญญา ๗. สัทธาชุสารี ผู้แล่นไปตามศรัทธา ที่มา ะ ลัมปสาทนียสูตร. ลังสืติสูดร ที.ปา.«๑/๑๕0,ตฅ๒ อปรํ ปน ภชุเต เอตทาชุตุตริยํ ยถา ฟิควา ธมมํ เทเสดิ ใ^คคล- ปณณๆดึชุ ฯ สดดิเม ภชุเต 1]คคลา ฯ ลุภโตภาควิชุดุโต ปผฺผาวิชุดโต กายสชุขี ฑิฎเปปตฺโต สทุธาวิชุตฺโต ธมมาชุสารี สทธาชุสารี ฯ แปล ะ ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ความยอดเยี่ยมนั้นยังมีอีกข้อหนึ๋ง คือ พระผู้มีพระภาคเข้าทรงแสดงธรรมในฝ่ายบุคคลบัญญัติ ได้แก่ บุคคล ๗ ประเภทเหล่านี้คือ อุภโตภาควิมุต ๑ ... สัทธานุสารี ๑ ฯ อธิบาย ะ บุคคล ๗ ประเภทมีอธิบายด้งนี้ ชุภโตภาควิชุต ผู้หลุด พ้นทั้งสองส่วน หมายถึงผู้หลุดฟันสองวาระ คือหลุดฟันจากรูปกายด้วย อรูปสมาบัติเป็นวิกฃัมภนวิมุตติ แล้วจึงหลุดฟันจากนามกายด้วยอริยมรรค เป็นสมุจเฉทวิมุตติ แยกประ๓ทเป็น ๕ คือท่านผู้ออกจากอรูปสมาบัติ ๔ แต่ละอย่างพิจารณาสังขารทั้งหลายแล้วล่าเรีจเป็นพระอรหันต์ และพระ อนาคามีที่ออกจากนิโรธสมาบัติแล้วล่าเรีจเป็นพระอรหันต์ ปัญญาวิชุต ผู้ www.kalyanamitra.org

และคณะ] หมวด ๗ ๓ หลุดพ้นด้วยป้ญญา หมายถึงผู้สำเร็จเป็นพระอรหันต์ด้วยกำลังปัญญาที่ พิจารณาเห็นแจ้งอย่างเดียวโดยไม่ผ่านการบรรลุสมาธิชั้นสูง ได้แก่พระ อรหันต์ลุกขวิปัสสกะ (ผู้เจริญวิปัสสนาล้วน ๆ จนสำเร็จเป็นพระอรหันต์) และท่านที่ได้ฌานใดฌานหนึ่งแล้วเจริญวิปัสสนาสำเร็จเป็นพระอรหันต์ กายสักขี ผู้เป็นพยานด้วยนามกาย หรือ ผู้ประจักษ์กับตัว คือท่านที่ได้ลัมผัส วิโมกข์ ๘ และอาสวะบางส่วนก็สันไปเพราะเห็นด้วยปัญญา ขณะปฏิบัติ เน้นสมาธิเป็นสำคัญ ได้แก่ท่านที่ตั้งอยู่ในโสดาปัตติผล สกหาคามิมรรค สกทาคามิผล อนาคามิมรรค อนาคามิผล และอรหัตตมรรค (กล่าวคือ พระอริยบุคคล ๖ใน ๘ ประเภท) ทิฎเปัตตะ ผู้บรรลุสัมมาทิฐิ คือ ท่านที่ เข้าใจอริยลัจ๔ถูกด้องแล้วและอาสวะบางส่วนก็สันไปเพราะเห็นด้วยปัญญา ขณะปฏิบัติเน้นปัญญาเป็นสำคัญ ได้แก่พระอริยบุคคล ๖ ใน ๘ ประ๓ท เหมือนกายลักขี สัทธาวิบุต ผู้หลุดพ้นด้วยศรัทธา คือท่านที่เข้าใจอริยลัจ ๔ ถูกด้องแล้วและอาสวะบางส่วนก็สันไปเพราะเห็นด้วยปัญญา