๑ หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นโชค (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖5) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โรงเรียนบ้านโชค อำเภอปราสาท จงั หวัดสรุ ินทร์ ................................................................................................................ สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาสุรนิ ทร์ เขต ๓ สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
๒ ประกาศโรงเรยี นบา้ นโชค เร่ือง ใหใ้ ช้หลกั สตู รโรงเรียนบ้านโชค (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.๒๕๖5) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ อนุสนธิคำสั่งกระทรวงศึกษาธิการท่ี สพฐ. 1239/2560 ลงวันที่ 7 สิงหาคม 2560 เรื่องให้ใช้ มาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตัวชวี้ ัด กลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และสาระภูมศิ าสตร์ ในกลุม่ สาระการ เรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560 ) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และคำสั่งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ 30/2561 สั่ง ณ วันที่ 5 มกราคม 2561 เรื่อง ให้เปลี่ยนแปลงมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ (ฉบับ ปรับปรุง พ.ศ. 2560 ) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และในคราวประชุม คณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน ครั้งที่ 4 /2561 เมื่อวันที่ 20 เมษายน 2561 ที่เห็นชอบให้ลดความซ้ำซ้อน ของเน้ือหาสาระเกี่ยวกับเทคโนโลยี เพอื่ ใหส้ ถานศึกษาพัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพ ในการแข่งขันและดำรงชีวิตอย่าง สร้างสรรค์ในประชาคมโลก ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และหลักสูตรต้านทุจริตศึกษาในสถานศึกษา ระยะท่ี 3 (พ.ศ. 2560 – 2564) ให้เปน็ ไปตามนโยบายของสำนกั งานคณะกรรมการการปอ้ งกนั และปราบปรามการ ทจุ ริตแห่งชาตแิ ละสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน โรงเรียนบา้ นโชคจงึ ไดป้ รับปรงุ หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ เพ่ือให้ มคี วามเหมาะสม ชัดเจน ทั้งเป้าหมายของหลักสตู รในการพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น และกระบวนการนำหลักสูตรไปสู่การ ปฏิบัติ โดยได้มีการกำหนดวิสัยทัศน์ จุดหมาย สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐาน การเรยี นรแู้ ละตวั ชว้ี ดั ทีช่ ดั เจน เพ่ือใชเ้ ป็นทศิ ทางในการจัดทำหลกั สูตร การเรียนการสอนในแตล่ ะระดบั ทั้งน้ี หลกั สูตรโรงเรียนไดร้ ับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานโรงเรยี นบ้านโชค โดยมตทิ ปี่ ระชุมครงั้ ที่ 1 วันท่ี 14 มถิ นุ ายน ๒๕65 จึงประกาศใหใ้ ช้หลกั สูตรโรงเรยี นบ้านโชค (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖4) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ต้งั แต่บัดนีเ้ ป็นตน้ ไป ประกาศ ณ วนั ท่ี 1 เมษายน พ.ศ. ๒๕65 (นายลาน เกดิ ช่ืน) (นานการณั ยภาส เพง็ พนั ธ์ ) ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พน้ื ฐาน ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนบา้ นโชค
๓ คำนำ กระทรวงศกึ ษาธิการ ได้มีคำส่ังใหใ้ ชห้ ลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕51 ในโรงเรยี น ต้นแบบและโรงเรียนที่มีความพร้อม การใช้หลักสูตรในปีการศึกษา 2552 และใช้ทั่วไปในปีการศึกษา 2553 โรงเรยี นบา้ นโชค สำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 ได้ดำเนินการพฒั นาหลกั สตู รสถานศึกษา โรงเรียนบ้านโชค (ฉบับปรับปรุงพ.ศ.๒๕๖5) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อให้การจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนบ้านโชคทันต่อเหตุการณ์ และ การเปลี่ยนแปลงของสังคม รวมทั้ง เอกสารประกอบหลกั สูตรขึ้น เพ่ือใหเ้ ปน็ กรอบและทิศทางในการจัดการเรยี นการสอน และ การนำหลักสูตรไปสู่การ ปฏบิ ัติอยา่ งมีประสิทธภิ าพ โดยจดั ทำและพฒั นาหลกั สูตรตามแนวคิดหลักสูตรอิงมาตรฐานคอื กำหนดมาตรฐานการ เรียนรู้เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ที่กำ หนดในหลักสูตร แกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน มุง่ พฒั นาผู้เรยี นทุกคนให้มีความสมดุลทงั้ ดา้ นร่างกาย ความรู้ คุณธรรม จริยธรรม มี จิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทย และ พลเมืองโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้ และ ทักษะพื้นฐานรวมทั้งเจตคติที่จำเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบ อาชีพ และ การศึกษาตลอดชีวิตโดยมุงเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ บนพื้นฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้ และ พฒั นาตนเองได้เต็มตามศกั ยภาพ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านโชค(ฉบับปรับปรุงพ.ศ.๒๕๖5) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จัดทำขึ้นเพื่อใช้ในการจัดกระบวนการเรียนการสอนในโรงเรียน และพัฒนาหลักสูตร สถานศึกษาไปสู่การพัฒนาศักยภาพของนักเรียนได้เต็มศักยภาพ สถานศึกษาได้จัดทำสาระการเรียนรู้อิงมาตรฐาน สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้แกนกลาง ได้รับความเห็นชอบ และ อนุมัติการใช้หลักสูตรโดยคณะกรรมการ สถานศกึ ษาข้ันพื้นฐานโรงเรยี นบ้านโชค ขอขอบคุณผู้อำนวยการเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 ศึกษานิเทศก์ คณะกรรมการ สถานศึกษาขัน้ พ้ืนฐานโรงเรียนบ้านโชค คณะครู และ บุคลากรทางการศึกษา ที่ให้ความร่วมมืออำนวยความสะดวก ต่างๆ อันเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาหลักสูตรครั้งนี้ โรงเรียนบ้านโชคหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนบ้านโชค (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.๒๕๖5) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 และ เอกสารประกอบหลักสตู รท่ีจัดทำขนึ้ จะเปน็ ประโยชน์สำหรับครูผู้สอน และผู้ที่เก่ยี วขอ้ งให้สามารถนำหลักสูตรไปใช้ จดั การเรยี นการสอน และ ดำเนนิ การวดั และ ประเมินผลอย่างมปี ระสิทธิภาพ คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สตู รโรงเรยี นบ้านโชค
สารบญั ๔ ประกาศโรงเรยี นบา้ นโชค 1 คำนำ 2 สารบญั 5 ส่วนนำ 5 ลกั ษณะของหลักสตู รโรงเรยี นบา้ นโชค (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.๒๕๖5) 6 วสิ ัยทัศน์ พันธกิจ เปา้ หมายโรงเรยี นบ้านโชค 6 หลกั การ 7 จุดหมาย 9 สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รยี น 11 คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 14 โครงสรา้ งหลกั สตู รโรงเรียนบา้ นโชค (ฉบับปรับปรุงพ.ศ.๒๕๖5) 87 โครงสรา้ งหลักสตู รรายชัน้ โรงเรยี นบา้ นโชค (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.๒๕๖5) 121 กลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย 174 กล่มุ สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ 257 กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ 294 กลุม่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม 355 กลุ่มสาระการเรยี นรูป้ ระวัติศาสตร์ 426 กลุม่ สาระการเรยี นรู้สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 455 กลมุ่ สาระการเรยี นร้ศู ิลปะ 524 สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชีพ 557 กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาตา่ งประเทศ 568 รายวิชาเพมิ่ เติมสาระการเรยี นรู้หนา้ ทีพ่ ลเมอื ง 598 รายวชิ าเพมิ่ เตมิ การปอ้ งกันการทุจริต 600 กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รยี น บรรณานกุ รม คำส่งั โรงเรยี นบา้ นโชค
๑ ส่วนนำ ความหมาย หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านโชค (ฉบับปรับปรุงพ.ศ.๒๕๖5) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน พืน้ ฐานพทุ ธศักราช ๒๕๕๑ เปน็ แผน หรือแนวทาง หรอื ข้อกำหนดของการจัดการศกึ ษาของโรงเรียนบ้านโชคท่ีจะใช้ ในการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานที่กำหนด มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มี ปญั ญา มีความสุข มีศักยภาพในการศกึ ษาตอ่ และประกอบอาชพี โดยมงุ่ หวังใหม้ คี วามสมบูรณ์ทงั้ ดา้ นรา่ งกาย จติ ใจ และสตปิ ญั ญา อีกทั้งมคี วามรแู้ ละทกั ษะที่จำเป็นสำหรบั การดำรงชวี ติ และมีคุณภาพได้มาตรฐานสากลเพื่อการแขง่ ขัน ในยุคปัจจุบัน ดังนั้นหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนบ้านโชค ( ฉบับปรับปรุงพ.ศ.๒๕๖5) ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ จึงประกอบด้วยสาระสำคัญของหลักสูตรแกนกลาง สาระความรู้ท่ี เกยี่ วข้องกับชุมชนทอ้ งถิน่ และสาระสำคัญท่ีสถานศกึ ษาพัฒนาเพ่ิมเตมิ โดยจัดเป็นสาระการเรียนรู้รายวิชาพื้นฐาน ตามมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตัวชีว้ ัด และสาระการเรยี นรูร้ ายวชิ าเพิ่มเติม จัดกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี นเป็นรายปีในระดบั ประถมศกึ ษา และกำหนดคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ของสถานศกึ ษาตามคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคข์ องหลักสูตรแกน การศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ความสำคญั หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านโชค ( ฉบับปรับปรุงพ.ศ.๒๕๖5) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ มคี วามสำคัญในการพฒั นาผ้เู รียนใหม้ ีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด และ คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงคต์ ามทีก่ ำหนดไว้ เปน็ แนวทางให้ผู้บริหารสถานศึกษา ครู อาจารย์ ตลอดจนผู้เกี่ยวข้องกับ การจดั การศึกษาของสถานศกึ ษา ในการจดั มวลประสบการณ์ใหแ้ ก่ผู้เรียนไดพ้ ฒั นาใหบ้ รรลุถึงคุณภาพตามมาตรฐาน ในการพัฒนาเยาวชนของชาติ นอกเหนอื จากการใชเ้ ปน็ แนวทาง หรอื ข้อกำหนดในการจัดการศกึ ษาของสถานศึกษา ให้บรรลตุ ามจดุ หมายของการจัดการศึกษาแลว้ หลกั สูตรโรงเรยี นบา้ นโชค ( ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.๒๕๖5) ตามหลกั สตู ร แกนกลางการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ทีพ่ ัฒนาขึน้ ยงั เปน็ หลักสตู รที่มจี ุดม่งุ หมายให้ครอบครวั ชมุ ชน องค์กรในท้องถิ่น ทั้งภาครัฐและเอกชนเข้าร่วมจัดการศึกษาของสถานศึกษา โดยมีแนวทางสำคัญที่สถานศึกษา กำหนดไว้ในหลกั สตู รสถานศึกษา ดังน้ี 1. หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านโชค ( ฉบบั ปรบั ปรุงพ.ศ.๒๕๖5) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ัน พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดความสนุกสนาน และความเพลิดเพลินในการเรียนรู้ เปรียบเสมือนเป็นวิธีสร้างกำลังใจ และเร้าให้เกิดความกา้ วหนา้ แกผ่ ู้เรียนให้มากที่สุด มีความรู้สงู สุด ผู้เรียนทุกคนมี ความเข้มแข็ง ความสนใจ มปี ระสบการณ์ และความม่ันใจ เรยี นและทำงานอย่างเปน็ อสิ ระและร่วมใจกนั มที ักษะใน การอ่านออกเขยี นได้ คิดเลขเป็น รู้ข้อมูลสารสนเทศ และเทคโนโลยีสือ่ สาร ส่งเสริมจิตใจทีอ่ ยากรู้อยากเหน็ และมี กระบวนการคดิ อย่างมีเหตุผล 2. หลักสตู รสถานศึกษาโรงเรยี นบ้านโชค ( ฉบับปรบั ปรุงพ.ศ.๒๕๖5) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ สง่ เสริมการพัฒนาด้านจติ วิญญาณ จริยธรรม สงั คม และวัฒนธรรม พัฒนาหลักการ ในการจำแนกระหวา่ งถกู และผิด เข้าใจและศรทั ธาในความเชอ่ื ของตน ความเชอื่ และวฒั นธรรมท่ีแตกต่างกัน พฒั นา หลกั คณุ ธรรมและความอิสระของผู้เรยี น และชว่ ยใหเ้ ปน็ พลเมืองทีม่ ีความรับผดิ ชอบ สามารถชว่ ยพัฒนาสังคมให้เป็น ธรรมขึ้น มีความเสมอภาค พัฒนาความตระหนัก เข้าใจ และยอมรับสภาพแวดล้อมที่ตนดำรงชีวิตอยู่ ยึดมั่นใน ขอ้ ตกลงร่วมกันต่อการพัฒนาท่ียัง่ ยนื ทง้ั ในระดับส่วนตน ระดบั ท้องถ่นิ ระดับชาติ และระดับโลก สร้างให้ผู้เรียนมี ความพรอ้ มในการเปน็ ผูบ้ ริโภคทีต่ ดั สินใจแบบมขี อ้ มลู เป็นอสิ ระ และมคี วามรบั ผิดชอบ