ขณะปฏิบัติ เน้นศรัทธาเป็นสำคัญ ได้แก่พระอริยบุคคล ๖ใน ๘ ประเภทเหมือนกายลักฃี ธัมมาบุสารี ผู้แล่นไปตามธรรมคือปัญญา คือท่านที่ปฏิบัติเพื่อบรรลุโสดา ปัตติผลที่มืปัญญาแก่กล้า เจริญอริยมรรคโดยมืปัญญาเป็นแนวนำ เมื่อ สำ เร็จแล้วจัดเข้าในทิฎฐิปัตตะ สัทธาบุสารี ผู้แล่นไปตามศรัทธา คือท่าน ผู้ปฏิบัติเพื่อบรรลุโสดาปัตติผลที่มืศรัทธาแก่กล้า เจริญอริยมรรคโดยมื ศรัทธาเป็นแนวนำ เมื่อสำเร็จแล้วจัดเข้าในลัทธาวิมุต กล่าวโดยสรุป บุคคลที่ ๑ และที่ ๒ หมายถึงพระอรหันต์ ๒ ประ๓ท คือ สมยานิก กับ ลุกขวิปัสสกะ บุคคลที่ ฅ,๔ และ ๕ได้แก่ พระโสดาบัน พระสกทาคามื พระอนาคามื และท่านผู้ตั้งอยู่ในอรหัตตมรรค บุคคลที่ ๖ และที่ ๗ ได้แก่ ท่านผู้ตั้งอยู่ในโสดาปัตติมรรค (นัย ที.ปา.อ. ๗๗-๗๘) เรียกอีกอย่างว่า ทักขีเณยยใ]คคอกถา ว่าด้วยพระหักฃิไณยบุคคล ๗ www.kalyanamitra.org

คลังธรรม [พระธรรมกิตติวงลั โพชฌังคกลา ว่าด้วยโพซฌงค์ ๗ ๑. สติ ร' ๒. ธัมมวิจยะ ฅ. วิริยะ ความรร ความเลือกเฟ้นธรรม ๔. ปีติ ความเพียร ๕. ฟ้สสัทธิ ๖. สมาธิ ความอิ่มใจ ความสงบกายสงบใจ ๗. ยูเบกขา ความมีใจตั้งมั่น ความมีใจเป็นกลาง ที่มา : ลัมปสาทนียสูตร. ลังคีดิสูตร ที.ปา.๑๑/๑๕๑,ฅต0 อปรํ ปน ภน&ฅ เอตทา14ดดริยํ ยลา ฟิควา ธมมํ เทเสติ ปธาเนอุ[ ฯ สตุติเม ภนฺเต โพชุฌงคา : สติสมโพชุฌงุโค ธมมวิจย- สมฺโพชุฌงฺโค วิริยสมุโพชุฌงุโค ปีติสมโพชุฌงุโค ปสฺสทุธิสมุโพชุฌงฺโค สมาธิสมุโพชฌงฺโค อุเปฤขาสมุโพชุฌงุโค ฯ แปล : ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ความยอดเยี่ยมนั้นยังมีอีกข้อ หนึ่ง คือพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงธรรมในฝ่ายธรรมเป็นที่ตั้งมั่น ได้แก่ โพซฌงค์ ๗ ประการเหล่านี้ คือสติส์มโพซฌงค์ ๑ ธัมมวิจยยัมโพซฌงค์ ๑ วิริยสัมใพซฌงค์ ๑ ปีติส์'มโพซฌงค์ ๑ ปัสส์ทธิสํโมโพซณงค์ ๑ สมาธิ ส์มโพซฌงค์ ๑ อุเบกขาลํโมโพซฌงค์ ๑ ฯ หมายเหตุ ใข้ห'วข้อตามพระบาลือีกอย่างว่า ปธานเทสนากถา ว่าด้วยธรรมเทศนาในฝ่ายธรรมเป็นที่ตั้งมั่น www.kalyanamitra.org