๒ ลกั ษณะของหลกั สูตรสถานศกึ ษา โรงเรียนบ้านโชค ( ฉบับปรับปรุงพ.ศ.๒๕๖5) หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนบ้านโชค( ฉบับปรับปรุงพ.ศ.๒๕๖5) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ เป็นหลกั สตู รท่ีสถานศึกษาไดพ้ ัฒนาขึน้ เพือ่ พฒั นาผู้เรียนในระดับประถมศกึ ษา โดยยึด องค์ประกอบหลักสำคัญ ๓ ส่วนคือ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ สาระการเรียนรู้ ท้องถิ่น และสาระสำคญั ที่สถานศกึ ษาพัฒนาเพิม่ เตมิ เป็นกรอบในการจัดทำรายละเอียดเพื่อให้เปน็ ไปตามมาตรฐาน การศึกษาขั้นพื้นฐานที่กำหนด เหมาะสมกับสภาพชุมชนและท้องถิ่นและจุดเน้นของสถานศึกษา โดยหลักสูตร สถานศึกษาโรงเรยี นบา้ นโชค ( ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.๒๕๖5) ทพี่ ัฒนาขึ้นมีลักษณะของหลักสตู ร ดงั น้ี ๑. เป็นหลกั สตู รเฉพาะของโรงเรยี นบ้านโชค สำหรับจัดการศกึ ษาในหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน จัดระดบั การศกึ ษาเป็น ๑ ระดับ คอื ระดบั ประถมศึกษา (ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๑ – ๖) ๒. มีความเป็นเอกภาพ หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนบา้ นโชค( ฉบับปรับปรุงพ.ศ.๒๕๖5) ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เป็นหลักสูตรของสถานศึกษาสำหรับใหค้ รูผู้สอนนำไปจัดการ เรียนรู้ได้อยา่ งหลากหลาย โดยกำหนดให้ ๒.๑ มีสาระการเรยี นรูท้ ่สี ถานศกึ ษาใช้เปน็ หลกั เพอื่ สรา้ งพนื้ ฐานการคิด การเรียนรู้ และ การแก้ปัญหา ประกอบด้วย ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และสังคมศึกษา ศาสนา และ วฒั นธรรม ๒.๒ มีสาระการเรยี นรู้ท่ีเสริมสร้างความเป็นมนุษย์ ศักยภาพการคิดและการทำงาน ประกอบด้วย สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ศลิ ปะ การงานอาชีพ และภาษาองั กฤษ ๒.๓ มีสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม โดยจัดทำเป็นรายวิชาเพิ่มเติมประกอบด้วยหน้าที่พลเมือง และการ ปอ้ งกันการทุจรติ เพอื่ ใหค้ ลอ้ งกบั โครงสร้างเวลาเรียน และบรบิ ทของสถานศกึ ษา ๒.๔ มีกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เพื่อพัฒนาผู้เรียนทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ และ สังคม เสรมิ สรา้ งการเรยี นร้นู อกจากสาระการเรียนรู้ ๘ กลุ่ม และการพฒั นาตนตามศักยภาพ ๒.๕ มีการกำหนดมาตรฐานของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐานระดับต่าง ๆ เพื่อเป็นเป้าหมาย ของการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา จัดทำรายละเอียดสาระการเรียนรู้ และจัดกระบวนการเรียนรู้ให้ สอดคลอ้ งกับสภาพในชุมชน สงั คม และภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ ๓. มีมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายสำคัญของการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียน บ้านโชค ( ฉบับปรับปรุงพ.ศ.๒๕๖5) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เป็น หลักสูตรที่มีมาตรฐานเป็นตัวกำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน เพื่อเป็นแนวทางในการประกัน คุณภาพการศกึ ษา โดยมีการกำหนดมาตรฐานไว้ดังนี้ ๓.๑ มาตรฐานหลักสูตร เป็นมาตรฐานด้านผู้เรียนหรือผลผลิตของหลักสูตรสถานศึกษา อันเกิดจาก การได้รับการอบรมสั่งสอนตามโครงสร้างของหลักสูตรทั้งหมดใช้เป็นแนวทางในการตรวจสอบคุณภาพโดยรวมของ การจัดการศึกษาตามหลักสูตรในทุกระดับ และสถานศึกษาต้องใช้สำหรับการประเมินตนเองเพื่อจัดทำรายงาน ประจำปีตามบทบัญญัติในพระราชบัญญัติการศึกษา นอกจากนี้ยังเป็นแนวทางในการกำหนดแนวปฏิบั ติในการ ส่งเสรมิ กำกบั ติดตาม ดแู ล และปรับปรงุ คุณภาพ เพอ่ื ให้ไดต้ ามมาตรฐานทีก่ ำหนด ๓.๒ มีตวั ช้ีวดั ช้นั ปีเป็นเป้าหมายระบุส่งิ ทน่ี กั เรียนพงึ รู้และปฏิบัติได้ รวมทั้งคณุ ลักษณะของผู้เรียนในแต่ ละระดับชัน้ ซ่ึงสะท้อนถงึ มาตรฐานการเรียนรู้ มคี วามเฉพาะเจาะจง และมคี วามเป็นรูปธรรม นำไปใชใ้ นการกำหนด เนื้อหา จัดทำหน่วยการเรียนรู้ จัดการเรียนการสอน และเป็นเกณฑ์สำคัญสำหรับการวัดประเมินผลเพื่อตรวจสอบ คุณภาพผู้เรียน ตรวจสอบพัฒนาการผู้เรียน ความรู้ ทักษะ กระบวนการ คุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมอันพึง ประสงค์ และเปน็ หลกั ในการเทียบโอนความรแู้ ละประสบการณจ์ ากการศกึ ษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศยั
๓ ๓.๓ มีความเปน็ สากล ความเปน็ สากลของหลักสูตรสถานศกึ ษา คอื มงุ่ ใหผ้ เู้ รียนมีความรู้ ความสามารถ ในเร่ืองเทคโนโลยีสารสนเทศ ภาษาอังกฤษ การจดั การส่งิ แวดลอ้ ม ภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ มคี ณุ ลกั ษณะทจ่ี ำเป็นในการอยู่ ในสังคมไดแ้ ก่ ความซ่อื สตั ย์ ความรบั ผิดชอบ การตรงตอ่ เวลา การเสียสละ การเอื้อเฟ้อื โดยอยู่บนพ้นื ฐานของความ พอดรี ะหว่างการเปน็ ผ้นู ำ และผู้ตาม การทำงานเปน็ ทมี และการทำงานด้วยตนเองการแขง่ ขัน การรูจ้ ักพอ และการ ร่วมมือกันเพื่อสังคม วิทยาการสมัยใหม่ และภูมิปัญญาท้องถิ่น การรับวัฒนธรรมต่างประเทศ และการอนุรักษ์ วฒั นธรรมไทยการฝึกฝนทักษะเฉพาะทาง และการบรู ณาการในลกั ษณะท่ีเป็นองค์รวม ๔. มีความยืดหยุ่น หลากหลาย หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนบ้านโชค เป็นหลักสูตรที่สถานศึกษาจัดทำ รายละเอียดต่าง ๆ ข้นึ เอง โดยยึดโครงสร้างหลกั ท่ีกำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เป็นขอบข่ายในการจัดทำ จึงทำให้หลักสูตรของสถานศึกษามีความยืดหยุ่น หลากหลาย สอดคล้องกับ สภาพปญั หา และความตอ้ งการของทอ้ งถ่นิ โดยเฉพาะอย่างยง่ิ มีความเหมาะสมกับตวั ผ้เู รียน ๕. การวดั และประเมินผลเน้นหลักการพ้นื ฐานสองประการคอื การประเมนิ เพือ่ พัฒนาผ้เู รยี นและเพือ่ ตดั สนิ ผล การเรียน โดยผู้เรียนต้องได้รับการพัฒนาและประเมินตามตัวชี้วัดเพื่อให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ สะท้อน สมรรถนะสำคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนเป็นเปา้ หมายหลักในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ใน ทุกระดับไม่ว่าจะเป็นระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับชาติ การวัดและ ประเมินผลการเรยี นรู้ เปน็ กระบวนการพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น และใชผ้ ลการประเมนิ เปน็ ข้อมูลและสารสนเทศท่ีแสดง พัฒนาการ ความกา้ วหน้า และความสำเร็จทางการเรยี นของผเู้ รยี น ตลอดจนข้อมูลทเ่ี ปน็ ประโยชน์ตอ่ การส่งเสริมให้ ผเู้ รียนเกิดการพฒั นาและเรียนรู้อยา่ งเต็มตามศักยภาพ วิสัยทัศน์โรงเรียนบ้านโชค วิสัยทศั น์โรงเรียนบ้านโชค “โรงเรยี นบ้านโชค มงุ่ พฒั นาใหผ้ ู้เรยี นมคี ณุ ภาพตามมาตรฐานของสถานศกึ ษา ครู มีคุณธรรม นำสผู่ ้เู รียนเป็นสำคญั ชุมชนมสี ว่ นรว่ มพัฒนาทกั ษะอาชีพตามหลกั เศรษฐกจิ พอเพยี ง” พนั ธกจิ พันธกจิ ที่โรงเรยี นบ้านโชค ดำเนินการเพอื่ ให้บรรลุวสิ ัยทัศน์และนำไปสกู่ ารวางแผนปฏิบตั ิ มีดงั น้ี คือ 1) จัดกิจกรรมส่งเสริมใหผ้ ู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานของสถานศึกษา 2) ส่งเสริมและพัฒนาใหส้ ถานศึกษามกี ารจัดการศึกษาใหม้ ีคณุ ภาพตามมาตรฐานของสถานศกึ ษา 3) สง่ เสริมและพัฒนาให้สถานศึกษาเป็นสงั คมแหง่ การเรียนรแู้ ละสง่ เสริมให้ผู้ท่ีมีส่วนเกี่ยวข้องทกุ ฝา่ ยมสี ่วน รว่ มในการจดั การศึกษาของสถานศึกษา 4) สง่ เสริมการสร้างอัตลักษณ์ของสถานศึกษาให้โดดเด่น 5) พัฒนาคุณภาพสถานศกึ ษาตามแนวทางการปฏิรปู การศึกษา 6) เพม่ิ ขีดความสามารถในการพฒั นาความร้เู พือ่ การศึกษาตอ่ และพัฒนาทกั ษะอาชีพตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 7) จัดหาใหม้ ีส่ือและวสั ดุอุปกรณ์ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในเพยี งพอ
๔ เป้าหมาย การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน มุ่งพัฒนาคนไทยใหเ้ ปน็ มนษุ ยท์ ี่สมบูรณ์ เป็นคนดี มีปญั ญา มคี วามสุข และมีความเป็น ไทย มีศักยภาพในการศึกษาตอ่ และประกอบอาชีพ ในการจัดการศึกษาตามหลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนบ้านโชค จงึ กำหนดเป้าหมายซึ่งเป็นมาตรฐานการเรียนรใู้ ห้ผเู้ รียนเกดิ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ดังตอ่ ไปนี้ 1) ผเู้ รยี นมีคุณภาพตามมาตรฐานของสถานศกึ ษา 2) สถานศึกษามีการจดั การศกึ ษาท่ีมีคุณภาพตามมาตรฐานของสถานศึกษา 3) ชุมชนมีสว่ นรว่ มในการจัดการศึกษา 4) สถานศึกษามีอตั ลกั ษณท์ ่ีโดดเด่น 5) สถานศึกษามีการพฒั นาคุณภาพของสถานศกึ ษาตามแนวทางการปฏริ ูปการศึกษา 6) สถานศกึ ษาสง่ เสริม สนับสนนุ ให้ผ้เู รียนมีการศึกษาต่อ และประกอบอาชพี สจุ ริตตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง 7) สถานศกึ ษามีสอื่ และวสั ดอุ ปุ กรณใ์ นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในเพยี งพอ หลักการ หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนบา้ นโชค( ฉบับปรับปรุงพ.ศ.๒๕๖5) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ มีหลักการที่สำคญั ดังน้ี ๑. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้เป็น เป้าหมายสำหรับพัฒนาเดก็ และเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพื้นฐานของความเป็นไทยควบคู่ กับความเปน็ สากล ๒. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาคและมี คุณภาพ ๓. เป็นหลกั สูตรการศึกษาท่ีสนองการกระจายอำนาจ ใหส้ งั คมมีสว่ นร่วมในการจัดการศกึ ษาให้สอดคล้อง กับสภาพและความต้องการของท้องถนิ่ ๔. เปน็ หลักสูตรการศึกษาท่มี ีโครงสร้างยดื หยุ่นท้งั ดา้ นสาระการเรยี นรู้ เวลา และการจัดการเรียนรู้ ๕. เปน็ หลกั สูตรการศึกษาที่เนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคัญ ๖. เป็นหลักสูตรการศึกษาสำหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุก กลุ่มเปา้ หมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์ จดุ หมาย หลักสูตรสถานศกึ ษา โรงเรียนบ้านโชค ( ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.๒๕๖5) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุ่งพฒั นาผเู้ รยี นให้เป็นคนดี มีปญั ญา มีความสุข มีศกั ยภาพในการศึกษาต่อ และ ประกอบอาชีพ จึงกำหนดเปน็ จุดหมายเพ่อื ให้เกิดกบั ผูเ้ รียน เมื่อจบการศกึ ษาตามหลกั สตู ร ดงั น้ี 1. มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นิยมท่พี ึงประสงค์ เห็นคุณคา่ ของตนเอง มีวนิ ยั และ ปฏบิ ตั ติ นตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถอื ยดึ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๒. มีความรู้ ความสามารถในการสือ่ สาร การคิด การแกป้ ัญหา การใช้เทคโนโลยี และมที กั ษะชีวติ ๓. มีสุขภาพกายและสุขภาพจติ ท่ีดี มีสุขนสิ ยั และรกั การออกกำลงั กาย
๕ ๔. มีความรักชาติ มีจิตสำนึกในความเปน็ พลเมอื งไทยและพลโลก ยึดม่นั ในวิถชี ีวติ และการปกครองตาม ระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมุข ๕. มจี ติ สำนกึ ในการอนรุ ักษ์วัฒนธรรมและภมู ปิ ญั ญาไทย การอนรุ กั ษแ์ ละพฒั นาสิ่งแวดล้อม มีจิต สาธารณะทีม่ งุ่ ทำประโยชนแ์ ละสรา้ งสง่ิ ที่ดงี ามในสังคม และอย่รู ่วมกันในสงั คมอย่างมคี วามสขุ สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ในการพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านโชค ( ฉบับปรับปรุงพ.ศ.๒๕๖5) ตามหลักสูตร แกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ม่งุ เน้นพฒั นาผเู้ รยี นให้มคี ุณภาพตามมาตรฐานทกี่ ำหนด ซึ่งจะ ชว่ ยใหผ้ ู้เรยี นเกดิ สมรรถนะสำคัญและคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ดงั นี้ สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านโชค( ฉบับปรับปรุงพ.ศ.๒๕๖5) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ มุ่งใหผ้ ู้เรียนเกดิ สมรรถนะสำคญั ๕ ประการ ดังน้ี ๑. ความสามารถในการสอ่ื สาร เป็นความสามารถในการรับและสง่ สาร มีวฒั นธรรมในการใชภ้ าษาถา่ ยทอด ความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพือ่ แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์อนั จะ เป็นประโยชน์ต่อการพฒั นาตนเองและสังคม รวมท้งั การเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหาความขัดแยง้ ต่าง ๆ การ เลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่อสาร ที่มี ประสิทธิภาพโดยคำนึงถงึ ผลกระทบท่ีมตี ่อตนเองและสังคม ๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ การคดิ สังเคราะห์ การคดิ อยา่ งสรา้ งสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ เกยี่ วกับตนเองและสงั คมได้อย่างเหมาะสม ๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้อย่าง ถูกต้องเหมาะสมบนพน้ื ฐานของหลักเหตผุ ล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เขา้ ใจความสมั พนั ธแ์ ละ การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใชใ้ นการป้องกันและแก้ไขปญั หา และมกี ารตดั สนิ ใจที่มปี ระสิทธภิ าพโดยคำนึงถงึ ผลกระทบที่เกิดขึ้นตอ่ ตนเอง สังคมและสิง่ แวดลอ้ ม ๔. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใชใ้ น การดำเนนิ ชวี ิตประจำวนั การเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง การเรียนรอู้ ยา่ งต่อเนื่อง การทำงาน และการอยรู่ ่วมกนั ในสังคมด้วย การสรา้ งเสริมความสัมพนั ธอ์ นั ดรี ะหวา่ งบคุ คล การจดั การปัญหาและความขัดแยง้ ต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัว ให้ทนั กบั การเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จกั หลกี เล่ยี งพฤตกิ รรมไมพ่ งึ ประสงค์ทส่ี ่งผลกระทบ ต่อตนเองและผอู้ ่ืน ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมี ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทำงาน การ แกป้ ญั หาอย่างสร้างสรรค์ ถูกตอ้ ง เหมาะสม และมีคณุ ธรรม คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านโชค ( ฉบับปรับปรุงพ.ศ.๒๕๖5) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ม่งุ พฒั นาผู้เรยี นใหม้ ีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพ่อื ให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคม ไดอ้ ยา่ งมีความสขุ ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ดงั นี้ ๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ 2. ซอื่ สัตยส์ ุจรติ ๓. มีวินยั
๖ ๔. ใฝ่เรยี นรู้ ๕. อยอู่ ย่างพอเพียง ๖. มุง่ มนั่ ในการทำงาน ๗. รักความเป็นไทย ๘. มีจติ สาธารณะ
๗ โครงสร้างหลกั สตู รโรงเรยี นบ้านโชค ( ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.๒๕๖5) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ระดับชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี ๑ – ๖ เวลาเรียน (ชว่ั โมง) กล่มุ สาระการเรียนรู้ ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ หมายเหตุ รายวิชาพ้ืนฐาน ๒00 ๒00 ๒00 ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ 160 160 160 ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑. ภาษาไทย 120 ๒. คณิตศาสตร์ ๘๐ ๘๐ ๘๐ 120 120 ๘๐ ๓. วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี 40 40 40 ๘๐ ๘๐ ๔๐ ๔. สงั คมศกึ ษา ศาสนาและ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ วฒั นธรรม ๘๐ 5. ประวตั ศิ าสตร์ 40 40 40 ๘๐ ๘๐ 40 40 40 40 ๘๐ ๘๐ 80 6. สขุ ศึกษาและพลศึกษา 40 40 40 40 40 7. ศิลปะ 200 200 200 80 80 40 8. การงานอาชพี 40 9. ภาษาต่างประเทศ 40 40 40 40 40 920 40 40 40 40 40 120 รายวชิ าเพม่ิ เติม 920 920 920 920 920 ๔๐ 120 120 120 120 120 ๔๐ 1. หนา้ ท่ีพลเมือง ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ 3๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ 2. การปอ้ งกนั การทุจริต 3๐ 3๐ 3๐ 3๐ 3๐ 10 รวมวิชาพืน้ ฐาน ๑,040 10 10 10 10 10 กจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียน ๑,040 ๑,040 ๑,040 ๑,040 ๑,040 1. กจิ กรรมแนะแนว 2. กิจกรรมลูกเสือ/เนตรนารี 3. กิจกรรมชุมนมุ /ชมรม 4. กิจกรรมเพือ่ สงั คมและ สาธารณประโยชน์ รวมเวลาเรียน / ปี
๘ โครงสร้างหลักสตู รรายชนั้ โรงเรียนบา้ นโชค ( ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.๒๕๖5) ระดบั ช้ันประถมศึกษาปที ี่ ๑ รายวชิ า / กจิ กรรม เวลาเรียน (ชม. / ป)ี รายวิชาพน้ื ฐาน ภาษาไทย (840) ท๑๑๑๐๑ 200 160 ค๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๘๐ 40 ว๑๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๔๐ 40 ส๑๑๑๐๑ สังคมศึกษา 40 ๔๐ ส๑2๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ 200 (8๐) พ๑๑1๐๑ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๔๐ ศ๑๑๑๐๑ ศิลปะ 40 (๑๒๐) ง๑๑๑๐๑ การงานอาชีพ ๔๐ (๘๐) อ๑๑๑๐๑ ภาษาต่างประเทศ 4๐ 3๐ รายวชิ าเพม่ิ เติม / กจิ กรรมเพม่ิ เตมิ 10 ๑,040 ส๑๑๒2๑ การป้องกันการทจุ รติ ส๑๑๒3๑ หนา้ ทพ่ี ลเมอื ง กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนกั เรียน - ลูกเสอื / เนตรนารี - ชมรม ชมุ นุม - กจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ รวมเวลาเรยี นท้ังส้ิน
๙ โครงสร้างหลักสตู รรายชนั้ โรงเรียนบ้านโชค ( ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.๒๕๖5) ระดบั ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๒ รายวชิ า / กจิ กรรม เวลาเรียน (ชม. / ป)ี รายวิชาพน้ื ฐาน ภาษาไทย (840) ท๑2๑๐๑ 200 ค๑2๑๐๑ คณิตศาสตร์ 160 ว๑2๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๘๐ ส๑2๑๐๑ สังคมศึกษา 40 ส๑2๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๔๐ พ๑๒1๐๑ สขุ ศึกษาและพลศึกษา 40 ศ๑2๑๐๑ ศิลปะ 40 ง๑2๑๐๑ การงานอาชีพ ๔๐ อ๑2๑๐๑ ภาษาต่างประเทศ 200 รายวิชาเพม่ิ เติม / กจิ กรรมเพม่ิ เตมิ (8๐) ๔๐ ส๑2๒22 การป้องกันการทจุ รติ ส๑2๒32 หนา้ ทพ่ี ลเมอื ง 40 กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น (๑๒๐) กิจกรรมแนะแนว ๔๐ กจิ กรรมนกั เรียน (๘๐) - ลกู เสอื / เนตรนารี 4๐ - ชมรม ชมุ นุม 3๐ - กิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ 10 รวมเวลาเรยี นท้ังส้ิน ๑,040
๑๐ โครงสรา้ งหลกั สตู รรายชั้นโรงเรียนบา้ นโชค ( ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.๒๕๖5) ระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ รายวิชา / กิจกรรม เวลาเรยี น (ชม. / ป)ี รายวชิ าพน้ื ฐาน (840) ท๑3๑๐๑ ภาษาไทย 200 ค๑3๑๐๑ คณิตศาสตร์ 160 ว๑3๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๘๐ ส๑3๑๐๑ สงั คมศกึ ษา 40 ส๑3๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๔๐ พ๑31๐๑ สขุ ศึกษาและพลศึกษา 40 ศ๑3๑๐๑ ศลิ ปะ 40 ง๑3๑๐๑ การงานอาชีพ ๔๐ อ๑3๑๐๑ ภาษาต่างประเทศ 200 รายวิชาเพมิ่ เติม / กจิ กรรมเพิ่มเตมิ (8๐) ส๑3๒23 การป้องกันการทุจรติ ๔๐ ส๑3๒33 หนา้ ท่พี ลเมือง 40 กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น (๑๒๐) กจิ กรรมแนะแนว ๔๐ กจิ กรรมนกั เรียน (๘๐) - ลูกเสอื / เนตรนารี 4๐ - ชมรม ชมุ นุม 3๐ - กิจกรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณประโยชน์ 10 รวมเวลาเรยี นทง้ั สน้ิ ๑,040
๑๑ โครงสรา้ งหลักสูตรรายช้นั โรงเรียนบา้ นโชค ( ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.๒๕๖5) ระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๔ รายวิชา / กิจกรรม เวลาเรียน (ชม. / ป)ี รายวิชาพ้นื ฐาน ภาษาไทย (๘4๐) ท๑๔๑๐๑ ๑๖๐ ๑๖๐ ค๑๔๑๐๑ คณิตศาสตร์ 120 ว๑๔๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๘๐ ส๑๔๑๐๑ สงั คมศึกษา ๔๐ ส๑๔๑๐๒ ประวตั ิศาสตร์ ๘๐ พ๑๔๑๐๑ สุขศึกษาและพลศกึ ษา ๘๐ ศ๑๔๑๐๑ ศลิ ปะ 4๐ ง๑๔๑๐๑ การงานอาชีพ ๘๐ อ๑๔๑๐๑ ภาษาองั กฤษ (8๐) 40 รายวชิ าเพม่ิ เตมิ / กิจกรรมเพ่ิมเติม ๔๐ (๑๒๐) ส๑๔๒24 การปอ้ งกันการทุจรติ ๔๐ (๘๐) ส๑๔๒34 หน้าท่ีพลเมอื ง ๔๐ 3๐ กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รยี น 10 ๑,๐4๐ กจิ กรรมแนะแนว กิจกรรมนกั เรียน - ลูกเสือ / เนตรนารี - ชมรม ชมุ นุม - กจิ กรรมเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน์ รวมเวลาเรยี นทง้ั สน้ิ
๑๒ โครงสรา้ งหลักสูตรรายช้นั โรงเรยี นบา้ นโชค ( ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.๒๕๖5) ระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๕ รายวิชา / กิจกรรม เวลาเรียน (ชม. / ป)ี รายวิชาพ้นื ฐาน ภาษาไทย (๘4๐) ท๑5๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑๖๐ ค๑5๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๑๖๐ ว๑5๑๐๑ สงั คมศึกษา 120 ส๑5๑๐๑ ประวตั ิศาสตร์ ๘๐ ส๑5๑๐๒ สุขศึกษาและพลศกึ ษา ๔๐ พ๑5๑๐๑ ศลิ ปะ ๘๐ ศ๑5๑๐๑ ๘๐ 4๐ ง๑5๑๐๑ การงานอาชีพ ๘๐ (8๐) อ๑5๑๐๑ ภาษาองั กฤษ 40 ๔๐ รายวชิ าเพม่ิ เตมิ / กิจกรรมเพ่ิมเติม (๑๒๐) ๔๐ ส๑5๒25 การปอ้ งกันการทุจรติ (๘๐) ๔๐ ส๑5๒35 หน้าท่ีพลเมอื ง 3๐ 10 กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รยี น ๑,๐4๐ กจิ กรรมแนะแนว กิจกรรมนกั เรียน - ลูกเสือ / เนตรนารี - ชมรม ชมุ นุม - กจิ กรรมเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน์ รวมเวลาเรยี นทง้ั สน้ิ
๑๓ โครงสร้างหลักสตู รรายช้ันโรงเรยี นบ้านโชค ( ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.๒๕๖5) ระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ รายวิชา / กจิ กรรม เวลาเรยี น (ชม. / ปี) รายวชิ าพน้ื ฐาน (๘4๐) ท๑6๑๐๑ ภาษาไทย ๑๖๐ ค๑6๑๐๑ คณิตศาสตร์ ๑๖๐ ว๑6๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 120 ส๑6๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ๘๐ ส๑6๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๔๐ พ๑6๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ๘๐ ศ๑6๑๐๑ ศลิ ปะ ๘๐ ง๑6๑๐๑ การงานอาชีพ 4๐ อ๑6๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๘๐ รายวชิ าเพม่ิ เติม / กจิ กรรมเพ่มิ เติม (8๐) 40 ส๑6๒26 การปอ้ งกนั การทจุ ริต ส๑6๒36 หนา้ ท่ีพลเมอื ง ๔๐ กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น (๑๒๐) กิจกรรมแนะแนว ๔๐ กจิ กรรมนักเรียน (๘๐) - ลกู เสอื / เนตรนารี ๔๐ - ชมรม ชุมนมุ 3๐ - กจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ 10 รวมเวลาเรยี นทง้ั สิ้น ๑,๐4๐
๑๔ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ระดบั ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑-๖
๑๕ กล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ทำไมต้องเรยี นภาษาไทย ภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์ของชาตเิ ป็นสมบตั ิทางวัฒนธรรมอนั กอ่ ใหเ้ กิดความเปน็ เอกภาพและเสรมิ สรา้ ง บคุ ลกิ ภาพของคนในชาตใิ หม้ ีความเป็นไทย เปน็ เคร่อื งมือในการติดตอ่ ส่ือสารเพือ่ สรา้ งความเข้าใจและ ความสมั พนั ธ์ที่ดีต่อกนั ทำให้สามารถประกอบกิจธรุ ะ การงาน และดำรงชีวติ รว่ มกันในสังคมประชาธิปไตยได้ อยา่ งสันติสุข และเป็นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ ประสบการณ์จากแหลง่ ข้อมูลสารสนเทศต่างๆ เพ่ือพัฒนา ความรู้ พัฒนากระบวนการคดิ วิเคราะห์ วจิ ารณ์ และสรา้ งสรรค์ให้ทนั ต่อการเปลีย่ นแปลงทางสังคม และ ความก้าวหน้าทางวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตลอดจนนำไปใชใ้ นการพฒั นาอาชพี ใหม้ คี วามมนั่ คงทางเศรษฐกิจ นอกจากน้ยี งั เป็นส่อื แสดงภมู ิปญั ญาของบรรพบรุ ษุ ดา้ นวฒั นธรรม ประเพณี และสุนทรียภาพ เป็นสมบตั ิล้ำค่า ควรแกก่ ารเรยี นรู้ อนุรกั ษ์ และสืบสานให้คงอยู่คู่ชาตไิ ทยตลอดไป เรียนรอู้ ะไรในภาษาไทย ภาษาไทยเป็นทักษะท่ีต้องฝกึ ฝนจนเกดิ ความชำนาญในการใชภ้ าษาเพื่อการส่อื สาร การเรียนรอู้ ย่างมี ประสทิ ธภิ าพ และเพอื่ นำไปใช้ในชวี ิตจรงิ • การอา่ น การอ่านออกเสียงคำ ประโยค การอ่านบทรอ้ ยแกว้ คำประพันธ์ชนิดต่างๆ การ อ่านในใจเพอ่ื สรา้ งความเข้าใจ และการคดิ วเิ คราะห์ สังเคราะห์ความรจู้ ากส่ิงทอี่ า่ น เพือ่ นำไป ปรบั ใชใ้ น ชีวติ ประจำวนั • การเขยี น การเขียนสะกดตามอักขรวิธี การเขยี นส่ือสาร โดยใชถ้ อ้ ยคำและรูปแบบต่างๆ ของการ เขยี น ซงึ่ รวมถึงการเขยี นเรียงความ ยอ่ ความ รายงานชนิดต่างๆ การเขียนตามจินตนาการ วิเคราะห์วิจารณ์ และเขยี นเชงิ สร้างสรรค์ • การฟัง การดู และการพดู การฟังและดอู ยา่ งมวี ิจารณญาณ การพูดแสดงความคดิ เหน็ ความรู้สกึ พูดลำดับเร่อื งราวต่างๆ อยา่ งเปน็ เหตเุ ปน็ ผล การพดู ในโอกาสตา่ งๆ ท้งั เปน็ ทางการและไมเ่ ป็น ทางการ และการพดู เพือ่ โนม้ นา้ วใจ • หลกั การใชภ้ าษาไทย ธรรมชาตแิ ละกฎเกณฑข์ องภาษาไทย การใช้ภาษาให้ถูกตอ้ งเหมาะสม กับโอกาสและบุคคล การแตง่ บทประพนั ธ์ประเภทต่างๆ และอทิ ธพิ ลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย • วรรณคดแี ละวรรณกรรม วเิ คราะหว์ รรณคดีและวรรณกรรมเพือ่ ศึกษาขอ้ มลู แนวความคิด คุณค่า ของงานประพันธ์ และความเพลิดเพลิน การเรยี นรู้และทำความเข้าใจบทเห่ บทรอ้ งเล่นของเด็ก เพลงพน้ื บ้านที่ เปน็ ภมู ิปัญญาทมี่ คี ุณค่าของไทย ซงึ่ ได้ถ่ายทอดความรสู้ กึ นกึ คิด ค่านิยม ขนบธรรมเนยี มประเพณี เรอื่ งราวของ สงั คมในอดตี และความงดงามของภาษา เพื่อให้เกดิ ความซาบซงึ้ และภมู ิใจ ในบรรพบุรุษทไ่ี ด้สั่งสมสบื ทอดมา จนถงึ ปัจจบุ ัน คุณภาพผเู้ รยี น จบชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๓ • อา่ นออกเสยี งคำ คำคล้องจอง ขอ้ ความ เรอ่ื งสน้ั ๆ และบทรอ้ ยกรองง่ายๆ ไดถ้ กู ตอ้ งคล่องแคล่ว เข้าใจความหมายของคำและข้อความท่ีอา่ น ต้งั คำถามเชงิ เหตุผล ลำดบั เหตกุ ารณ์ คาดคะเนเหตุการณ์ สรุป
๑๖ ความรขู้ ้อคิดจากเรื่องทอี่ ่าน ปฏบิ ัติตามคำสั่ง คำอธบิ ายจากเรือ่ งทอี่ ่านได้ เข้าใจความหมายของข้อมูลจาก แผนภาพ แผนที่ และแผนภูมิ อา่ นหนังสืออยา่ งสมำ่ เสมอ และ มีมารยาทในการอา่ น • มที กั ษะในการคดั ลายมอื ตวั บรรจงเตม็ บรรทดั เขียนบรรยาย บนั ทึกประจำวัน เขียนจดหมายลาครู เขยี นเร่ืองเกี่ยวกบั ประสบการณ์ เขยี นเรือ่ งตามจินตนาการและมมี ารยาทในการเขียน • เลา่ รายละเอยี ดและบอกสาระสำคญั ตง้ั คำถาม ตอบคำถาม รวมท้งั พดู แสดงความคิดความรูส้ ึก เกย่ี วกับเร่ืองท่ฟี งั และดู พูดส่ือสารเลา่ ประสบการณ์และพูดแนะนำ หรอื พูดเชิญชวนใหผ้ ู้อนื่ ปฏิบัตติ าม และมี มารยาทในการฟัง ดู และพูด • สะกดคำและเข้าใจความหมายของคำ ความแตกต่างของคำและพยางค์ หน้าท่ขี องคำ ในประโยค มี ทักษะการใช้พจนานุกรมในการคน้ หาความหมายของคำ แตง่ ประโยคง่ายๆ แต่ง คำคล้องจอง แตง่ คำขวญั และเลือกใชภ้ าษาไทยมาตรฐานและภาษาถน่ิ ไดเ้ หมาะสมกบั กาลเทศะ • เขา้ ใจและสามารถสรปุ ขอ้ คิดที่ได้จากการอา่ นวรรณคดีและวรรณกรรมเพ่อื นำไปใชใ้ นชีวติ ประจำวัน แสดงความคิดเห็นจากวรรณคดีท่อี ่าน ร้จู ักเพลงพน้ื บา้ น เพลงกล่อมเด็ก ซง่ึ เป็นวัฒนธรรมของทอ้ งถิน่ ร้องบท รอ้ งเลน่ สำหรบั เดก็ ในท้องถน่ิ ท่องจำบทอาขยานและบทรอ้ ยกรอง ทมี่ คี ุณคา่ ตามความสนใจได้ จบชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๖ • อา่ นออกเสียงบทรอ้ ยแกว้ และบทร้อยกรองเปน็ ทำนองเสนาะไดถ้ ูกตอ้ ง อธบิ ายความหมายโดยตรง และความหมายโดยนัยของคำ ประโยค ข้อความ สำนวนโวหาร จากเรื่องทีอ่ ่าน เขา้ ใจคำแนะนำ คำอธบิ ายใน คู่มอื ตา่ งๆ แยกแยะขอ้ คิดเห็นและข้อเทจ็ จรงิ รวมท้ังจับใจความสำคัญของเรอ่ื งทอี่ า่ นและนำความรคู้ วามคดิ จาก เรือ่ งทีอ่ ่านไปตัดสนิ ใจแก้ปัญหาในการดำเนินชีวติ ได้ มารยาทและมนี สิ ยั รกั การอ่าน และเห็นคณุ คา่ สง่ิ ท่ีอา่ น • มีทักษะในการคัดลายมือตวั บรรจงเต็มบรรทัดและครงึ่ บรรทัด เขยี นสะกดคำ แตง่ ประโยคและเขยี น ขอ้ ความ ตลอดจนเขียนสอ่ื สารโดยใชถ้ อ้ ยคำชดั เจนเหมาะสม ใชแ้ ผนภาพ โครงเรือ่ งและแผนภาพความคิด เพอื่ พฒั นางานเขียน เขยี นเรยี งความ ยอ่ ความ จดหมายส่วนตวั กรอกแบบรายการต่างๆ เขยี นแสดง ความรู้สกึ และความคิดเหน็ เขยี นเรอ่ื งตามจินตนาการอยา่ งสร้างสรรค์ และมมี ารยาทในการเขียน • พูดแสดงความรู้ ความคิดเกย่ี วกบั เร่อื งที่ฟงั และดู เล่าเรื่องยอ่ หรอื สรปุ จากเรือ่ งทฟ่ี งั และดู ตง้ั คำถาม ตอบคำถามจากเรอื่ งทีฟ่ งั และดู รวมทงั้ ประเมินความน่าเชอ่ื ถือจากการฟังและดูโฆษณาอยา่ งมเี หตผุ ล พูดตามลำดบั ขน้ั ตอนเรอื่ งต่างๆ อย่างชดั เจน พูดรายงานหรือประเด็นค้นควา้ จาก การฟงั การดู การ สนทนา และพูดโนม้ นา้ วไดอ้ ย่างมีเหตผุ ล รวมทั้งมีมารยาทในการดูและพูด • สะกดคำและเขา้ ใจความหมายของคำ สำนวน คำพังเพยและสุภาษติ รแู้ ละเขา้ ใจ ชนิดและ หนา้ ท่ขี องคำในประโยค ชนดิ ของประโยค และคำภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย ใช้ คำราชาศัพทแ์ ละคำ สภุ าพได้อยา่ งเหมาะสม แต่งประโยค แตง่ บทร้อยกรองประเภทกลอนสี่ กลอนสุภาพ และกาพยย์ านี ๑๑ • เขา้ ใจและเหน็ คุณคา่ วรรณคดีและวรรณกรรมทอี่ า่ น เลา่ นทิ านพืน้ บ้าน รอ้ งเพลงพน้ื บา้ นของ ทอ้ งถ่ิน นำข้อคิดเห็นจากเรื่องท่อี ่านไปประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตจรงิ และท่องจำบทอาขยานตามทีก่ ำหนดได้ สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ สาระที่ ๑ การอ่าน มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความร้แู ละความคิดเพอื่ นำไปใชต้ ัดสนิ ใจ แกป้ ญั หาในการ ดำเนนิ ชวี ติ และมีนิสยั รกั การอ่าน สาระที่ ๒ การเขยี น มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขยี นเขยี นสื่อสาร เขยี นเรียงความ ยอ่ ความ และเขยี นเรอื่ งราวใน รปู แบบต่างๆ เขยี นรายงานขอ้ มลู สารสนเทศและรายงานการศกึ ษาค้นควา้ อยา่ งมีประสิทธิภาพ
๑๗ สาระที่ ๓ การฟัง การดู และการพูด มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดอู ย่างมวี ิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคดิ และ ความรสู้ ึกในโอกาสต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณและสรา้ งสรรค์ สาระที่ ๔ หลักการใช้ภาษาไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปล่ยี นแปลงของภาษาและพลังของ ภาษา ภูมปิ ัญญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบตั ขิ องชาติ สาระท่ี ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วจิ ารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเหน็ คณุ ค่าและ นำมาประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตจริง ตวั ช้วี ัด ตวั ชว้ี ัดระบสุ งิ่ ท่นี ักเรยี นพึงรแู้ ละปฏบิ ัตไิ ด้ รวมทั้งคุณลักษณะของผเู้ รียนในแต่ละระดับชั้น ซง่ึ สะทอ้ นถึง มาตรฐานการเรยี นรู้ มคี วามเฉพาะเจาะจงและมคี วามเปน็ รปู ธรรม นำไปใช้ในการกำหนดเนอ้ื หา จดั ทำหน่วยการ เรียนรู้ จัดการเรียนการสอน และเป็นเกณฑ์สำคญั สำหรับการวดั ประเมนิ ผลเพือ่ ตรวจสอบคุณภาพผ้เู รียน ตวั ชว้ี ัดชั้นปี เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผเู้ รยี นแต่ละชัน้ ปใี นระดบั การศกึ ษาภาคบังคับ หลักสตู รได้มีการกำหนดรหัสกำกบั มาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละตัวชว้ี ดั เพ่อื ความเข้าใจและใหส้ ื่อสารตรงกัน ดงั น้ี ท ๑.๑ ป. ๑/๒ ป.๑/๒ ตัวชี้วัดชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ ขอ้ ท่ี ๒ ๑.๑ สาระที่ ๑ มาตรฐานข้อที่ ๑ ท กล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย
๑๘ ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรแู้ กนกลางและสาระการเรยี นรู้ท้องถิ่น ตัวชว้ี ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง และสาระการเรยี นรทู้ อ้ งถิน่ ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 1 สาระท่ี ๑ การอ่าน มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอา่ นสร้างความร้แู ละความคิดเพ่อื นำไปใช้ตดั สินใจ แกป้ ญั หาในการดำเนนิ ชวี ติ และมนี สิ ัยรกั การอ่าน ชน้ั ตัวชีว้ ัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง สาระการเรยี นรู้ท้องถิน่ ป.๑ ๑. อ่านออกเสียงคำ คำคลอ้ ง การอา่ นออกเสยี งและบอก - อา่ นออกเสยี งคำข้อความ จอง และข้อความสัน้ ๆ ความหมายของคำ คำคล้อง ประเพณีแซนโฎนตา ๒. บอกความหมายของคำ และ จอง และข้อความที่ - บอกความหมายประเพณี ขอ้ ความที่อา่ น ประกอบดว้ ย คำพ้ืนฐาน แซนโฎนตา คอื คำที่ใชใ้ นชีวิตประจำวนั ไมน่ ้อยกว่า ๖๐๐ คำ รวมท้งั คำท่ใี ช้เรียนรู้ใน กลมุ่ สาระการเรียนรอู้ ่ืน ประกอบดว้ ย - คำที่มรี ูปวรรณยกุ ตแ์ ละไม่ มีรปู วรรณยกุ ต์ - คำที่มีตัวสะกดตรงตาม มาตราและไม่ตรงตาม มาตรา - คำทีม่ ีพยญั ชนะควบกลำ้ - คำทม่ี อี ักษรนำ ๓. ตอบคำถามเกี่ยวกบั เรื่องที่ การอา่ นจบั ใจความจากสื่อ - ตอบคำถามเก่ยี วกบั อา่ น ต่างๆ เช่น ประเพณแี ซนโฎนตา ๔. เล่าเร่อื งย่อจากเร่ืองทอ่ี ่าน - นิทาน - ลำดับเหตุการณข์ องเร่อื ง ๕. คาดคะเนเหตุการณจ์ าก - เร่อื งสนั้ ๆ - การคาดคะเนเหตุการณ์ เร่ืองทีอ่ า่ น - บทร้องเลน่ และบทเพลง - เร่ืองราวจากบทเรียนใน กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทยและกลมุ่ สาระ การเรียนรอู้ ื่น ๖. อ่านหนงั สือตามความสนใจ การอา่ นหนงั สอื ตามความ - อา่ นเร่ืองตามความสนใจ อยา่ งสมำ่ เสมอและนำเสนอ สนใจ เชน่ จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ เร่ืองที่อ่าน - หนงั สอื ท่นี ักเรยี นสนใจ และเหมาะสมกับวยั
๑๙ ชั้น ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรทู้ ้องถน่ิ - หนังสือที่ครูและนักเรียน กำหนดร่วมกัน ๗. บอกความหมายของ การอ่านเครอื่ งหมายหรือ -บอกความหมายของ เครือ่ งหมายหรือสัญลกั ษณ์ สัญลักษณ์ ประกอบดว้ ย เคร่ืองเซน่ ไหวใ้ นประเพณี - เครื่องหมายสัญลักษณ์ แซนโฎนตา สำคญั ทม่ี กั พบเหน็ ใน ชีวิตประจำวัน ตา่ งๆ ท่พี บเห็นใน ชวี ติ ประจำวนั - เครือ่ งหมายแสดงความ ปลอดภัยและแสดง อนั ตราย ๘. มมี ารยาท ในการอ่าน มารยาทในการอ่าน เช่น - มารยาทในการอ่าน - ไมอ่ ่านเสียงดังรบกวนผอู้ ่ืน - ไมเ่ ล่นกนั ขณะที่อ่าน - ไมท่ ำลายหนงั สือ สาระท่ี ๒ การเขยี น มาตรฐาน ท ๒.๑ ใชก้ ระบวนการเขียนเขยี นสอ่ื สาร เขียนเรยี งความ ยอ่ ความ และเขียนเร่อื งราวในรูปแบบ ตา่ งๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศกึ ษาคน้ คว้าอย่างมีประสทิ ธิภาพ ช้ัน ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ทอ้ งถ่นิ ป.๑ ๑. คัดลายมือตัวบรรจงเตม็ การคัดลายมอื ตวั บรรจง - คัดลายมอื คำ วลี บรรทดั เตม็ บรรทัดตามรปู แบบการ ประโยค ท่กี ำหนดให้ เขยี นตัวอกั ษรไทย ๒. เขยี นส่ือสารด้วยคำและ การเขยี นสื่อสาร - เขยี นอธิบายภาพ ประโยคง่ายๆ - คำที่ใช้ในชีวิตประจำวัน - คำพนื้ ฐานในบทเรียน - คำคล้องจอง - ประโยคง่ายๆ ๓. มีมารยาทในการเขยี น มารยาทในการเขียน เชน่ มารยาทในการเขียน - เขียนใหอ้ า่ นง่าย สะอาด ไมข่ ดี ฆ่า - ไมข่ ีดเขียนในที่สาธารณะ - ใชภ้ าษาเขยี นเหมาะสมกบั เวลา สถานที่ และบุคคล
๒๐ สาระท่ี ๓ การฟงั การดู และการพูด มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟงั และดอู ยา่ งมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคดิ และความรู้สกึ ใน โอกาสตา่ งๆ อยา่ งมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์ ชน้ั ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรียนรู้ทอ้ งถิ่น ป.๑ ๑. ฟังคำแนะนำ คำสงั่ ง่ายๆ และ การฟงั และปฏบิ ัติตาม - ฟังเรือ่ งประเพณแี ซนโฎน ปฏบิ ัติตาม คำแนะนำ คำสง่ั ง่ายๆ ตา ๒. ตอบคำถามและเล่าเรือ่ งที่ การจบั ใจความและพูด - จบั ใจความเร่อื งทฟ่ี ังและดู ฟังและดู ทั้งทีเ่ ปน็ ความรู้ แสดงความคิดเห็น - พดู แสดงความคิดเรื่องทฟ่ี งั และความบนั เทิง ความรู้สึกจากเรอ่ื งทีฟ่ งั และ และดู ๓. พูดแสดงความคดิ เหน็ และ ดู ทั้งทเี่ ปน็ ความรแู้ ละความ ความรสู้ กึ จากเร่อื งทฟ่ี งั และ บนั เทิง เชน่ ดู - เร่อื งเล่าและสารคดีสำหรับ เดก็ - นิทาน - การ์ตนู - เรื่องขบขนั ๔. พูดสอ่ื สารไดต้ าม การพดู สอื่ สารใน - การพูดสอ่ื สารด้วยภาษาถ่นิ วตั ถุประสงค์ ชีวติ ประจำวัน เช่น ในชีวติ ประจำวัน - การแนะนำตนเอง - การแนะนำตนเอง - การขอความช่วยเหลอื - การขอความช่วยเหลือ - การกลา่ วคำขอบคุณ - การกล่าวคำขอบคุณ - การกล่าวคำขอโทษ - การกลา่ วคำขอโทษ ๕. มีมารยาทในการฟัง การดู มารยาทในการฟัง เช่น - มารยาทในการฟัง และการพูด - ตงั้ ใจฟงั ตามองผู้พดู - ตง้ั ใจฟงั ตามองผู้พูด - ไม่รบกวนผ้อู น่ื ขณะท่ฟี ัง - ไม่รบกวนผ้อู นื่ ขณะทีฟ่ งั - ไม่ควรนำอาหารหรือ - ไมค่ วรนำอาหารหรือ เคร่ืองดืม่ ไปรับประทาน เครื่องดื่มไปรับประทาน ขณะทฟ่ี ัง ขณะทฟี่ ัง - ใหเ้ กยี รติผ้พู ดู ด้วยการ - ให้เกยี รติผพู้ ูดดว้ ยการ ปรบมือ ปรบมอื - ไมพ่ ูดสอดแทรกขณะทีฟ่ งั - ไมพ่ ดู สอดแทรกขณะทฟี่ งั มารยาทในการดู เช่น - ตง้ั ใจดู - ไม่สง่ เสียงดงั หรอื แสดง อาการรบกวนสมาธิของ ผูอ้ ื่น
๒๑ ชัน้ ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถ่ิน มารยาทในการพดู เชน่ - ใช้ถอ้ ยคำและกริ ิยาท่ี สภุ าพ เหมาะสมกับ กาลเทศะ - ใช้น้ำเสียงนมุ่ นวล - ไมพ่ ูดสอดแทรกในขณะที่ ผอู้ ื่นกำลงั พดู สาระที่ ๔ หลกั การใช้ภาษาไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทยการเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิ ปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ ชน้ั ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิน่ ป.๑ ๑. บอกและเขียนพยญั ชนะ พยัญชนะ สระ และ - บอกจำนวน ๑-๑๐ เปน็ วรรณยกุ ต์ ภาษาเขมร สระ วรรณยกุ ต์ และเลข เลขไทย ไทย การสะกดคำ การแจกลกู - เขยี นจำนวน ๑-๑๐ เปน็ ๒. เขยี นสะกดคำและบอก และการอา่ นเป็นคำ ภาษาเขมร ความหมาย ของคำ มาตราตวั สะกดท่ีตรงตาม - แจกลูกสะกดคำ ๑-๑๐ เป็น ภาษาเขมร ๓. เรียบเรยี งคำเป็นประโยค มาตราและไม่ตรงตาม งา่ ย ๆ มาตรา -แตง่ ประโยคจากคำท่ี ๔. ตอ่ คำคลอ้ งจองงา่ ยๆ การผันคำ กำหนดให้ สาระท่ี ๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรม ความหมายของคำ - ตอ่ คำคลอ้ งจองงา่ ยๆ การแต่งประโยค คำคลอ้ งจอง มาตรฐาน ท ๕.๑ เขา้ ใจและแสดงความคดิ เห็น วิจารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมไทยอยา่ งเหน็ คณุ คา่ และนำมา ประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตจรงิ ชน้ั ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถนิ่ ป.๑ ๑. บอกขอ้ คดิ ที่ได้จากการอา่ น วรรณกรรมร้อยแกว้ และ - ขอ้ คิดจากเรื่องประเพณี หรอื การฟังวรรณกรรมร้อย รอ้ ยกรองสำหรบั เดก็ เช่น แซนโฎนตา แก้วและรอ้ ยกรองสำหรบั - นทิ าน เด็ก - เรอ่ื งสนั้ ง่ายๆ - ปรศิ นาคำทาย
๒๒ ช้นั ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง สาระการเรียนรู้ทอ้ งถิ่น - บทร้องเล่น - บทอาขยาน - บทร้อยกรอง - วรรณคดีและวรรณกรรม ในบทเรยี น ๒. ท่องจำบทอาขยานตามท่ี บทอาขยานและบทร้อย - ทอ่ งจำคำคล้องจองใน กำหนด และบทรอ้ ยกรอง กรอง ทอ้ งถ่นิ ตามความสนใจ - บทอาขยานตามทก่ี ำหนด - บทรอ้ ยกรองตามความ สนใจ ตัวช้วี ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลางและสาระการเรยี นรู้ท้องถน่ิ ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 2 สาระที่ ๑ การอ่าน มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอ่านสร้างความรแู้ ละความคดิ เพื่อนำไปใช้ตัดสนิ ใจ แกป้ ญั หาในการดำเนินชีวติ และมีนิสัยรกั การอา่ น ช้นั ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรียนรทู้ อ้ งถิ่น ป.๒ ๑. อ่านออกเสยี งคำ คำคลอ้ ง การอา่ นออกเสียงและการ จอง ข้อความ และบทรอ้ ย บอกวามหมายของคำ คำ กรองงา่ ยๆ ได้ถกู ต้อง คล้องจอง ขอ้ ความ และบท ๒. อธิบายความหมายของคำ ร้อยกรองง่ายๆ ที่ และข้อความที่อ่าน ประกอบดว้ ยคำพ้นื ฐานเพิ่ม จาก ป. ๑ ไม่น้อยกว่า ๘๐๐ คำ รวมทง้ั คำทใ่ี ช้ เรียนรใู้ นกลมุ่ สาระการเรียนรู้ อน่ื ประกอบดว้ ย - คำทม่ี รี ปู วรรณยกุ ตแ์ ละไม่ มรี ปู วรรณยกุ ต์ - คำท่ีมีตัวสะกดตรงตาม มาตราและไม่ตรงตาม มาตรา - คำทม่ี ีพยัญชนะควบกลำ้ - คำที่มอี ักษรนำ - คำท่ีมตี วั การันต์ - คำท่ีมี รร - คำทม่ี พี ยญั ชนะและสระที่ ไมอ่ อกเสียง
๒๓ ช้ัน ตวั ชวี้ ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรียนรทู้ อ้ งถิ่น ๓. ตั้งคำถามและตอบคำถาม การอา่ นจบั ใจความจากส่ือ เก่ยี วกบั เรื่อง ต่างๆ เช่น ท่ีอา่ น - นทิ าน ๔. ระบใุ จความสำคญั และ - เรอื่ งเล่าส้ัน ๆ รายละเอียดจากเร่อื งทอ่ี า่ น - บทเพลงและบทร้อยกรอง ๕. แสดงความคิดเหน็ และ งา่ ยๆ คาดคะเนเหตกุ ารณ์จาก - เรอ่ื งราวจากบทเรยี นใน เรือ่ งท่อี ่าน กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย และกลุ่มสาระ การเรียนรอู้ ่นื - ขา่ วและเหตุการณ์ ประจำวัน ๖. อ่านหนงั สอื ตามความสนใจ การอ่านหนังสอื ตามความ อยา่ งสมำ่ เสมอและนำเสนอ สนใจ เชน่ เร่อื งทอี่ ่าน - หนงั สอื ที่นกั เรยี นสนใจ และเหมาะสมกับวัย - หนังสือท่คี รูและนักเรยี น กำหนดรว่ มกนั ๗. อา่ นข้อเขยี นเชิงอธิบาย การอ่านข้อเขยี นเชิงอธบิ าย และปฏบิ ตั ิตามคำสัง่ หรือ และปฏิบัติตามคำสั่งหรือ ข้อแนะนำ ข้อแนะนำ - การใชส้ ถานท่ีสาธารณะ - คำแนะนำการใช้เครอ่ื งใช้ ที่จำเปน็ ในบ้านและใน โรงเรยี น ๘. มีมารยาทในการอา่ น มารยาทในการอา่ น เชน่ - ไม่อา่ นเสยี งดังรบกวนผูอ้ ื่น - ไม่เล่นกันขณะท่ีอา่ น - ไม่ทำลายหนังสอื - ไม่ควรแย่งอา่ นหรอื ชะโงก หน้าไปอ่านขณะทผี่ อู้ น่ื กำลงั อา่ นอยู่
๒๔ สาระท่ี ๒ การเขยี น มาตรฐาน ท ๒.๑ ใชก้ ระบวนการเขยี นเขียนสอื่ สาร เขียนเรยี งความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรปู แบบ ตา่ งๆ เขยี นรายงานขอ้ มูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคน้ ควา้ อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ชน้ั ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรียนรู้ทอ้ งถ่ิน ป.๒ ๑. คัดลายมือตวั บรรจงเตม็ การคัดลายมอื ตัวบรรจงเตม็ บรรทดั บรรทัดตามรูปแบบการ เขยี นตวั อักษรไทย ๒. เขียนเรอื่ งสั้นๆ เก่ยี วกับ ประสบการณ์ การเขียนเรอ่ื งสั้นๆ เกยี่ วกับ ๓. เขียนเรือ่ งส้นั ๆ ตาม ประสบการณ์ จนิ ตนาการ ๔. มีมารยาทในการเขยี น การเขยี นเรื่องสน้ั ๆ ตาม จินตนาการ มารยาทในการเขยี น เช่น - เขียนให้อ่านง่าย สะอาด ไม่ ขดี ฆา่ - ไมข่ ีดเขยี นในท่ีสาธารณะ - ใช้ภาษาเขียนเหมาะสมกบั เวลา สถานที่ และบคุ คล - ไม่เขียนล้อเลียนผ้อู นื่ หรือทำ ให้ผู้อน่ื เสียหาย สาระท่ี ๓ การฟัง การดู และการพูด มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลอื กฟงั และดอู ย่างมวี จิ ารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคดิ และความรูส้ กึ ในโอกาส ตา่ งๆ อย่างมีวจิ ารณญาณและสร้างสรรค์ ชั้น ตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นร้ทู อ้ งถ่ิน ป.๒ ๑. ฟงั คำแนะนำ คำสงั่ ที่ซบั ซอ้ น การฟงั และปฏิบัตติ าม และปฏิบตั ติ าม คำแนะนำ คำสงั่ ท่ีซับซอ้ น ๒. เลา่ เร่ืองทฟี่ ังและดทู ัง้ ทเี่ ปน็ การจบั ใจความและพดู ความร้แู ละความบันเทงิ แสดงความคดิ เห็น ๓. บอกสาระสำคญั ของเรอื่ งที่ ความรูส้ ึกจากเร่อื งท่ฟี งั ฟงั และดู และดู ท้งั ที่เปน็ ความรแู้ ละ ๔. ตง้ั คำถามและตอบคำถาม ความบนั เทงิ เชน่ เกย่ี วกบั เร่ืองทฟ่ี ังและดู - เร่ืองเล่าและสารคดสี ำหรบั เด็ก - นทิ าน การต์ นู และเรื่อง ขบขนั ๕. พูดแสดงความคดิ เห็นและ - รายการสำหรับเดก็ ความรสู้ ึกจากเรือ่ งที่ฟงั และ - ข่าวและเหตกุ ารณป์ ระจำวัน ดู - เพลง
๒๕ ชั้น ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถิ่น ๖. พูดสือ่ สารไดช้ ัดเจนตรงตาม การพดู สอ่ื สารใน วัตถุประสงค์ ชวี ิตประจำวนั เชน่ - การแนะนำตนเอง - การขอความช่วยเหลือ - การกลา่ วคำขอบคณุ - การกลา่ วคำขอโทษ - การพูดขอร้องในโอกาส ตา่ งๆ - การเล่าประสบการณ์ใน ชีวิตประจำวัน ๗. มมี ารยาทในการฟงั การดู มารยาทในการฟงั เชน่ และการพูด - ตัง้ ใจฟัง ตามองผู้พูด - ไมร่ บกวนผูอ้ น่ื ขณะทีฟ่ ัง - ไมค่ วรนำอาหารหรอื เคร่ืองด่มื ไปรับประทาน ขณะที่ฟัง - ไมพ่ ดู สอดแทรกขณะท่ีฟัง มารยาทในการดู เช่น - ตง้ั ใจดู - ไมส่ ง่ เสียงดงั หรอื แสดง อาการรบกวนสมาธิของผูอ้ นื่ มารยาทในการพูด เช่น - ใชถ้ ้อยคำและกริ ิยาท่ีสุภาพ เหมาะสมกับกาลเทศะ - ใชน้ ำ้ เสียงนุม่ นวล - ไม่พูดสอดแทรกในขณะที่ ผู้อ่นื กำลงั พดู - ไม่พดู ล้อเลยี นให้ผู้อื่นได้รับ ความอบั อายหรือเสียหาย สาระท่ี ๔ หลกั การใชภ้ าษาไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลงั ของภาษา ภมู ิ ปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบัติของชาติ ชน้ั ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรียนรู้ทอ้ งถ่นิ ป.๒ ๑. บอกและเขียนพยัญชนะ สระ พยญั ชนะ สระ และ วรรณยุกต์ และเลขไทย วรรณยกุ ต์
๒๖ ช้นั ตวั ช้วี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นร้ทู อ้ งถิ่น เลขไทย ๒. เขียนสะกดคำและบอก การสะกดคำ การแจกลกู ความหมาย ของคำ และการอ่านเปน็ คำ มาตราตัวสะกดทตี่ รงตาม มาตราและไม่ตรงตาม มาตรา การผันอกั ษรกลาง อักษรสูง และอกั ษรต่ำ คำทม่ี ตี วั การันต์ คำท่ีมพี ยัญชนะควบกลำ้ คำท่มี อี กั ษรนำ คำที่มคี วามหมายตรงข้าม กัน คำที่มี รร ความหมายของคำ ๓. เรยี บเรียงคำเป็นประโยคได้ การแตง่ ประโยค ตรงตามเจตนาของการ การเรียบเรยี งประโยคเปน็ สอื่ สาร ขอ้ ความสน้ั ๆ ๔. บอกลกั ษณะคำคลอ้ งจอง คำคลอ้ งจอง ๕. เลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐาน ภาษาไทยมาตรฐาน ภาษาถนิ่ สรุ นิ ทร์ (เขมรถนิ่ ไทย และ ภาษาถิน่ ไดเ้ หมาะสม ภาษาถิ่น ,กูย,ลาว) ภาษาถิ่นในบทร้อง กบั กาลเทศะ เล่น ฯลฯ สาระท่ี ๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรม มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคดิ เห็น วจิ ารณ์วรรณคดแี ละวรรณกรรมไทยอยา่ งเห็นคุณค่าและนำมา ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตจรงิ ชน้ั ตวั ช้วี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถ่นิ ป.๒ ๑. ระบุข้อคิดท่ีได้จากการอา่ น วรรณกรรมร้อยแก้วและร้อย - นทิ านพนื้ บา้ นสุรินทร์ หรือ การฟังวรรณกรรม กรองสำหรบั เด็ก เช่น - ปริศนาคำทาย (เขมรถ่ินไทย สำหรับเดก็ เพื่อนำไปใช้ใน - นทิ าน ,กยู ,ลาว) - บทรอ้ ยกรอง ชีวิตประจำวนั - เรอื่ งส้ันง่ายๆ ประจำอำเภอ/จงั หวัด - ปริศนาคำทาย สุรนิ ทร์ - บทอาขยาน - บทร้อยกรอง - วรรณคดีและวรรณกรรม ในบทเรยี น
๒๗ ช้นั ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรียนรู้ทอ้ งถิ่น ๒. ร้องบทรอ้ งเล่นสำหรบั เดก็ ใน บทร้องเล่นที่มคี ุณคา่ บทรอ้ งเลน่ ที่มคี ุณคา่ ทอ้ งถน่ิ - บทร้องเลน่ ในทอ้ งถ่นิ - บทร้องเลน่ ในท้องถ่ิน - บทรอ้ งเล่นในการละเลน่ - บทรอ้ งเลน่ ในการละเลน่ ของเดก็ ไทย ของเดก็ ไทย ๓. ท่องจำบทอาขยานตามท่ี บทอาขยานและบทร้อยกรอง กำหนด และบทรอ้ ยกรองท่มี ี ทม่ี คี ุณคา่ คณุ ค่าตามความสนใจ - บทอาขยานตามท่กี ำหนด - บทร้อยกรองตามความ สนใจ ตวั ชวี้ ดั / สาระการเรยี นรู้แกนกลาง/สาระการเรยี นรู้ท้องถนิ่ ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 3 สาระท่ี ๑ การอา่ น มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความร้แู ละความคดิ เพื่อนำไปใช้ตดั สนิ ใจ แกป้ ัญหาในการดำเนนิ ชีวิต และมนี ิสัยรกั การอา่ น ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรยี นร้ทู อ้ งถน่ิ ๑. อ่านออกเสยี งคำ ขอ้ ความ การอ่านออกเสียงและการบอก คำคม คำคล้องจอง ภาษิตคำ เรื่องสัน้ ๆ และบทร้อยกรอง ความหมายของคำ คำคล้อง งา่ ยๆ ได้ถกู ต้อง คลอ่ งแคล่ว จอง ข้อความ และบทรอ้ ย สอน คำขวัญจงั หวัด-อำเภอ กรองง่ายๆ ทีป่ ระกอบด้วยคำ บทร้อยกรองประจำอำเภอและ ๒. อธบิ ายความหมายของคำและ จงั หวดั ข้อความที่อา่ น พ้ืนฐานเพม่ิ จาก ป.๒ ไม่นอ้ ย กวา่ ๑,๒๐๐ คำ รวมทั้งคำท่ี เรียนรใู้ นกลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืน ประกอบดว้ ย - คำที่มตี วั การนั ต์ - คำทีม่ ี รร - คำทีม่ พี ยัญชนะและสระไม่ ออกเสียง - คำพอ้ ง - คำพิเศษอืน่ ๆ เชน่ คำทใ่ี ช้ ฑ ฤ ฤๅ ๓. ต้ังคำถามและตอบ การอ่านจบั ใจความจากส่ือ - นิทานหรอื เรือ่ งเก่ยี วกับ คำถามเชิงเหตผุ ลเกี่ยวกับ ต่างๆ เช่น ทอ้ งถ่นิ สุรนิ ทร์ เช่น อา กะจลิ เร่อื งทีอ่ ่าน - นิทานหรือเรือ่ งเกี่ยวกบั แพ่ะห์, กระตา่ ยวาวทอ,กอนอา ทอ้ งถ่นิ จีงโขะ, หลวงพอ่ บกั มี่ ฯลฯ
๒๘ ตวั ช้วี ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรยี นร้ทู ้องถ่นิ ๔. ลำดับเหตกุ ารณแ์ ละคาดคะเน - เรอื่ งเล่าส้นั ๆ - บทเพลงและบทรอ้ ยกรอง นิทาน ตำนาน สารคดี เหตุการณจ์ ากเรื่องทอี่ ่านโดย - บทเรียนในกลุม่ สาระการ บทร้อยกรอง คำกาพย์ สรภัญญ์ ระบเุ หตุผลประกอบ เทศน์แหล่ ๕. สรปุ ความรูแ้ ละขอ้ คดิ จาก เร่ืองทอ่ี ่านเพ่อื นำไปใช้ใน เรียนรู้อ่นื ชวี ติ ประจำวัน - ขา่ วและเหตุการณ์ใน ชวี ติ ประจำวันในทอ้ งถ่นิ และ ชุมชน ๖. อา่ นหนังสอื ตามความสนใจ การอา่ นหนงั สอื ตามความสนใจ เพลงกลอ่ มเด็ก บทร้องเล่น อยา่ งสม่ำเสมอและนำเสนอ เชน่ เพลงกนั ตรมึ เพลงเบด็ เตล็ด เช่น เร่อื งทีอ่ ่าน เจรยี ง อายัย กะโน้บตงิ ตอง - หนงั สือทน่ี กั เรยี นสนใจและ เหมาะสมกับวยั - หนงั สือท่คี รูและนักเรียน กำหนดรว่ มกนั ๗. อา่ นข้อเขียนเชิงอธิบายและ การอ่านข้อเขียนเชิงอธิบาย ปฏบิ ัตติ ามคำสัง่ หรือ และปฏบิ ัตติ ามคำสงั่ หรือ ข้อแนะนำ ข้อแนะนำ - คำแนะนำตา่ งๆ ใน ชีวิตประจำวนั - ประกาศ ป้ายโฆษณา และคำ ขวัญ ๘. อธิบายความหมายของข้อมลู การอ่านขอ้ มูลจากแผนภาพ จากแผนภาพ แผนที่ และ แผนที่ และแผนภูมิ แผนภูมิ ๙. มมี ารยาทในการอ่าน มารยาทในการอา่ น เช่น - ไมอ่ า่ นเสยี งดังรบกวนผู้อ่นื - ไมเ่ ลน่ กันขณะท่ีอ่าน - ไม่ทำลายหนงั สอื - ไมค่ วรแยง่ อ่านหรอื ชะโงก หน้าไปอ่านขณะท่ีผู้อน่ื กำลงั อา่ น
๒๙ สาระท่ี ๒ การเขยี น มาตรฐาน ท ๒.๑ ใชก้ ระบวนการเขียนเขยี นสื่อสาร เขยี นเรยี งความ ยอ่ ความ และเขียนเรื่องราวในรปู แบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคน้ คว้าอย่างมีประสิทธิภาพ ตัวช้วี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถ่นิ ๑.คดั ลายมอื ตวั บรรจงเตม็ บรรทัด การคัดลายมอื ตวั บรรจงเตม็ บรรทดั ตามรปู แบบการเขียน ตวั อกั ษรไทย ๒ เขยี นบรรยายเกี่ยวกับสิ่งใดสิง่ การเขียนบรรยายเกย่ี วกับ หนึง่ ไดอ้ ย่างชดั เจน ลักษณะของ คน สัตว์ สง่ิ ของ สถานท่ี ๓. เขยี นบนั ทึกประจำวัน การเขยี นบันทกึ ประจำวนั ๔. เขยี นจดหมายลาครู การเขยี นจดหมายลาครู ๕. เขียนเร่ืองตามจนิ ตนาการ การเขียนเรอื่ งตามจินตนาการ จากคำ ภาพ และหวั ข้อท่ี กำหนด ๖. มีมารยาทในการเขียน มารยาทในการเขยี น เช่น - เขยี นใหอ้ ่านง่าย สะอาด ไม่ ขีดฆ่า - ไมข่ ดี เขียนในท่ีสาธารณะ - ใชภ้ าษาเขยี นเหมาะสมกบั เวลา สถานท่ี และบุคคล - ไม่เขยี นลอ้ เลยี นผอู้ นื่ หรือทำ ให้ผ้อู ื่นเสยี หาย สาระที่ ๓ การฟัง การดู และการพดู มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟงั และดอู ย่างมีวจิ ารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และความรู้สึกในโอกาส ต่างๆ อย่างมวี จิ ารณญาณและสร้างสรรค์ ตวั ชีว้ ดั สาระการเรียนร้แู กนกลาง สาระการเรียนรูท้ ้องถิ่น ๑. เลา่ รายละเอียดเก่ียวกับเรอ่ื งท่ี การจบั ใจความและพดู แสดง ฟังและดูทงั้ ทเ่ี ป็นความรแู้ ละ ความคดิ เหน็ และความรสู้ ึก ความบันเทิง จากเรื่องท่ฟี งั และดทู ง้ั ทเ่ี ป็น ๒. บอกสาระสำคัญจากการฟัง ความร้แู ละความบนั เทงิ เช่น และการดู - เรอื่ งเล่าและสารคดีสำหรับเดก็ ๓. ตง้ั คำถามและตอบคำถาม - นทิ าน การ์ตนู เรือ่ งขบขัน เกี่ยวกับเรื่องทีฟ่ งั และดู - รายการสำหรับเดก็ ๔. พูดแสดงความคดิ เหน็ และ - ขา่ วและเหตกุ ารณ์ในชวี ติ ความรสู้ กึ จากเร่อื งท่ีฟงั และดู ประจำวนั - เพลง ๕. พดู สือ่ สารได้ชดั เจนตรงตาม การพดู ส่อื สารในชวี ติ ประ วตั ถุประสงค์ จำวัน เชน่
๓๐ ตัวชว้ี ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรู้ท้องถ่ิน - การแนะนำตนเอง - การแนะนำสถานท่ีในโรงเรียน และในชุมชน - การแนะนำ/เชิญชวนเกย่ี วกับ การปฏิบตั ิตนในดา้ นตา่ งๆ เช่น การรกั ษาความสะอาดของ รา่ งกาย - การเล่าประสบการณ์ใน ชวี ิตประจำวัน - การพดู ในโอกาสตา่ งๆ เชน่ การ พูดขอรอ้ ง การพูดทกั ทาย การ กล่าวขอบคณุ และขอโทษ การพดู ปฏิเสธ และการพดู ชกั ถาม ๖. มมี ารยาทในการฟัง การดู และ มารยาทในการฟัง เชน่ การพูด - ตง้ั ใจฟัง ตามองผ้พู ดู - ไมร่ บกวนผู้อ่ืนขณะทฟ่ี ัง - ไม่ควรนำอาหารหรอื เครือ่ งดื่ม ไปรับประทานขณะ ที่ฟัง - ไมแ่ สดงกิรยิ าที่ไม่เหมาะ สม เชน่ โห่ ฮา หาว - ใหเ้ กียรตผิ ้พู ดู ด้วยการปรบมือ - ไม่พูดสอดแทรกขณะที่ฟงั มารยาทในการดู เชน่ - ตง้ั ใจดู - ไมส่ ง่ เสยี งดังหรอื แสดงอาการ รบกวนสมาธขิ องผูอ้ ื่น มารยาทในการพดู เช่น - ใช้ถอ้ ยคำและกริ ยิ าที่สุภาพ เหมาะสมกับกาลเทศะ - ใช้นำ้ เสยี งนุ่มนวล - ไมพ่ ูดสอดแทรกในขณะทผี่ ู้อน่ื กำลังพดู - ไมพ่ ูดลอ้ เลียนใหผ้ อู้ น่ื ได้รับความ อบั อายหรือเสียหาย
๓๑ สาระท่ี ๔ หลกั การใชภ้ าษาไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลักภาษาไทย การเปลีย่ นแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภมู ิ ปญั ญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบัตขิ องชาติ ตัวช้วี ดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง สาระการเรยี นรู้ท้องถน่ิ ๑. เขียนสะกดคำและบอก การสะกดคำ การแจกลกู และ ความหมาย ของคำ การอา่ นเปน็ คำ มาตราตัวสะกดที่ตรงตาม มาตราและไมต่ รงตามมาตรา ๒. ระบชุ นิดและหนา้ ที่ของคำใน การผนั อกั ษรกลาง อักษรสงู ประโยค และอักษรต่ำ คำทม่ี ีพยัญชนะควบกลำ้ คำท่ีมอี ักษรนำ คำที่ประวิสรรชนยี แ์ ละคำทไี่ ม่ ประวิสรรชนยี ์ คำทม่ี ี ฤ ฤๅ คำที่ใช้ บนั บรร คำทใ่ี ช้ รร คำท่มี ีตัวการนั ต์ ความหมายของคำ ๓. ระบชุ นิดและหนา้ ทีข่ องคำใน ชนิดของคำ ไดแ้ ก่ ประโยค - คำนาม - คำสรรพนาม - คำกรยิ า ๔.ใช้พจนานกุ รมคน้ หาความหมาย การใช้พจนานกุ รม ของคำ ๕. แต่งประโยคงา่ ยๆ การแต่งประโยคเพอื่ การสื่อสาร ได้แก่ - ประโยคบอกเล่า - ประโยคปฏิเสธ - ประโยคคำถาม - ประโยคขอรอ้ ง - ประโยคคำสั่ง ๖. แต่งคำคล้องจองและคำขวญั คำคลอ้ งจอง คำคล้องจอง คำขวัญโรงเรียน คำขวัญ ตำบล อำเภอ จังหวดั ๗. เลอื กใช้ภาษาไทยมาตรฐาน ภาษาไทยมาตรฐาน ภาษาถิน่ สุรนิ ทร์ (เขมรถิ่น และ ภาษาถนิ่ ไดเ้ หมาะสม ภาษาถนิ่ ไทย,กยู ,ลาว) ในนทิ าน บทรอ้ ง กบั กาลเทศะ เลน่ เพลงกล่อมเดก็ เพลง พน้ื บา้ น ปรศิ นาคำทาย ฯลฯ
๓๒ สาระที่ ๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรม มาตรฐาน ท ๕.๑ เขา้ ใจและแสดงความคิดเห็น วจิ ารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเหน็ คุณคา่ และนำมา ประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตจรงิ ตัวชีว้ ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถิ่น ๑. ระบุข้อคิดท่ีไดจ้ ากการอ่าน วรรณคดี วรรณกรรม และ - นิทานทอ้ งถนิ่ เช่น อาควะน็อง วรรณกรรมเพ่ือนำไปใชใ้ น เพลงพนื้ บา้ น อากก๊ื , ปวั ะก็องเกง็ , พอ่ ตากับ ชวี ติ ประจำวัน - นทิ านหรือเรอ่ื งในท้องถ่ิน ลกู เขย ฯลฯ ๒. รจู้ ักเพลงพน้ื บ้านและเพลง - เรือ่ งสน้ั งา่ ยๆ ปรศิ นาคำทาย - เพลงพื้นบ้าน เช่น ตกี องนำ้ , กล่อมเด็ก เพอื่ ปลกู ฝงั ความชนื่ - บทร้อยกรอง เซ้บิ เซ้ิบ, ปลอลาน ชมวัฒนธรรมทอ้ งถิน่ - เพลงพน้ื บ้าน - เพลงกล่อมเด็ก เช่น ๓. แสดงความคดิ เห็นเกยี่ วกบั - เพลงกลอ่ มเดก็ นอนสาหลา่ วรรณคดี ท่ีอ่าน - วรรณกรรมและวรรณคดีใน ยรู โกนเดก บดิ เดอ้ กนองา ฯลฯ บทเรียนและ ตามความ ๔. ท่องจำบทอาขยานตามที่ สนใจ กำหนดและบทร้อยกรองทม่ี ี คณุ คา่ ตามความสนใจ บทอาขยานและบทรอ้ ยกรองที่ มีคณุ คา่ - บทอาขยานตามท่กี ำหนด - บทรอ้ ยกรองตามความสนใจ ตวั ช้ีวดั สาระการเรียนรแู้ กนกลางและสาระการเรยี นรทู้ อ้ งถ่ิน ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 4 สาระท่ี ๑ การอ่าน มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอา่ นสรา้ งความรแู้ ละความคิดเพอ่ื นำไปใช้ตดั สนิ ใจ แก้ปญั หาในการดำเนิน ชวี ิต และมนี สิ ยั รักการอ่าน ช้ัน ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรียนรูท้ อ้ งถ่ิน ป.๔ ๑. อา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยแก้ว การอา่ นออกเสียงและการ และ บทรอ้ ยกรองได้ถกู ต้อง บอกความหมายของบทร้อย ๒. อธิบายความหมายของคำ แก้วและบทรอ้ ยกรองที่ ประโยค และสำนวนจาก ประกอบด้วย เรื่องทีอ่ า่ น - คำท่มี ี ร ล เปน็ พยญั ชนะต้น - คำทม่ี พี ยญั ชนะควบกลำ้ - คำทม่ี อี กั ษรนำ - คำประสม - อักษรย่อและเครื่องหมาย วรรคตอน - ประโยคทมี่ ีสำนวนเปน็ คำ พังเพย สภุ าษิต ปริศนาคำทาย และเครื่องหมายวรรคตอน
๓๓ ช้ัน ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรียนรูท้ อ้ งถิ่น การอ่านบทรอ้ ยกรองเป็น ทำนองเสนาะ ๓. อา่ นเรอ่ื งสนั้ ๆ ตามเวลาท่ี การอ่านจบั ใจความจากสอื่ กำหนดและตอบคำถามจาก ต่างๆ เช่น เรอื่ งที่อ่าน - เรอ่ื งสัน้ ๆ ๔. แยกขอ้ เท็จจริงและ - เรอ่ื งเล่าจากประสบการณ์ ขอ้ คดิ เหน็ จากเรือ่ งที่อ่าน - นิทานชาดก ๕. คาดคะเนเหตุการณ์จากเร่อื ง - บทความ ท่ีอ่านโดยระบุเหตุผล - บทโฆษณา ประกอบ - งานเขียนประเภทโนม้ นา้ วใจ ๖. สรปุ ความรูแ้ ละข้อคดิ จาก - ขา่ วและเหตุการณ์ประจำวัน เรอื่ งที่อ่านเพื่อนำไปใชใ้ น - สารคดแี ละบันเทงิ คดี ชวี ติ ประจำวัน ๗. อ่านหนงั สอื ที่มคี ุณค่าตาม การอา่ นหนังสอื ตามความ ความสนใจอยา่ งสม่ำเสมอ สนใจ เชน่ และแสดงความคิดเห็น - หนงั สอื ทน่ี ักเรียนสนใจ เกย่ี วกบั เรือ่ งท่ีอา่ น และเหมาะสมกับวัย - หนังสือที่ครูและนักเรียน กำหนดร่วมกัน ๘. มีมารยาทในการอา่ น มารยาทในการอ่าน สาระท่ี ๒ การเขยี น มาตรฐาน ท ๒.๑ ใชก้ ระบวนการเขียนเขียนส่อื สาร เขยี นเรยี งความ ย่อความ และเขยี นเร่ืองราวในรปู แบบต่างๆ เขยี นรายงานขอ้ มูลสารสนเทศและรายงานการศกึ ษาคน้ คว้าอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ช้ัน ตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง สาระการเรียนรู้ทอ้ งถ่นิ ป.๔ ๑. คดั ลายมือตวั บรรจงเต็ม การคัดลายมอื ตวั บรรจงเต็ม บรรทดั และครึง่ บรรทัด บรรทดั และครงึ่ บรรทัดตาม รูปแบบการเขยี นตวั อักษรไทย ๒. เขยี นสอื่ สารโดยใช้คำได้ การเขยี นสือ่ สาร เช่น ถกู ต้องชดั เจน และ - คำขวญั เหมาะสม - คำแนะนำ ๓. เขยี นแผนภาพโครงเรือ่ ง การนำแผนภาพโครงเร่อื ง และแผนภาพความคิดเพ่อื และแผนภาพความคิดไป ใช้พัฒนางานเขยี น พฒั นางานเขียน
๓๔ ชนั้ ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง สาระการเรียนรู้ทอ้ งถนิ่ ๔. เขยี นย่อความจากเรื่อง ส้นั ๆ การเขยี นย่อความจากสอื่ ตา่ งๆ เช่น นิทาน ความ ๕. เขยี นจดหมายถึงเพอ่ื น เรียงประเภทต่างๆ และบดิ ามารดา ประกาศ จดหมาย คำ สอน การเขยี นจดหมายถงึ เพือ่ นและบิดามารดา ๖. เขยี นบันทกึ และเขียน การเขียนบันทกึ และเขยี น รายงานจากการศึกษา รายงานจากการศกึ ษา ค้นควา้ คน้ ควา้ ๗. เขียนเรือ่ งตามจนิ ตนาการ การเขียนเร่อื งตาม จินตนาการ ๘. มีมารยาทในการเขยี น มารยาทในการเขยี น สาระที่ ๓ การฟงั การดู และการพูด มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลอื กฟังและดูอย่างมวี ิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และความรูส้ ึกในโอกาส ต่างๆ อย่างมวี ิจารณญาณและสร้างสรรค์ ชัน้ ตวั ช้ีวัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถิน่ ป.๔ ๑. จำแนกข้อเท็จจริงและ การจำแนกข้อเทจ็ จรงิ และ ข้อคดิ เหน็ จากเร่ืองที่ฟังและ ขอ้ คิดเหน็ จากเรอื่ งทฟ่ี ังและ ดู ดู ในชีวิตประจำวัน ๒. พดู สรปุ ความจากการฟัง การจับใจความ และการพูด และดู แสดงความรู้ ความคิดใน ๓. พดู แสดงความรู้ ความ เรื่องทฟี่ งั และดู จากส่ือ คดิ เห็น และ ต่างๆ เช่น ความร้สู กึ เก่ียวกบั เรื่องทฟี่ ัง - เรอื่ งเล่า และดู - บทความสัน้ ๆ ๔. ตง้ั คำถามและตอบคำถาม - ขา่ วและเหตุการณป์ ระจำวนั เชิงเหตผุ ลจากเรอื่ งทฟ่ี ังและ - โฆษณา ดู - ส่อื อิเลก็ ทรอนิกส์ - เรื่องราวจากบทเรียนกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย และกลุม่ สาระการเรยี นรอู้ ่ืน
๓๕ ชน้ั ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถิน่ ๕. รายงานเร่ืองหรือประเด็นที่ การรายงาน เชน่ ศึกษาค้นคว้าจากการฟงั - การพดู ลำดบั ข้นั ตอนการ การดู และการสนทนา ปฏิบัติงาน - การพดู ลำดบั เหตุการณ์ ๖. มมี ารยาทในการฟงั การดู มารยาทในการฟงั การดู และ และการพูด การพดู สาระที่ ๔ หลกั การใชภ้ าษาไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลีย่ นแปลงของภาษาและพลงั ของภาษา ภมู ิ ปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบัติของชาติ ชน้ั ตวั ช้ีวัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถิ่น ป.๔ ๑.สะกดคำและบอก คำในแม่ ก กา ความหมายของคำในบริบท มาตราตัวสะกด ต่างๆ การผนั อักษร คำเป็นคำตาย คำพ้อง ๒. ระบชุ นดิ และหนา้ ทขี่ องคำ ชนิดของคำ ไดแ้ ก่ ในประโยค - คำนาม - คำสรรพนาม - คำกรยิ า - คำวเิ ศษณ์ ๓ ใชพ้ จนานกุ รมค้นหา การใชพ้ จนานกุ รม ความหมายของคำ ๔. แตง่ ประโยคได้ถกู ตอ้ งตาม ประโยคสามญั หลักภาษา - สว่ นประกอบของประโยค - ประโยค ๒ ส่วน - ประโยค ๓ ส่วน ๕. แต่งบทร้อยกรองและคำ กลอนส่ี ขวัญ คำขวัญ ๖. บอกความหมายของสำนวน สำนวนทเี่ ป็นคำพงั เพยและ สุภาษิต ๗. เปรียบเทยี บภาษาไทย ภาษาไทยมาตรฐาน ภาษาถ่นิ สรุ นิ ทร์ (เขมรถนิ่ มาตรฐานกับภาษาถนิ่ ได้ ภาษาถน่ิ ไทย,กยู ,ลาว) ในนทิ านและ เพลงพนื้ บ้าน สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม
๓๖ มาตรฐาน ท ๕.๑ เขา้ ใจและแสดงความคิดเหน็ วิจารณว์ รรณคดแี ละวรรณกรรมไทยอยา่ งเห็นคณุ ค่าและนำมา ประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตจริง ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรียนรทู้ อ้ งถนิ่ ป.๔ ๑. ระบขุ อ้ คิดจากนทิ าน วรรณคดแี ละวรรณกรรม - นทิ านทอ้ งถน่ิ เช่น อาควะน็ พนื้ บา้ นหรอื นทิ านคติ เชน่ ธรรม - นทิ านพน้ื บา้ น องอากืก๊ , ปัวะก็องเกง็ , พอ่ ตา ๒. อธิบายขอ้ คิดจากการอ่าน - นทิ านคติธรรม กบั ลกู เขย ฯลฯ เพ่อื นำไปใช้ในชวี ติ จรงิ - เพลงพื้นบ้าน - เพลงพนื้ บา้ น เชน่ ตีกองนำ้ , - วรรณคดีและวรรณกรรมใน เซ้ิบ เซ้บิ , ปลอลาน บทเรยี นและตามความสนใจ - เพลงกลอ่ มเดก็ เชน่ นอนสาหลา่ , ยรู โกนเดก, บดิ เด้อกอนงา ฯลฯ ๓. ร้องเพลงพ้ืนบา้ น เพลงพ้ืนบา้ น -เพลงพื้นบา้ น เช่น หมอลำ กนั ตรมึ เพลงเซงิ้ แกลมอ ฯลฯ ๔. ทอ่ งจำบทอาขยานตามท่ี บทอาขยานและบทร้อย - บทร้อยกรองตามความสนใจ เช่น บทร้อยกรองประจำ กำหนด และบทร้อยกรอง กรองทีม่ คี ณุ คา่ ที่มีคุณค่าตามความสนใจ - บทอาขยานตามท่ีกำหนด อำเภอและจงั หวดั สุรินทร์ - บทร้อยกรองตามความ สนใจ ตวั ชี้วดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลางและสาระการเรยี นรทู้ อ้ งถิ่น ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 5 สาระท่ี ๑ การอา่ น มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสรา้ งความรู้และความคดิ เพอื่ นำไปใช้ตดั สินใจ แก้ปัญหาในการดำเนิน ชีวิต และมนี สิ ัยรกั การอ่าน ชนั้ ตัวชีว้ ัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง สาระการเรียนรู้ทอ้ งถ่ิน ป.๕ ๑. อ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ การอา่ นออกเสยี งและ - การอ่านออกเสยี งและการ บอกความหมายของ คำคม และ บทรอ้ ยกรองได้ การบอกความหมายของ คำคลอ้ งจอง ภาษติ คำสอน ถกู ตอ้ ง บทร้อยแก้วและบทร้อย คำขวัญจังหวัด-อำเภอ บท รอ้ ยกรองประจำอำเภอและ ๒. อธิบายความหมายของคำ กรองทป่ี ระกอบดว้ ย จงั หวัด ประโยคและขอ้ ความที่เปน็ - คำทีม่ ีพยญั ชนะควบกลำ้ การบรรยาย - คำท่มี อี ักษรนำ และการพรรณนา - คำท่มี ีตวั การนั ต์ ๓. อธิบายความหมายโดยนัย - อักษรยอ่ และเคร่อื งหมาย จากเร่อื งทีอ่ ่านอย่าง วรรคตอน หลากหลาย - ข้อความทีเ่ ปน็ การบรรยาย และพรรณนา
๓๗ ชน้ั ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ทอ้ งถ่ิน - ขอ้ ความทีม่ คี วามหมาย โดยนัย การอา่ นบทรอ้ ยกรองเปน็ ทำนองเสนาะ ๔. แยกขอ้ เทจ็ จรงิ และ การอ่านจบั ใจความจาก อ่านนทิ าน ตำนานพ้นื บ้าน ข้อคิดเห็นจากเรอื่ งทีอ่ ่าน ส่ือต่างๆ เช่น ๕. วิเคราะหแ์ ละแสดงความ - วรรณคดใี นบทเรียน คดิ เหน็ เกีย่ วกบั เรื่องทีอ่ า่ น - บทความ เพ่ือนำไปใช้ ในการ - บทโฆษณา ดำเนินชีวติ - งานเขียนประเภทโน้มน้าวใจ ๖ อา่ นงานเขยี นเชงิ อธบิ าย - ขา่ วและเหตุการณ์ประจำวัน คำส่ัง ขอ้ แนะนำ และ ปฏบิ ตั ิตาม ๗. อา่ นหนังสือท่มี ีคุณค่าตาม การอา่ นหนงั สอื ตามความ อา่ นสารคดีสถานทที่ ่องเท่ยี ว ความสนใจอย่างสมำ่ เสมอ สนใจ เชน่ โบราณสถาน โบราณวัตถใุ น และแสดงความคดิ เหน็ - หนังสือทน่ี ักเรียนสนใจและ ท้องถนิ่ เกี่ยวกบั เรอื่ งที่อ่าน เหมาะสมกบั วยั - หนังสอื ทีค่ รูและนกั เรียน กำหนดรว่ มกนั ๘. มมี ารยาทในการอา่ น มารยาทในการอา่ น สาระท่ี ๒ การเขียน มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขยี นสอ่ื สาร เขียนเรียงความ ยอ่ ความ และเขียนเรอ่ื งราวในรูปแบบ ตา่ งๆ เขยี นรายงานข้อมลู สารสนเทศและรายงานการศึกษาคน้ คว้าอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ชัน้ ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรียนรูท้ อ้ งถนิ่ ป.๕ ๑. คัดลายมือตวั บรรจงเตม็ การคดั ลายมือตัวบรรจง บรรทัด และครงึ่ บรรทดั เต็มบรรทดั และ คร่งึ บรรทัดตามรูปแบบการ เขียนตวั อกั ษรไทย ๒. เขียนสอ่ื สารโดยใช้คำได้ การเขยี นสอ่ื สาร เช่น เขียนคำคล้องจอง ภาษิต ถกู ตอ้ งชดั เจน และ - คำขวญั คำสอน คำขวัญจงั หวดั - เหมาะสม - คำอวยพร อำเภอ บทรอ้ ยกรองประจำ - คำแนะนำและคำอธิบาย อำเภอและจงั หวัด แสดงขนั้ ตอน ๓. เขียนแผนภาพโครงเรือ่ ง การนำแผนภาพโครงเรอ่ื ง เขยี นแผนภาพโครงเรอ่ื งนทิ าน และแผนภาพความคิดเพอ่ื และแผนภาพความคิดไป พ้นื บา้ นในท้องถ่ิน ใชพ้ ฒั นางานเขียน พฒั นางานเขียน
๓๘ ชนั้ ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรียนรทู้ อ้ งถน่ิ ๔. เขยี นย่อความจากเร่ืองท่ี การเขยี นย่อความจากสอ่ื เขียนยอ่ ความนิทานพ้นื บ้านใน อ่าน ต่างๆ เชน่ นทิ าน ความ ท้องถิน่ เรียงประเภทต่างๆ ประกาศ แจง้ ความ แถลงการณ์ จดหมาย คำ สอน โอวาท คำปราศรยั ๕. เขียนจดหมายถงึ ผปู้ กครอง การเขยี นจดหมายถึง และญาติ ผู้ปกครองและญาติ ๖. เขียนแสดงความรู้สกึ และ การเขียนแสดงความรู้สึก ความคิดเห็นได้ตรงตาม และความคิดเหน็ เจตนา ๗. กรอกแบบรายการตา่ งๆ การกรอกแบบรายการ - ใบฝากเงินและใบถอนเงิน - ธนาณตั ิ - แบบฝากสง่ พสั ดุ ไปรษณียภัณฑ์ ๘. เขยี นเรอื่ งตามจนิ ตนาการ การเขียนเรือ่ งตาม เขยี นบทร้องเล่นตาม จินตนาการ จินตนาการ ๙. มมี ารยาทในการเขยี น มารยาทในการเขียน สาระที่ ๓ การฟัง การดู และการพดู มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดูอย่างมวี ิจารณญาณ และพดู แสดงความรู้ ความคิด และความรสู้ กึ ในโอกาส ต่างๆ อย่างมวี จิ ารณญาณและสรา้ งสรรค์ ช้นั ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถ่ิน ป.๕ ๑. พูดแสดงความรู้ ความ การจับใจความ และการ พดู คำกล่าวแซนโดนตา วัน คิดเหน็ และความรสู้ ึก พูดแสดงความรู้ ความคดิ สารท บญุ ขา้ วจ่ี เซ่นไหวบ้ รรพ จากเรอ่ื งทีฟ่ งั และดู ในเร่อื งท่ีฟังและดู จากสือ่ บุรุษ ต่างๆ เชน่ ๒. ตง้ั คำถามและตอบคำถาม - เรอ่ื งเล่า วิเคราะห์ตำนาน นทิ าน เชงิ เหตุผลจากเร่อื งท่ีฟงั - บทความ พนื้ บา้ นความนา่ เชื่อถอื และดู - ขา่ วและเหตกุ ารณ์ประจำวนั จากเรอ่ื งท่ฟี งั และดู ๓. วิเคราะหค์ วามนา่ เชอ่ื ถอื - โฆษณา จากเร่ืองทฟ่ี งั และดอู ย่างมี - ส่อื ส่ืออิเลก็ ทรอนิกส์ เหตุผล การวิเคราะห์ความ นา่ เชื่อถือจากเรื่องทีฟ่ งั และดใู นชวี ติ ประจำวนั
๓๙ ช้นั ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรียนรทู้ ้องถนิ่ ๔. พูดรายงานเร่ืองหรือ การรายงาน เช่น พูดลำดับเหตุการณ์ นทิ าน ประเด็นทีศ่ ึกษาค้นคว้าจาก - การพดู ลำดบั ข้นั ตอนการ พน้ื บ้าน กจิ กรรมงาน การฟัง การดู และการ ปฏิบตั งิ าน ประเพณีในทอ้ งถ่นิ สนทนา - การพูดลำดบั เหตุการณ์ ๕. มมี ารยาทในการฟัง การดู มารยาทในการฟงั การดู และการพูด และการพดู สาระท่ี ๔ หลกั การใช้ภาษาไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษาและพลงั ของภาษา ภมู ิ ปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัตขิ องชาติ ชนั้ ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นร้ทู อ้ งถ่ิน ป.๕ ๑. ระบชุ นดิ และหน้าที่ของคำ ชนิดของคำ ได้แก่ ในประโยค - คำบุพบท - คำสันธาน - คำอุทาน ๒. จำแนกสว่ นประกอบของ ประโยคและส่วนประกอบ ประโยค ของประโยค ๓. เปรยี บเทยี บภาษาไทย ภาษาไทยมาตรฐาน ภาษากับวฒั นธรรม คำคม มาตรฐานกับภาษาถนิ่ ภาษาถนิ่ คำคลอ้ งจอง ภาษิตคำสอน คำขวญั จงั หวดั -อำเภอ บท ร้อยกรองประจำอำเภอและ จงั หวดั บทอาขยาน อทิ ธพิ ลของ ภาษาถนิ่ ภาษาถ่นิ สุรินทร์ เขมรถ่นิ ไทย กูย ลาว ๔. ใช้คำราชาศัพท์ คำราชาศพั ท์ ภาษาถน่ิ สรุ นิ ทร์ เขมรถิ่น ไทย กยู ลาว ๕. บอกคำภาษาตา่ งประเทศ คำท่มี าจาก ภาษาถิน่ สุรนิ ทร์ เขมรถิ่น ไทย กูย ลาว ในภาษาไทย ภาษาตา่ งประเทศ ๖. แตง่ บทรอ้ ยกรอง กาพยย์ านี ๑๑ คำคลอ้ งจอง บทร้อยกรอง ประจำอำเภอและจังหวัด ๗. ใชส้ ำนวนไดถ้ กู ต้อง สำนวนท่เี ปน็ คำพงั เพย ผญา คำอวยพร เฮาปลงึ (คำ และสุภาษติ เรียกขวัญ) สาระท่ี ๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรม
๔๐ มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเหน็ วิจารณว์ รรณคดแี ละวรรณกรรมไทยอย่างเหน็ คณุ คา่ และนำมา ประยกุ ต์ใชใ้ นชีวติ จรงิ ชนั้ ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถ่นิ ป.๕ ๑. สรุปเร่ืองจากวรรณคดีหรือ วรรณคดแี ละวรรณกรรม เพลงพื้นบ้าน เพลงกล่อม วรรณกรรมทีอ่ า่ น เชน่ เดก็ บทร้องเล่น เพลง ๒. ระบคุ วามรแู้ ละข้อคิดจาก - นทิ านพื้นบา้ น กันตรึม หมอลำ การอา่ นวรรณคดีและ - นทิ านคตธิ รรม เพลงครู เพลงเบ็ดเตลด็ เชน่ วรรณกรรมทีส่ ามารถ - เพลงพ้ืนบา้ น เจรยี ง อายัย กะโนบ้ ติงตอง นำไปใชใ้ นชีวติ จริง - วรรณคดีและวรรณกรรม ลำเพลิน ๓. อธิบายคุณคา่ ของวรรณคดี ในบทเรียนและตาม ลำเดนิ ลำซง่ิ เปน็ ตน้ และวรรณกรรม ความสนใจ วรรณคดแี ละวรรณกรรม ท้องถ่นิ นิทาน ตำนาน สารคดี บทร้อยกรอง คำ กาพย์ สรภัญญ์ เทศน์แหล่ ภมู ิปญั ญาทางภาษา ตัวอักษรขอม คาถา บทสวด ปะเนา มนายซอน คำทวย คำสอย ผญา คำอวยพร เฮาปลงึ (คำเรียกขวัญ) คำเซิ้ง บงั้ ไฟ ๔. ท่องจำบทอาขยานตามที่ บทอาขยานและบทรอ้ ย กำหนดและบทร้อยกรองท่ี กรองท่มี คี ณุ คา่ มีคุณค่าตามความสนใจ - บทอาขยานตามทกี่ ำหนด - บทร้อยกรองตามความสนใจ
๔๑ ตัวชวี้ ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลางและสาระการเรยี นรทู้ อ้ งถ่ิน ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 6 สาระท่ี ๑ การอ่าน มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอา่ นสร้างความร้แู ละความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสนิ ใจ แก้ปัญหาในการดำเนนิ ชวี ิต และมนี ิสัยรกั การอา่ น ช้นั ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถน่ิ ป.๖ ๑. อา่ นออกเสียงบทรอ้ ยแก้ว การอ่านออกเสยี งและการ - บทร้อยกรองท้องถ่ิ น และ บทร้อยกรองได้ บอกความหมายของบทร้อย ของเรา ถูกต้อง แกว้ และบทรอ้ ยกรอง - เพลงพน้ื บ้าน ๒. อธบิ ายความหมายของคำ ประกอบดว้ ย - สำนวนสภุ าษิต ประโยคและข้อความที่เปน็ - คำท่ีมพี ยัญชนะควบกลำ้ - นิทานพน้ื บ้าน โวหาร - คำที่มีอักษรนำ - วรรณกรรมท้องถ่ิน - คำทม่ี ีตัวการนั ต์ - สำนวนเปรียบเทยี บ - คำท่ีมาจากภาษาตา่ ง - ผญา ฯ ประเทศ - อกั ษรย่อและเครอ่ื งหมาย วรรคตอน - วนั เดอื น ปแี บบไทย - ขอ้ ความที่เป็นโวหารต่างๆ - สำนวนเปรียบเทียบ การอ่านบทร้อยกรองเป็น ทำนองเสนาะ ๓. อ่านเรือ่ งส้นั ๆ อย่างหลาก การอา่ นจับใจความจากส่ือ - นทิ าน ตำนาน ท้องถน่ิ หลาย โดยจับเวลาแลว้ ถาม ต่างๆ เชน่ เก่ียวกบั เรอื่ งทอี่ า่ น - เรอ่ื งสนั้ ๆ ๔. แยกขอ้ เท็จจรงิ และ - นิทานและเพลงพน้ื บา้ น ข้อคดิ เห็นจากเร่ืองทีอ่ ่าน - บทความ ๕. อธิบายการนำความรแู้ ละ - พระบรมราโชวาท - นิทาน เรื่องส้ันทอ้ งถ่ิน ความคดิ จากเร่ืองท่ีอา่ นไป - สารคดี ตดั สินใจแกป้ ัญหาในการ - เรอ่ื งส้ัน ดำเนินชีวติ - งานเขยี นประเภทโน้มน้าว - บทโฆษณา - ข่าว และเหตกุ ารณส์ ำคัญ การอา่ นเรว็ ๖. อ่านงานเขียนเชิงอธิบาย การอ่านงานเขียนเชงิ อธบิ าย - พจนานุกรมฉบับทอ้ งถิ่น คำส่งั ขอ้ แนะนำ และ คำสง่ั ขอ้ แนะนำ และ - ประโยคและสำนวนท้องถน่ิ ปฏิบตั ิตาม ปฏบิ ตั ิตาม - การใช้พจนานุกรม
๔๒ ชั้น ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรียนรู้ทอ้ งถิ่น - การปฏิบตั ติ นในการอยู่ ร่วมกนั ในสงั คม - ขอ้ ตกลงในการอยูร่ ่วมกันใน โรงเรียน และการใช้สถาน ทีส่ าธารณะในชุมชนและ ท้องถนิ่ ๗. อธบิ ายความหมายของ การอ่านขอ้ มลู จากแผนผัง -แผนผงั แผนท่ี แผนภูมิ ข้อมลู จากการอ่านแผนผัง แผนที่ แผนภูมิ และกราฟ และกราฟ ประจำทอ้ งถน่ิ แผนท่ี แผนภูมิ และกราฟ ๘. อ่านหนงั สือตามความสนใจ การอ่านหนังสือตามความ - นิทาน เรื่องเลา่ ตำนาน และอธิบายคณุ ค่าท่ีไดร้ บั สนใจ เชน่ ภูมิปัญญาในท้องถนิ่ - หนังสอื ทีน่ กั เรยี นสนใจและ เหมาะสมกับวัย - หนงั สืออ่านทค่ี รแู ละนักเรยี น กำหนดรว่ มกัน ๙. มมี ารยาทในการอา่ น มารยาทในการอา่ น -นิทาน คำสอนคำขวญั ทอ้ งถน่ิ สาระท่ี ๒ การเขยี น มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขยี นเขยี นสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอ่ ความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบต่างๆ เขยี นรายงานขอ้ มูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคน้ คว้าอยา่ งมีประสิทธภิ าพ ช้ัน ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรียนรูท้ อ้ งถ่นิ ป.๖ ๑. คัดลายมอื ตัวบรรจงเต็ม การคดั ลายมอื ตัวบรรจงเตม็ - คัดคำขวัญ บทรอ้ ยกรอง, บรรทดั และครึง่ บรรทัด บรรทดั และ คร่งึ สำนวนทอ้ งถ่ิน บรรทัดตามรปู แบบการเขียน ตวั อักษรไทย ๒. เขยี นสือ่ สารโดยใช้คำได้ การเขยี นสื่อสาร เชน่ - เขยี นคำขวัญ คำอวยพรและ ประกาศต่างๆ ฯ ถูกต้องชดั เจน และ - คำขวญั เหมาะสม - คำอวยพร - ประกาศ ๓. เขียนแผนภาพโครงเรื่องและ การเขียนแผนภาพโครงเร่ือง - นทิ านประจำท้องถ่ิน แผนภาพความคิดเพอ่ื ใช้ และแผนภาพความคดิ พัฒนางานเขยี น ๔. เขยี นเรยี งความ การเขยี นเรียงความ - เรื่องราวเหตกุ ารณใ์ นทอ้ งถิ่น ๕. เขียนย่อความจากเรอื่ งที่ การเขียนย่อความจากสือ่ - เขียนย่อ นิทาน ความเรยี ง อา่ น ต่างๆ เชน่ นิทาน ความ ประเภทต่างๆ ประกาศแจ้ง เรยี งประเภทต่างๆประกาศ ความ แถลงการณ์ จดหมาย คำ แจ้งความ แถลงการณ์ สอนโอวาท คำปราศรัย สุนทร จดหมาย คำสอน โอวาท พจน์ รายงาน ระเบียบ คำสง่ั คำปราศรัย สุนทรพจน์ รายงาน ระเบยี บ คำสงั่ ๖. เขียนจดหมายสว่ นตวั การเขยี นจดหมายส่วนตวั
๔๓ ชนั้ ตัวชีว้ ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรียนรทู้ อ้ งถิน่ - จดหมายขอโทษ - จดหมายแสดงความขอบคุณ - จดหมายแสดงความเห็นใจ - - จดหมายแสดงความยินดี ๗. กรอกแบบรายการตา่ งๆ การกรอกแบบรายการ - แบบคำร้องตา่ งๆ - ใบสมัครศกึ ษาต่อ - - แบบฝากส่งพสั ดแุ ละ ไปรษณียภณั ฑ์ ๘. เขยี นเร่อื งตามจนิ ตนาการ การเขียนเรอ่ื งตาม - เขียนเรื่องตามจินตนาการ และสรา้ งสรรค์ จนิ ตนาการและสรา้ งสรรค์ และสรา้ งสรรคภ์ ูมปิ ัญญา ทอ้ งถนิ่ ๙. มมี ารยาทในการเขยี น มารยาทในการเขยี น สาระท่ี ๓ การฟงั การดู และการพูด มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดอู ยา่ งมวี จิ ารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และความรสู้ ึกในโอกาส ต่างๆ อยา่ งมวี จิ ารณญาณและสรา้ งสรรค์ ชน้ั ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถิ่น ป.๖ ๑. พูดแสดงความรู้ ความ การพูดแสดงความรู้ ความ - กลา่ วสนุ ทรพจน์ภาษาถิ่น เขา้ ใจจุดประสงค์ของเรือ่ งที่ เขา้ ใจในจุดประสงค์ของ - การกลา่ วในโอกาสตา่ งๆ ฟังและดู เรือ่ งท่ีฟงั และดูจากสอ่ื ตา่ งๆ - ฟงั นทิ านท้องถนิ่ ๒. ตั้งคำถามและตอบคำถาม ได้แก่ เชิงเหตผุ ล จากเรอื่ งทฟ่ี งั - สือ่ ส่ิงพิมพ์ และดู - ส่ืออิเลก็ ทรอนิกส์ ๓. วิเคราะหค์ วามน่าเชื่อถือ การวเิ คราะห์ความนา่ เช่อื ถอื - ฟังนทิ าน ตำนานท้องถ่ิน จากการฟังและดสู ่ือโฆษณา จากการฟังและดสู ือ่ โฆษณา เรื่องเล่าจากทอ้ งถิน่ อยา่ งมเี หตุผล ๔. พูดรายงานเร่ืองหรือ การรายงาน เชน่ - การพูดรายงานโดยใช้ภาษา ประเดน็ ทศ่ี ึกษาคน้ ควา้ จาก - การพดู ลำดับขน้ั ตอนการ ถน่ิ การฟัง การดู และการ ปฏบิ ตั งิ าน สนทนา - การพดู ลำดบั เหตกุ ารณ์ ๕. พดู โน้มนา้ วอยา่ งมเี หตผุ ล การพดู โนม้ นา้ วใน - การพูดตามสถานการณ์ และน่าเช่อื ถือ สถานการณ์ต่างๆ เชน่ เหตกุ ารณ์ โดยใช้ภาษาถ่ิน - การเลือกตั้งกรรมการนกั เรยี น - การรณรงคด์ า้ นตา่ งๆ - การโตว้ าที ๖. มีมารยาทในการฟงั การดู มารยาทในการฟัง การดู และ - และการพูด การพดู
๔๔ สาระที่ ๔ หลกั การใชภ้ าษาไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลีย่ นแปลงของภาษาและพลงั ของภาษา ภมู ิ ปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบัติของชาติ ชน้ั ตัวชวี้ ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรียนรู้ทอ้ งถนิ่ ป.๖ ๑. วิเคราะห์ชนิดและหน้าท่ี ชนิดของคำ - คำศัพท์ทอ้ งถน่ิ ของคำในประโยค - คำนาม - คำสรรพนาม - คำกริยา - คำวเิ ศษณ์ - คำบุพบท - คำเชื่อม - คำอทุ าน ๒. ใช้คำไดเ้ หมาะสมกบั คำราชาศพั ท์ - คำภาษาถนิ่ กาลเทศะและบคุ คล ระดบั ภาษา ๓. รวบรวมและบอกความ ภาษาถิน่ - หมายของ คำภาษาต่าง คำที่มาจาก ประเทศท่ีใช้ในภาษาไทย ภาษาตา่ งประเทศ - คำและประโยคในท้องถ่นิ ท่ี ๔. ระบลุ กั ษณะของประโยค ควรศึกษา กลุ่มคำหรอื วลี ๕. แตง่ บทร้อยกรอง ประโยคสามัญ - บทร้อยกรองท้องถ่นิ เพลง ประโยครวม พ้นื บา้ น บทกล่อมเดก็ บทรอ้ ง ประโยคซอ้ น เลน่ ของทอ้ งถน่ิ ผญาท้องถน่ิ กลอนสภุ าพ - สำนวนสภุ าษติ ปรศิ นาคำ ทาย คำสอนทอ้ งถนิ่ ๖. วเิ คราะหแ์ ละเปรียบเทียบ สำนวนท่เี ป็นคำพงั เพย และ สำนวนทีเ่ ป็นคำพังเพย และ สุภาษิต สุภาษิต สาระท่ี ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐาน ท ๕.๑ เขา้ ใจและแสดงความคิดเหน็ วจิ ารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมไทยอยา่ งเหน็ คุณคา่ และนำมา ประยุกต์ใช้ในชวี ิตจรงิ ชัน้ ตวั ช้ีวัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรียนร้ทู อ้ งถนิ่ ป.๖ ๑. แสดงความคิดเหน็ จาก วรรณคดแี ละวรรณกรรม - นิทาน ตำนานพ้ืนบา้ น วรรณคดี หรือวรรณกรรม เช่น ท้องถน่ิ ตนเองและท้องถนิ่ อนื่ ที่อ่าน - นิทานพน้ื บา้ นทอ้ งถน่ิ ตนเอง - นทิ านคติธรรม และท้องถนิ่ อน่ื - เพลงพ้ืนบา้ น
๔๕ ชนั้ ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถ่นิ ๒. เล่านิทานพน้ื บา้ นทอ้ งถ่ิน - นิทานคตธิ รรม - วรรณคดีและวรรณกรรมใน ตนเอง และนทิ านพน้ื บ้าน - เพลงพืน้ บ้าน บทเรยี นและตามความสนใจ ของทอ้ งถ่นิ อน่ื - วรรณคดีและวรรณกรรมใน ๓. อธิบายคณุ ค่าของวรรณคดี บทเรียนและตามความสนใจ และวรรณกรรมท่อี า่ นและ นำไป ประยุกต์ ใชใ้ นชีวติ จริง ๔. ทอ่ งจำบทอาขยานตามที่ บทอาขยานและบทร้อย - บทอาขยานและบทรอ้ ยกรอง กำหนด และบทรอ้ ยกรองทมี่ ี กรองท่ีมีคุณค่า ในท้องถ่นิ คณุ ค่าตามความสนใจ - บทอาขยานตามท่กี ำหนด - บทรอ้ ยกรองตามความสนใจ
๔๖ คำอธบิ ายรายวิชา ท ๑๑๑01 ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๑ เวลา ๒00 ชวั่ โมง ศึกษาและฝกึ อ่านออกเสยี งคำพื้นฐานท่ใี ชใ้ นชีวิตประจำวนั รวมทงั้ คำทีใ่ ชเ้ รยี นรู้ใน กลมุ่ สาระการเรียนรอู้ ืน่ บอกความหมายของคำและข้อความที่อา่ น อ่านจบั ใจความจากสื่อต่าง ๆ แลว้ สามารถ ตอบคำถาม เล่าเรอ่ื งย่อ คาดคะเนเหตุการณจ์ ากเรือ่ งทอี่ ่าน อา่ นหนังสอื ตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอและ นำเสนอเรอ่ื งทอี่ า่ น อา่ นเครือ่ งหมายหรือสัญลักษณ์ท่พี บเห็นในชีวติ ประจำวัน และมีมารยาทในการอ่าน คัด ลายมือตัวบรรจงเตม็ บรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย เขียนสอ่ื สารด้วยคำและประโยคงา่ ย ๆ และมี มารยาทในการเขยี น ฟังคำแนะนำ คำสงั่ ง่าย ๆ และปฏิบตั ิตาม จับใจความจากเรื่องทฟ่ี ังและดู ทง้ั ทเ่ี ป็นความรู้ และความบันเทงิ โดยตอบคำถาม เล่าเรือ่ ง พูดแสดงความคิดเห็นและความร้สู กึ พูดแนะนำตนเอง ขอความ ชว่ ยเหลือ กล่าวคำขอบคุณ ขอโทษ และมีมารยาทในการฟงั การดู และการพดู บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยกุ ต์ และเลขไทย เขยี นสะกดคำและบอกความหมายของคำ เรียบเรยี งคำเป็นประโยคงา่ ย ๆ และต่อ คำ คลอ้ งจองง่าย ๆ บอกข้อคิดทไ่ี ดจ้ ากการอ่านหรอื การฟังวรรณกรรมร้อยแกว้ และร้อยกรองสำหรับเด็ก และท่องจำ บทอาขยานตามทีก่ ำหนดและบทรอ้ ยกรองตามความสนใจ กจิ กรรมการเรยี นรู้เนน้ ใหผ้ เู้ รยี นฝึกทกั ษะการฟงั การดู และการพูด ดว้ ยการฟังนิทาน สังเกตภาพ สำรวจ สิ่งรอบตวั สนทนาจากประสบการณ์ ทายปรศิ นา เลน่ เกม และรอ้ งเพลง โดยสอดแทรกกจิ กรรมให้ฝกึ ฝนการอา่ นและการเขียน เพื่อใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจหลักภาษา เกิดทกั ษะในการใชภ้ าษาสื่อสาร สามารถนำไปใช้ ในชวี ิตประจำวันได้ มีความช่นื ชม เหน็ คณุ คา่ ภมู ิปัญญาไทย และภูมใิ จในภาษาประจำชาติ รหสั ตวั ชี้วดั ท ๑.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒, ป. ๑/๓, ป. ๑/๔, ป. ๑/๕, ป. ๑/๖, ป. ๑/๗, ป. ๑/๘ ท ๒.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒, ป. ๑/๓ ท ๓.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒, ป. ๑/๓, ป. ๑/๔, ป. ๑/๕ ท ๔.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒, ป. ๑/๓, ป. ๑/๔ ท ๕.๑ ป. ๑/๑, ป. ๑/๒ รวมทงั้ หมด ๒2 ตัวชี้วัด
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 517
- 518
- 519
- 520
- 521
- 522
- 523
- 524
- 525
- 526
- 527
- 528
- 529
- 530
- 531
- 532
- 533
- 534
- 535
- 536
- 537
- 538
- 539
- 540
- 541
- 542
- 543
- 544
- 545
- 546
- 547
- 548
- 549
- 550
- 551
- 552
- 553
- 554
- 555
- 556
- 557
- 558
- 559
- 560
- 561
- 562
- 563
- 564
- 565
- 566
- 567
- 568
- 569
- 570
- 571
- 572
- 573
- 574
- 575
- 576
- 577
- 578
- 579
- 580
- 581
- 582
- 583
- 584
- 585
- 586
- 587
- 588
- 589
- 590
- 591
- 592
- 593
- 594
- 595
- 596
- 597
- 598
- 599
- 600
- 601
- 602
- 603
- 604
- 605
- 606
- 607
- 608
- 609
- 610
- 611
- 612
- 613
- 614
- 615
- 616
- 617
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 550
- 551 - 600
- 601 - 617
Pages: