Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์

พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์

Published by Chalermkiat Deesom, 2016-09-20 09:56:40

Description: dictionary_of_buddhism_vocabulary_version พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์

Keywords: พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์

Search

Read the Text Version

พจนานกุ รมพุทธศาสน ฉบบั ประมวลศัพทพระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต) (ชําระ-เพ่มิ เตมิ ชวงที่ ๑)

พจนานุกรมพทุ ธศาสน ฉบับประมวลศัพท© พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยตุ โฺ ต)ISBN 974-575-029-8พมิ พคร้งั ท่ี ๑ พ.ศ. ๒๕๒๒ จํานวน ๑,๕๐๐ เลม– งานพระราชทานเพลงิ ศพ พระครปู ลัดสมยั กิตตฺ ิทตฺโต เจาอาวาสพระพิเรนทรพิมพครงั้ ท่ี ๒ (เพ่มิ ศพั ทและปรบั ปรงุ ) พ.ศ. ๒๕๒๗ จํานวน ๙,๔๐๐ เลมพมิ พค ร้งั ที่ ๓ (เพม่ิ ภาคผนวก) พ.ศ. ๒๕๒๘ จาํ นวน ๕,๐๐๐ เลม– พิมพถ วายมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย โดย “ทุนพมิ พพ จนานกุ รมพุทธศาสน”พมิ พครง้ั ท่ี ๔–๙ พ.ศ. ๒๕๓๑–๒๕๔๓ จํานวน ๓๑,๕๐๐ เลมพิมพครงั้ ท่ี ๑๐ พ.ศ. ๒๕๔๖ (จัดเรยี งพมิ พใ หมด วยระบบคอมพวิ เตอร) ขนาดตวั อักษรธรรมดา ๕,๐๐๐ เลม และขนาดตวั อกั ษรใหญ ๕,๐๐๐ เลมพิมพครั้งท่ี ๑๑ - มีนาคม ๒๕๕๐ (ชําระ-เพ่ิมเตมิ ชวงท่ี ๑)– คณะผศู รทั ธารวมกันจัดพมิ พเ ปน ธรรมทาน จาํ นวน ๕,๐๐๐ เลมพมิ พท่ี

พจนานกุ รมพทุ ธศาสน ฉบบั ประมวลศัพท© พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)ISBN 974-575-029-8พมิ พครง้ั ที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๒๒ จาํ นวน ๑,๕๐๐ เลม– งานพระราชทานเพลงิ ศพ พระครปู ลัดสมยั กิตฺตทิ ตฺโต เจาอาวาสพระพิเรนทรพิมพคร้ังที่ ๒ (เพ่มิ ศพั ทและปรับปรงุ ) พ.ศ. ๒๕๒๗ จํานวน ๙,๔๐๐ เลมพมิ พค ร้ังที่ ๓ (เพิม่ ภาคผนวก) พ.ศ. ๒๕๒๘ จํานวน ๕,๐๐๐ เลม– พิมพถ วายมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั โดย “ทนุ พิมพพ จนานกุ รมพุทธศาสน”พมิ พครงั้ ที่ ๔–๙ พ.ศ. ๒๕๓๑–๒๕๔๓ จาํ นวน ๓๑,๕๐๐ เลมพิมพครัง้ ที่ ๑๐ พ.ศ. ๒๕๔๖ (จัดเรยี งพิมพใหมด วยระบบคอมพิวเตอร) ขนาดตัวอักษรธรรมดา ๕,๐๐๐ เลม และขนาดตัวอกั ษรใหญ ๕,๐๐๐ เลมพิมพคร้ังท่ี ๑๑ - มีนาคม ๒๕๕๐ มิถุนายน ๒๕๕๑ (ชําระ-เพิม่ เตมิ ชวงท่ี ๑)– คณะผศู รัทธารวมกันจดั พมิ พเ ปน ธรรมทาน จํานวน ๕,๐๐๐ เลมพมิ พท่ี

บนั ทกึ ในการชําระ-เพม่ิ เติม ชว งท่ี ๑: ม.ค.-มี.ค. ๒๕๕๐ก) งานในโครงการ แตชะงัก-หาย ยอนหลงั ไปถึง พ.ศ.๒๕๐๖ เม่ือหนังสือ Student’s Thai–Pali–English Dictionary ofBuddhist Terms เลมเลก็ ๆ เสรจ็ แลว ผูจดั ทําหนังสอื นี้ กไ็ ดเ รม่ิ งานพจนานกุ รมพระพทุ ธศาสนางานคางที่ ๑: เริ่มแรก คิดจะทําพจนานุกรมพระพุทธศาสนาเชิงสารานุกรม ฉบับที่คอนขางสมบูรณเ ลยทเี ดียว มที ัง้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยเขยี นแยกเปน ๒ คอลมั น ซา ย-พากยไ ทยและ ขวา-พากยอังกฤษ เร่ิม ๒๙ ก.ย. ๒๕๐๖ ถึง ๑๒ พ.ย. ๒๕๐๗ จบอักษร “บ” (ยังคางชําระบางคํา) ตองเขารับงานท่ีมหาจุฬาฯ แลวยงุ กับงานท่นี น่ั จนงานพจนานุกรมชะงกั แลว หยดุ ไปเลยงานคางที่ ๒: เม่ือเหน็ วายากจะมโี อกาสทาํ งานคา งนั้นตอ จงึ คิดใหมว าจะทําฉบับที่มีเพยี งพากยไทย อยา งยนยอ โดยมีภาษาอังกฤษเฉพาะคาํ แปลศพั ทใ สว งเล็บหอยทายไว แลว เร่มิ งานใน พ.ศ.---- แตง านที่มหาจฬุ าฯ มาก พอทําจบ “ต” ก็ตองหยุด (ตน ฉบับงานชดุ นี้ท้ังหมดหายไปแลว ) (ระหวางนัน้ ในป ๒๕๑๕ โดยคํานมิ นตของทานเจา คุณเทพกิตติโสภณ ครัง้ ยังเปนพระมหาสมบูรณ สมปฺ ุณฺโณ ตกลงทาํ ประมวลหมวดธรรมออกมาใชก ันไปพลางกอน ทําใหเ กิดพจนานกุ รมพทุ ธศาสตร [ตอ มาเตมิ คาํ วา ประมวลธรรม] เสรจ็ เปน เลม ใน พ.ศ. ๒๕๑๘)งานคางท่ี ๓: ใน พ.ศ.๒๕๑๙ ไปเปนวิทยากรที่ Swarthmore College เมอื่ กลบั มาในป ๒๕๒๑ตง้ั ใจหยดุ งานอนื่ ทง้ั หมดเพอ่ื จดั ทาํ สารานกุ รมพทุ ธศาสนา โดยเรมิ่ ตน ใหม ทาํ เฉพาะพากยภ าษาไทย มีภาษาองั กฤษเพยี งคาํ แปลศพั ทใ นวงเลบ็ หอ ยทา ย พอใกลส นิ้ ป ๒๕๒๑ กจ็ บ “ก” รวมได ๑๐๕ หนากระดาษพมิ พดีด และขึน้ “ข” ไปไดเ ล็กนอ ย แลว หันไปทําคาํ เกยี่ วกับประวตั ิเสร็จไปอีก ๘๐ หนา ตน ป ๒๕๒๒ นน้ั เอง ศาสตราจารย ดร. ระวี ภาวิไล จะพมิ พ พทุ ธธรรม ไดขอเวลาทานเพือ่เขยี นเพ่มิ เติม แลว การไปบรรยายท่ี Harvard University มาแทรก กวาจะเติมและพิมพเ สรจ็ สน้ิเวลา ๓ ป งานทาํ พจนานุกรม-สารานกุ รมเปน อันหยดุ ระงับไป จากนนั้ งานดา นอน่ื เพ่มิ ขึ้นตลอดมาข) งานใหมนอกสาย แตเ สรจ็ : พจนานุกรมพทุ ธศาสน ฉบบั ประมวลศัพท๑. ยคุ พมิ พระบบเกา ตน ป ๒๕๒๒ นนั้ แหละ เมอ่ื เห็นวาคงไมมีโอกาสฟนงานท่คี า ง ก็นกึ ถึงหนงั สอื ศพั ทห ลกัสตู รภาษาไทย (สาํ หรบั วชิ าใหมใ นหลกั สตู รนกั ธรรม) ท่มี หาจฬุ าฯ พิมพออกมาใน พ.ศ.๒๕๐๓ ซง่ึแทบจะยงั ไมทนั ไดเ ผยแพร วิชาใหมน น้ั กถ็ กู ยกเลกิ เสยี จึงพบหนงั สือชุดนั้นเหลอื คา งถูกทอดทงิ้อยูมากมาย เห็นวา มขี อ มูลพอจะทําเปน พจนานุกรมเบ้อื งตนได อยางนอยหวั ศัพทท่ีมอี ยูก็จะทุนแรงทุนเวลาในการเกบ็ ศพั ทไ ปไดม าก จงึ ตกลงทํางานใหมช ิ้นทีง่ า ยและรวบรดั โดยนาํ หนงั สอื ชดุ นนั้ทงั้ ๓ เลม รวม ๙ ภาค (ศพั ท น.ธ.ตร–ี โท–เอก ชนั้ ละ ๓ วชิ า จงึ มชี นั้ ละ ๓ ภาค) มาจดั เรยี งเปน

ขพจนานกุ รมเบอื้ งตน เลม เดยี ว พมิ พอ อกมากอ น ในงานพระราชทานเพลงิ ศพทา นอาจารยพ ระครปู ลดัสมยั กติ ตฺ ทิ ตโฺ ต เรยี กชอื่ วา พจนานกุ รมพทุ ธศาสน ฉบบั ครู นกั เรยี น นกั ธรรม (เปลยี่ นเปน ชอ่ื ปจ จบุ นัวา พจนานกุ รมพทุ ธศาสน ฉบบั ประมวลศพั ท เมอ่ื พมิ พค รงั้ ท่ี๒ พ.ศ.๒๕๒๗) หนงั สอื ใหมเ ลม นไี้ มเ กยี่ วขอ งกบั งานทที่ าํ มาแลว แตอ ยา งใด งานเกา ทที่ าํ คา งไวท งั้ หมดถกู พกัเกบ็ เฉยไว เพราะในกรณนี ี้ มงุ สาํ หรบั ผเู รยี นขน้ั ตน โดยเฉพาะนกั เรยี นนกั ธรรม ตอ งการเพยี งศพั ทพ้ืนๆ และความหมายสั้นๆ งายๆ จึงคงขอมูลสวนใหญไวตามหนงั สอื ศพั ทห ลกั สตู รภาษาไทยนั้นโดยแกไ ขปรับปรุงอธบิ ายเพิ่มหรือเขียนขยายบา งเพียงบางคํา และเตมิ ศัพทนักธรรมทตี่ กหลน และศพั ทท ว่ั ไปอนั ควรรูที่ยังไมมี เขามาบาง รวมแลว เปนขอมลู ของเกา กบั ของใหมราวครง่ึ ตอครงึ่ หลังจากพิมพออกมาแลว พจนานุกรมเลมนี้ก็มีชะตากรรมท่ีขึ้นตอระบบการพิมพยุคน้ันโดยเฉพาะตนแบบซ่ึงอยูในแผน กระดาษท่ตี ายตวั แทบปรบั เปล่ียนอะไรไมไ ดเลย การพิมพครั้งตอๆ มา ตองพิมพซํา้ ตามตนแบบเดิม ถา จาํ เปนตองแกไ ข ก็แกไดเพียง ๔–๕ บรรทัด ย่ิงตอมาแผนกระดาษตนแบบก็ผเุ ปอ ย โดยเฉพาะพจนานกุ รมนี้ ตนแบบทีท่ ําข้ึนใหมใ นการพิมพค รัง้ ท่ี ๒ไดสญู หายไปตั้งแตพมิ พเ สร็จ การพมิ พตอน้ันมาตอ งใชว ิธถี ายภาพจากหนังสอื ที่พิมพครั้งกอ นๆ แตก ระนัน้ พจนานุกรมนี้ยงั มศี พั ทแ ละคาํ อธบิ ายท่ีจะตองเพม่ิ อีกมาก เมื่อแกไขของเดมิ ไมได พอถงึ ป ๒๕๒๘ จะพิมพครง้ั ที่ ๓ จึงใสส ว นเพ่มิ เขา มาตา งหากตอทายเลมเปน “ภาคผนวก” (มีศพั ทต ง้ั หรือหัวศัพทเ พม่ิ ๑๒๔ ศัพท รวม ๒๔ หนา) จากนั้นมา ก็ไดแคพ ิมพซ ํ้าเดมิ อยา งเดยี ว๒. เขาสยู ุคขอมลู คอมพวิ เตอร เมอ่ื เวลาผา นมาถงึ ยคุ คอมพวิ เตอร กม็ องเหน็ ทางวา จะแกไ ข–ปรบั ปรงุ –เพมิ่ เตมิ พจนานกุ รมนไ้ี ด แตก ต็ อ งรอจดุ ตงั้ ตน ใหม คอื พมิ พข อ มลู พจนานกุ รมในเลม หนงั สอื ลงในคอมพวิ เตอร แมจะตองใชเวลาและแรงงานมาก ก็มีทานท่ีสมัครใจเสียสละ ไดพิมพขอมูลหนังสือพจนานกุ รมพทุ ธศาสน ฉบบั ประมวลศพั ท ลงในคอมพวิ เตอร โดยมไิ ดน ดั หมายกนั เทา ทที่ ราบ ๔ ชดุเรมิ่ ดว ยพระมหาเจมิ สวุ โจ แหง มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั ทที่ าํ งานอยหู ลายปจ นเตรยี มขอมลูเสร็จแลวมอบมาใหเ มื่อวนั ท่ี ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๔๑ แลวก็มชี ุดของผอู ่ืนตามมาอกี ทงั้ ทมี่ ขี อ มลู ในคอมพวิ เตอรแลว ผจู ดั ทาํ เองกไ็ มม เี วลาตรวจ เวลาผา นมาจนกระทง่ั รศ. ดร.สมศลี ฌานวงั ศะ ราชบณั ฑติ (มบี ตุ รหญงิ –ชาย คอื น.ส.ภาวนา ตง้ั แตย งั เปน ด.ญ.ภาวนา ฌานวงั ศะและนอ งชาย คอื นายปญ ญา ตงั้ แตย งั เปน ด.ช.ปญ ญา ฌานวงั ศะ เปน ผชู ว ยพมิ พข อ มลู ) นอกจากพิมพข อ มลู หนงั สอื ลงในคอมพวิ เตอรแ ลว ยังชวยรับภาระในการพิสูจนอ กั ษร (ตรวจปรฟู ) ตลอดเลมนอกจากตรวจเองแลว ก็ยังหาพระชว ยตรวจทานอกี ใหแนใ จวาขอ มูลใหมใ นระบบคอมพวิ เตอรน ี้ตรงกบั ขอมูลเดมิ ในเลมหนังสอื แลว ในทีส่ ุด พจนานุกรมนก้ี พ็ ิมพเ สร็จออกมาใน พ.ศ. ๒๕๔๖ เน่อื งจากผูจดั ทําเองยงั ไมมเี วลาแมแ ตจะตรวจปรฟู พจนานกุ รมพทุ ธศาสน ฉบับประมวลศพั ท พิมพค รัง้ ที่ ๑๐ ทเ่ี สรจ็ ออกมาใน พ.ศ. ๒๕๔๖ ซงึ่ เปนครั้งแรกท่ีใชขอมูลในระบบคอมพิวเตอรจงึ มหี ลกั การทัว่ ไปวา ใหค งเนอื้ หาไวอ ยา งเดมิ ตามฉบบั เรยี งพมิ พเ กา ยงั ไมป รบั ปรงุ หรอื เพม่ิ เตมิ

คค) งานเร่มิ เขาทาง: ชาํ ระ-เพ่ิมเติม ชวงท่ี ๑๑. ผานไป ๒๘ ป จึงถึงทชี ําระ-เพิ่มเติม ชว งท่ี ๑ บัดน้ี เวลาผานไป ๒๘ ปแลว นบั แตพมิ พ พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศพั ท ออกมาครัง้ แรก ใน พ.ศ. ๒๕๒๒ ขอมลู สวนใหญในพจนานกุ รมน้นั ยังเปนขอมูลพนื้ ฐานทต่ี ั้งใจวา จะชาํ ระ-เพมิ่ เติม แตก ข็ ดั ขอ งตลอดมา ในชว ง ๒๔ ปแ รก ตดิ ขดั ดว ยระบบการพมิ พไ มเ ออ้ื แลว ความบบี คนั้ ดา นเวลากซ็ า้ํ เขา ไป สว นในชว ง ๔ ปท ชี่ ดิ ใกลน ้ี ทงั้ ทม่ี ขี อ มลู สะดวกใชอ ยใู นคอมพวิ เตอร กต็ ดิ ขดั ดว ยขาดเวลาและโอกาส จนมาถึงขน้ึ ปใ หม ๒๕๕๐ น้ี เมอ่ื หาโอกาสปลกี ตวั จากวดั พอดโี รคทางเดนิ หายใจกาํ เรบิ ขนึ้ อกีคออกั เสบลงไปถงึ สายเสยี ง พดู ยากลาํ บาก ตอ ดว ยกลา มเนอื้ ยดึ สายเสยี งอกั เสบ โรคยดื เยอ้ื เกนิ ๒ เดอื นไดไ ปพกั รกั ษาตวั ในชนบทนานหนอ ย เปน โอกาสใหไ ดเ รม่ิ งานชาํ ระ-เพม่ิ เตมิ พจนานกุ รม แตใ นขน้ั นี้เรง ทาํ เฉพาะสว นรบี ดว นและสว นทพี่ บเฉพาะหนา ใหเ สรจ็ ไปชนั้ หนง่ึ กอ น เรยี กวา “งานชาํ ระ-เพม่ิเตมิ ชว งที่ ๑” คดิ วา ลลุ ว งไปไดท หี นงึ่ ทปี่ ด งานจดั ใหพ รอ มจะเขา โรงพมิ พไ ดท นั กอ นโรคจะหาย๒. อะไรมากบั และจะมาตาม การชําระ-เพ่ิมเตมิ ชว งที่ ๑ งานชําระ-เพมิ่ เตมิ น้ี คอื การทาํ ให พจนานกุ รมพทุ ธศาสน ฉบบั ประมวลศพั ท มคี ณุ สมบตั ิเตม็ ตามความมุงหมาย เพราะหนังสือท่ีพิมพเร่ือยมานัน้ จัดทําข้นึ อยา งรวบรัดเพื่อพอใชไ ปพลางกอน เพยี งเปนขอมูลพน้ื ฐานอยางท่ีกลาวแลว (มีบา งบางคําทีม่ โี อกาสขยายความไปกอนแลว ) เนอื่ งจากตระหนักวา จะไมมโี อกาสทํางานชาํ ระ-เพมิ่ เติมอยางตอเน่ืองใหเสร็จสิ้นไปในคราวเดียว จึงกะวาจะแบง งานน้เี ปน ๓ ชวง คอื การชําระ-เพ่ิมเติม ชว งที่ ๑: แกไขปรับปรงุ ขอ ขาดตกบกพรองที่พบเฉพาะหนา โดยเฉพาะสวนหลงตาท่ีบังเอิญพบ และเพม่ิ เตมิ คําศพั ทและคําอธบิ ายท่รี บี ดว น หรอื บังเอิญนึกได การชาํ ระ-เพม่ิ เตมิ ชว งที่ ๒: อา น-ตรวจตลอดเลม เพ่อื จะไดมองเหน็ จุดและแงท่ีจะแกไข-ปรับปรุง-เพม่ิ เติมทั่วท้ังหมด พรอมทงั้ เพิ่มเตมิ คาํ ศพั ท ทง้ั ท่ตี นเองเตรยี มไวสําหรบั งานคางยุคเกาและบนั ทกึ ไวร ะหวา งใชพ จนานกุ รมนี้ และทท่ี า นผใู ชไ ดม นี า้ํ ใจบนั ทกึ คาํ ซง่ึ คน ไมพ บแลว รวบรวมสง มา การชาํ ระ-เพ่ิมเติม ชว งที่ ๓: มงุ ทก่ี ารจดั ระบบ เพอ่ื ใหส ม่าํ เสมอ กลมกลืน เปน แบบแผนอันเดียวกนั และทั่วกัน เชน จะมคี าํ อา น บอกทมี่ าในคมั ภีร มที ่ีมาหรอื คําเดิมในภาษาบาลีและสนั สกฤตและถา เปน ไปได บอกคาํ แปลภาษาองั กฤษของศพั ทต ง้ั หรอื หวั ศพั ท พรอ มทง้ั แผนทแี่ ละภาพประกอบ อยา งไรกด็ ี เมอ่ื ตกลงยตุ งิ านชว งที่ ๑ วา พอเทา นก้ี อ น (๑๖ ม.ี ค. ๒๕๕๐) พอดไี ดอ า นจดหมายของพระมหานิยม สลี สวํ โร (เสนารินทร) ท่ีสง มาตัง้ แต ๑๘ พ.ย. ๒๕๔๗ ก็มองเหน็ วา ทา นแจง คําผิด-ตก ท่สี าํ คญั แมจ ะมากแหง กใ็ ชเวลาแกไขไมมาก จงึ ทาํ ใหเสร็จไปดว ยในคราวนี้ รวมเพมิ่ ท่ีแกไขอกี ราว ๕๐ แหง อีกทัง้ ไดเ หน็ ชัดวา ดว ยฉันทะของทานเอง พระมหานิยมตรวจพจนานกุ รม โดยเทียบกบั เลม เดิมที่เปนตน ฉบบั ไปดว ยน้ี ทา นใชเวลาอา นจรงิ จงั ละเอยี ด จนทาํ ใหค ิดวา ในการชําระ-เพิม่ เตมิ ชว งที่ ๒ ทจ่ี ะอา นแบบตรวจปรฟู ตลอดดว ยนัน้ งานสว นนีค้ งเบาลงมาก จะไดมงุ ไป

งท่ีงานเพม่ิ เตมิ -ปรบั ปรงุ ทวั่ ไป จงึ ขออนโุ มทนาพระมหานยิ ม สลี สวํ โร ไว ณ ทนี่ ี้พอจะปด งาน หนั มาดรู ายการศพั ท ๒๘ คาํ ทพี่ ระธรรมรกั ษาแจง มาแต ก.ค.๒๕๒๙ วา ไมพ บในพจนานกุ รมฯ เปน ศพั ทใ นอรรถกถาชาดกแทบทงั้ นนั้ เหน็ วา นา จะทาํ ใหเ สรจ็ ไปดว ยเลย จงึ ตดั คาํนอกขอบเขตออกไป ๖ แลว แถมเองอกี ราว ๒๐ ใชเ วลาคน -เขยี นจนเสรจ็ อกี ๔ วนั (ของพระมหานยิ มราว ๕๐ ศพั ท ทา นตรวจใชเ วลามากมาย แตเ พยี งแกค าํ ผดิ -ตก ๖.๔๐ ชม. กเ็ สรจ็ สว นของพระธรรม-รกั ษา แจง ทไ่ี มเ จอ แมน อ ยคาํ แตต อ งเขยี นเพม่ิ ใหม จงึ ใชเ วลามาก) ขออนโุ มทนาพระธรรมรกั ษาดว ย๓. การชําระ-เพ่ิมเตมิ ชว งท่ี ๑ ทําใหมีความเปล่ยี นแปลงอะไรการชาํ ระ-เพม่ิ เตมิ ชว งท่ี ๑ น้ี ไดท ําให พจนานกุ รมพุทธศาสน ฉบบั ประมวลศัพท มีศัพทต้ังที่เพ่ิมข้นึ และท่ีมีความเปลย่ี นแปลงราว ๓๑๗ หวั ศัพท (ไมน ับการแกค าํ ผิด-ตก ที่พระมหานพิ นธชวยแจงมา อีกราว ๕๐ แหง ) หวั ศพั ท ที่มีการปรับแก และที่เพิ่มใหม มี ตัวอยาง ดังน้ีกัป,กลั ป กริ ิยา กเิ ลสพันหา คงคา คณาจารย เคร่อื งรางชมุ นุมเทวดา ตัณหา ๑๐๘ ทกั ขิณาบถนัมมทา บริขาร บุพการ ทีฆนขสูตร ธรรมราชา ธญั ชาติปริตร,ปรติ ต ปญญา ๓ พรหมจรรยมานะ ยถากรรม ยมนุ า บพุ นมิ ติ แหง มรรค ปกตัตตะ ปปญจะสรภู สังคายนา สจั กริ ิยาหนี ยาน อจิรวดี อธษิ ฐาน มหานที ๕ มหายาน มาตราอาภัพ อายุ อายุสงั ขาร โยนก โวการ (เชน จตโุ วการ) สมานฉนั ท สจั จาธิฏฐาน สีหนาท สุตะ อธษิ ฐานธรรม อภสิ มั พทุ ธคาถา อโศกมหาราช อาสภวิ าจา อตุ ราบถ อุทยาน การชําระ-เพมิ่ เตมิ นี้ ทําให พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบบั ประมวลศพั ท มลี ักษณะคบื เคลื่อนเขา ไปใกลง านคางที่ ๓ ซึ่งไดห ยดุ ลงเมือ่ ใกลส ิน้ ป ๒๕๒๑ เชน คาํ “กัป, กัลป” ในการพมิ พคร้ังที่ ๑๐ พ.ศ. ๒๕๔๖ มคี าํ อธบิ าย ๑๒ บรรทดั แตใ นฉบับชําระ-เพิม่ เตมิ ชวงท่ี ๑ นี้ ขยายเปน๑๑๓ บรรทดั เมอื่ นําไปเทียบกบั ฉบบั งานคา งท่ี ๓ นัน้ (ในการเขยี นขยายคราวน้ี ไมไดหนั ไปดูงานคา งนน้ั เลย) ปรากฏวา คาํ อธิบายในฉบับชาํ ระ-เพม่ิ เตมิ ชวงท่ี ๑ น้ี ยงั สั้นกวา เกาเกอื บคร่งึ หนึ่ง ถา ตอ งการมองใหช ดั วางานชาํ ระ-เพม่ิ เตมิ มีลกั ษณะอยา งไร จะดูไดง ายทคี่ ําตวั อยา งขา งบนนั้น เฉพาะอยา งยงิ่ คําวา กัป, กลั ป; กเิ ลสพันหา ; เครื่องราง; ชาดก; ทักขิณาบถ; นมั มทา; บรขิ าร;ปริตร,ปริตต; มานะ; ยถากรรม; สจั กริ ยิ า; อธิษฐาน; อายุ บดั นี้ งานชาํ ระ-เพมิ่ เตมิ ชว งที่ ๑ ไดเ สร็จส้นิ แลว โดยกาํ หนดเอาเองวาเพยี งเทาน้ี แตงานชาํ ระ-เพม่ิ เตมิ ชว งที่ ๒ และ ๓ ซึง่ รอขางหนา มมี ากกวา และไมอ าจกําหนดวา จะเสรจ็ เมื่อใด หากไมนริ าศ-ไมไ ดโอกาสจากโรค ก็กลาวไดเพยี งวา อยใู นความต้งั ใจทจี่ ะทําตอไป พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๑๗ มนี าคม ๒๕๕๐

คาํ ปรารภ (ในการพิมพครั้งที่ ๑๐) เมือ่ กลาวถึง พจนานกุ รมพุทธศาสน ฉบบั ประมวลศัพท หลายทา นนึกถงึ พจนานกุ รมพุทธศาสตรฉบบั ประมวลธรรม ดว ย โดยเขาใจวาเปนหนังสอื ชดุ ทีม่ ีสองเลมรวมกัน แตแ ทจริงเปน หนังสือที่เกิดขึ้นตางหากกัน ตางคราวตา งวาระ และมคี วามเปนมาที่ทง้ั ตา งหากจากกัน และตางแบบตา งลักษณะกนัก. ความเปน มา ชว งท่ี ๑: งานสาํ เร็จ แตขยายไมได พจนานุกรมพทุ ธศาสตร ฉบบั ประมวลธรรม เปน หนังสือทค่ี อ ยๆ กอตวั ขนึ้ ทีละนอ ย เรม่ิ จากหนงั สือStudent’s Thai–Pali–English Dictionary of Buddhist Terms เลมเล็กๆ ท่จี ดั ทําเสร็จใน พ.ศ. ๒๕๐๖ตอแตน้ันก็ไดปรับปรุง–เพ่ิมเติม–ขยายขนาดข้ึนเร่ือยๆ และไดขยายขอบเขตออกไปจนกลายเปนงานท่ีมีลกั ษณะเปน สารานุกรม เมือ่ เวลาผานไปๆ ก็มองเหน็ วา งานทําสารานกุ รมจะกินเวลายืดเยื้อยาวนานมาก ยง่ิ มงี านอ่ืนแทรกเขามาบอยๆ กย็ ่งิ ยากทจ่ี ะมองเหน็ ความจบส้ิน ในทีส่ ุดจงึ ตกลงวาควรทาํ พจนานุกรมขนาดยอมๆ ขน้ั พื้นฐานออกมากอน และไดร วบรวมคัดเลือกหมวดธรรมมาจัดทาํ คําอธบิ ายขึ้น ซ่งึ ไดบรรจบรวมกับหนังสือเลม เลก็เดิมท่สี ืบมาแต พ.ศ. ๒๕๐๖ กลายเปน ภาคหนึง่ ๆ ใน ๓ ภาคของหนงั สือทีร่ วมเปนเลม เดียวกนั อันมีชอ่ื วาพจนานุกรมพุทธศาสตร เมือ่ พ.ศ. ๒๕๑๕ กาลลว งมาจนถงึ พ.ศ. ๒๕๒๘ พจนานกุ รมพุทธศาสตร ซงึ่ พิมพครงั้ ท่ี ๔ จึงมชี ่อื ปจ จุบนั วาพจนานกุ รมพทุ ธศาสตร ฉบับประมวลธรรม เพือ่ ใหเ ขา คกู ับพจนานกุ รมอีกเลม หน่ึงท่ีเปลย่ี นจากช่อื เดิมมาเปน พจนานกุ รมพุทธศาสน ฉบบั ประมวลศัพท ถงึ วาระน้ี พจนานุกรมสองเลม น้จี งึ เสมอื นเปน หนังสือทรี่ วมกนั เปน ชดุ อันเดยี ว พจนานกุ รมพทุ ธศาสน ฉบับประมวลศพั ท ท่ีวา นั้น เปนหนงั สอื ท่เี กิดขน้ึ แบบทง้ั เลมฉับพลันทันทีโดยแทรกตัวเขา มาใน พ.ศ. ๒๕๒๒ ระหวางทีง่ านทาํ พจนานกุ รมซ่ึงขยายขอบเขตออกไปจนจะเปนสารานุกรมน้ัน กาํ ลงั ดาํ เนนิ อยู เนื่องจากผูรวบรวมเรียบเรียงเห็นวางานทําสารานุกรม คงจะกินเวลายืดเย้ือไปอีกนาน และพจนานกุ รมพทุ ธศาสตร ทที่ าํ เสรจ็ ไปแลว กม็ เี ฉพาะดา นหลกั ธรรมซง่ึ จดั เรยี งตามลาํ ดบั หมวดธรรม ควรจะมีพจนานกุ รมเลม เลก็ ๆ งา ยๆ วาดวยพระพุทธศาสนาทั่วๆ ไป แบบเรียงตามลาํ ดบั อกั ษร ทพ่ี อใชป ระโยชนพ น้ื ๆสาํ หรบั ผเู ลา เรยี นในขน้ั ตน โดยเฉพาะนกั เรยี นนกั ธรรม ออกมากอ น พรอมน้ันก็พอดีประจวบเหตุผลอีกอยา งหนง่ึ มาหนุน คือ ไดเห็นหนงั สอื ศพั ทห ลกั สตู รภาษาไทยสาํ หรบั นกั ธรรม ชนั้ ตรี ชน้ั โท และชนั้ เอก ท่ีมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั จัดพิมพอ อกมาใน พ.ศ. ๒๕๐๓เหลืออยูจํานวนมากมาย และดูเหมือนวา ไมมใี ครเอาใจใส หนงั สือ ศพั ทห ลกั สตู รภาษาไทย ชดุ นน้ั ทาง มจร. จดั พิมพข ้นึ มาเพอ่ื สนองความตอ งการของนกั เรยี นนักธรรมทจี่ ะตองสอบวิชาใหมซึ่งเพม่ิ เขามาในหลกั สูตร คอื วชิ าภาษาไทย แตแ ทบจะยังไมทนั ไดเผยแพรอ อกไป วชิ าภาษาไทยนน้ั ก็ไดถ ูกยกเลกิ เสยี หนงั สอื ชดุ นัน้ จึงถกู ทอดท้ิง ไดม องเหน็ วา หนงั สอื ศพั ทห ลกั สตู รภาษาไทย นนั้ ไมค วรจะถกู ทง้ิ ไปเสยี เปลา ถา นาํ มาจดั เรยี งใหมใ นรปูพจนานกุ รม กจ็ ะใชป ระโยชนไ ด อยา งนอ ยศพั ทต งั้ หรอื หวั ศพั ทท ม่ี อี ยกู จ็ ะทนุ แรงทนุ เวลาในการเกบ็ ศพั ทเ ปน อนั มาก

ฉ โดยนยั น้ี กไ็ ดน าํ หนงั สอื ศพั ทห ลกั สตู รภาษาไทย ชดุ นน้ั ทงั้ ๙ ภาค (ศพั ทส าํ หรบั นกั ธรรมตร–ี โท–เอกชนั้ ละ ๓ วิชา จงึ มชี ั้นละ ๓ ภาค พิมพรวมเปนชนั้ ละเลม) มาจดั เรยี บเรยี งเปนพจนานุกรมเลม เดยี ว ดงั ไดเลาไวแ ลวใน “แถลงการจดั ทําหนงั สือ ประกาศพระคณุ ขอบคณุ และอนโุ มทนา (ในการพิมพครัง้ ที่ ๑)” ศพั ทจ ํานวนมากทเี ดยี ว ท่งี า ยๆ พ้นื ๆ และตองการเพียงความหมายสั้นๆ หรือคาํ อธิบายเพยี งเลก็นอย ไดคงไวต ามเดิมบา ง แกไขปรับปรุงบา ง สว นศัพทท ต่ี องการคาํ อธิบายยาวๆ กเ็ ขยี นขยาย และศัพทสําหรับการเรียนนักธรรมท่ีตกหลนหรอื ศัพททัว่ ไปอันควรรูท่ยี งั ไมม ี ก็เตมิ เขา มา รวมเปน ของเกากับของใหมประมาณครง่ึ ตอคร่ึง จงึ เกดิ เปน พจนานกุ รม ซง่ึ ในการพมิ พค รงั้ แรก พ.ศ. ๒๕๒๒ เรยี กชอ่ื วา พจนานกุ รมพทุ ธศาสน ฉบับครู นักเรยี น นกั ธรรม ตอมา ในการพมิ พครัง้ ท่ี ๒ พ.ศ. ๒๕๒๗ พจนานุกรมเลมน้ันไดเปลีย่ นมีชอื่ อยางปจ จบุ ันวาพจนานุกรมพทุ ธศาสน ฉบบั ประมวลศัพท คือหนังสอื เลม น้ี เม่ือมีการเผยแพรมากขึ้น ผูขออนุญาตพิมพบางแหงจึงไดนําพจนานุกรมท้ังสองเลมน้ีมาจัดรวมกันเปน ชุด และลาสุดบางทีถงึ กับทํากลอ งใสร วมกนั แมจะมีประวตั ิแหง การเกิดข้ึนตา งหากกนั แตพจนานกุ รมสองเลม น้กี ็มีลกั ษณะทีเ่ หมอื นกันอยางหนง่ึคือเปนงานในชวงระหวางที่งานทําพจนานุกรมซ่ึงตอเน่ืองมาแตเดิมและขยายออกไปจนกลายเปนสารานุกรมแสดงอาการวาจะเปนเรื่องยืดเยื้อตอ งรออกี ยาวนาน หลงั จากการพมิ พลงตวั แลว พจนานุกรมสองเลม นก้ี ็มชี ะตากรรมอยา งเดยี วกัน คอื ขึ้นตอระบบการทาํตนแบบและการพมิ พย ุคกอนน้ัน ซึ่งตนแบบอยใู นแผน กระดาษทต่ี ายตวั แกไขและขยบั ขยายไดย าก ยง่ิ เปนหนงั สอื ขนาดหนาและมรี ปู แบบซบั ซอน กแ็ ทบปรบั เปล่ยี นอะไรไมไดเ ลย ดวยเหตุนี้ การพมิ พพจนานกุ รมสองเลมน้ันในครงั้ ตอ ๆ มา จึงตองพมิ พซํา้ ตามตนแบบเดมิ ถาจาํเปน จริงๆ ทีจ่ ะตอ งแกไ ข กแ็ กไดเ พียง ๔–๕ บรรทัด ย่ิงเมือ่ เวลาผา นมานานขน้ึ แผน กระดาษตนแบบทง้ั หมดก็ผุเปอยหรือสูญหายไป (ตนแบบของ พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศพั ท ซึ่งทําขน้ึ ใหมในการพิมพครัง้ ที่ ๒ ไดสญู หายไปตง้ั แตเมื่อการพมิ พครงั้ ท่ี ๒ น้นั เสร็จส้นิ ลง) ทําใหการพิมพต อจากนน้ั ตอ งใชว ิธีถา ยภาพจากหนังสือท่ีพิมพครั้งกอนๆ ซึ่งจะไดตัวหนังสือที่เลือนลางลงไปเร่อื ยๆ ไดแตรอเวลาที่จะพิมพท ําตนแบบขึ้นใหม โดยจะถือโอกาสเพิ่มเตมิ ดว ยพรอ มกัน อยางไรก็ตาม เนื่องจาก พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศพั ท นี้ มีศัพทและคาํ อธบิ ายทจี่ ะเพม่ิมากมาย เมื่อแกไขตน แบบเดิมไมไ ด ก็จึงใสส ว นเพ่ิมเขา มาตา งหากตอ ทายเลมในการพมิ พคร้ังท่ี ๓ พ.ศ.๒๕๒๘ โดยทําเปน “ภาคผนวก” (มศี พั ทต้งั หรือหัวศพั ทเ พ่ิม ๑๒๔ ศัพท รวม ๒๔ หนา ขยายขนาดเลมหนงั สอื เฉพาะตวั พจนานกุ รมแทๆ ขนึ้ เปน ๔๖๖ หนา ) ตอแตน้นั มา ก็พมิ พซํ้าอยา งที่กลา วขา งตนข. ความเปนมา ชว งที่ ๒: เขา ยคุ ใหม มีฐานทีจ่ ะกาวตอ ระหวา งรอเวลาทีจ่ ะพิมพท ําตนแบบใหม พรอ มกับเขียนเพิม่ เตมิ ซึ่งมองไมเหน็ วาจะมโี อกาสทําไดเ ม่ือใด กาลก็ลว งมา จนถงึ ยุคคอมพวิ เตอร ระบบคอมพิวเตอรไดชวยใหการพิมพเจริญกาวหนาอยางมหัศจรรย ซ่ึงแกปญหาสาํ คัญในการทาํพจนานกุ รมไดท ง้ั หมด โดยเฉพาะ • การพิมพขอ มลู ใหมท ําไดอ ยา งดแี ละคลองสะดวก • รักษาขอมูลใหมน ้นั ไวไดส มบูรณแ ละยืนนาน โดยมคี ณุ ภาพคงเดิม หรือจะปรับใหดยี ง่ิ ขึ้นกไ็ ด

ช • ขอ มลู ใหมท เี่ ก็บไวน นั้ จะแกไ ข–ปรับปรงุ –เพมิ่ เตมิ ทจี่ ุดไหนสว นใด อยางไร และเม่อื ใด กไ็ ดต ามปรารถนา ถึงตอนน้ี กเ็ ห็นทางทีจ่ ะทําใหงานทําพจนานกุ รมกา วตอ ไป แตก ็ตอ งรอขน้ั ตอนสาํ คญั คอื จุดต้งั ตนคร้งั ใหม ไดแกการพมิ พขอ มลู พจนานุกรมท้ังหมดในเลมหนังสอื ลงในคอมพิวเตอร ซึ่งตองใชเ วลาและแรงงานมากทีเดียว ถามขี อมูลที่พมิ พลงในคอมพวิ เตอรไ วพรอมแลว ถึงจะยังไมมีเวลาท่ีจะแกไ ข–ปรบั ปรงุ –เพ่ิมเติม ก็อุนใจได เพราะสามารถเกบ็ รอไว มโี อกาสเมอื่ ใด กท็ าํ ไดเม่ือน้ัน แตตองเริ่มขน้ั เตรยี มขอ มูลนัน้ ใหไดกอ น ขณะทีผ่ ูรวบรวมเรียบเรยี งเองพมิ พด ีดไมเปน กบั ทั้งมีงานอ่นื พันตัวนุงนัง ไมไดด ําเนนิ การอันใดในเรือ่ งนี้ กไ็ ดม ที า นท่มี ใี จรักและทา นที่มองเห็นประโยชน ไดพมิ พขอมลู พจนานกุ รมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท ท้ังหมดของเลม หนงั สอื ลงในคอมพวิ เตอร ดวยความสมคั รใจของตนเอง โดยมไิ ดนดั หมาย เทาทีท่ ราบ/เทาทีพ่ บ ๔ ราย เปน ๔ ชดุ คือ ๑. พระมหาเจิม สุวโจ แหงสถาบันวิจัย มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั ไดเ ริ่มจดั ทาํ งานนีต้ ั้งแตระยะตน ๆ ของยคุ แหงการพิมพดวยระบบคอมพวิ เตอร ซ่ึงท้ังอปุ กรณแ ละบคุ ลากรดานน้ียังไมพ รง่ั พรอม ใชเ วลาหลายป จนในทสี่ ุด ไดม อบขอมลู ที่เตรียมเสรจ็ แลวแกผ รู วบรวมเรยี บเรียง เมอ่ื วันที่ ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๔๑ ขอ มลู ทพี่ ระมหาเจมิ สวุ โจ เตรยี มไวน ้ี ไดจ ดั วางรปู แบบเสรจ็ แลว รอเพยี งงานขน้ั ทจ่ี ะสง เขา โรงพมิ พรวมทงั้ การตรวจครงั้ สดุ ทา ย นบั วา พรอ มพอสมควร แตผ รู วบรวมเรยี บเรยี งกไ็ มม เี วลาตรวจ เวลากผ็ า นมาเรอื่ ยๆ ๒. รศ. ดร.สมศีล ฌานวังศะ ราชบัณฑติ ไดเตรยี มขอมลู พจนานกุ รมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท(พรอ มท้งั พจนานุกรมพทุ ธศาสตร ฉบับประมวลธรรม) โดยบุตรหญิง–ชาย คอื น.ส.ภาวนา ต้ังแตยงั เปนด.ญ.ภาวนา ฌานวังศะ และนองชาย คอื นายปญ ญา ต้ังแตย งั เปน ด.ช.ปญ ญา ฌานวงั ศะ ไดชวยกนั แบง เบาภาระดวยการพิมพขอ มลู ทง้ั หมดของเลม หนงั สอื ลงในคอมพวิ เตอร ภายใตก ารดแู ลของ ดร.สมศลี ฌานวงั ศะซ่งึ เปน ผูตรวจความเรยี บรอยและจดั รปู แบบขอมลู น้นั ตามเลมหนงั สืออกี ทีหนง่ึ ๓. พระไตรปฎ ก (ในแผน CD – ระบบคอมพิวเตอร) ฉบบั สมาคมศษิ ยเกา มหาจุฬาลงกรณราช-วิทยาลัย ซ่งึ เสรจ็ ออกเผยแพรในชวงตนของ พ.ศ. ๒๕๔๓ ไดข อบรรจุ พจนานุกรมพทุ ธศาสตร ฉบับประมวลธรรม และ พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบบั ประมวลศพั ท ไวในโปรแกรมดวย ผูจ ดั ทาํ จึงไดพิมพข อ มูลทัง้ หมดของหนงั สอื ทั้งสองเลม นนั้ ลงในคอมพวิ เตอร แตเ นอ่ื งจากเปนขอ มลู สําหรับโปรแกรมคอมพิวเตอร จึงไมไดจดั รูปแบบเพือ่ การตพี มิ พอ ยางเลม หนังสือ ๔. พจนานุกรมพทุ ธศาสน (ในแผน CD – ระบบคอมพิวเตอร) รุน ๑.๕ (ในโปรแกรมวา พจนานกุ รมพุทธศาสตร Version <1.2>) พ.ศ. ๒๕๔๔ จดั ทาํ โดยคณะวิศวกรรมศาสตรค อมพวิ เตอร มหาวิทยาลัยรังสิตซึง่ ก็ไมไดจ ดั รูปแบบเพอื่ การตีพมิ พอ ยางเลม หนังสอื เพราะเปนขอมลู สําหรบั โปรแกรมคอมพวิ เตอร ขอ มลู ทง้ั ๔ ชดุ นี้ ผจู ดั ทาํ ชดุ นน้ั ๆ ไดน าํ ศพั ทต งั้ และคาํ อธบิ ายทง้ั หมดใน “ภาคผนวก” รวม ๒๔ หนา๑๒๔ ศพั ท ของฉบบั เรยี งพมิ พร ะบบเกา มาแทรกเขา ในเนอ้ื หาหลกั ของเลม ตามลาํ ดบั อกั ษรเสรจ็ เรยี บรอ ยดว ย เมือ่ มีชุดขอมูลใหเลอื ก กแ็ นน อนวาจะตองพจิ ารณาเฉพาะชุดทีจ่ ดั รูปแบบไวแลวเพอ่ื การตพี ิมพอยางเลม หนงั สือ คอื ชุดที่ ๑ และชดุ ที่ ๒ แตท ัง้ ที่มขี อ มลู นนั้ แลว เวลากผ็ า นไปๆ โดยผูร วบรวมเรยี บเรยี งมไิ ดด าํ เนนิ การใดๆ เพราะวา แมจะมีขอ มลู ครบทงั้ หมดแลว แตก ็ยงั มีงานสดุ ทายในขนั้ สงโรงพมิ พ โดยเฉพาะการพิสูจนอ ักษร (ตรวจปรฟู ) ตลอดเลม อกี ครัง้ ซึ่งควรเปน ภาระของผูร วบรวมเรยี บเรยี งเอง

ซ ถา จะใหผรู วบรวมเรยี บเรียงพสิ จู นอกั ษรเองอยา งแตกอน การพมิ พคงตองรออีกแรมป หรอื อาจจะหลายป (ยง่ิ มาบดั นี้ เมอื่ ตาทง้ั สองเปน โรคตอ หนิ เขา อกี กแ็ ทบหมดโอกาส) คงตอ งปลอ ยใหพิมพคร้งั ใหมด ว ยการถา ยภาพจากหนงั สือทพ่ี ิมพค รั้งกอ นตอ ไปอีกค. ความเปนมา ชว งที่ ๓: พมิ พค ร้ังใหม ในระบบใหม การพิมพในระบบใหมคบื หนา เม่ือ ดร.สมศีล ฌานวงั ศะ ชวยรบั ภาระข้ันสุดทายในการจดั ทําตนแบบใหพ รอมท่ีจะนาํ เขารับการตพี ิมพในโรงพิมพ ในงานขนั้ สดุ ทา ยน้ี สาํ หรบั พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร ฉบบั ประมวลธรรม ซง่ึ จดั เรยี งใหมด ว ยระบบคอมพิวเตอร และพมิ พเปน เลม หนงั สือไปแลวเปน ครง้ั แรก เมื่อกลางป พ.ศ. ๒๕๔๕ นนั้ ผูร วบรวมเรยี บเรยี งไดอ านตน แบบสดุ ทายกอ นยตุ ิ แตเม่อื มาถึง พจนานกุ รมพทุ ธศาสน ฉบับประมวลศพั ท กเ็ ปน เวลาทผ่ี รู วบรวมเรยี บเรยี งประสบปญ หาจากโรคตามากแลว รวมทง้ั โรคตอ หนิ จึงยกภาระในการตรวจปรูฟ อา นตน แบบแมแตคร้งั ยตุ ใิ ห ดร.สมศีล ฌานวังศะ รบั ดาํ เนนิ การท้ังหมด เพยี งแตเ มอ่ื มขี อ ผดิ แปลกนา สงสยั ทใี่ ด กไ็ ถถ ามปรกึ ษาเปน แตล ะแหง ๆ ไป พอดีวา ผูรับภาระนอกจากมีความละเอียดและทํางานน้ีดวยใจรักแลว ยังเปนผูศึกษาวิจัยเรื่องพจนานุกรมเปน พเิ ศษอกี ดว ย ยิ่งเม่ือไดค อมพิวเตอรมาเปน เคร่ืองมือ ก็ย่งิ ชวยใหการจดั เรยี งพิมพต น แบบสามารถดาํ เนินมาจนหนงั สอื เสร็จเปน เลม ในรูปลกั ษณท ี่ปรากฏอยูน ้ี พจนานุกรมพทุ ธศาสน ฉบับประมวลศพั ท พิมพครัง้ ที่ ๑๐ ซงึ่ เปน ครงั้ แรกทใี่ ชข อมูลอนั ไดเตรยี มข้ึนใหมด วยระบบการพิมพแบบคอมพวิ เตอรนี้ โดยหลกั การ ไดต กลงวาใหค งเนื้อหาไวอ ยางเดิมตามฉบบั เรยี งพมิ พระบบเกา ยงั ไมป รบั ปรงุ หรอื เพมิ่ เตมิ เนอื่ งจากผูรวบรวมเรียบเรียงยังไมมีเวลาที่จะดําเนินการกับคําศัพทมากมายอันควรเพม่ิ และสง่ิ ทค่ี วรแกไ ขปรบั ปรงุ ตา งๆ ทบ่ี นั ทกึ ไวร ะหวา งเวลาทผี่ า นมา และจะรอกไ็ มม ีกําหนด (จุดเนน หลกั อยูท ี่การไดฐ านขอ มูลในระบบคอมพิวเตอร ซ่งึ ทาํ ใหพ รอ มและสะดวกทจ่ี ะปรบั ปรุงเพิ่มเตมิ ตอไป) ทงั้ น้ี มขี อ ยกเวน คอื ๑. นาํ ศัพทตัง้ และคาํ อธิบายทั้งหมดใน “ภาคผนวก” ของฉบบั เรียงพิมพร ะบบเกา มาแทรกเขา ไปในเน้ือหาหลกั ของเลม ตามลําดบั อกั ษรของศพั ทน้นั ๆ (ขอ นเี้ ปน การเปลย่ี นแปลงดานรปู แบบเทา นัน้ สวนเน้อื หายังคงเดิม) ๒. เนื่องจากมศี พั ทต ้ัง ๘ คํา ท่ไี ดปรบั ปรุงคําอธิบายไวกอนแลว จงึ นาํ มาใสรวมดว ย พรอ มทั้งถือโอกาสแกไขเน้ือความผิดพลาด ๒–๓ แหงท่ผี ูใชพจนานกุ รมฉบับนี้ ทง้ั บรรพชติ และคฤหสั ถบางทานไดแ จงเขา มานับแตก ารพมิ พคร้ังกอ นๆ ซึ่งขอขอบคุณ–อนโุ มทนาไว ณ ทน่ี ีด้ วย ๓. มีการปรับปรุงเพ่ิมเติมปลีกยอยที่พบเห็นนึกไดแลวถือโอกาสทําไปดวยระหวางทาํ งานขั้นสุดทายในการจดั ทําตนแบบใหพ รอมกอ นจะสง เขา รับการตพี ิมพในโรงพมิ พ กลาวคือ คําอธิบายเล็กนอยในบางแหงซ่งึ เหน็ วา ควรจะและพอจะใหเสรจ็ ไปไดใ นคราวนี้ เฉพาะอยางย่ิง • ไดป รบั คาํ อธบิ ายคาํ วา ศลิ ปศาสตร และไดน าํ คาํ อธบิ ายการแบง ชว งกาลในพทุ ธประวตั ิ คอื ชดุทเู รนทิ าน–อวทิ เู รนทิ าน–สนั ตเิ กนทิ าน ชดุ ปฐมโพธกิ าล–มชั ฌมิ โพธกิ าล–ปจฉมิ โพธิกาล และชดุ ปุริมกาล–อปรกาล มาปรบั รวมกันไวท ศี่ ัพทตั้งวา พทุ ธประวัติ อีกแหง หน่งึ ดวย

ฌ • ไดแ ยกความหมายยอ ยของศพั ทต้งั บางคาํ ออกจากกนั เพื่อใหเ กิดความชดั เจนยิ่งขึน้ (เชน คําวา พยญั ชนะ) • ไดตดั ศัพทต ั้งบางคาํ ท่เี หน็ วาไมจ าํ เปน ออก (เชน วงศกลุ , เทวรปู นาคปรก) ๔. เนื่องจากเดิมนั้น พจนานกุ รมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท น้ี จดั ทําขนึ้ โดยมุง เพือ่ ประโยชนข องผูเ ลาเรยี นขั้นตน โดยเฉพาะนักธรรมตรี–โท–เอก ถอยคําใดมใี นแบบเรยี นนกั ธรรม กไ็ ดร กั ษาการสะกดตัวโดยคงไวอยา งเดมิ ตามแบบเรยี นเลม น้ันๆ เปนสว นมาก แตใ นการพมิ พต ามระบบใหมค รงั้ นี้ เหน็ วา ควรจะคาํ นงึ ถงึ คนทวั่ ไป ไมจ าํ กดั เฉพาะนกั ธรรม จงึ ตกลงปรบั การสะกดตวั ของบางศพั ทใ หเ ปน ปจ จบุ นั (เชน ปฤษณา แกเ ปน ปรศิ นา) พรอ มนนั้ ตามทพี่ จนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน ใหห ลกั ไวว า คาํ ทเี่ ปน ศพั ทธ รรมบญั ญตั ิ จะเขียนตามพจนานกุ รมฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน หรือเขยี นเต็มรูปอยา งเดมิ กไ็ ด และในพจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศพั ท แตเ ดิมมาเขยี นท้ังสองรูป เชน โลกตุ ตรธรรม–โลกตุ รธรรม อรยิ สจั จ– อรยิ สจั สว นในการพมิ พตามระบบใหมค รง้ั นี้ ถาคําน้นั อยใู นขอความอธบิ าย ไดปรบั เขียนเปนรูปเดยี วกนั ทง้ั หมด เชน โลกตุ ตรธรรมอริยสจั จ ทั้งน้ี เพือ่ ความสอดคลองกลมกลนื เปนอนั เดียวกนั แตผ อู านจะนําไปเขยี นเองในรปู ทปี่ ระสงคก ็ไดตามคาํ ชีแ้ จงตน เลม ๕. แตเดิมมาหนังสือน้ีมุงเพื่อประโยชนแกผูมีความรูพ้ืนฐานทางธรรมอยูแลว โดยเฉพาะนักเรียนนกั ธรรม ซงึ่ ถอื วารูว ธิ ีอานคําบาลอี ยแู ลว จงึ ไมไดนกึ ถงึ การท่ีจะแสดงวธิ อี านคําบาลีนน้ั ไว แตบ ัดน้ีไดตกลงท่ีจะคํานึงถึงผูใชท ว่ั ไป ดงั นน้ั ในการพมิ พค รงั้ ใหมด ว ยระบบใหมน ้ี จงึ ไดแ สดงวธิ อี า นออกเสยี งศพั ทต งั้ บางคาํ เพอ่ื เกอ้ื กลู แกผูใชทีย่ ังไมค ุนกบั วิธอี านคําที่มาจากภาษาบาลสี นั สกฤต เชน สมสีสี [สะ-มะ-ส-ี ส]ี , โอมสวาท [โอ-มะ-สะ-วาด]แตเ นื่องจากยงั เปน ทํานองงานแถม จงึ ทําเทา ทน่ี ึกไดหรอื พบเฉพาะหนา อาจมคี าํ ศพั ทท ํานองนอ้ี ยอู กี หลายคําทย่ี ังมไิ ดแ สดงวิธอี านออกเสยี งกาํ กบั ไว อยา งไรกต็ าม ในการพมิ พใ หมค รง้ั น้ี ไดแ ทรก “วธิ อี า นคาํ บาล”ี เพม่ิ เขา มาดว ย เพอ่ื ใหผ ใู ชท วั่ ไปทราบหลกั พน้ื ฐานทพี่ อจะนาํ ไปใชเ ปน แนวทางในการอา นไดด ว ยตนเอง โดย ดร.สมศลี ฌานวงั ศะ ชว ยรบั ภาระเขยี นมา งานข้นั สดุ ทา ยทีจ่ ะเขา โรงพมิ พมคี วามละเอยี ด ซึง่ ตอ งใชเวลาและเรย่ี วแรงกําลังมาก ประกอบกบั ผูรบั ภาระมีงานอื่นท่ตี องรบั ผดิ ชอบอกี หลายดา น นับจากเริ่มงานขน้ั สุดทา ยน้ี จนตน แบบเสรจ็ เรยี บรอยนาํ สงโรงพมิ พได ก็ใชเ วลาไปหลายเดือน ทั้งนี้เพราะวา งานขั้นสุดทายกอนรับการตีพิมพมิใชเพียงการตรวจความถูกตองของตวั อักษรเทา นนั้นอกจากอานปรูฟ ตลอดเลม ทวนแลว ทวนอีกหลายเท่ยี วแลว ไดถ ือโอกาสแหงการพมิ พท ่ีเปน การวางรปู แบบคร้ังใหมและมีคอมพิวเตอรเปนอุปกรณน้ี ตรวจทานจัดการเก่ียวกับความสอดคลองกลมกลืน–สม่ําเสมอ–ครบถวน โดยเฉพาะในเรอื่ งทเ่ี ปน ระบบแบบแผน ใหลงตวั ไวเ ทาทีจ่ ะทาํ ได คือ ก) ความสอดคลองกลมกลืน ทั่วๆ ไป ไมวาจะเปน เคร่อื งหมายวรรคตอน หรือการพิมพค าํ –ขนาดตวั อกั ษร–รปู ลักษณข องตวั อักษร ทง้ั คาํ ทวั่ ไปและคําทใ่ี ชใ นการอา งอิงและอางโยง (เชน ดู เทียบ คกู ับ ตรงขามกบั )ไดพ ยายามตรวจและแกไ ขใหสมํ่าเสมอกันทุกแหง ข) ความถกู ตอ งครบถว นทว่ั ถงึ อกี หลายอยา ง ทยี่ งั อาจตกหลน หรอื ขามไปในการพิมพระบบเกาโดยเฉพาะการอา งโยง ไดต รวจสอบเทาทีท่ าํ ได เชน ตรวจดใู หแ นใ จวา ศัพทต ง้ั ทุกคาํ ที่เปนธรรมขอยอย ไดอางโยงถึงหมวดธรรมใหญท ่ีธรรมขอ ยอ ยนนั้ แยกออกมา

ญ ค) ระบบการอา งโยง ระหวา งศพั ทต ง้ั ไดจ ดั ปรบั ใหส มา่ํ เสมอชดั เจนและครบถว นยงิ่ ขนึ้ เชน • ไดส ํารวจคําแสดงการอางโยงทมี่ อี ยู ซ่งึ ยตุ ลิ งเปน ๔ คาํ และนอกจากไดป รบั ขนาดและแบบตวัอกั ษรของคาํ แสดงการอา งโยงนั้นใหสมา่ํ เสมอกันทั่วท้งั หมด กลาวคอื ดู เทียบ คกู บั ตรงขามกับ แลว ยังไดพยายามวางขอ ยตุ ใิ นการใชคําเหลาน้นั ดวยวาจะใชค าํ ไหนในกรณหี รอื ในขอบเขตใด ในการนี้ พึงทราบวา คาํ ทม่ี กั มาคกู นั และเปน คาํ ตรงขามกนั ดวย ในพจนานกุ รมน้ี ใชคําอา งองิ วาคกู บั หรือ ตรงขามกบั อยางใดอยา งหนึง่ โดยยงั ไมถ อื ขอยุตเิ ด็ดขาดลงไป เชนโลกียธรรม คกู ับ โลกุตตรธรรม,สงั ขตธรรม ตรงขา มกับ อสงั ขตธรรม • ใชก ารอางโยง แทนคาํ อธบิ ายบางตอนทีซ่ ้าํ ซอ นเกนิ จําเปน หรือชวยใหปรบั เปล่ียนคาํ อธบิ ายบางแหง ใหส้ันลง (เชน ตดั คําอธบิ ายที่ เบญจศีล ออก เนื่องจากซํ้ากบั ศลี ๕ แลว ใชก ารอางโยงแทน) นอกจากนั้น ยังมีงานแทรกซอนบางอยางท่ีใชเวลาเพิ่มขึ้นอีกมากทีเดียวนอกเหนือความคาดหมาย เชน ทกุ ครั้งทมี่ กี ารแกไขขอมลู ซง่ึ ทาํ ใหข อ ความและถอ ยคาํ ขยบั ขยายเลอ่ื นท่ี ตอ งตรวจดคู วามถกู ตอ งเหมาะสมในการตดั แยกคาํ ทา ยบรรทดั โดยเฉพาะคาํ ศพั ทบ าลสี นั สกฤต เชน ปาฏโิ มกข และคาํ ประสม เชนพระเจา นมสม ถา โมกข เจา หรือ สม เล่อื นแยกออกไปอยตู า งบรรทดั ซง่ึ ทาํ ใหผ ดิ หลกั อกั ขรวธิ กี ารเขยี นคาํบาลสี นั สกฤต หรอื อาจชวนใหอ า นเขา ใจผิดในกรณคี ําประสม กต็ องพยายามแกไขใหม าอยูในบรรทดั เดยี วกนัครบทง้ั คํา หรือใชวธิ ใี สเคร่อื งหมาย - (ยติภังค) หากเปน คําบาลีสนั สกฤตท่พี อจะเอื้อใหต ดั แยกได เชน กศุ ล-ธรรม (ดังในตัวอยางนี)้ และการแกไ ขนม้ี กั จะสง ผลกระทบตอคําอ่นื อยูเนอื งๆ ทาํ ใหตอ งตรวจดใู หทั่วซํ้าอกี อน่ึง การแกไขดังกลาว ยังสงผลกระทบตอทอดไปถึงการจัดหนาหนงั สือโดยรวม ซง่ึ พลอยขยับเขยือ้ นเปล่ียนแปลงไปเน่ืองจากการตดั เพมิ่ หรือเปลีย่ นแปลงขอความน้นั อันจะตองตรวจดแู ละจดั ปรับใหถกู ตอ งลงตวั ดว ยทกุ ครัง้ เชนเดยี วกนั การทงี่ านพิมพ พจนานุกรมพทุ ธศาสน ฉบับประมวลศพั ท กาวมาจนถงึ ขน้ั สาํ เรจ็ เสรจ็ สน้ิ ในบดั น้ี จงึหมายถงึ การบาํ เพญ็ อทิ ธบิ าททง้ั ๔ ของ ดร.สมศลี ฌานวงั ศะ และบตุ รหญงิ –บตุ รชาย คอื น.ส.ภาวนา ฌานวงั ศะและ นายปญญา ฌานวงั ศะ ซงึ่ ขออนโุ มทนาไว ณ ที่น้ี เปนอยางยง่ิ พรอ มน้ี ขอขอบคณุ พระมหาเจมิ สวุ โจ แหง มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั ทไ่ี ดอ ตุ สาหะวริ ยิ ะเตรยี มฐานขอ มลู คอมพวิ เตอรช ดุ แรกของ พจนานกุ รมพทุ ธศาสน ฉบบั ประมวลศพั ท และมอบใหไว แมจะเปน ชุดทมี่ ไิ ดนํามาใชในการพิมพคร้ังนี้ กถ็ ือวา พระมหาเจมิ สวุ โจ ไดมีสวนรวมในงานนด้ี ว ย อนง่ึ ระหวา งทแ่ี กไ ขทวนทานเพอื่ เตรยี มตน แบบสาํ หรบั สง โรงพมิ พน ี้ พระครปู ลดั ปฎ กวฒั น (อนิ ศรจินตฺ าปฺโ) และพระภิกษุหลายรูปในวัดญาณเวศกวนั ไดอานปรฟู อีกเท่ียวหนง่ึ ชว ยใหก ารพิสจู นอ ักษรถกูตอ งเรยี บรอยยง่ิ ขนึ้ จงึ ขอขอบคุณพระครูปลดั ปฎกวัฒนและพระภิกษุทกุ รูปทช่ี ว ยงาน ในโอกาสน้ี กระนน้ักต็ าม กค็ งยงั มขี อ ผดิ พลาดหลงเหลืออยูบ า ง หากผใู ชทานใดไดพบ กข็ อไดโ ปรดแจงใหทราบดวย เพื่อชว ยใหการพมิ พค รั้งตอ ๆ ไปมคี วามสมบูรณย่ิงขนึ้ หวงั วา พจนานกุ รมพทุ ธศาสน ฉบบั ประมวลศพั ท ทพ่ี มิ พด ว ยระบบใหมค รง้ั นี้ จะเปน อปุ กรณอ นั เกอื้ กลูตอ การศกึ ษา ทส่ี าํ เรจ็ ประโยชนไ ดด ยี งิ่ ขนึ้ และเปน ปจ จยั หนนุ ใหเ กดิ ธรรมไพบลู ย เพือ่ ประโยชนสุขแกพ หูชนย่ังยนื นานสืบไป พระธรรมปฎ ก (ป. อ. ปยุตฺโต) ๒๓ กนั ยายน ๒๕๔๖

บันทกึ ของผูเ รยี บเรยี ง (ในการพิมพครัง้ ท่ี ๒ – พ.ศ. ๒๕๒๗) ๑. หนงั สอื นพี้ มิ พค รง้ั แรกเมอื่ พ.ศ. ๒๕๒๒ ในงานพระราชทานเพลงิ ศพ พระครปู ลดั สมยั กติ ตฺ ทิ ตโฺ ตเจา อาวาสวดั พระพิเรนทร มชี อื่ วา พจนานุกรมพทุ ธศาสน ฉบับครู นกั เรยี น นักธรรม แตใ นการพมิ พคร้งั ท่ี ๒นี้ ไดเ ปล่ียนชือ่ ใหมวา พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท ท้ังนีเ้ พราะชื่อเดิมยาวเกนิ ไป เรยี กยาก การทม่ี คี าํ สรอยทา ยชอ่ื วา ฉบับประมวลศพั ท ก็เพ่อื ปองกนั ความสับสน โดยทําใหตางออกไปจากพจนานกุ รมพทุ ธศาสตร ของผเู รียบเรียงเดยี วกนั ซึง่ มอี ยูกอน พจนานกุ รมพุทธศาสน ฉบบั ประมวลศัพท เปน พจนานกุ รมซึ่งรวบรวมและอธิบายคําศัพทท ัว่ ไปทุกประเภททเ่ี ก่ียวกับพระพทุ ธศาสนา เชน หลักธรรม พระวนิ ยั พธิ ีกรรม ประวตั ิบคุ คลสาํ คญั ตํานาน และวรรณคดีท่สี าํ คญั เปน ตน ตางจาก พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร (จะขยายชอื่ เปน พจนานกุ รมพุทธศาสตร ฉบบัประมวลธรรม) ท่มี งุ รวบรวมและอธิบายเฉพาะแตหลกั ธรรมซึ่งเปน สาระสําคญั ของพระพุทธศาสนา ๒. ศพั ทท่ีรวบรวมมาอธิบายในหนังสือนี้ แยกไดเปน ๓ ประเภทใหญๆ คอื ๑) พทุ ธศาสนประวัติ มีพุทธประวตั ิเปน แกน รวมถงึ สาวกประวัติ ประวตั บิ คุ คล สถานท่ี และเหตุการณส ําคญั ในพระพุทธศาสนา ตลอดจนตํานาน และเร่ืองราวท่มี าในวรรณคดตี างๆ เฉพาะที่คนทัว่ ไปควรรู ๒) ธรรม คอื หลกั คําสอน ทง้ั ทมี่ าในพระไตรปฎก และในคัมภรี ร ุนหลังมีอรรถกถาเปนตน รวมไวเฉพาะท่ศี ึกษาเลาเรยี นกันตามปกติ และเพ่มิ บางหลักทนี่ า สนใจเปนพิเศษ ๓) วนิ ยั หมายถงึ พทุ ธบญั ญตั ทิ ก่ี าํ กบั ความประพฤตแิ ละความเปน อยขู องพระสงฆ และในทน่ี ใ้ี หม ีความหมายครอบคลมุ ถงึ ขนบธรรมเนยี มประเพณี พธิ กี รรมบางอยา งทไ่ี ดเ ปน เครอื่ งยดึ เหนย่ี วคมุ ประสานสงั คมของชาวพทุ ธไทยสบื ตอ กนั มา นอกจากนมี้ ศี พั ทเ บด็ เตลด็ เชน คาํ กวซี ง่ึ ผกู ขนึ้ โดยมงุ ความไพเราะ และคาํ ไทยบางคาํ ทไี่ มค นุ แตปรากฏในแบบเรยี นพระปรยิ ตั ธิ รรม ซงึ่ ภกิ ษสุ ามเณรจาํ เปน จะตอ งรคู วามหมาย เปน ตน ๓. หนังสอื นีร้ วมอยใู นโครงการสวนตัว ทจี่ ะขยายปรบั ปรุงกอ นการจัดพมิ พครัง้ ท่ี ๒ และไดเ พมิ่ เตมิปรบั ปรงุ ไปบา งแลว บางสว น แตต ามทต่ี งั้ ใจไวก ะวา จะปรบั ปรงุ จรงิ จงั และจดั พมิ พภ ายหลงั พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร(ฉบบั ประมวลธรรม) ครน้ั ดร.สจุ ินต ทังสุบุตร ตดิ ตอ ขอพมิ พเปนธรรมทานในงานพระราชทานเพลงิ ศพบดิ าผเู ปน บรุ พการี จงึ เปน เหตใุ หก ารพมิ พเ ปลย่ี นลาํ ดบั กลายเปน วา หนงั สอื นจ้ี ะสาํ เรจ็ กอ น โดยเบอื้ งแรกตกลงวา จะพมิ พไ ปตามฉบบั เดมิ ทส่ี ว นใหญย งั ไมไ ดป รบั ปรงุ แตป ญ หาขอ ยงุ ยากตดิ ขดั ทที่ าํ ใหก ารพมิ พล า ชา ไดก ลายเปนเครอื่ งชวยใหไ ดโ อกาสรบี เรง ระดมงานแทรกเพิ่ม ปรับปรงุ แขงกนั ไปกบั งานแกไขปญหา จนหนังสอื นม้ี เี นอื้ หาเกือบจะครบถวนสมบูรณตามความมุงหมาย นับวาเจาภาพงานน้ีไดมีอุปการะมากตอความสําเร็จของงานปรบั ปรงุ หนงั สอื และตอการชวยใหงานเสร็จสนิ้ โดยเรว็ ไมย ืดเยือ้ ตอ ไป อยา งไรกด็ ี มผี ลสบื เนอื่ งบางอยา งทค่ี วรทราบไวด ว ย เพอ่ื ใหร จู กั หนงั สอื นชี้ ดั เจนยงิ่ ขนึ้ เชน ก) ในโครงการปรบั ปรงุ เดมิ มขี อ พจิ ารณาอยา งหนง่ึ วา จะรวมศพั ทท แี่ ปลกในหนงั สอื ปฐมสมโพธกิ ถา และใน มหาเวสสนั ดรชาดก เขา ดว ยหรอื ไม การพมิ พท เี่ รง ดว นครง้ั นไี้ ดช ว ยตดั สนิ ขอพิจารณานนั้ ใหยตุ ิลงไดท นั ทีคอื เปน อันตอ งตดั ออกไปกอ น แตการไมร วมศัพทในวรรณคดี ๒ เรือ่ งน้นั เขา มากไ็ มท าํ ใหพ จนานกุ รมนเ้ี สยีความสมบรู ณแ ตอ ยา งใด เพราะศพั ทส ว นมากใน ปฐมสมโพธกิ ถา และ มหาเวสสนั ดรชาดก เปน คํากวีและคํา

ฏจําพวกตํานาน ซ่งึ มงุ ความไพเราะหรือเปน ความรปู ระกอบ อนั เกินจําเปน สําหรบั การเรยี นรใู นระดับสามัญ วา ที่จริงศัพทสองประเภทนั้นเทาท่ีมีอยูเดิมในหนังสือน้ีก็นับวามากจนอาจจะทําใหเกิดความสับสนกับศัพทจาํ พวกหลักวชิ าไดอ ยแู ลว สว นความรูท เี่ ปนหลักการของพระพุทธศาสนาที่ปรากฏในวรรณคดี ๒ เร่ืองนั้น กลาวไดวามอี ยใู นพจนานกุ รมน้ีแลวแทบทั้งหมด ข) การปรับปรุงอยางเรงดวนแขงกับเวลาท่ีบีบรัดทําใหเกิดความลักล่ันขึ้นบางในอัตราสวนของการอธิบาย คอื บางคําอธิบายขยายใหมย ดื ยาวมาก เชน ไตรปฎก ยาวเกนิ ๑๐ หนา แตบ างคําคงอยอู ยา งเดิมซ่ึงเมือ่ เทยี บกนั แลวกลายเปนสั้นเกินไป เชน ไตรสิกขา ทีอ่ ยใู กลก ันนัน้ เอง และศัพทบ างศพั ทย ังตกหลนหลงตาเชน ไตรทศ, ไตรทพิ ย เปน ตน อยา งไรกต็ าม ขอ บกพรอ งเชน นเ้ี หลอื อยนู อ ยยง่ิ โดยมากเปน สว นทพี่ สิ ดารเกนิ ไปมากกวา จะเปน สว นที่หยอนหรือขาด และถา รูจกั คน กส็ ามารถหาความหมายทลี่ กึ ละเอยี ดออกไปอกี ได เชน ไตรสกิ ขา กอ็ าจเปด ดคู าํยอยตอ ไปอีก คอื อธิศลี สกิ ขา, อธิจิตตสกิ ขา, และ อธิปญ ญาสิกขา สวนคําจาํ พวก ไตรทศ, ไตรทพิ ย กเ็ ปนก่งึ คํากวี ไมใ ชศพั ทวชิ าการแท เพยี งแตหาความหมายของศัพท ไมตอ งอธิบายดา นหลกั วชิ า อาจปรึกษาพจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน ได ๔. ความหมายและคาํ อธบิ ายศัพท นอกจากสว นใหญท่ไี ดคน ควารวบรวมและเรียบเรยี งขน้ึ เปน เนอื้ หาเฉพาะของพจนานกุ รมนีแ้ ลว มแี หลง ทค่ี วรทราบอกี คือ ๑) ศัพทจํานวนหน่ึง เกี่ยวกับการเรียนการสอนวิชานักธรรม ซึ่งการตอบและอธิบายตามแบบแผนมคี วามสําคญั มากสาํ หรบั ผเู รยี นและผูสอบในระบบน้นั (โดยมากเปนศพั ทพ ระวินัย และมศี พั ทท างวชิ าธรรมปนอยบู า ง) ในทนี่ ม้ี กั คดั เอาความหมายและคาํ อธบิ ายในแบบเรยี นมาลงไวด ว ย ๒) ศัพทบ างศพั ท ทีเ่ ห็นวาความหมายและคาํ อธบิ ายในหนงั สอื ศพั ทห ลกั สตู รภาษาไทย ของมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย ชัดเจนและใชไ ดด อี ยู ก็คงไวตามน้ัน ๓) ศัพททใี่ ชก นั ในภาษาไทย ซึ่งผูคน มักตองการเพียงความหมายของคําศพั ท ไมมีเรอ่ื งทีต่ องรใู นทางหลกั วิชามากกวา น้ัน หลายแหงถอื ตาม พจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน ๔) ในขนั้ สมบรู ณข องพจนานกุ รมนี้ ไดต ง้ั ใจไวว า จะแสดงหลกั ฐานทมี่ าในคมั ภรี ข องเรอ่ื งทเ่ี ปน หลกัวิชาไวทั้งหมดโดยละเอยี ด แตเ พราะตองสงตนฉบับเขาโรงพมิ พท ันทกี อ นแลว จงึ มกี ารแทรกเพมิ่ ปรบั ปรงุ ตามโอกาสภายหลงั การบอกทม่ี าใหท ว่ั ถงึ จงึ เปน ไปไมไ ด ครนั้ จะแสดงทม่ี าของเรอื่ งทม่ี โี อกาสแทรกเพม่ิ หรอื ปรบั ปรงุใหม กจ็ ะทาํ ใหเ กดิ ความลกั ลนั่ ไมส มา่ํ เสมอกนั จงึ งดไวก อ นทง้ั หมด ผใู ชพ จนานกุ รมนจ้ี งึ จะพบหลกั ฐานทมี่ าบา งกเ็ ฉพาะทเี่ ปน เพยี งขอ ความบอกชอื่ หมวดชอ่ื คมั ภรี  อยา งเปน สว นหนง่ึ ของคาํ อธบิ าย ไมม ตี วั เลขบอกเลม ขอ และหนา ตามระบบการบอกทมี่ าทสี่ มบรู ณ การเพิ่มเติมและปรับปรุงแมจะไดทําอยางรีบเรงแขงกับการพิมพเทาที่โอกาสเปดให แตก็นับวาใกลความครบถว นสมบูรณ ทําใหเ นอ้ื หาของหนังสือขยายออกไปมากประมาณวาอีก ๑ ใน ๓ ของฉบบั พิมพครั้งแรก มีศพั ทท ่เี พ่ิมใหมแ ละปรบั ปรุงหลายรอ ยศัพท กระนั้นก็ตาม เมอื่ ถึงโอกาสกจ็ ะมกี ารปรบั ปรุงใหญอกี ครั้งหน่ึง เพ่อื ใหกลมกลืนสม่าํ เสมอโดยสมบรู ณแ ละเหมาะแกผใู ชประโยชนท กุ ระดับ ตัง้ แตน กั สอนจนถงึ ชาวบา น อนึ่ง ในการเพ่ิมเติมและปรับปรุงนี้ ไดมีทานผูเปนนักสอนนักเผยแพรธรรมชวยบอกแจงศพั ทตกหลน ในการพมิ พครง้ั กอนและเสนอศัพทท ่คี วรเพ่ิมเติมหรอื ปรับปรุงคาํ อธบิ ายหลายศพั ท คอื พระมหาอารยี เขมจาโร วดั ระฆงั โฆสติ าราม รองเลขาธกิ ารมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั บอกแจง มา ๑๔ ศัพท เชน จวี รมรดก,

ฐติตถยิ ปก กันตกะ, อนาโรจนา, อโุ ปสถิกภัต เปน ตน คณุ หมออมรา มลิลา เสนอเพิ่มเติม ๒๔ ศัพท เชนจังหัน, จาร, เจริญพร, ตอ ง, ทกุ กฏ, ทพุ ภาสติ , ธิติ, สังฆการี เปนตน และเสนอปรบั ปรุงคาํ ท่ีอธิบายไมชัดเจนอานเขา ใจยาก หรอื ส้ันเกินไป ๒๓ ศพั ท เชน กัปปยภมู ,ิ กุฑวะ, คันโพง, ดาวเคราะห เปน ตน นับวา ไดมีสวนชว ยเสรมิ ใหห นงั สือสมบูรณยิง่ ข้ึน ในการพิมพท่ีเรงดวนภายในเวลาที่จํากัด ตอหนาปญหาความยุงยากสับสนในกระบวนการพมิ พชว งตนทีไ่ มร าบรนื่ นน้ั คุณชุตมิ า ธนะปุระ ไดมีจติ ศรัทธาชวยพิสูจนอ กั ษรสว นหนึง่ (คุณชตุ มิ า และคณุ ยงยทุ ธธนะปรุ ะ ไดบรจิ าคทุนทรัพยพ ิมพพจนานุกรมนีแ้ จกเปน ธรรมทานจาํ นวนหนึง่ ดว ย) คณุ พนติ า องั จนั ทรเพ็ญไดชวยพสิ จู นอักษรอีกบางสวน และชวยติดตอ ประสานงานทางดา นโรงพมิ พ ทางดานเจาภาพ ชว ยเหลือทาํธรุ ะใหล ุลวงไปหลายประการ นับวาเปนผูเก้ือกลู แกง านพมิ พห นังสือครั้งนเ้ี ปนอันมาก พจนานกุ รมพทุ ธศาสน ฉบบั ประมวลศพั ท พมิ พเ สรจ็ สนิ้ ในบดั นี้ กอ น พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร ฉบบัประมวลธรรม ไมย ดื เยอ้ื ยาวนานตอ ไป กเ็ พราะคณะเจา ภาพงานพระราชทานเพลงิ ศพ อาจารยจ ติ ร ทงั สบุ ตุ ร ซง่ึ มีดร. สจุ นิ ต ทงั สบุ ตุ ร เปน ผตู ดิ ตอ ขอพมิ พ ไดเ พยี รพยายามเรง รดั ตดิ ตามงานมาโดยตลอด และไดส ละทนุ ทรพั ยเปน อนั มากในการผลกั ดนั ใหก ารพมิ พผ า นพน ปญ หาขอ ตดิ ขดั ตา งๆ เปน ฐานใหก ารพมิ พส ว นทจี่ ะเพมิ่ เตมิ เปน ไปไดโ ดยสะดวกและเสยี คา ใชจ า ยลดนอ ยลง นอกจากน้ี เจา ภาพทขี่ อพมิ พเ ผยแพรอ กี หลายราย กล็ ว นเปน ผมู จี ติ ศรทั ธาจดั พมิ พแ จกเปน ธรรมทานทงั้ สนิ้ เจา ภาพทขี่ อพมิ พจ าํ นวนมากทสี่ ดุ คอื มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั แมจ ะพมิ พจ าํ หนา ย มใิ ชพ มิ พแ จกอยา งใหเ ปลา แตก ม็ วี ตั ถปุ ระสงคเ พอื่ นาํ ผลประโยชนไ ปบาํ รงุ การศกึ ษาของพระภกิ ษสุ ามเณร นบั วา เปน การกศุ ลเชน กนั นอกจากน้ี เมอื่ มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั ขาดแคลนทนุ ทจี่ ะใชใ นการพมิ พ พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร ก็บงั เอญิ ให คณุ หญงิ กระจา งศรี รกั ตะกนษิ ฐ ไดท ราบ จงึ ไดเ ชญิ ชวนญาตมิ ติ รของทา น รว มกนั ตง้ั “กองทนุ พมิ พพจนานกุ รมพทุ ธศาสตร” ขนึ้ กองทนุ นนั้ มจี าํ นวนเงนิ มากจนพอทจ่ี ะใชพ มิ พ พจนานกุ รมพทุ ธศาสน เลม นดี้ ว ยเปน เครอ่ื งอปุ ถมั ภใ หก ารพมิ พส าํ เรจ็ ลลุ ว งสมหมาย ทาํ ใหม หาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั ไดพ จนานกุ รมทง้ั สองเลมสาํ หรบั จาํ หนา ยเกบ็ ผลประโยชนโ ดยมติ อ งลงุ ทนุ ลงแรงใดๆ เลย ขออนุโมทนากุศลเจตนา บญุ กริ ยิ า และความอุปถมั ภของทา นผไู ดกลา วนามมาขา งตน ขอทกุ ทา นจงประสบจตุรพธิ พร เจรญิ งอกงามในธรรมยิ่งๆ ข้ึนไป และขอธรรมทานท่ไี ดร วมกันบาํ เพ็ญนจี้ งเปนเคร่ืองชักนํามหาชนใหบรรลุประโยชนสุขอนั ชอบธรรมโดยทัว่ กัน พระราชวรมุนี (ประยุทธ ปยตุ โฺ ต) ๑๓ ตุลาคม ๒๕๒๗

ควรทราบกอ น๑. พจนานกุ รมนี้ เหมาะแกครูและนักเรียนนกั ธรรม มากกวา ผูอน่ื คาํ ศพั ทใ นวชิ านกั ธรรม ซงึ่ การตอบและอธบิ ายตามแบบแผนมคี วามสําคัญมากสําหรับผูเรียนและผูสอบในระบบน้นั (โดยมากเปนศพั ทพ ระวนิ ัย) ในที่นีม้ กั คดั เอาความหมายและคําอธบิ ายในแบบเรียนมาลงไวด วย ความหมายและคาํ อธบิ ายหลายแหง เขยี นอยา งคนรกู นั คอื ผมู พี น้ื ความรอู ยบู า งแลว จงึ จะเขา ใจชดัเจนและใชป ระโยชนไ ดเ ตม็ ท่ี อยา งไรกต็ าม วา โดยสว นใหญ คนทว่ั ไปทส่ี นใจทางพระศาสนา กใ็ ชป ระโยชนไ ดเ ปน อยา งดี๒. ศัพทท่อี ธบิ าย มงุ วิชาธรรม พทุ ธประวตั ิ และวินัย เปน ใหญ ศพั ทท ค่ี วรอธบิ ายในวชิ าทงั้ สามนี้ พยายามใหค รบถว น เทา ทมี่ ใี นแบบเรยี นนกั ธรรม ทง้ั ชน้ั ตรี ชนั้ โทและชนั้ เอก แมว า ในการจดั ทาํ ทเี่ รง ดว นยง่ิ น้ี ยอ มมคี าํ ตกหลน หรอื แทรกไมท นั อยบู า งเปน ธรรมดา อยา งไรกต็ าม ศพั ทเ กยี่ วกบั ศาสนพธิ บี างอยา ง และเรอื่ งทค่ี นทว่ั ไป และนกั ศกึ ษาอน่ื ๆ ควรรู กไ็ ดเ พม่ิ เขามาอกี มใิ ชน อ ย เชน กรวดนาํ้ , ผา ปา , สงั ฆทาน, อาราธนาศลี , อาราธนาพระปรติ ร, อาราธนาธรรม, วสิ ทุ ธมิ รรค,จกั กวตั ตสิ ตู ร เปน ตน๓. ลาํ ดบั ศพั ท เรยี งอยา ง พจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน เวน ตน ศพั ท มี –ะ คําท่เี ปน ตน ศัพท หรือแมศัพท แมม ีประวสิ รรชนีย ก็เรียงไวกอนคาํ ท่อี าศยั ตน ศพั ทนน้ั เชน เถระเรยี งไวก อ น เถรวาท; เทวะ เรียงไวกอ น เทวดา, เทวทติ เปน ตน๔. การสะกดการันต มีปะปนกันหลายอยา ง ใหถอื วา ใชไ ดท ั้งหมด ศพั ทส ว นมาก เกบ็ จากแบบเรยี นนกั ธรรม ซงึ่ เขยี นขนึ้ เมอื่ ศตวรรษลว งแลว แทบทง้ั สน้ิ คอื กอ นมีพจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. ๒๔๙๓ เปน เวลานาน แบบเรยี นเหลา นน้ั แมเ ขยี นคาํ ศพั ทเ ดยี วกนั ก็สะกดการนั ตไ มเ หมอื นกนั แตก ถ็ อื วา ถกู ตอ งดว ยกนั อยา งนอ ยตามนยิ มในเวลานนั้ ยงิ่ กวา นนั้ พจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน ยงั เปด โอกาสสาํ หรบั คาํ ทเี่ ปน ธรรมบญั ญตั ใิ หเ ขยี นเตม็รปู ตามภาษาเดมิ ไดด ว ย ดงั นน้ั พงึ ทราบการสะกดการนั ตไ มค งทใ่ี นหนงั สอื นี้ วา เปน ไปตามแหลง เดมิ ทเ่ี กบ็ ถอ ยคาํ นน้ั ๆ มา หรอืตามรปู คาํ ทยี่ อมรบั ในทางหลกั ภาษาวา ยกั เยอื้ งไปได ตวั อยา งคาํ เขยี นหลายแบบ เชน กรรมฐาน, กมั มฏั ฐาน; อรยิ สจั จ, อรยิ สจั ; นคิ คหะ, นคิ หะ; ญตั กิ รรม,ญตั ตกิ รรม, ญตั ตกิ มั ม; บรเิ ฉท, ปรเิ ฉท; ธรรมวจิ ยั , ธมั มวจิ ยะ; จลุ ลวรรค, จลุ วรรค, จลุ ลวคั ค เปน ตน ในการพิมพครงั้ ที่ ๑๐ (ระบบคอมพิวเตอร) ไดป รบั การสะกดตวั ของบางศัพทใหเปนปจจุบัน (เชนปฤษณา แกเปน ปรศิ นา ซึง่ แผลงมาจาก ปรศั นา ในสันสกฤต) และในขอ ความทเี่ ปน คาํ อธบิ ายของหนงั สอืหากคาํ ศพั ทใ ดปรากฏซา้ํ ไดป รบั การสะกดตัวใหเปน อยา งเดยี วกัน อนง่ึ คาํ ศพั ทท มี่ หี ลายรปู เพราะเขยี นไดห ลายอยา ง เชน อรยิ สจั จ, อรยิ สจั ถอื ปฏบิ ตั ดิ งั น้ี • ในคาํ อธบิ ายทกุ แหง เลือกใชรปู ใดรูปหนงึ่ ใหเ ปน อยา งเดยี วเหมอื นกนั หมด เชน ในกรณนี ้ี ใชร ปูอรยิ สจั จ

ฒ • แตที่ศพั ทต้งั อาจมรี ปู อรยิ สจั ดว ย โดยเขยี นรูปทต่ี างๆ เรยี งไวด ว ยกัน เปน “อริยสัจ, อรยิ สจั จ” • อาจยกรปู ทต่ี า งขนึ้ เปน ศพั ทต ง้ั ตา งหากดว ย แตไ มอ ธบิ าย เพยี งอา งองิ ใหด รู ปู ศพั ทท ถี่ อื เปน หลกั ในพจนานกุ รมนี้ เชน “อรยิ สจั ดู อรยิ สจั จ” • ในบางกรณี ไดช แ้ี จงไวท า ยคาํ อธบิ ายของศพั ทต งั้ ทถ่ี อื เปน หลกั นน้ั วาเขยี นอยา งนนั้ อยา งนกี้ ไ็ ด เชนทา ยคําอธบิ ายของ “อรยิ สัจจ” มีขอความช้แี จงวา “เขยี น อริยสัจ ก็มี” หรือ “อริยสัจ ก็เขยี น” ในกรณที เ่ี ขยี นศพั ทร ปู แปลก และควรทราบวา พจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน เขยี นอยา งไร ไดช ี้แจงกาํ กบั ไวด ว ยวา พจนานกุ รม เขยี นอยา งนั้นๆ คําวา พจนานกุ รม ในที่นี้ พึงทราบวา หมายถึง พจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. ๒๔๙๓, พ.ศ. ๒๕๒๕ และ พ.ศ. ๒๕๔๒๕. คําทอี่ า งโยง มคี าํ อธบิ ายในลาํ ดบั อกั ษรของคาํ น้ัน เมือ่ พบคาํ ศัพทท อ่ี า งโยงในคําอธิบายของคาํ อื่น หลังคําทแ่ี สดงการอางโยงคอื ดู เทยี บ คูกับ หรือ ตรงขามกับ พงึ คน หาความหมายของคาํ ที่อา งโยงนน้ั เพ่มิ เติม ท่ลี าํ ดบั อกั ษรของคาํ น้ันๆ นอกจากน้ี การอา งโยงยงั มใี นคาํ บอกเลขขอ ในหมวดธรรมภายในวงเลบ็ ทา ยคาํ อธบิ ายของศพั ทต า งๆ เชนทค่ี าํ ทมะ ขา งทา ยมี “(ขอ ๒ ในฆราวาสธรรม ๔)” พงึ ทราบวา คาํ เหลา นน้ั (ในกรณนี ้ี คอื ฆราวาสธรรม) ก็มีคําอธิบายอยใู นลําดับอักษรของตนๆ๖. พจนานกุ รมน้ี เปนก่งึ สารานุกรม แตใ หม ลี ักษณะทางวิชาการเพียงเล็กนอ ย คําอธิบายของคําจาํ นวนมากในหนงั สือนี้ มใิ ชแสดงเพยี งความหมายของศัพทหรอื ถอยคาํ เทา นน้ั ยงั ใหความรอู นั พงึ ทราบเกยี่ วกบั เรอ่ื งนนั้ ๆ อกี ดว ย เชน จาํ นวน ขอ ยอ ย ประวตั ยิ อ สถานท่ี และเหตุการณแ วดลอ มเปนตน เขาลกั ษณะเปนสารานุกรม แตยงั คงช่ือเปนพจนานกุ รมตามความตง้ั ใจเมอ่ื เรมิ่ ทาํ และเปน การจาํ กดัขอบเขตไว ใหห นงั สอื นยี้ งั แตกตา งจาก สารานกุ รมพทุ ธศาสน ท่จี ัดทาํ คา งอยู เพื่อทราบวา พจนานกุ รมน้มี ีลกั ษณะและขอบเขตอยา งไร พึงคน ดูศพั ทต า งๆ เชน กรวดนา้ํ , จาํ พรรษา,กาลามสตู ร, กาลกิ , สารบี ตุ ร, พทุ ธกจิ , นาลันทา, สันโดษ, ชวี ก, ไตรปฎก, สงั คายนา,ผาปา, ราหุล, วรรค,สังเวช, สังฆราช เปนตน อนงึ่ หนงั สอื นเี้ กดิ ขน้ึ เนอื่ งดว ยเหตกุ ารณจ าํ เพาะหนา เรยี กไดว า เปน งานฉกุ เฉนิ นอกเหนอื ไปจากโครงการที่มอี ยูเ ดมิ แมว า จะอิง สารานกุ รมพทุ ธศาสน ฉบบั กลาง ทจี่ ดั ทาํ คา งอยกู จ็ รงิ แตเ พราะเปน งานผดุ ขน้ึ กลางคนั จงึ ไมไ ดค ดิ วางรปู วางแนวหรอื วางแผนการจดั ทาํ ไวใ หช ดั เจน เนอื้ หาจงึ มคี วามลกั ลนั่ กนั อยบู า ง เชน คาํ ศพั ทประเภทเดยี วกนั บางคาํ อยตู น เลมอธิบายสั้น บางคาํ อยูตอนปลายเลม อธบิ ายยาวกวา ดงั น้เี ปน ตน นอกจากนั้น เม่ือแรกทาํ คิดเพียงแควาใหสาํ เร็จประโยชนเปนอุปกรณการศึกษาเบ้ืองตนและใหมีขนาดไมห นานกั (กะไวป ระมาณ ๒๕๐ หนา) เพราะเวลาพิมพก ระชนั้ และกําลงั ทนุ จํากดั จงึ คิดจาํ กดั ไมใ หหนงั สอื มลี ักษณะทางวิชาการมากนกั เชน คําอธบิ ายศัพทใหม ีเพียงเทา ท่ีควรรโู ดยตรง ไมมีขยายความเชิงวชิ าการ และยังไมบอกท่มี าสาํ หรบั ผูตองการคนควา เพิม่ เติม แมว าบดั น้ี หนังสอื นจี้ ะเปน งานทีบ่ านปลายออกไป แตโดยท่ัวไปยงั รักษาลักษณะจาํ กดั ทางวชิ าการทง้ัสองขอน้ไี ว โดยเฉพาะท่มี าไมไ ดบ อกไวเ ลย อยา งไรกด็ ี ไดตกลงใจวา ในการพมิ พคร้งั ตอๆ ไป เมือ่ มีโอกาส จะเลอื กบอกท่มี าสําหรบั บางเรอื่ งตามสมควร

วิธีอานคําบาลี ภาษาบาลเี ปน ภาษาทบ่ี รรจุพระพุทธศาสนาไวอยางครบถวน ผนู ับถอื พระพุทธศาสนาจงึ ควรจะรภู าษาบาลพี อสมควร หรอื อยา งนอยก็ควรจะรูว ธิ ีอานคาํ บาลีใหถ กู ตอ ง ซ่งึ จะเปน พ้ืนฐานในการอา นคาํ ศพั ทธรรมบญั ญตั ิจาํ นวนมาก ทย่ี ืมจากภาษาบาลี (และสนั สกฤต) มาใชใ นภาษาไทย เชน อนปุ พุ พิกถา, ปฏิจจสมุปบาทการเขียนภาษาบาลดี วยอกั ษรไทยและวิธอี าน ๑. รูปสระ เมื่อเขียนภาษาบาลดี ว ยอักษรไทย สระทกุ ตัว (ยกเวน สระ อ) มที งั้ รูป “สระลอย” (คือสระทไ่ี มมพี ยัญชนะตนประสมอยดู วย) และรปู “สระจม” (คือสระท่มี ีพยัญชนะตนประสมอยดู ว ย) ใหอ อกเสียงสระตามรปู สระนน้ั เชน อาภา [อา-พา], อิสิ [อ-ิ ส]ิ , อตุ ุ [อุ-ตุ] ทัง้ นี้กเ็ ชนเดียวกับในภาษาไทย ขอ พเิ ศษทีแ่ ปลกจากภาษาไทย คอื “สระ อ” จะปรากฏรูปเมอื่ เปนสระลอย และไมป รากฏรปู เม่อืเปนสระจม ใหออกเสยี งเปน [อะ] เชน อมต [อะ-มะ-ตะ] นอกจากนี้ “ตวั อ” ยังใชเ ปนทุนใหสระอน่ื เกาะ เมือ่ สระนัน้ ใชเ ปน สระลอย เชน เอก [เอ-กะ], โอฆ[โอ-คะ] ๒. รปู พยัญชนะ พยัญชนะเมื่อประสมกบั สระใด ก็จะมรี ปู สระนั้นปรากฏอยูดว ย (ยกเวนเม่ือประสมกบั สระ อ) และใหอ อกเสียงพยญั ชนะประสมกับสระน้ัน เชน กรณีย [กะ-ระ-น-ี ยะ] พยญั ชนะท่ีใชโดยไมม ีรูปสระปรากฏอยู และไมม เี ครื่องหมาย ฺ (พนิ ท)ุ กาํ กบั แสดงวาประสมกับสระ อ และใหออกเสียงพยัญชนะนั้นประสมกบั [อะ] เชน รตน [ระ-ตะ-นะ] สว นพยัญชนะทม่ี ีเคร่ืองหมาย ฺ (พินทุ) กาํ กับ แสดงวา ไมม สี ระใดประสมอยดู ว ย ใหออกเสียงเปนตวัสะกด เชน ธมมฺ [ทาํ -มะ], ปจจฺ ตฺตํ [ปด-จัด-ตงั ] หรือตวั ควบกลา้ํ เชน พฺรหฺม[พร๎ ะ-หม๎ ะ] แลว แตก รณี ในบางกรณี อาจตอ งออกเสยี งเปน ทงั้ ตวั สะกดและตวั ควบกลา้ํ เชน ตตรฺ [ตดั -ตร๎ ะ], กลยฺ าณ [กนั -ล๎ยา-นะ] อนึ่ง รูป เอยฺย มกั นิยมออกเสยี งตามความสะดวก เปน [ไอ-ยะ] กม็ ี หรือ [เอย-ยะ] ก็มี เชนทกฺขเิ ณยฺย ออกเสยี งเปน [ทัก-ขิ-ไน-ยะ] หรือ [ทกั -ข-ิ เนย-ยะ] เมื่อยมื เขามาใชในภาษาไทย จึงปรากฏวา มใี ชทัง้ ๒ รปู คอื ทักขิไณย(บคุ คล) และ ทกั ขิเณยย(บุคคล) ๓. เครือ่ งหมายนคิ หติ เครอื่ งหมาย ํ (นคิ หิต) ตอ งอาศัยสระ และจะปรากฏเฉพาะหลงั สระ อ, อิหรือ อุ ใหออกเสียงสระนั้นๆ (เปน [อะ], [อิ] หรอื [อุ] แลวแตก รณี) และมี [ง] สะกด เชน อสํ [อัง-สะ], เอวํ[เอ-วัง], กึ [กงิ ], วสิ ุ [ว-ิ สุง]ตวั อยางขอความภาษาบาลีและวิธอี าน มดี ังน้ีสพพฺ ปาปสสฺ อกรณํ กุสลสฺสูปสมปฺ ทา[สบั -พะ-ปา-ปด -สะ] [อะ-กะ-ระ-นงั ] [กุ-สะ-ลัด-ส-ู ปะ-สํา-ปะ-ทา]สจติ ฺตปรโิ ยทปนํ เอตํ พทุ ฺธาน สาสนํ[สะ-จดิ -ตะ-ปะ-ร-ิ โย-ทะ-ปะ-นงั ] [เอ-ตงั ] [พดุ -ทา-นะ] [สา-สะ-นัง]

ดการอานคาํ ที่มาจากภาษาบาลี (และสนั สกฤต) หลักพ้ืนฐานดังกลาวขางตนอาจนํามาประยุกตกับการอานคําไทยท่ีมาจากภาษาบาลี (และสันสกฤต)โดยอนโุ ลม แตยงั ตอ งดัดแปลงใหเ ขา กบั รูปคําและวิธีออกเสียงแบบไทยดว ย เชน การออกเสยี งอกั ษรนาํ ในคาํวา สมทุ ยั [สะ-หมุ-ไท] แทนท่ีจะเปน [สะ-มุ-ไท] นอกจากน้ี หากจะออกเสียงใหถูกตองตามความนิยมในวงการศกึ ษาพระพุทธศาสนา ผูอ านตองมีความรูเพมิ่ เตมิ วา รูปเดิมของศพั ทค าํ น้ันเปน อยางไร โดยเฉพาะอยา งย่ิง จะตองทราบวา พยัญชนะตวั ใดมีพนิ ทุกํากบั ดว ยหรอื ไม เชน ปเสนทิ มรี ูปเดิมเปน ปเสนทิ จึงตอ งอานวา [ปะ-เส-นะ-ทิ] ไมใ ช [ปะ-เสน-ทิ]แต อนปุ พุ พิกถา มีรปู เดิมเปน อนปุ ุพฺพกิ ถา จงึ ตองอา นวา [อะ-น-ุ ปบุ -พ-ิ กะ-ถา] ไมใ ช [อะ-น-ุ ปุบ-พะ-พ-ิ กะ-ถา] หรือ ปฏิจจสมปุ บาท มรี ูปเดิมเปน ปฏิจฺจสมุปปฺ าท จงึ ตองอา นวา [ปะ-ติด-จะ-สะ-หมบุ -บาด] ไมใ ช [ปะ-ติด-จะ-สะ-หมุบ-ปะ-บาด]

สารบัญ ก จบนั ทึก (ในการชําระ-เพ่ิมเติม ชว งท่ี ๑) ฎคําปรารภ (ในการพมิ พค รงั้ ที่ ๑๐) ฑบนั ทึกของผเู รียบเรยี ง (ในการพมิ พค รั้งที่ ๒ – พ.ศ. ๒๕๒๗) ณควรทราบกอ น ๑๕๑วิธีอา นคาํ บาลี ๑๗๐ก ๑น ๑๘๔ข ๓๑ บ ๒๔๖ค ๓๖ ป ๒๕๐ฆ ๕๔ ผ ๒๗๕ง ๕๕ พ ๒๗๕จ ๕๕ ฟ ๒๙๐ฉ ๗๕ ภ ๓๒๓ช ๗๙ ม ๓๓๓ซ ๘๗ ย ๓๔๕ฌ ๘๗ ร ๓๔๖ญ ๘๗ ฤ ๓๕๑ฎ ๙๑ ล ๓๘๔ฐ ๙๑ ว ๓๘๙ด ๙๒ ศ ๔๖๒ต ๙๖ ส ๔๖๖ถ ๑๒๐ หท ๑๒๑ อ ๕๗๗ธ ๑๓๙ ๕๗๙แถลงการจัดทาํ หนงั สอื (ในการพิมพค ร้ังที่ ๑) ๕๘๒ความเปน มาของพจนานกุ รมพทุ ธศาสตรทนุ พมิ พพ จนานกุ รมพทุ ธศาสน

กกกุธานที แมนํ้าที่พระอานนททูลเชิญ ตอออกไปถงึ กลางเดอื น ๔); ผา ทีส่ งฆ เสด็จพระพุทธเจา ใหไปเสวยและสรง ชําระพระกาย ในระหวางเดินทางไป ยกมอบใหแกภิกษุรูปหน่ึงนั้นเรียกวา เมืองกสุ ินารา ในวันปรนิ ิพพาน ผา กฐิน (กฐนิ ทุสสะ); สงฆผูประกอบกฏัตตาวาปนกรรม ดู กตัตตากรรม กฐินกรรมตองมีจํานวนภิกษุอยางนอยกฐนิ ตามศพั ทแ ปลวา “ไมส ะดงึ ” คือไม แบบสําหรับขึงเพอื่ ตัดเยบ็ จีวร; ในทาง ๕ รูป; ระยะเวลาท่ีพระพุทธเจาทรง พระวนิ ัย ใชเปนช่ือเรียกสังฆกรรมอยาง หนงึ่ (ในประเภทญัตติทตุ ยิ กรรม) ที่ อนญุ าตใหป ระกอบกฐนิ กรรมได มเี พยี ง พระพุทธเจาทรงอนุญาตแกสงฆผูจํา พรรษาแลว เพื่อแสดงออกซึ่งความ ๑ เดือนตอจากส้ินสุดการจําพรรษา สามัคคีของภิกษุท่ีไดจําพรรษาอยูรวม เรยี กวา เขตกฐนิ คอื ตง้ั แตแ รม ๑ คา่ํ กัน โดยใหพวกเธอพรอมใจกันยกมอบ เดอื น ๑๑ ถงึ ขนึ้ ๑๕ คา่ํ เดอื น ๑๒ ผาผืนหนึง่ ท่เี กิดข้ึนแกส งฆ ใหแ กภิกษุ รูปใดรูปหนึ่งในหมูพวกเธอ ที่เปนผูมี ภิกษุผูกรานกฐินแลว ยอมได คุณสมบัตสิ มควร แลวภกิ ษรุ ูปนั้นนําผา ท่ีไดรับมอบไปทําเปนจีวร (จะทําเปน อานสิ งส ๕ ประการ (เหมือนอานิสงส อนั ตรวาสก หรอื อุตราสงค หรือสงั ฆาฏิ การจาํ พรรษา; ดูจาํ พรรษา) ยดื ออกไปอกี ก็ได และพวกเธอท้ังหมดจะตองชวย ๔ เดอื น (ตงั้ แตแ รม ๑ คาํ่ เดอื น ๑๒ ถึง ภิกษุน้นั ทาํ ) ครั้นทําเสร็จแลว ภกิ ษุรปู น้ันแจงใหที่ประชุมสงฆซ่ึงไดมอบผาแก ข้นึ ๑๕ คาํ่ เดอื น ๔) และไดโ อกาสขยาย เธอนน้ั ทราบเพอ่ื อนโุ มทนา เมอื่ สงฆคอื ที่ประชุมแหงภิกษุเหลานั้นอนุโมทนา เขตจวี รกาลออกไปตลอด ๔ เดือนน้ัน แลว ก็ทาํ ใหพ วกเธอไดส ทิ ธิพเิ ศษท่ีจะ คําถวายผา กฐนิ แบบสนั้ วา : “อิมํ, ขยายเขตทําจีวรใหยาวออกไป (เขตทํา จีวรตามปกติ ถงึ กลางเดือน ๑๒ ขยาย สปรวิ าร,ํ กนิ จวี รทสุ สฺ ,ํ สงฆฺ สสฺ ,โอโณ- ชยาม” (วา ๓ จบ) แปลวา “ขาพเจาท้งั หลาย ขอนอ มถวาย ผา กฐนิ จีวรกบั ทั้ง บรวิ ารนี้แกพระสงฆ” แบบยาววา : “อิมํ, ภนฺเต, สปริวาร,ํ กินจีวรทุสฺสํ, สงฺฆสฺส, โอโณชยาม, สาธุ โน ภนฺเต, สงฺโฆ, อมิ ํ, สปริวารํ, กนิ ทสุ สฺ ,ํ ปฏคิ ฺคณฺหาตุ, ปฏคิ คฺ เหตฺวา จ,อมิ นิ าทสุ เฺ สน,กนิ ,ํ อตถฺ รต,ุ อมหฺ าก,ํ ทีฆรตฺตํ, หิตาย, สขุ าย” แปลวา “ขา แต

กฐินทาน ๒ กตกิ าพระสงฆผ เู จรญิ ขาพเจา ท้ังหลาย ขอ กตัญูกตเวทิตา ความเปนคนกตัญูนอมถวายผา กฐินจีวร กับทั้งบรวิ ารน้แี ก กตเวทีพระสงฆ ขอพระสงฆจงรับผากฐินกับ กตัญูกตเวที ผูรูอปุ การะทท่ี า นทําแลวท้งั บรวิ ารนี้ ของขาพเจาทง้ั หลาย ครั้น และตอบแทน แยกออกเปน ๒ คือรับแลว จงกรานกฐินดวยผาน้ี เพื่อ กตัญู รูคุณทาน; กตเวที ตอบแทนประโยชนและความสุข แกขาพเจาทั้ง หรือสนองคุณทาน; ความกตัญูหลาย สน้ิ กาลนาน เทอญฯ” (เครอื่ ง กตเวทวี า โดยขอบเขต แยกไดเปน ๒หมาย , ใสไ วเ พอ่ื เปน ทก่ี าํ หนดทจี่ ะกลา ว ระดับ คอื กตญั กู ตเวทีตอบคุ คลผมู ีเปน ตอนๆ ในพิธ)ี ; กถิน กเ็ ขยี น คุณความดีหรืออุปการะตอตนเปนสวนกฐินทาน การทอดกฐนิ , การถวายผา ตัว อยางหนึ่ง กตญั ูกตเวทตี อ บคุ คลกฐิน คอื การท่ีคฤหสั ถผ ูศรทั ธาหรอื แม ผูไดบําเพ็ญคุณประโยชนหรือมีคุณภกิ ษุสามเณร นาํ ผาไปถวายแกส งฆผ จู าํ ความดีเก้ือกูลแกสวนรวม เชนที่พระพรรษาแลว ณ วัดใดวดั หน่ึง เพ่อื ทํา เจาปเสนทิโกศลทรงแสดงความกตัญูเปน ผากฐนิ เรยี กสามัญวา ทอดกฐิน กตเวทีตอพระพุทธเจาโดยฐานท่ีไดทรง(นอกจากผากฐินแลวปจจุบันนิยมมีของ ประกาศธรรมยงั หมชู นใหต ง้ั อยูในกศุ ล-ถวายอื่นๆ อกี ดวยจํานวนมาก เรยี กวา กลั ยาณธรรม เปน ตน อยางหนงึ่ (ขอบริวารกฐิน) ๒ ในบุคคลหาไดยาก ๒)กฐินัตถารกรรม การกรานกฐิน กตตั ตากรรม กรรมสกั วา ทาํ , กรรมที่กตญาณ ปรีชากําหนดรูวาไดทํากิจเสร็จ เปน กศุ ลกต็ ามอกุศลกต็ าม สกั แตว า ทําแลว คือ ทุกข ควรกาํ หนดรู ไดร แู ลว คือไมไดจงใจจะใหเ ปนอยางนน้ั โดยตรงสมุทัย ควรละ ไดละแลว นโิ รธ ควรทาํ หรอื มเี จตนาออนไมช ัดเจน ยอมใหผลใหแจงไดทําใหแจงแลว มรรค ควร ตอเม่ือไมม ีกรรมอืน่ ทานเปรียบเสมือนเจริญ ไดเจรญิ คือปฏิบตั ิหรอื ทําใหเ กิด คนบา ยงิ ลกู ศร ยอมไมม คี วามหมายจะแลว (ขอ ๓ ใน ญาณ ๓) ใหถกู ใคร ทําไปโดยไมตงั้ ใจชดั เจน; ดูกตเวทติ า ความเปน คนกตเวท,ี ความ กรรม ๑๒ กตัตตาวาปนกรรม ดู กตัตตากรรมเปน ผสู นองคณุ ทานกตญั ุตา ความเปนคนกตัญ,ู ความ กติกา (ในคําวา “ขา พเจาถวายตามกตกิ าเปนผูรคู ุณทา น ของสงฆ”) ขอตกลง, ขอบงั คับ, กติกา

กถา ๓ กรรม ของสงฆในกรณีนี้ คือขอท่ีสงฆ ๒ ประเทศหิมพานต พระราชบตุ รและพระ อาวาส มีขอตกลงกันไวว า ลาภเกดิ ใน ราชบตุ รี ของพระเจาโอกกากราช พากัน อาวาสหนง่ึ สงฆอ ีกอาวาสหน่งึ มสี ว นได ไปสรางพระนครใหมในที่อยูของกบิล- รับแจกดวย ทายกกลาวคําถวายวา ดาบส จึงขนานนามพระนครท่ีสรางใหม “ขาพเจา ถวายตามกตกิ าของสงฆ” ลาภ วา กบิลพสั ดุ แปลวา “ทห่ี รือทด่ี ินของ ที่ทายกถวายนั้น ยอ มตกเปน ของภิกษุ กบลิ ดาบส” ผูอยใู นอาวาสที่ทาํ กตกิ ากนั ไวดวย กบิลพัสดุ เมืองหลวงของแควนสักกะกถา ถอยคํา, เร่อื ง, คาํ กลา ว, คาํ อธิบาย หรอื ศากยะ ที่ไดชือ่ วา กบลิ พสั ดุ เพราะกถาวัตถุ ถอยคาํ ท่คี วรพูด, เรือ่ งท่ีควร เดมิ เปนทอ่ี ยูข องกบลิ ดาบส บัดน้ีอยใู น นาํ มาสนทนากนั ในหมภู กิ ษุ มี ๑๐ อยา ง เขตประเทศเนปาล คอื ๑. อปั ปจ ฉกถา ถอ ยคาํ ทช่ี กั นาํ ใหม ี กปส สี ะ ไมทีท่ ําเปน รปู หวั ลิง ในวนั ท่พี ระ ความปรารถนานอย ๒. สันตุฏฐิกถา พทุ ธเจา จะปรนิ พิ พาน พระอานนทเถระ ถอยคําที่ชักนําใหมีความสันโดษ ๓. ยืนเหนี่ยวไมนี้รองไหเสียใจวาตนยังไม ปวเิ วกกถา ถอ ยคาํ ทชี่ กั นาํ ใหม คี วามสงดั สําเร็จพระอรหัต พระพุทธเจาก็จัก กายสงดั ใจ ๔. อสังสคั คกถา ถอยคาํ ท่ี ปรินิพพานเสยี แลว ชักนําใหไมคลุกคลีดวยหมู ๕. วิริยา- กพฬิงการาหาร ดู กวฬิงการาหาร รัมภกถา ถอยคําทีช่ ักนําใหปรารภความ กรณียะ เรอื่ งทคี่ วรทํา, ขอ ท่พี งึ ทาํ , กจิ เพยี ร ๖. สีลกถา ถอยคาํ ท่ีชักนาํ ใหต ้งั กรมการ เจาพนักงานคณะหน่ึงมีหนาที่ อยใู นศีล ๗. สมาธิกถา ถอยคาํ ท่ีชกั นํา บริหารราชการแผนดินในระดับหน่ึงๆ ใหท าํ จติ ม่ัน ๘. ปญญากถา ถอยคําทชี่ กั เชน กรมการจงั หวัด กรมการอําเภอ นาํ ใหเกดิ ปญญา ๙. วมิ ตุ ตกิ ถา ถอ ยคาํ ท่ี เปนตน ชักนาํ ใหทาํ ใจใหพนจากกิเลสและความ กรมพระสุรัสวดี ชอื่ กรมสมยั โบราณ มี ทุกข ๑๐ วิมุตตญิ าณทัสสนกถา ถอยคํา หนาที่เก่ียวกับการรวบรวมบัญชีเลข ที่ชักนําใหเกิดความรูความเห็นในภาวะ หรือชายฉกรรจ ทห่ี ลุดพน จากกเิ ลสและความทกุ ข กรรโชก ขูเ อาดวยกริ ิยาหรอื วาจาใหกลวักนิฏฐภคนิ ,ี กนษิ ฐภคนิ ี นองหญิง (แผลงมาจาก กระโชก)กนฏิ ฐภาดา, กนษิ ฐภาดา นอ งชาย กรรณ หูกบิลดาบส ดาบสที่อยูในดงไมสักกะ กรรม การกระทํา หมายถึง การกระทาํ ท่ี

กรรม ๒ ๔ กรรมกรณประกอบดวยเจตนา คือ ทาํ ดวยความ อุปปชชเวทนียกรรม กรรมใหผลในภพจงใจหรอื จงใจทาํ ดกี ต็ าม ชว่ั กต็ าม เชน ทจ่ี ะไปเกดิ คอื ในภพหนา ๓. อปราปรยิ -ขุดหลมุ พรางดักคนหรอื สตั วใ หต กลงไป เวทนียกรรม กรรมใหผ ลในภพตอๆ ไปตาย เปนกรรม แตขุดบอนํ้าไวกินใช ๔. อโหสกิ รรม กรรมเลกิ ใหผ ล หมวดสตั วต กลงไปตายเอง ไมเ ปน กรรม (แต ท่ี ๒ วา โดยกจิ คอื จาํ แนกการใหผ ลตามถา รอู ยวู า บอ นาํ้ ทตี่ นขดุ ไวอ ยใู นทซี่ ง่ึ คน หนาท่ี ไดแก ๕. ชนกกรรม กรรมแตงจะพลดั ตกไดง า ย แลว ปลอ ยปละละเลย ใหเกดิ หรือกรรมที่เปนตวั นาํ ไปเกิด ๖.มีคนตกลงไปตาย ก็ไมพนเปน กรรม), อุปต ถมั ภกกรรม กรรมสนับสนนุ คือเขา วาโดยสาระ กรรมก็คือเจตนา หรือ สนับสนุนหรือซ้ําเติมตอจากชนกกรรม ๗. อปุ ปฬ กกรรม กรรมบีบค้นั คอื เขา มา เจตนานัน่ เองเปนกรรม, การกระทาํ ที่ดี บบี คนั้ ผลแหง ชนกกรรมและอปุ ต ถมั ภก- เรียกวา กรรมดี การกระทําทช่ี วั่ เรยี ก วา กรรมชว่ั ; เทียบ กริ ยิ า กรรมนั้นใหแปรเปล่ียนทุเลาเบาลงหรือกรรม ๒ กรรมจําแนกตามคุณภาพหรือ ส้นั เขา ๘. อปุ ฆาตกกรรม กรรมตัด ตามธรรมท่ีเปน มลู เหตุมี ๒ คอื ๑. รอน คอื กรรมแรงฝา ยตรงขามที่เขาตัด อกุศลกรรม กรรมทเี่ ปน อกศุ ล กรรมชวั่ คือเกิดจากอกุศลมูล ๒. กุศลกรรม รอนการใหผลของกรรมสองอยางน้ันให ขาดหรือหยดุ ไปทีเดยี ว หมวดที่ ๓ วา กรรมทเ่ี ปน กศุ ล กรรมดี คือเกดิ จาก โดยปากทานปริยาย คือจําแนกตาม ลําดบั ความแรงในการใหผ ล ไดแ ก ๙. กุศลมลู ครุกกรรม กรรมหนักใหผ ลกอ น ๑๐.กรรม ๓ กรรมจาํ แนกตามทวารคอื ทางท่ี พหุลกรรม หรอื อาจณิ ณกรรม กรรมทํา ทํากรรม มี ๓ คือ ๑. กายกรรม การ มากหรือกรรมชินใหผลรองลงมา ๑๑. กระทาํ ทางกาย ๒. วจกี รรม การกระทํา อาสนั นกรรม กรรมจวนเจยี น หรอื กรรม ทางวาจา ๓. มโนกรรม การกระทาํ ทางใจกรรม ๑๒ กรรมจาํ แนกตามหลกั เกณฑ ใกลต าย ถาไมมีสองขอกอนก็จะใหผล เกย่ี วกับการใหผ ล พระอรรถกถาจารย กอ นอนื่ ๑๒. กตตั ตากรรม หรอื กตตั ตา- วาปนกรรม กรรมสักวา ทํา คอื เจตนา รวบรวมแสดงไว ๑๒ อยา ง คอื หมวดท่ี๑ วา โดยปากกาล คอื จาํ แนกตามเวลาที่ ออ นหรอื มิใชเจตนาอยา งนน้ั ใหผ ลตอใหผ ล ไดแ ก ๑. ทฏิ ฐธรรมเวทนยี กรรม เม่อื ไมมกี รรมอนื่ ใหผ ลกรรมใหผลในปจจุบันคือในภพนี้ ๒. กรรมกรณ เครอ่ื งลงอาชญา, ของสําหรับ

กรรมการ ๕ กรรมวาท ใชล งโทษ เชน โซ ตรวน ขอ่ื คา เปน ตน กรรมวาจา คําประกาศกิจในทามกลางกรรมการ บคุ คลในคณะซง่ึ รว มกนั ทาํ งาน สงฆ, การสวดประกาศ แบง เปน ๒ คือบางอยา งทไี่ ดร บั มอบหมาย ญตั ติ ๑ อนุสาวนา ๑กรรมกเิ ลส กรรมเครอื่ งเศราหมอง, การ กรรมวาจาจารย พระอาจารยผูสวดกระทําที่เปนเหตุใหเศราหมอง มี ๔ กรรมวาจาประกาศในทามกลางสงฆในอยา งคอื ๑. ปาณาตบิ าต การทําชวี ิตให การอุปสมบทตกลวงคือ ฆาฟนสังหารกัน ๒. กรรมวาจาวิบัติ เสียเพราะกรรมวาจา,อทนิ นาทาน ถอื เอาของทเี่ จา ของเขามไิ ด กรรมวาจาบกพรอ งใชไ มไ ดให คือลักขโมย ๓. กาเมสุมิจฉาจาร กรรมวาจาสมบัติ ความสมบูรณแหงประพฤตผิ ดิ ในกาม ๔. มสุ าวาท พดู เทจ็ ; กรรมวาจา, คาํ สวดประกาศถกู ตอ งใชไ ดดู คหิ ิวนิ ัย กรรมวาท ผปู ระกาศหลักกรรม หรือผูกรรมฐาน ดู กมั มัฏฐาน ถอื หลกั กรรม เชน ยืนยนั วากรรมคอืกรรมบถ “กรรมอันเปนทาง”, กรรมดี การกระทํามแี ละมผี ลจรงิ วาแตล ะคนมีหรือช่ัวซึ่งแรงถึงขั้นท่ีเปนทางใหเกิดใน กรรมเปนของตนและเปนไปตามกรรมสคุ ติหรอื ทุคติ เชน มุสาวาทคอื เจตนา นัน้ วา การกระทาํ เปนเครอ่ื งตัดสนิ ความพูดเท็จถึงข้ันทําลายตัดรอนประโยชน ดีเลวสูงทราม (มิใชชาติกําเนิดตัดสิน)ของผูอ่นื จงึ เปน กรรมบถ ถาไมถ ึงขน้ั วาการกระทําเปนเหตุปจจัยใหสําเร็จผลอยางน้ี ก็เปนกรรมเทานั้น ไมเปน (มิใชสําเร็จดวยการออนวอนดลบันดาลกรรมบถ, มีคําอธิบายแบบครอบคลุม หรอื แลวแตโชค) เปนตน ; หลกั การแหงดว ยวา กรรมทัง้ หลายทวั่ ไป ช่ือวา เปน กรรม, การถอื หลกั กรรม; พระพทุ ธเจา กรรมบถ เพราะเปนทางแหงสุคติและ ตรสั เรยี กพระองคเ อง (อง.ฺ ตกิ .๒๐/๕๗๗/๓๖๙) วา ทรงเปน กรรมวาท (ถอื หลกั หรอื กฎ ทุคติ และเปนทางแหงความสุขความ แหง การกระทาํ ) กริ ยิ วาท (ถือหลักการ อันใหกระทํา) และวิริยวาท (ถือหลัก ทุกขของผูท่ีเกิดในคติน้ันๆ, กรรมบถ แยกเปน กุศลกรรมบถ ๑๐ และ ความเพยี ร); บางทกี ลา วถงึ พระกติ ตคิ ณุ อกศุ ลกรรมบถ ๑๐กรรมปต ตะ ดู กัมมปต ตะ ของพระพทุ ธเจา (เชน ท.ี ส.ี ๙/๑๘๒/๑๔๗) วากรรมลักษณะ ดู กัมมลักขณะ ทรงเปนกรรมวาที กริ ยิ วาที (คอื เปนกรรมวัฏฏ ดู กัมมวฏั ฏ กรรมวาท และกริ ยิ วาท นนั่ เอง ตา งกนั

กรรมวาที ๖ กรานกฐนิเพยี งวา กรรมวาท และกริ ยิ วาท เปนได กระแสความ แนวความท้ังคําคุณศัพทของบุคคล และคํานาม กระแสเทศนา แนวเทศนาแสดงหลกั การ สว นกรรมวาที และกริ ยิ - กระหยง (ในคาํ วา “นั่งกระหยง ”) นงั่วาที เปนคุณศัพทอยางเดยี ว) คุกเขาเอาปลายเทาตั้งลงท่ีพื้น สนเทากรรมวาที ดู กรรมวาท ท้ังสองรับกน เรียกวา นงั่ กระโหยง ก็กรรมวิปากญาณ ปรีชาหย่ังรูผลของ ได; บางแหง วาหมายถงึ นั่งยองๆกรรม แมจ ะมกี รรมตางๆ ใหผลอยูมาก กรานกฐนิ ขึงไมสะดงึ คือเอาผาทจี่ ะเยบ็มายซับซอน กส็ ามารถแยกแยะลวงรไู ด เปนจีวรเขา ขึงท่ไี มสะดงึ เยบ็ เสรจ็ แลว วาอันใดเปนผลของกรรมใด บอกแกภิกษุท้ังหลายผูรวมใจกันยกผากรรมสิทธ์ิ ความเปนเจาของทรัพย, ใหใ นนามของสงฆ เพอื่ อนโุ มทนา ภิกษุ สิทธทิ ไี่ ดตามกฎหมาย ผเู ย็บจีวรเชน นนั้ เรยี กวา ผกู รานกรรมารหะ ดู กมั มารหะกรรแสง รองได บัดนเ้ี ขยี น กันแสง พิธีทําในบดั นค้ี ือ ภกิ ษุซึ่งจําพรรษากรวดน้าํ ตง้ั ใจอุทิศบญุ กศุ ลใหแ กผูลว ง ครบสามเดือนในวัดเดียวกัน (ตองมี จาํ นวน ๕ รูปข้นึ ไป) ประชุมกันในลับ พรอมไปกับหล่ังรินนํ้าเปนเครื่อง อุโบสถ พรอมใจกันยกผากฐินใหแกหมาย และเปนเครื่องรวมกระแสจิตท่ี ภกิ ษุรูปหนงึ่ ในหมพู วกเธอ ภิกษรุ ปู นนั้ตั้งใจอุทิศน้นั ใหแ นว แน; เริม่ รนิ นํา้ เมอื่ ทาํ กจิ ต้งั แต ซกั กะ ตัด เยบ็ ยอ มใหพระองคห ัวหนาเริ่มสวดยถา รินน้ําหมด เสร็จในวันนั้น ทําพินทุกัปปะอธิษฐานพรอมกับพระหัวหนา สวดยถาจบ และ เปนจีวรครองผืนใดผืนหน่ึงในไตรจีวรพระท้ังหมดเริ่มสวดพรอ มกัน จากนนั้ แลวบอกแกภิกษุสงฆผูยกผาใหเพ่ือ วางท่ีกรวดน้ําลงแลวประนมมือรับพร อนุโมทนา และภกิ ษนุ ้นั อนโุ มทนาแลว ตอ ไป; คํากรวดน้ําอยา งส้นั วา “อทิ ํ โน เรียกวา กรานกฐิน ถา ผากฐนิ เปนจีวร าตีนํ โหต”ุ แปลวา “ขอสวนบญุ นจี้ ง สําเรจ็ รปู กจิ ที่จะตอง ซกั กะ ตัด เย็บ สําเรจ็ แก ... (ออกชอ่ื ผลู ว งลับ) และ ยอม กไ็ มมี (กราน เปนภาษาเขมร แปลวา “ขงึ ” คือทําใหตึง กฐนิ เปน ญาติท้งั หลายของขา พเจาเถิด” จะตออีก ภาษาบาลี แปลวา “ไมส ะดึง” กราน ก็ไดวา “สขุ ิตา โหนฺตุ าตโย” แปลวา กฐิน ก็คือ “ขึงไมส ะดงึ ” คือเอาผา ท่ีจะ “ขอญาติทง้ั หลายจงเปนสขุ เถดิ ” เย็บเปนจีวรเขาขึงท่ีไมสะดึง) เขียนกระทู หวั ขอ, เคาเงอื่ น

กริยา ๗ กลาป กราลกฐิน บา งกม็ ี อันเปนสวนยอยของรูปธรรมประเภทกรยิ า ในทางไวยากรณ คอื รูปสนั สกฤต น้ันๆ โดยที่องคประกอบท้ังหมดมี ของคาํ วา กิรยิ า “สหวุตต”ิ คือมคี วามเปน ไปรวมกัน ทงั้กรีษ, กรสี คถู อุจจาระ ข้ี เ กิ ด ขึ้ น ด ว ย กั น พ ร อ ม เ ป น อั น เ ดี ย วกรณุ า ความสงสารคิดจะชวยใหพ น ทุกข, (เอกุปปาทะ) ท้ังดับดวยกันพรอมเปน ความหวั่นใจ เม่ือเห็นผูอ ่ืนมีทุกข คดิ หา อันเดียว (เอกนิโรธะ) และมีมหาภูตรูป ทางชวยเหลอื ปลดเปล้ืองทกุ ขของเขา; ดู เปนท่ีอ าศัย รว มกันเปนอันเดียว พรหมวิหาร (เอกนิสสยะ); ตามหลักทางอภิธรรมกรุย หลักที่ปกไวเพื่อเปนเคร่ืองหมาย หนว ยรวมรปู ธรรมเลก็ ทส่ี ดุ ทเ่ี ปน หนว ย กําหนดแนวทางหรือระยะทาง ยอยพื้นฐานของรูปธรรมท้ังปวง ไดแกกฤดายคุ , กฤตยคุ ดู กัป สทุ ธฏั ฐกกลาป (หนว ยรวมหมวด ๘กลาป [กะ-หลาบ] ฟอ น, มัด, กํา, แลง , ลว น) คือกลาปซง่ึ ประกอบดวยอวนิ พิ - กลมุ , หมวด, หนว ยรวม 1. ในการเจรญิ โภครูป ๘ (รปู ธรรมแปดอยา งทม่ี ีอยู วิปสสนา การพิจารณาโดยกลาป คือ ดว ยกันเปน ประจาํ เสมอไป ไมสามารถ พจิ ารณาธรรมอยา งรวมๆ โดยรวมเปน แยกพรากออกจากกันได) อันไดแก หมวด หรอื รวบทงั้ กลุม เชนวา รูปธรรม ปฐวี อาโป เตโช วาโย วัณณะ คันธะ ทัง้ ปวง ไมเ ท่ียง ฌานธรรมเหลา น้ี ไมมี รสะ โอชา แลวก็มีขึน้ มีแลว กไ็ มมี ฯลฯ (มีคาํ เรียกหลายอยา ง เชน กลาปวปิ ส สนา, กลาป คือ หนวยรวมยอยของ กลาปสมั มสนะ, นยวปิ สสนา, สมทุ าย- รูปธรรมท้ังหลาย มีอวินิพโภครูป ๘ มนสิการ) ซึ่งงายกวาการพิจารณาโดย นั้นเปน แกนยนื พ้ืน ถา ไมมีองคป ระกอบ องค หรือโดยแยกรายขอยอย เชน อนื่ รวม ก็เปน หนวยรวมหมวด ๘ ลว น พจิ ารณาองคฌ านตามลาํ ดบั ขอ หรอื เปน เรยี กวาสทุ ธฏั ฐกกลาป (สทุ ธ=ลวน + รายขอ (เรียกวา อนปุ ทธรรมวปิ ส สนา, อฏั ฐก=หมวด ๘ + กลาป=หนว ยรวม) อังคโต-สัมมสนะ) 2. (คําเรยี กเตม็ วา ดังกลาวแลว แตถามีองคประกอบอื่น “รปู กลาป”), หนวยรวมรูปธรรมที่เลก็ ท่ี เขา รว มเพมิ่ ขนึ้ กเ็ ปน กลาปตา งแบบออก สุด, หนวยรวมเล็กที่สุด ซ่ึงมีองค ไป โดยที่กลาปแตละแบบน้นั มีจาํ นวน ประกอบท่ีจําเพาะแนนอนมารวมกันขึ้น องคประกอบรวมอยางเดียวกันเทากัน ตายตวั ถา มอี งคป ระกอบ ๙ ก็เปน

กลา วคาํ อนื่ ๘ กสิกรรมนวก=หมวด ๙, ถา มอี งคป ระกอบ ๑๐ ก็ รปู ๓], วจวี ญิ ญตั ตสิ ทั ทลหตุ าทเิ ตรสก~เปน ทสก=หมวด ๑๐, ถา มอี งคป ระกอบ๑๑ ก็เปนเอกาสก=หมวด ๑๑, ถามี [๘+วจวี ญิ ญตั ตริ ปู +สทั ทรปู +วกิ ารรปูองคประกอบ ๑๒ ก็เปนทวาทสก= ๓] ๓. อุตชุ กลาป (กลาปท่ีเกดิ แตอ ตุ ุ) มีหมวด ๑๒, ถา มอี งคป ระกอบ ๑๓ ก็เปน ๔ แบบ ไดแก สทุ ธฏั ฐกกลาป [๘], สทั ท- นวก~ [๘+สทั ทรปู ], ลหตุ าทเิ อกาทสก~เตรสก=หมวด ๑๓ [๘+วกิ ารรปู ๓], สทั ทลหตุ าททิ วาทสก~กลาปแยกเปน ๔ ประเภทตาม [๘ + สทั ทรปู + วกิ ารรปู ๓] ๔. อาหารช-สมุฏฐาน คอื ๑. กมั มชกลาป (กลาปท่ี กลาป (กลาปท่ีเกิดแตอ าหาร) มี ๒ แบบเกิดแตก รรม คอื มกี รรมเปน สมฏุ ฐาน) ไดแ กสทุ ธฏั ฐกกลาป[๘], สทั ทนวก~[๘มี ๙ แบบ ไดแก จกั ขทุ สกกลาป [๘ + + สัททรูป], ลหุตาทิเอกาทสก~ [๘ +ชีวิตรูป + จกั ขปุ สาทรปู ], โสตทสก~ [๘ วกิ ารรปู ๓]; ดู มหาภูตรปู , อุปาทายรูป,+ ชีวิตรูป + โสตปสาทรูป], ฆานทสก~ อวนิ ิพโภครูป[๘ + ชีวติ รูป + ฆานปสาทรปู ], ชวิ หา- กลา วคาํ อนื่ ในประโยควา “เปน ปาจติ ตยิ ะทสก~ [๘ + ชวี ติ รูป + ชวิ หาปสาทรปู ], ในเพราะความเปน ผกู ลาวคําอ่นื ” ถูกซกักายทสก~ [๘ + ชวี ติ รปู + กายปสาทรปู ], อยใู นทามกลางสงฆ ไมปรารถนาจะใหอติ ถภี าวทสก~ [๘ + ชีวิตรูป + อิตถี- การตามตรง เอาเรื่องอื่นมาพูดกลบภาวรปู ], ปรุ สิ ภาวทสก~ [๘ + ชวี ติ รูป + เกลื่อนเสยีปุรสิ ภาวรปู ], วตั ถทุ สก~ [๘ + ชวี ติ รูป + กลยี ุค ดู กปัหทยรูป], ชวี ติ นวก~ [๘ + ชวี ิตรูป] ๒. กวฬิงการาหาร อาหารคอื คาํ ขา ว ไดแกจติ ตชกลาป (กลาปทเ่ี กดิ แตจ ติ ) มี ๘ แบบ อาหารทก่ี ลนื กินเขาไปหลอเล้ยี งรางกาย,ไดแ ก สทุ ธฏั ฐกกลาป [๘], สทั ทนวก~ อาหารท่เี ปนวัตถุ (ขอ ๑ ในอาหาร ๔)[๘ + สทั ทรปู ], กายวญิ ญตั ตนิ วก~ [๘ + กษัตรยิ  พระเจาแผนดิน, เจา นาย, ชนช้ันกายวิญญัตติรูป], วจีวิญญัตติสัทท- ปกครอง หรือนกั รบทสก~ [๘ + วจวี ญิ ญตั ตริ ปู + สทั ทรปู ], กสาวเภสัช นํ้าฝาดเปนยา, ยาทีท่ าํ จากลหุตาทเิ อกาทสก~ [๘ + วกิ ารรปู ๓], น้ําฝาดของพชื เชน น้ําฝาดของสะเดาสัททลหตุ าททิ วาทสก~ [๘ + สทั ทรปู + น้ําฝาดกระดอม นํ้าฝาดบอระเพ็ดวกิ ารรปู ๓], กายวญิ ญตั ตลิ หตุ าท-ิ เปน ตนทวาทสก~ [๘ + กายวญิ ญตั ตริ ปู + วกิ าร- กสิกรรม การทํานา, การเพาะปลกู

กสิณ ๙ กัณฑกสามเณรกสิณ “ท้ังหมด”, “ทงั้ สนิ้ ”, “ลวน”, วัตถุที่ กังขาวิตรณวิสุทธิ ความบริสุทธ์ิดวยเปนอารมณอยางเดียวลวนในการเจริญ หมดสงสยั ในนามรปู คอื กาํ หนดรปู จ จยักรรมฐาน เชน ถาใชปฐวีคอื ดิน ก็เปน แหง นามรปู ไดว า เพราะอะไรเกดิ นามรปูปฐวีอยางเดียวลวน ไมมีอยางอื่นปน จงึ เกดิ เพราะอะไรดบั นามรปู จงึ ดบัจึงเรยี กวา “ปฐวีกสิณ”, ตามทเี่ รียนกัน กงั สดาล ระฆงั วงเดอื นบัดนี้ แปลกนั วา วัตถอุ ันจงู ใจ คือ จูง กจั จานโคตร, กจั จายนโคตร ตระกูลใจใหเขา ไปผูกอย,ู เปนช่อื ของกรรมฐาน พราหมณกัจจานะ หรือกจั จายนะที่ใชวัตถุของลวนหรือสีเดียวลวน กัจจายนปุโรหิต ปุโรหิตช่ือกัจจายนะสาํ หรับเพงเพอ่ื จงู จิตใหเ ปนสมาธิ มี ๑๐ เปนปุโรหิตของพระเจาจัณฑปชโชตอยาง คอื ภูตกสิณ ๔: ๑. ปฐวี ดนิ กรุงอุชเชนี ไดฟง พระธรรมเทศนาของ๒. อาโป นาํ้ ๓. เตโช ไฟ ๔. วาโย ลม; พระพุทธเจา บรรลุพระอรหัตแลวขอวรรณกสณิ ๔: ๕. นลี ํ สเี ขยี ว ๖. ปต ํ สี อปุ สมบท มชี อื่ ในพระศาสนาวา พระเหลอื ง ๗. โลหติ ํ สแี ดง ๘. โอทาตํ สี มหากจั จายนะ พระพุทธเจาทรงยกยอ งขาว; และ ๙. อาโลโก แสงสวา ง ๑๐. วาเปนเอตทัคคะในทางอธิบายความอากาโส ทวี่ า ง ของคาํ ยอ ใหพ สิ ดาร; ดู มหากจั จายนะกสณิ คุ ฆาฏมิ ากาศ ดู อากาศ ๓, ๔ กัจฉะ, กจั ฉประเทศ รักแรกหาปณะ ช่ือมาตราเงินในสมัยโบราณ กัญจนา เจาหญิงแหงเทวทหนครเปน๑ กหาปณะเทากับ ๒๐ มาสก หรือ ๔ พระมเหสีของพระเจาสีหหนุ ผูครอง บาท นครกบิลพัสดุ เปนพระชนนีของพระกะเทย คนหรือสัตวท่ีไมปรากฏวาเปน เจาสุทโธทนะ เปนพระอัยยิกาของเจาชายหรือหญงิ ชายสทิ ธตั ถะกังขาเรวตะ พระมหาสาวกองคหนึ่ง กัณฐกะ ชื่อมาสีขาวที่พระมหาบุรุษทรงเดมิ เปนบตุ รของตระกลู ท่มี ั่งคัง่ ชาวพระ ในวนั ออกผนวชนครสาวัตถี ไดฟงพระธรรมเทศนาท่ี กัณฐชะ อกั ษรเกิดในลาํ คอ คอื อ, อา,พระศาสดาทรงแสดง มีความเล่ือมใส ก, ข, ค, ฆ, ง และ หขอบวช ตอมาไดส ําเรจ็ พระอรหตั ไดรบั กัณฑ หมวด, ตอน, สว นของเรื่องยกยองจากพระศาสดาวาเปนเอตทัคคะ กัณฑกสามเณร ช่ือสามเณรรูปหนึ่งในในทางเปน ผูยนิ ดใี นฌานสมาบัติ คร้ังพุทธกาล ผูกลาวตูพระธรรม

กณั ฑเ ทศน ๑๐ กปั ,กลั ป เปนตนเหตุใหพระพุทธเจาทรงบัญญัติ คร้งั หนึ่ง จนกวาภูเขานน้ั จะสึกหรอสิ้น สิกขาบทที่ ๑๐ แหง สัปปาณกวรรคใน ไป กัปหนึง่ ยาวนานกวาน้ัน; กําหนด ปาจติ ตยิ กณั ฑ และทรงใหส งฆน าสนะ อายุของมนษุ ยหรือสตั วจาํ พวกนนั้ ๆ ใน เธอเสยี เขียนเปน กณั ฏกะ กม็ ีกัณฑเทศน ดู เคร่ืองกัณฑ ยุคน้นั ๆ เรียกเต็มวา ‘อายุกัป’ เชน วากณั หปกข, กณั หปก ษ “ฝา ยดํา” หมาย ถงึ ขางแรม; กาฬปก ษ กเ็ รยี ก; ตรงขามกบั อายุกัปของคนยุคนี้ ประมาณ ๑๐๐ ป ชณุ หปก ษ หรือ ศกุ ลปกษกตั ตกิ มาส เดือน ๑๒ ทก่ี ลาวขา งตน น้ัน เปนขอ ควรรูท ่ีพอกตั ติกา 1. ดาวลูกไก 2. เดือน ๑๒ ตาม จนั ทรคติ ตกในราวปลายเดอื นตลุ าคม แกความเขา ใจทว่ั ไป หากตอ งการทราบ ถึงเดอื นพฤศจิกายน ละเอยี ด พึงศึกษาคตโิ บราณดงั นี้กัตตกุ มั ยตาฉันทะ ความพอใจคอื ความ เปน ผใู ครเ พอ่ื จะทํา, ความตอ งการทจ่ี ะ กปั มี ๔ อยา ง ไดแ ก ๑. มหากปั กัปใหญ คอื กาํ หนดอายุ ทาํ ไดแ ก ฉนั ทะทเ่ี ปน กลางๆ ดกี ็ได ชั่วก็ ของโลก อันหมายถงึ สกลพภิ พ ๒. อสงไขยกปั กัปอันนบั เวลามไิ ด คือ ได แตโดยท่ัวไปหมายถึงฉันทะท่ีเปน สวนยอ ย ๔ แหง มหากัป ไดแ ก กุศล คอื กุศลฉันทะ หรอื ธรรมฉันทะ ๑) สงั วฏั ฏกปั (เรยี กเตม็ วา สงั วฏั ฏ- อสงไขยกปั ) กปั เสอ่ื ม คอื ระยะกาลท่ี ตา งจากกามฉนั ทะทเี่ ปนแตฝ ายอกศุ ลกนั ดาร อตั คดั , ฝด เคอื ง, หายาก, ลาํ บาก, โลกเสอื่ มลงจนถึงวินาศ แหงแลง, ทางทผี่ านไปยาก ๒) สังวัฏฏฐายีกัป (สังวัฏฏฐายี-กัป, กัลป กาลกาํ หนด, กาํ หนดอายขุ อง โลก, ระยะเวลายาวนานเหลือเกนิ ที่ อสงไขยกปั ) ระยะกาลทีโ่ ลกพนิ าศแลว กําหนดวาโลกคือสกลจกั รวาล ประลยั ทรงอยู ๓) ววิ ฏั ฏกปั (ววิ ฏั ฏอสงไขยกปั ) กปั คร้งั หน่งึ (ศาสนาฮนิ ดวู า เปน วันหนึ่งคนื เจริญ คือ ระยะกาลทโี่ ลกกลับเจริญขึน้ หนงึ่ ของพระพรหม) ทานใหเ ขา ใจดว ย ๔) ววิ ฏั ฏฐายกี ปั (ววิ ฏั ฏฐายอี สงไขย- อุปมาวา เปรยี บเหมือนมภี เู ขาศลิ าลวน กปั ) ระยะกาลทโ่ี ลกเจรญิ แลว ทรงอยู กวา ง ยาว สงู ดา นละ ๑ โยชน ทกุ ๑๐๐ ครบรอบ ๔ อสงไขยกปั นี้ เปน มหากปั ป มีคนนาํ ผาเนื้อละเอยี ดอยางดีมาลูบ หนงึ่ ๓. อันตรกัป กัปในระหวาง ไดแก ระยะกาลที่หมูมนุษยเส่ือมจนสวนใหญ พินาศแลว สวนที่เหลือดีขึ้นเจริญข้ึน

กปั ,กัลป ๑๑ กปั ,กลั ปและมีอายยุ ืนยาวขึน้ จนถึงอสงไขย แลว และพระเจา จกั รพรรดิธรรมราชาดว ย)กลับทรามเสื่อมลง อายุส้ันลงๆ จน ๒. อสุญกปั กปั ไมสูญ หรือกัปไมว า งเหลือเพียงสิบปแลวพินาศ ครบรอบนี้ เปลา คือ กปั ทีม่ ีพระพุทธเจาอบุ ัติ แยกเปนอันตรกปั หนึ่ง ๖๔ อันตรกัปเชนน้นัเปน ๑ อสงไขยกัป ยอยเปน ๕ ประเภท ไดแก๔. อายุกัป กาํ หนดอายขุ องสัตวจ าํ พวก ๑) สารกัป (กัปท่ีมีสาระขึ้นมาไดน้นั ๆ เชน อายุกปั ของมหาพรหมเทา กับ๑ อสงไขยกัป โดยมีพระพุทธเจามาอุบตั )ิ คือ กัปท่มี ี โดยท่ัวไป คาํ วา “กัป” ที่มาโดดๆ พระพุทธเจาอบุ ตั พิ ระองคเ ดยี วมักหมายถงึ มหากปั แตห ลายแหงหมาย ๒) มัณฑกัป (กัปเยยี่ มยอด) คือถึงอายุกัป เชนท่ีพระพุทธเจาตรัสวาพระองคไดทรงเจรญิ อิทธิบาท ๔ เปน กปั ทีม่ ีพระพทุ ธเจา อบุ ัติ ๒ พระองคอยา งดแี ลว หากทรงจํานง จะทรงพระ ๓) วรกัป (กัปประเสริฐ) คือ กัปท่ีชนมอยูตลอดกัปหรือเกินกวากัปก็ได“กปั ” ในทนี่ ี้ หมายถึงอายุกัป คอื จะทรง มพี ระพทุ ธเจาอุบตั ิ ๓ พระองคพระชนมอยูจนครบกําหนดอายุของคน ๔) สารมัณฑกัป (กัปที่มีสาระในยคุ นน้ั เตม็ บริบูรณ คือเตม็ ๑๐๐ ปหรอื เกินกวา นน้ั ก็ได เยีย่ มยอดยงิ่ กวากัปกอ น) คือ กัปทมี่ ี ตามคติที่บางคัมภีรประมวลมา พระพุทธเจาอบุ ตั ิ ๔ พระองคบันทกึ ไว พึงทราบวา ตลอดมหากัปนนั้ ๕) ภัทกปั (ภัททกปั หรอื ภทั รกัปพระพุทธเจาจะอุบัติเฉพาะแตในวิวัฏฏ-ฐายีกัป คอื ในระยะกาลท่โี ลกกลบั เจรญิ ก็ได, กปั เจรญิ หรอื กปั ท่ดี ีแท) คือ กปัข้นึ และกาํ ลังทรงอยู เทา น้นั และกัปเม่ือจําแนกตามการอุบัติของพระพุทธ ท่ีมีพระพทุ ธเจาอบุ ตั ิ ๕ พระองคเจา มี ๒ อยาง ไดแ ก๑. สญุ กัป กัปสญู หรือกัปวา งเปลา คอื กัปปจจุบนั เปนภทั กปั มพี ระพทุ ธกปั ทไ่ี มมพี ระพทุ ธเจา อุบตั ิ (รวมทัง้ ไมม ีพระปจเจกพุทธเจา พระพุทธสาวก เจา อุบัติ ๕ พระองค คอื พระกกุสนั ธะ พระโกนาคมน พระกัสสปะ พระโคตมะ ท่ีอบุ ัติแลว และพระเมตไตรยท จ่ี ะอุบตั ิ ตอไป ในศาสนาฮนิ ดู ถือวา ๑ กัป (รูป สันสกฤตเปน กลั ป) อันเปน วันหนึง่ คืน หนงึ่ ของพระพรหม (กลางวนั เปน อทุ ยั กปั คอื กปั รงุ , กลางคนื เปน ขยั กปั คอื กัป มลาย) ต้งั แตโ ลกเริ่มตน ใหมจ นประลยั ไปรอบหนง่ึ นน้ั มี ๒,๐๐๐ มหายคุ แต

กปั ปมาณพ ๑๒ ปเยอกปปฺ ยสฺ ิตาละมหายคุ ยาว ๔,๓๒๐,๐๐๐ ป โดยแบง หรอื ฉนั ได เชน ขา วสกุ จวี ร รม ยาแดงเปน ๔ ยคุ (จตุยุค, จตุรยคุ ) เริม่ จาก เปนกัปปยะ แตสรุ า เสื้อ กางเกง หมวกระยะกาลทีม่ นุษยมีศลี ธรรมและรา งกาย น้ําอบ ไมเปนกัปปยะ ส่ิงที่ไมเปนสมบรู ณง ดงาม แลว เสอื่ มทรามลง และ กัปปย ะ เรียกวา อกปั ปย ะชว งเวลาของยคุ กส็ นั้ เขา ตามลาํ ดบั คือ กปั ปย การก ผทู าํ ของทสี่ มควรแกส มณะ,๑. กฤตยุค ยุคที่โลกอันพระพรหม ผูทําหนาท่ีจัดของท่ีสมควรแกภิกษุสรา งเสร็จแลว มคี วามดงี ามสมบูรณอ ยู บรโิ ภค, ผปู ฏบิ ตั ภิ กิ ษ,ุ ลกู ศษิ ยพ ระดงั ลกู เตา ดา น ‘กฤต’ ทม่ี ี ๔ แตม เปน ยคุ กปั ปย กฎุ ี เรอื นเกบ็ ของทเ่ี ปนกัปปย ะ; ดูดเี ลศิ ๑,๗๒๘,๐๐๐ ป (สตั ยยคุ คอื ยคุ กัปปยภูมิแหง สจั จะ กเ็ รยี ก; ไทยเรยี ก กฤดายคุ ) กัปปยบรขิ าร เครอื่ งใชส อยทสี่ มควรแก๒. เตรตายคุ ยุคทม่ี ีความดงี ามถอยลง สมณะ, ของใชทส่ี มควรแกภิกษุมา ดงั ลกู เตา ดา น ‘เตรตา’ ทมี่ ี ๓ แตม กัปปยภัณฑ ของใชท่ีสมควรแกภิกษุ,ยงั เปน ยคุ ทดี่ ี ๑,๒๙๖,๐๐๐ ป (ไทยเรยี ก สงิ่ ของทส่ี มควรแกส มณะไตรดายคุ ) กัปปยภูมิ ทีส่ าํ หรับเกบ็ เสบยี งอาหารของ๓. ทวาปรยคุ ยุคที่ความดีงามเส่ือม วดั , ครวั วดั มี ๔ อยา ง คอื ๑. อนสุ สาว-ทรามลงไปอกี ดงั ลกู เตา ดา น ‘ทวาปร’ ที่ นนั ติกา กัปปย ภูมทิ ี่ทาํ ดวยการประกาศมี ๒ แตม เปน ยคุ ทมี่ คี วามดพี อทรงตวั ใหรูกันแตแรกสรางวาจะทําเปนกัปปย-ได ๘๖๔,๐๐๐ ป (ไทยเรยี ก ทวาบรยคุ ) ภมู ิ คอื พอเรม่ิ ยกเสาหรอื ตงั้ ฝากป็ ระกาศ๔. กลยี คุ ยุคที่เสือ่ มทรามถงึ ท่ีสดุ ดงั ใหไ ดย นิ วา “กปปฺ ย ภมู ึ กโรม” แปลวาลกู เตา ดา น ‘กล’ิ ทมี่ เี พยี งแตม เดยี ว เปน “เราทง้ั หลายทาํ กปั ปย กฎุ ”ี ๒. โคนสิ าทกิ า ยคุ แหง ความเลวรา ย ๔๓๒,๐๐๐ ป กปั ปย ภมู ิขนาดเล็กเคลอ่ื นที่ได ดุจเปนกปั ปมาณพ ศิษยค นหนงึ่ ในจํานวน ๑๖ ทโ่ี คจอ ม ๓. คหปตกิ า เรอื นของคฤหบดี คนของพราหมณพาวรี ที่ไปทูลถาม เขาสรา งถวายเปน กปั ปย ภมู ิ ๔. สมั มตกิ า ปญหากะพระศาสดา ทป่ี าสาณเจดีย กัปปยภูมทิ ่สี งฆสมมติ ไดแ กก ฎุ ที ่ีสงฆกัปปาสกิ ะ ผาทาํ ดว ยฝาย คือผาสามัญ เลือกจะใชเปนกัปปยกุฎี แลวสวดกัปปยะ สมควร, ควรแกสมณะท่ีจะ ประกาศดว ยญัตตทิ ตุ ิยกรรม บริโภค, ของที่สมควรแกภกิ ษบุ รโิ ภคใช กปปฺ เ ย อกปปฺ ยสฺิตา อาการทีต่ องสอย คอื พระพทุ ธเจา อนญุ าตใหภกิ ษุใช อาบตั ิดว ยสาํ คัญวาไมควรในของที่ควร

กปั ปละ ๑๓ กัมมฏั ฐานกัปปละ ชื่อพราหมณนายบานของหมู กรรมประเภทนน้ั ได แตทานไมไ ดอ อกบานพราหมณหมูหน่ึง ในแขวงกรุง ช่อื ไว และไมอาจจัดเขา ในชื่ออื่นๆ แหง ราชคฤห เปนบดิ าของปป ผลิมาณพ สังฆกรรมประเภทเดยี วกนั เชน การกมั ปล ละ ชอ่ื นครหลวงแหง แควน ปญ จาละ อปโลกนแ จกอาหารในโรงฉัน เปนกัมม-กัมพล ผาทอดวยขนสัตว เชนสกั หลาด ลักขณะในอปโลกนกรรม, การประกาศกมั โพชะ แควน หนง่ึ ในบรรดา ๑๖ แควน เริ่มตนระงับอธิกรณดวยติณวัตถารก-แหงชมพูทวีป มีนครหลวงช่ือทวารกะ วินัย เปนกัมมลักขณะในญัตติกรรม,บัดน้ีอยูในประเทศอฟั กานสิ ถาน ญัตตทิ ตุ ิยกรรมท่ีสวดในลาํ ดบั ไปในการกัมมขันธกะ ช่ือหมวดหน่ึงในคัมภีร ระงบั อธกิ รณด ว ยตณิ วตั ถารกวนิ ยั เปนจลุ ลวรรค พระวนิ ยั ปฎ ก วา ดว ยนคิ หกรรม กัมมลักขณะในญัตติทุติยกรรม,๕ ประเภท อปุ สมบทและอพั ภานเปน กมั มลกั ขณะในกัมมชรูป ดูท่ี รปู ๒๘ ญตั ตจิ ตตุ ถกรรมกมั มปต ตะ, กมั มปต ต “ผถู งึ กรรม”, “ผู กมั มวฏั ฏ วนคอื กรรม, วงจรสว นกรรม,เขา กบั กรรม”, ผเู ขา กรรม, ภิกษุผเู ขา หน่งึ ในวฏั ฏะ ๓ แหงปฏิจจสมุปบาทรว มทําสังฆกรรม โดยเปน ปกตัตตะ ประกอบดวยสังขารและกรรมภพ; ดูคือเปนผูมีสิทธิถูกตอง และไมเปน ไตรวัฏฏกมั มารหะ คือมิใชเปนผซู ่งึ ถกู ที่ประชมุ กมฺมวิปากชา อาพาธา ความเจบ็ ไขเกิดสงฆท าํ กรรม, สงฆท จ่ี ะครบองคป ระชมุ แตว บิ ากแหง กรรม; ดู อาพาธเชน สังฆกรรมท่ีทําโดยสงฆจตุวรรค กมั มสัทธา ดู สัทธาตอ งมภี กิ ษคุ รบ ๔ รปู กค็ อื มกี มั มปต ตะ กมั มญั ญตา ความควรแกก ารงาน, ภาวะครบ ๔ รูป (สงฆปญจวรรคตองมี ที่ใชการได หรือเหมาะแกการใชงาน,กัมมปตตะครบ ๕ รปู สงฆท ศวรรคตอ ง ความเหมาะงานมกี มั มปต ตะครบ ๑๐ รปู สงฆว สี ตวิ รรค กมั มัฏฐาน ทีต่ ้ังแหงการงาน, อารมณ ตองมีกัมมปตตะครบ ๒๐ รูป); ดู เปน ท่ตี ้ังแหง การงานของใจ, อบุ ายทาง ปกตตั ตะ, กมั มารหะกัมมลักขณะ การอันมีลักษณะเปน ใจ, วิธฝี กอบรมจติ ใจและเจรญิ ปญ ญา (นิยมเขียน กรรมฐาน); กัมมฏั ฐาน ๒ (สงั ฆ)กรรมนนั้ ได, กจิ การทมี่ ลี กั ษณะอนั (โดยหลกั ทัว่ ไป) คอื ๑. สมถกัมมฏั ฐานจัดเขาเปนสังฆกรรมอยางหนึ่งในสังฆ- กรรมฐานเพ่ือการทําจิตใจใหสงบ, วิธี

กมั มัฏฐาน ๔๐ ๑๔ กมั มารหะฝกอบรมเจริญจิตใจ ๒. วิปสสนา- อสุภสัญญาก็มาชวยใหโลภะหรือราคะกัมมัฏฐาน กรรมฐานเพื่อการใหเกิด เขามาครอบงําไมได เพราะจะไมติดใจความรแู จง, วธิ ฝี ก อบรมเจริญปญญา; แมแตใ นทิพยารมณ แลว กม็ งุ หนาไปในกมั มัฏฐาน ๒ (โดยการปฏิบตั )ิ คือ ๑. ปาริหารยิ กรรมฐานของตน; ดู ภาวนาสัพพัตถกกัมมัฏฐาน กรรมฐานท่ีพึง กัมมัฏฐาน ๔๐ คือ ส่ิงที่นิยมใชเปนตองการในที่ทั้งปวง หรอื พงึ ใชเ ปนฐาน อารมณในการเจริญสมถภาวนา ซึ่งพงึของการเจรญิ ภาวนาทกุ อยา ง, กรรมฐาน เลือกใชใหเหมาะกับตน เชนใหตรงกับทเี่ ปน ประโยชนใ นทกุ กรณี ไดแ ก เมตตา จรติ มี ๔๐ อยา ง ไดแ ก กสณิ ๑๐ อสภุ ะมรณสติ และบางทา นวา อสภุ สญั ญาดว ย ๑๐ อนสุ สติ ๑๐ พรหมวหิ าร ๔ อาหาเร-๒. ปารหิ ารยิ กมั มฏั ฐาน กรรมฐานทจี่ ะ ปฏกิ ลู สญั ญา๑ จตธุ าตวุ วตั ถาน๑ อรปู ๔ตอ งบรหิ าร (ประจาํ ตวั ) คอื กรรมฐานขอ กัมมสั สกตาญาณ ความรูถ งึ ภาวะทส่ี ัตวหนง่ึ ขอ ใดกต็ าม ทเ่ี ลอื กวา เหมาะกบั ตน ท้ังหลายมีกรรมเปนของตน ทําดีไดดีเชน วา ตรงกบั จรติ แลว หรือกาํ หนดเอา ทําชวั่ ไดชั่ว, จดั เปนปญญาที่ถกู ตอ งในเปนขอท่ีตนจะปฏิบัติเพื่อกาวสูผลท่ีสูง ระดบั สามัญ (ยังไมเปน อธปิ ญ ญา) และขนึ้ ไปๆ แลว ตอ แตน น้ั กจ็ ะตอ งเอาใจใส เปน โลกิยสัมมาทิฏฐ;ิ กมั มัสสกตญาณก็จัดปรับบําเพ็ญตลอดเวลาเพื่อใหกาว เขยี น, กมั มสั สกตาปญ ญา หรือ กัมมัส-หนา ไปและไดผ ลด,ี ทงั้ นห้ี มายความวา สกตปญ ญา ก็เรียก; ดู สกิ ขาผปู ฏบิ ตั ทิ กุ คนพงึ ปฏบิ ตั กิ รรมฐานทง้ั ๒ กมั มสั สกตาสทั ธา ความเชื่อวา สตั วมีขอ เนอื่ งจากสพั พัตถกกมั มฏั ฐานจะชว ย กรรมเปนของตัว ทาํ ดไี ดดี ทาํ ช่ัวไดช ว่ั ,เปนพ้ืนเก้ือหนุนตอปาริหาริยกัมมัฏฐาน เปน คาํ ทผี่ กู ขน้ึ ภายหลัง โดยจัดไวในชดุโดยผูปฏิบัตินั้น พอเริ่มตน ก็เจริญ สัทธา ๔ สวนในพระไตรปฎกและเมตตาตอประดาภิกษุสงฆและหมูชน คัมภรี ท ัง้ หลาย มแี ต กัมมสั สกตาญาณ;ตลอดถึงเทวดาในถิ่นใกลรอบตัวจนทั่ว ดู กมั มัสสกตาญาณ, สัทธาสรรพสัตว เพ่ือใหมีใจออนโยนตอกัน กมั มารหะ ผคู วรแกกรรม คอื บคุ คลที่และมีบรรยากาศรมเยน็ เปน มติ ร พรอม ถูกสงฆทํากรรม เชน ภิกษุท่ีสงฆกนั นนั้ กเ็ จรญิ มรณสติ เพอื่ ใหใ จหา งจาก พิจารณาทาํ ปพพาชนยี กรรม คฤหสั ถท ่ีทจุ ริตไมคดิ ถึงอเนสนา และกระตุนเรา ถกู สงฆด าํ เนนิ การควํา่ บาตร เปนตน ; ดูใจใหป ฏิบตั จิ ริงจัง ไมย อ หยอน สวน ปกตัตตะ, กมั มปต ตะ

กลั บก ๑๕ กามกลั บก ชางตดั ผม, ชางโกนผม กัศมีร แควนหนึ่งของชมพูทวีป ซ่ึงกลั ป ดู กปั ปรากฏช่ือข้ึนในยุคอรรถกถาเปนตนมากัลปนา 1. ทีห่ รอื สิ่งอื่นซ่ึงเจาของอทุ ิศ โดยมกั เรยี กรวมกบั แควนคันธาระ เปนผลประโยชนใหแ กวัด 2. สวนบุญที่ผูทาํ “กศั มีรคันธาระ”, ในภาษาไทย บางทีอทุ ศิ ใหแกผูต าย เรยี กวา “แคชเมียร”; ดู คันธาระกัลยาณคุณ คณุ อันบณั ฑิตพงึ นบั , คณุ - กัสสปะ 1. พระนามพระพุทธเจา พระ องคห น่ึงในอดตี ; ดู พระพุทธเจา ๕ 2.สมบัติทด่ี งี าม, คณุ งามความดีกลั ยาณชน คนประพฤตดิ ีงาม, คนดี ชอ่ื ของพระมหากสั สปเถระเมอ่ื เรยี กตามกลั ยาณธรรม ธรรมอนั ด,ี ธรรมดงี าม, โคตร ทา นมีชื่ออกี อยา งหน่งึ วา ปป ผลิธรรมของกัลยาณชน; ดู เบญจธรรม หรือ ปปผลิมาณพ 3. หมายถึงกสั สปะกัลยาณปุถุชน คนธรรมดาท่ีมีความ สามพน่ี อ ง คอื อรุ เุ วลกสั สปะนทกี สั สปะประพฤติดี, ปุถุชนผมู ีคุณธรรมสูง คยากสั สปะ ซึง่ เปน นกั บวชประเภทชฎิลกัลยาณมิตตตา ความมีกัลยาณมิตร, ถอื ลัทธิบูชาไฟ เปนท่ีเคารพนบั ถือของความมีเพื่อนเปน คนดี ไมค บคนช่ัว (ขอ ชาวราชคฤห ภายหลงั ไดเ ปน พระอรหนั ต ๓ ในทฏิ ฐธัมมกิ ตั ถสงั วัตตนกิ ธรรม ๔) พรอมกันท้ังสามพี่นองและบริวารหน่ึงกัลยาณมิตร “มติ รผมู ีคณุ อนั บัณฑติ พงึ พนั ดว ยไดฟ ง เทศนาอาทติ ตปรยิ ายสตู ร นบั ”, เพ่ือนท่ดี ี (คุณสมบตั ิ ดู เพอื่ น) จากพระพทุ ธเจา 4. คาํ เรยี กชอ่ื อยา งกลั ยาณมติ รธรรม ธรรม คอื คณุ สมบตั ิ สน้ั ๆ หมายถงึ พระกมุ ารกสั สปะ ของกลั ยาณมติ ร; กลั ยาณมิตรธรรม ๗ กัสสปโคตร ตระกลู พราหมณกัสสปะ ดู เพื่อน กัสสปสังยุตต ชื่อเรียกพระสูตรหมวดกัลยาณี นางงาม, หญิงงาม, หญิงท่มี ีคุณ หนึ่ง ในคัมภีรส งั ยตุ ตนกิ าย รวบรวมธรรมนา นบั ถือ เรื่องเก่ียวกับพระมหากัสสปะไวเปนกัลลวาลมุตตคาม ช่ือหมูบาน อยูใน หมวดหมูแควน มคธ พระโมคคัลลานะอปุ สมบท กาจ รา ย, กลา , เกงได ๗ วนั ไปทาํ ความเพยี รจนออ นใจ กาพย คํารอยกรองที่แตงทํานองฉันทนั่งโงกงวงอยู พระพุทธเจาเสด็จไป แตไมนยิ มครลุ หเุ หมอื นฉนั ทท ั้งหลายเทศนาโปรด จนไดสําเร็จพระอรหัตท่ี กาม ความใคร, ความอยาก, ความหมบู า นน้ี ปรารถนา, ส่ิงท่ีนาปรารถนา นา ใคร,

กามคุณ ๑๖ กาเมสุมจิ ฉาจารกามมี ๒ คอื ๑.กเิ ลสกาม กิเลสทท่ี ําให หลงใหลหมกมนุ ใน รูป เสยี ง กลน่ิ รสใคร ๒. วตั ถุกาม วัตถุอนั นา ใคร ไดแก และสัมผัส (ขอ ๓ ในเบญจธรรม)กามคุณ ๕ กามสุข สุขในทางกาม, สุขท่ีเกิดจากกามคณุ สว นท่นี า ปรารถนานา ใครม ี ๕ กามารมณอยา ง คอื รูป เสียง กลน่ิ รส และ กามสุขัลลิกานุโยค การประกอบตนใหโผฏฐพั พะ (สมั ผสั ทางกาย) ท่ีนา ใครน า พัวพนั หมกมนุ อยใู นกามสุข เปนอยา ง พอใจ หนึ่งในที่สดุ สองขาง คอื กามสุขลั ลิกา-กามฉันท, กามฉันทะ ความพอใจรัก นุโยค ๑ อตั ตกิลมถานโุ ยค ๑ ใครในอารมณที่ชอบใจมีรูปเปนตน, กามสคุ ตภิ ูมิ กามาวจรภมู ิท่เี ปน สุคติ คอืความพอใจในกามคณุ ท้ัง ๕ คือ รปู มนษุ ยและสวรรค ๖ (จะแปลวา “สุคติเสยี ง กลน่ิ รส โผฏฐพั พะ (ขอ ๑ ใน ภูมทิ ่ยี งั เกย่ี วขอ งกับกาม” ก็ได)นิวรณ ๕) กามาทนี พ โทษแหง กาม, ขอ เสยี ของกามกามตัณหา ความทะยานอยากในกาม, กามารมณ 1. อารมณท่ีนาใคร นา ความอยากไดกาม (ขอ ๑ ในตัณหา ๓) ปรารถนา หมายถงึ รปู เสยี ง กลนิ่ รสกามภพ ที่เกิดของผูท่ียังเก่ยี วของอยูใน โผฏฐพั พะ ไดแ กก ามคณุ ๕ นนั่ เอง 2. ในกาม, โลกเปนทอี่ ยูอ าศัยของผูเสพกาม ภาษาไทย มกั หมายถงึ ความรสู กึ ทางกามไดแ ก อบายภมู ิ ๔ มนษุ ยโลก และ กามาวจร ซง่ึ ทอ งเทยี่ วไปในกามภพ, ซึง่สวรรค ๖ ช้ัน ต้งั แตชั้นจาตมุ หาราชิกา เก่ียวของอยกู ับกาม ไดแ ก ขันธ ธาตุถึงช้ันปรนิมมติ วสวัตดีรวมเปน ๑๑ ชั้น อายตนะ ทุกสงิ่ ทุกอยา งประดามีทเี่ ปน(ขอ ๑ ในภพ ๓) ไปในกามภพ ต้ังแตอเวจีมหานรกถึงกามราคะ ความกาํ หนดั ดว ยอาํ นาจกเิ ลส- สวรรคช้ันปรนิมมติ วสวัตดี; ดู ภพ, ภูมิกาม, ความใครกาม (ขอ ๔ ในสงั โยชน กามาสวะ อาสวะคอื กาม, กเิ ลสดองอยใู น๑๐, ขอ ๑ ในสงั โยชน ๑๐ ตามนยั พระ สันดานทท่ี าํ ใหเกดิ ความใคร; ดู อาสวะ กามุปาทาน ความยึดติดถือม่ันในกามอภธิ รรม, ขอ ๑ ในอนสุ ยั ๗)กามสมบัติ สมบตั ิคือกามารมณ, ความ ยึดถือวาเปนของเราหรือจะตองเปนของถึงพรอ มดวยกามารมณ เรา จนเปน เหตใุ หเ กดิ รษิ ยาหรอื หวงแหนกามสงั วร ความสาํ รวมในกาม, การรูจ กั ลมุ หลง เขา ใจผิด ทําผิดยับย้ังควบคุมตนในทางกามารมณไมให กาเมสุมิจฉาจาร ความประพฤติผิดใน

กาเมสุมิจฉาจารา เวรมณี ๑๗ กายบรหิ ารกามท้ังหลาย, ความผิดประเวณี กายทวารทใ่ี ชท าํ กรรมคอื เคลอื่ นไหวแสดงกาเมสุมิจฉาจารา เวรมณี เวนจาก ออกและทาํ การตา งๆ, ในคาํ วา “กายสขุ ”ประพฤติผิดในกาม, เวนการลวง (สขุ ทางกาย) หมายถงึ ทางทวารทง้ั ๕ คอืประเวณี ตา หู จมกู ลน้ิ และกาย ซง่ึ คกู บั เจโตสขุกายกรรม การกระทําทางกาย เชน ฆา หรอื สขุ ทางใจ, ในคาํ วา “กายภาวนา” (การสัตว ลักทรัพย ประพฤติผิดในกาม พัฒนากาย) หมายถึงอินทรียสังวรคือหรือเวน จากการฆา สตั ว เวนจากการลัก ความรจู กั ปฏบิ ตั ใิ หไ ดผ ลดใี นการใชต า หูทรัพยเ ปน ตน จมกู ลนิ้ และกาย ดงั น้ี เปน ตนกาย กอง, หมวดหม,ู ทีร่ วม, ชุมนมุ เชน กายกัมมัญญตา ความควรแกงานแหงสัตวกาย (มวลสัตว) พลกาย (กอง นามกาย, ธรรมชาตทิ ที่ าํ นามกาย คือกําลังทหาร) รถกาย (กองทหารรถ) เจตสิกทัง้ หลายใหอยใู นภาวะทจี่ ะทาํ งานธรรมกาย (ที่รวมหรือท่ีชุมนุมแหง ไดดี (ขอ ๑๔ ในโสภณเจตสิก ๒๕)ธรรม) 1. ทรี่ วมแหง อวยั วะทง้ั หลาย หรอื กายคตาสติ, กายสติ สติที่เปนไปในชมุ นมุ แหง รปู ธรรม คอื รา งกาย บางที กาย, สติอันพิจารณากายใหเห็นตามเรียกเต็มวา รูปกาย 2. ประชุมแหง สภาพทมี่ สี ว นประกอบ ซงึ่ ลว นเปนของนามธรรม หรอื กองแหง เจตสกิ เชน ในคาํ ไมสะอาด ไมง าม นา รงั เกียจ ทําใหเ กิดวา “กายปส สทั ธ”ิ (ความสงบเยน็ แหง กอง ความรเู ทา ทนั ไมหลงใหลมัวเมาเจตสกิ ) บางทเี รยี กเตม็ วา นามกาย (แตใ น กายทวาร ทวารคือกาย, กายในฐานเปนบางกรณี นามกาย หมายถงึ นามขนั ธห มด ทางทาํ กรรม, ทางกายทง้ั ๔ คอื ทง้ั เวทนา สญั ญา สงั ขาร และ กายทุจริต ประพฤติชั่วดวยกาย,วญิ ญาณ หรอื ทงั้ จติ และเจตสกิ ); นอก ประพฤติชัว่ ทางกาย มี ๓ อยางคือ ๑.จากความหมายพนื้ ฐาน ๒ อยา งนแี้ ลว ยงั ปาณาตบิ าต ฆา สตั ว ๒. อทนิ นาทานมคี วามหมายปลกี ยอ ย และความหมาย ลักทรพั ย ๓. กาเมสุมิจฉาจาร ประพฤติเฉพาะ ตามขอความแวดลอมอกี หลาย ผดิ ในกาม; ดู ทจุ รติอยา ง เชน ในคาํ วา “กายสมั ผสั ” (สมั ผสั กายบริหาร การรักษารางกายใหเหมาะทางกาย) หมายถึงกายอินทรียที่รับรู สมแกค วามเปน สมณะ เชน ไมไ วผ มยาวโผฏฐพั พะคอื สง่ิ ตอ งกาย, ในคาํ วา “กาย เกนิ ไป ไมไ วหนวดเครา ไมไ วเ ล็บยาวทุจริต” (ทุจริตดวยกาย) หมายถึง ไมผัดหนา ไมแ ตงเครอื่ งประดบั กาย ไม

กายประโยค ๑๘ กายานุปส สนาเปลอื ยกาย เปน ตน โสดาบันขึ้นไปจนถึงผูต้ังอยูในอรหัตต-กายประโยค การประกอบทางกาย, การ มรรค ทเ่ี ปนผมู สี มาธนิ ทรยี แรงกลา ไดกระทําทางกาย สัมผสั วโิ มกข ๘ (เมือ่ บรรลอุ รหตั ตผลกายปสสัทธิ ความสงบรํางับแหงนาม- กลายเปน อภุ โตภาควมิ ตุ ); ดู อรยิ บคุ คล๗กาย, ธรรมชาติทํานามกาย คือ เจตสกิ กายสงั ขาร 1. ปจ จัยปรงุ แตง กาย ไดแกทง้ั หลายใหสงบเยน็ (ขอ ๘ ในโสภณ- ลมหายใจเขา หายใจออก 2. สภาพท่ีเจตสกิ ๒๕) ปรงุ แตงการกระทาํ ทางกายไดแก กาย-กายปาคุญญตา ความคลองแคลวแหง สัญเจตนา หรือความจงใจทางกาย ซ่งึนามกาย, ธรรมชาติทํานามกายคือ ทาํ ใหเ กิดกายกรรมเจตสิกทั้งหลาย ใหแคลวคลองวองไว กายสังสัคคะ ความเกี่ยวของดวยกาย, รวดเร็ว (ขอ ๑๖ ในโสภณเจตสิก ๒๕) การเคลาคลึงรางกาย, เปนชื่ออาบัติกายมุทุตา ความออนโยนแหงนามกาย, สังฆาทิเสสขอที่ ๒ ที่วาภิกษุมีความธรรมชาติทํานามกาย คือ เจตสิกท้ัง กําหนัดถึงความเคลาคลึงดวยกายกับหลายใหน มุ นวลออ นละมุน (ขอ ๑๒ ใน มาตุคาม, การจบั ตอ งกายหญงิ โดยมจี ติโสภณเจตสิก ๒๕) กาํ หนัดกายลหุตา ความเบาแหงนามกาย, กายสัมผัส สมั ผสั ทางกาย, อาการท่กี าย ธรรมชาติทาํ นามกาย คือกองเจตสิก ให โผฏฐพั พะ และกายวญิ ญาณประจวบกนั เบา (ขอ ๑๐ ในโสภณเจตสกิ ๒๕) กายสัมผัสสชาเวทนา เวทนาท่ีเกิดข้ึนกายวิญญัติ ความเคลอื่ นไหวรางกายใหร ู เพราะกายสัมผัส, ความรูสึกท่ีเกิดขึ้น ความหมาย เชน สน่ั ศรี ษะ โบกมอื เพราะการทกี่ าย โผฏฐพั พะ และกาย- ขยบิ ตา ดีดน้วิ เปนตน; เทียบ วจวี ิญญัติ วิญญาณประจวบกันกายวิญญาณ ความรูที่เกิดขึ้นเพราะ กายสามัคคี ดู สามคั คี โผฏฐัพพะกระทบกาย, โผฏฐัพพะ กายสุจริต ประพฤติชอบดวยกาย,กระทบกาย เกิดความรขู ึน้ (ขอ ๕ ใน ประพฤติชอบทางกาย มี ๓ อยา ง คือวิญญาณ ๖) เวนจากการฆาสัตว เวนจากการลักกายสมาจาร ความประพฤติทางกาย ทรัพย เวนจากประพฤติผิดในกาม; ดูกายสักขี “ผเู ปน พยานดวยนามกาย”, “ผู กายทุจรติ , สจุ รติประจกั ษกบั ตวั ”, พระอริยบุคคลตง้ั แต กายานุปสสนา สติพิจารณากายเปน

กายกิ สุข ๑๙ กาลามสตู รอารมณวา กายนี้ก็สักวากาย ไมใชส ตั ว ตามทพี่ ระพุทธเจา ตรสั ไวเ ดิม (อง.ฺ ปจฺ ก.บุคคลตัวตนเราเขา เปนสติปฏฐานขอ ๒๒/๓๖/๔๔) มี กาลทาน ๕ คอื อาคนั ตกุ -หนึง่ ; ดู สตปิ ฏฐาน ทาน (ทานแกผมู าจากตา งถ่นิ ), คมกิ ทานกายิกสุข สุขทางกาย เชนไดยินเสียง (ทานแกผ ูจ ะไปจากถนิ่ ), คลิ านทาน (ทานไพเราะ ลิ้มรสอรอย ถกู ตองสิ่งทอ่ี อน แกผ เู จบ็ ไข) , ทพุ ภกิ ขทาน (ทานในยามมีนุม เปนตน ทุพภกิ ขภัย), และทานคราวขา วใหม มีกายุชุกตา ความซื่อตรงแหงนามกาย, ผลไมใหม จดั ใหแกท านผมู ีศีลเปน ปฐม;ธรรมชาตทิ ที่ าํ นามกายคอื เจตสกิ ทง้ั หลาย ปจ จุบนั นี้ มกั ใชใ นความหมายวา ทานที่ ใหซ อื่ ตรง (ขอ ๑๘ ในโสภณเจตสกิ ๒๕) ใหไดเฉพาะภายในระยะเวลาที่กําหนดการก ผูกระทํากรรมไดต ามพระวนิ ยั มี ๓ ไมม กี ารใหนอกเวลา หรือนอกเทศกาล คอื สงฆ คณะ และ บคุ คล เชนในการ เชน การถวายผา กฐนิ การถวายผา อาบทําอุโบสถ ภิกษุต้ังแตส่ีรูปข้ึนไปเรียก น้าํ ฝน เปนตน ซึง่ ทายกจะถวายไดต ามสงฆ สวดปาฏิโมกขไ ด ภกิ ษุสองหรอื กําหนดเวลาท่ีพระพุทธเจาทรงอนุญาตสามรูป เรียก คณะ ใหบอกความ เทา น้ัน กอ นหรอื เลยเขตกําหนดไป ทาํบริสุทธิ์ได ภกิ ษุรปู เดยี วเรยี กวา บคุ คล ไมได; ดู ทาน กาลเทศะ เวลาและประเทศ, เวลา และใหอธิษฐานการกสงฆ “สงฆผ กู ระทาํ ” หมายถงึ สงฆ สถานท่ีหมูหนึ่งผูดําเนินการในกิจสําคัญ เชน กาลวิภาค การแจกกาลออกเปนเดือนการสงั คายนา หรอื ในสงั ฆกรรมตา งๆ ปกษ และวันการงานชอบ ดู สัมมากมั มนั ตะ กาลญั ุตา ความเปน ผรู ูจ ักกาลเวลาอันกาล เวลา สมควรในการประกอบกจิ นัน้ ๆ เชน รูกาละ เวลา, คราว, คร้งั , หน วาเวลาไหนควรทําอะไร เปนตน (ขอ ๕กาลกรรณี, กาลกิณี ดู กาฬกรรณี ในสัปปรุ สิ ธรรม ๗)กาลกริ ยิ า “การกระทาํ กาละ”, การตาย, กาลามสตู ร สูตรหนึง่ ในคมั ภรี ติกนิบาต มรณะ อังคุตตรนิกาย พระพุทธเจาตรัสสอนกาลทาน ทานท่ีใหต ามกาล, ทานท่ใี หได ชนชาวกาลามะแหงเกสปุตตนิคมในเฉพาะเหตุการณ หรือเปนคร้ังคราวใน แควนโกศล ไมใหเช่ืองมงายไรเ หตผุ ลโอกาสพิเศษ ไมใชใหไดตลอดเวลา, ตามหลัก ๑๐ ขอ คือ อยา ปลงใจเช่อื

กาลกิ ๒๐ กาฬสลิ า ดวยการฟงตามกนั มา, ดวยการถอื สืบๆ ไมเ ปน กาลิก แตนับเขาดว ยโดยปริยาย กันมา, ดว ยการเลาลือ, ดวยการอาง เพราะเปน ของเกยี่ วเนื่องกัน) ตําราหรอื คมั ภีร, ดวยตรรก, ดวยการ กาววาว ฉูดฉาด, หรูหรา, บาดตา อนมุ าน, ดวยการคดิ ตรองตามแนวเหตุ กาสะ ไอ (โรคไอ) ผล, เพราะเขากันไดก ับทฤษฎีของตน, กาสาวะ ผา ยอ มฝาด, ผา เหลอื งสาํ หรบั พระ เพราะมองเห็นรูปลกั ษณะนา เชอ่ื , เพราะ กาสาวพสั ตร ผา ท่ยี อมดว ยรสฝาด, ผา นับถือวาทานสมณะน้ีเปนครูของเรา; ยอมน้ําฝาด, ผา เหลืองสําหรับพระ ตอเม่ือใด พิจารณาเห็นดวยปญญาวา กาสี แควน หน่งึ ในบรรดา ๑๖ แควนแหง ธรรมเหลา นน้ั เปน อกศุ ล เปน กุศล มี ชมพูทวปี มีนครหลวงชื่อพาราณสี ใน โทษ ไมม ีโทษ เปนตนแลว จงึ ควรละ สมัยพุทธกาล กาสีไดถูกรวมเขาเปน หรือถือปฏบิ ตั ติ ามน้นั เรยี กอกี อยา งวา สว นหน่ึงของแควนโกศลแลว เกสปตุ ติยสตู ร หรอื เกสปุตตสตู ร กาฬกรรณี, กาฬกณั ณี “อันทําใหท ี่ตนกาลิก เนื่องดวยกาล, ขึ้นกบั กาล, ของอนั อาศัยพลอยเปนดังสดี าํ อับมดื ไป”, ตวั จะกลืนกินใหลวงลําคอเขาไปซึ่งพระ กอ อุบาทว, ตัวนาํ เคราะหรา ยหรอื ทาํ ให วินัยบัญญัติใหภิกษุรับเก็บไวและฉันได อับโชค, เสนยี ดจญั ไร, อปั มงคล, บางที ภายในเวลาทก่ี าํ หนด จาํ แนกเปน ๔ อยา ง เพยี้ นเปน กาลกณิ ี; ตรงขามกบั สิริ, ศรี คอื ๑. ยาวกาลิก รับประเคนไวแ ละฉนั กาฬเทวิลดาบส เปนอีกชื่อหน่ึงของ ไดช่ัวเวลาเชาถึงเท่ียงของวันน้ัน เชน อสติ ดาบส; ดู อสติ ดาบส ขา ว ปลา เนื้อ ผกั ผลไม ขนมตา งๆ ๒. กาฬปก ษ “ซีกมืด” หมายถึง ขางแรม; ยามกาลิก รับประเคนไวและฉันไดชั่ว กัณหปก ษ กเ็ รยี ก; ตรงขา มกบั ศกุ ลปก ษ วันหนงึ่ กบั คนื หน่งึ คอื กอนรุงอรณุ ของ หรอื ชณุ หปกษ วนั ใหม ไดแก ปานะ คือ นาํ้ คั้นผลไมท่ี กาฬสิลา สถานที่สําคัญแหงหน่ึงใน ทรงอนุญาต ๓. สัตตาหกาลิก รับ แควน มคธ อยูข า งภเู ขาอิสคิ ลิ ิ พระนคร ประเคนไวแ ลว ฉันไดภ ายในเวลา ๗ วนั ราชคฤห ณ ที่นี้พระพุทธเจาเคยทํา ไดแกเภสัชท้ังหา ๔. ยาวชีวิก รับ นิมิตตโ อภาสแกพระอานนท และเปนท่ี ประเคนแลว ฉันไดตลอดไปไมจํากัด ที่พระโมคคัลลานะถูกคนรายซ่ึงรับจาง เวลา ไดแกของท่ีใชปรุงเปนยา นอก จากพวกเดียรถียไปลอบฆาดวยการทุบ จากกาลกิ ๓ ขอตน (ความจรงิ ยาวชวี กิ ตีจนรางแหลก

กาฬิโคธา ๒๑ กิรยิ ากาฬิโคธา มารดาของพระภัททิยะ กรรม ญตั ติจตุตถกรรม กิจในอริยสัจจ ขอท่ีตองทําในอริยสัจจกษตั รยิ ศากยวงศกาฬทุ ายี อาํ มาตยข องพระเจา สทุ โธทนะ ๔ แตล ะอยา ง คือ ปริญญา การกําหนดเปนสหชาติและเปนพระสหายสนิทของ รู เปน กจิ ในทกุ ข ปหานะ การละ เปนพระโพธิสัตวเมื่อครั้งยังทรงพระเยาว กิจในสมุทัย สัจฉิกิริยา การทําใหแจงพระเจา สทุ โธทนะสง ไปทลู เชญิ พระศาสดา หรือการบรรลุ เปนกิจในนโิ รธ ภาวนาเพือ่ เสดจ็ มากรุงกบิลพสั ดุ กาฬทุ ายีไป การเจริญคือปฏิบัติบําเพ็ญ เปนกิจในเฝาพระศาสดาท่ีกรุงราชคฤห ไดฟง มรรคพระธรรมเทศนา บรรลพุ ระอรหัตตผล กจิ เบ้ืองตน ในการอุปสมบท หมายถึงอุปสมบทเปนภิกษุแลว ทูลเชิญพระ ใหบรรพชา ถือนิสยั ถอื อปุ ช ฌายะ จน ศาสดาพรอมดวยภิกษุสงฆเสด็จกรุง ถึงถามอันตรายิกธรรมในท่ีประชุมสงฆ กบิลพัสดุ ทานไดรับยกยองวาเปน (คาํ เดิมเปน บุพกจิ ) เอตทคั คะในบรรดาผทู าํ ตระกลู ใหเ ลอื่ มใส กิตติศพั ท เสยี งสรรเสรญิ , เสยี งเลาลือกําลงั ของพระมหากษตั ริย ดู พละ ความดีกิงกรณีเยสุ ทักขตา ความเปนผูขยัน กินรว ม ในประโยควา “ภิกษใุ ดรูอ ยู กนิชวยเอาใจใสในกิจธุระของเพื่อนภิกษุ รวมก็ดี อยูรวมก็ดี สําเรจ็ การนอนดวยสามเณร (ขอ ๕ ในนาถกรณธรรม ๑๐) กนั กด็ ”ี คบหากนั ในทางใหห รือรับอามิสกจิ จญาณ ปรชี ากาํ หนดรูก ิจทค่ี วรทําใน และคบหากนั ในทางสอนธรรมเรยี นธรรมอรยิ สัจจ ๔ แตละอยาง คอื รวู า ทกุ ข กมิ พิละ เจา ศากยะองคห นึ่ง ออกบวชควรกาํ หนดรู สมทุ ยั ควรละ นโิ รธ ควร พรอ มกบั พระอนรุ ุทธะ ไดสาํ เร็จอรหัตทาํ ใหแ จง มรรค ควรเจรญิ คอื ควร และเปน มหาสาวกองคห นง่ึ ในจาํ นวน ๘๐ กิริยวาท ผูถือหลักการอันใหกระทํา,ปฏบิ ตั ิ (ขอ ๒ ในญาณ ๓)กิจจาธิกรณ การงานเปนอธิกรณ คอื หลกั การซ่ึงใหกระทํา; ดู กรรมวาทเรื่องท่ีเกิดข้ึนอันสงฆตอ งจดั ตอ งทําหรอื กิริยวาที ผูถือหลักการอันใหกระทํา; ดูกิจธุระที่สงฆจะพึงทํา; อรรถกถาพระ กรรมวาทวินัยวาหมายถึงกิจอันจะพึงทําดวย กิรยิ า 1. การกระทาํ หมายถึงการกระทาํประชุมสงฆ ไดแ ก สังฆกรรมทั้ง ๔ คอื ใดๆ ทก่ี ลาวถงึ อยางกวา งๆ หรืออยา งอปโลกนกรรม ญตั ติกรรม ญัตตทิ ุติย- เปน กลางๆ ถา เปน “กริ ิยาพิเศษ” คอื

กริ ิยากิตตกะ (กิรยิ ากิตก) ๒๒ กเิ ลส เปนการกระทําซง่ึ เปนไปดวยเจตนาทก่ี อ แฝงอยใู นความรสู กึ นึกคดิ ทาํ ใหจ ิตใจ ใหเกิดวิบาก ก็เรียกวา กรรม, การ ขุนมัวไมบริสุทธ์ิ และเปนเคร่ืองปรุง กระทาํ ซง่ึ เปนไปดว ยเจตนาทไี่ มก อ วบิ าก แตง ความคดิ ใหท าํ กรรมซง่ึ นาํ ไปสปู ญ หา ความยุงยากเดือดรอนและความทุกข; เชน การกระทาํ ของพระอรหนั ต ไมเรียก กเิ ลส ๑๐ (ในบาลเี ดมิ เรยี กวา กเิ ลสวตั ถุ วากรรม แตเปน เพยี งกิรยิ า (พดู ใหส นั้ วา คอื สง่ิ กอ ความเศรา หมอง ๑๐) ไดแ ก เจตนาท่ีกอวิบาก เปนกรรม, เจตนาทไ่ี ม โลภะ โทสะ โมหะ มานะ ทฏิ ฐิ วิจกิ จิ ฉา กอ วบิ าก ถา มใิ ชเ ปน วบิ าก กเ็ ปน กริ ยิ า); ดู ถนี ะ อุทธจั จะ อหริ กิ ะ อโนตตปั ปะ; กรรม 2. ในภาษาไทย มักหมายถงึ กเิ ลสพนั หา (กเิ ลส ๑,๕๐๐) เปน คําทม่ี ี อาการแสดงออกทางกายในเชิงมารยาท ใชในคัมภีรรุนหลังจากพระไตรปฎก เร่ิมปรากฏในช้ันอรรถกถา ซ่ึงกลาวไว บางทใี ชค วบคกู นั วา กริ ยิ ามารยาท 3. ใน ทาํ นองเปนตัวอยาง โดยระบชุ ่อื ไวมากที่ สุดเพียง ๓๓๖ อยา ง ตอ มาในคัมภรี ช น้ั ทางไวยากรณ ไดแ กค าํ แสดงอาการหรอื หลงั มาก อยา งธมั มสงั คณอี นฎุ กี า จงึ แสดงวธิ นี บั แบบตา งๆ ใหไ ดค รบจาํ นวน บอกการกระทําของนามหรือสรรพนาม, เชน กเิ ลส ๑๐  อารมณ ๑๕๐ = ๑,๕๐๐ (อารมณ ๑๕๐ ไดแ ก อรปู ธรรม ในไวยากรณไ ทย บางทกี าํ หนดใหใ ชร ปู ๕๗ และรปู รปู ๑๘ รวมเปน ธรรม ๗๕ สนั สกฤตวา กรยิ า แตใ นบาลไี วยากรณ เปน ฝา ยภายใน และฝา ยภายนอก ฝา ย โดยท่ัวไป ใชรปู บาลี คอื กิริยา ละเทา กนั รวมเปน ๑๕๐)กิรยิ ากติ ตกะ (กิรยิ ากิตก) เปนช่อื กริ ยิ า- ศัพทประเภทหน่ึงในภาษาบาลี ใชเปน อนึ่ง ในอรรถกถา ทา นนิยมจาํ แนก กิเลสเปน ๓ ระดับ ตามลาํ ดบั ขน้ั ของ กริ ยิ าสําคัญในประโยคบาง ใชเปนกิริยา การละดว ยสกิ ขา ๓ (เชน วินย.อ.๑/๒๒; ที.อ. ๑/๑๙; สงคฺ ณี อ.๒๓) คอื ๑. วตี กิ กมกเิ ลส ในระหวา งของประโยคบาง และใชเ ปน กิเลสอยางหยาบ ท่ีเปนเหตุใหลวง คณุ บทบาง เชน ปรินิพพฺ โุ ต (ดบั รอบ ละเมิดออกมาทางกายและวาจา เชน แลว) ปพพฺ ชติ วฺ า (บวชแลว) เปน ตน เปน กายทจุ รติ และวจีทจุ รติ ละดว ยศีลกิริยาอาขยาต เปนช่ือกิริยาศัพทป ระเภท (อธศิ ีลสกิ ขา) ๒. ปริยุฏฐานกเิ ลส กเิ ลส หนงึ่ ในภาษาบาลี ใชเปนกริ ยิ าสาํ คญั ใน ประโยค อันแสดงถึงการกระทําของ ประธาน เชน คจฉฺ ติ (ยอ มไป) ปรนิ พิ พฺ ายิ (ดบั รอบแลว ) เปน ตนกิลาโส โรคกลากกเิ ลส สิ่งทที่ าํ ใจใหเศราหมอง, ความชวั่ ที่

กิเลสกาม ๒๓ กุกกจุ จะอยางกลางที่พลงุ ขึ้นมาเรารมุ อยใู นจติ ใจ อุปาทาน; ดู ไตรวัฏฏดงั เชน นวิ รณ ๕ ในกรณที ่จี ะขมระงับไว กิเลสานุสยั กิเลสจําพวกอนสุ ัย, กเิ ลสท่ีละดว ยสมาธิ (อธิจติ ตสิกขา) ๓. อนุสย- นอนเนื่องอยูในสนั ดาน จะปรากฏเม่ือกเิ ลส กิเลสอยา งละเอียดที่นอนเนอื่ งอยู อารมณมายว่ั ยุ เหมือนตะกอนนาํ้ ที่อยูในสันดานอันยังไมถูกกระตุนใหพลุงข้ึน กนโอง ถาไมมีคนกวนตะกอนก็นอนมา ไดแ กอ นุสยั ๗ ละดวยปญญา (อธิ- เฉยอยู ถา กวนนาํ้ เขา ตะกอนกล็ อยขนึ้ มาปญญาสกิ ขา); ทั้งนี้ บางแหงทา นแสดง กโิ ลมกะ พงั ผดืไวโดยอธิบายโยงกับพระไตรปฎก คือ กสี าโคตมี พระเถรีสาํ คญั องคหน่ึง เดิมกลา ววา อธศิ ีลสิกขา ตรัสไวเปนพเิ ศษ เปนธิดาคนยากจนในพระนครสาวัตถีในพระวินัยปฎกๆ จึงวาดวยการละ แตไดเปนลูกสะใภของเศรษฐีในพระวีติกกมกเิ ลส, อธิจิตตสกิ ขา ตรัสไวเปน นครน้นั นางมีบุตรชายคนหนึ่ง อยมู าพิเศษในพระสุตตันตปฎ กๆ จงึ วา ดวย ไมน านบุตรชายตาย นางมีความเสียใจการละปริยฏุ ฐานกเิ ลส, อธปิ ญ ญาสิกขา มาก อุมบุตรที่ตายแลวไปในที่ตางๆตรัสไวเปนพิเศษในพระอภิธรรมปฎกๆ เพ่ือหายาแกใหฟน จนไดไปพบพระจงึ วาดวยการละอนุสยกเิ ลส พุทธเจา พระองคทรงสอนดวยอุบายกิเลสกาม กเิ ลสเปน เหตใุ คร, กิเลสท่ที ํา และทรงประทานโอวาท นางไดฟงแลวใหอยาก, เจตสกิ อนั เศราหมอง ชกั ให บรรลุโสดาปตติผล บวชในสํานักนางใคร ใหร ัก ใหอ ยากได ไดแกร าคะ ภิกษุณี วนั หนง่ึ นัง่ พิจารณาเปลวประทปีโลภะ อจิ ฉา (อยากได) เปน ตน ท่ีตามอยูในพระอุโบสถ ไดบรรลุพระกเิ ลสธลุ ี ธลุ คี อื กเิ ลส, ฝนุ ละอองคอื กเิ ลส อรหัต ไดร ับยกยอ งวา เปน เอตทัคคะในกิเลสมาร มารคือกิเลส, กเิ ลสเปนมาร ทางทรงจวี รเศรา หมองโดยอาการท่ีเขาครอบงาํ จิตใจ ขัดขวาง กุกกจุ จะ ความรําคาญใจ, ความเดือดไมใหทําความดี ชักพาใหทําความชั่ว รอนใจ เชน วา ส่งิ ดงี ามท่คี วรทาํ ตนมิลางผลาญคุณความดี ทําใหบุคคล ไดทํา สิ่งผดิ พลาดเสยี หายไมดไี มงามที่ประสบหายนะและความพนิ าศ ไมควรทํา ตนไดท ําแลว, ความยงุ ใจกิเลสวัฏฏ วนคือกิเลส, วงจรสวนกเิ ลส, กลมุ ใจ กังวลใจ, ความรังเกยี จหรือกินหน่งึ ในวฏั ฏะ ๓ แหง ปฏจิ จสมปุ บาท แหนงในตนเอง, ความระแวงสงสัย เชนประกอบดวย อวิชชา ตัณหา และ วา ตนไดท าํ ความผดิ อยางนั้นๆ แลว

กกุ กฺ จุ จฺ ปกตตา ๒๔ กุมารภี ูตา หรือมใิ ช ส่งิ ท่ีตนไดท ําไปแลวอยา งน้นั ๆ หมายถึงผูท่ีไดสมาบัติแลวแตยังไม เปนความผิดขอ นๆ้ี เสียแลว กระมัง ชาํ นาญ อาจเส่ือมได เทยี บ อกุปปธรรมกุกฺกุจฺจปกตตา อาการที่จะตองอาบัติ กมุ มาส ขนมสด คือขนมที่เกบ็ ไวนานดวยสงสัยแลว ขืนทาํ ลง เกนิ ไปจะบูด เชน ขนมดวง ขนมครกกุฎี กระทอ มท่ีอยูของนกั บวช เชน พระ ขนมถว ย ขนมตาล เปน ตน พระพทุ ธเจาภกิ ษุ, เรอื นหรือตึกท่ีอยอู าศัยของพระ หลังจากเลิกบําเพ็ญทุกรกิริยาก็เสวยภกิ ษุสามเณร ขา วสุกและกุมมาสกฎุ มพี คนมีทรพั ย, คนม่ังคัง่ กมุ าร เด็ก, เดก็ ชาย, เดก็ หนุมกฏุ กะ เครอ่ื งลาดทใ่ี หญ ชนดิ ทม่ี นี างฟอ น กุมารกัสสปะ พระเถระมหาสาวกองค๑๖ คนยืนฟอนรําได (เชน พรมปหู อ ง) หน่ึง เปนบุตรธิดาเศรษฐีในพระนครกุฏฐงั โรคเรื้อน ราชคฤห คลอดเมื่อมารดาบวชเปนกุฏิภัต อาหารท่ีเขาถวายแกภิกษผุ อู ยใู น ภิกษุณีแลว พระเจาปเสนทิโกศลทรง กฎุ อี ันเขาสรา ง เล้ียงเปนโอรสบุญธรรม ทารกน้ันไดกฑุ วะ ชื่อมาตราตวง แปลวา “ฟายมือ” นามวา กัสสปะ ภายหลังเรียกกันวา คอื เต็มองุ มือหน่งึ ; ดู มาตรา กุมารกัสสปะ เพราะทานเปนเด็กสามัญกุณฑธานะ พระเถระผูเปนมหาสาวก แตไดรับการเลีย้ งดอู ยา งราชกมุ าร ทา นองคห นึง่ เปน บุตรพราหมณใ นพระนคร อุปสมบทในสํานักของพระศาสดา ไดสาวัตถี เรียนจบไตรเพทตามลัทธิ บรรลุพระอรหัต ไดรบั การยกยอ งจากพราหมณ ตอมา เมอื่ สูงอายุแลว ไดฟ ง พระบรมศาสดาวาเปนเอตทัคคะในทางพระธรรมเทศนาของพระพทุ ธเจา เกิด แสดงธรรมวิจติ รความเล่ือมใสจึงบวชในพระพุทธศาสนา กมุ ารี เด็กหญงิ , เด็กรุนสาว, นางสาวตัง้ แตน ัน้ มา ก็มรี ปู หญงิ คนหนงึ่ ติดตาม กุมารีภูตวรรค ชื่อหมวดในพระวินัย-ตัวตลอดเวลาจนกระท่ังไดบรรลุพระ ปฎก หมายถงึ ตอนอันวา ดวยกมุ ารีภตู าอรหตั รปู นน้ั จงึ หายไป ทา นไดร บั ยกยอ ง คือสามเณรีผูเตรียมจะอุปสมบทเปนจากพระศาสดาวาเปนเอตทัคคะในการ ภิกษุณี มีอยูในปาจิตติยกัณฑ ในถอื เอาสลากเปน ปฐม; โกณฑธานะ กว็ า ภกิ ขนุ วี ิภังคกุณฑลเกสี ดู ภทั ทากณุ ฑลเกสา กมุ ารภี ูตา “ผเู ปน นางสาวแลว” หมายถึงกุปปธรรม “ผูมีธรรมท่ียังกําเริบได” สามเณรีที่จะอุปสมบทเปนภิกษุณีเชน ใน

กุรุ ๒๕ กุศลคาํ วา “อฉี นั เปน นางสาว (กมุ ารภี ตู า) ของ กลุ มจั ฉริยะ “ตระหนตี่ ระกูล” ไดแกห วงแมเจาชอ่ื น้ี มอี ายุ ๒๐ ปเต็ม มสี กิ ขา แหนตระกูล ไมยอมใหตระกูลอ่ืนมาอันศึกษาแลว ในธรรม ๖ ประการ ๒ ป เก่ียวดองดวย ถาเปนบรรพชิตก็หวงขอวฏุ ฐานสมมติตอสงฆเ จาขา” ตระกูลอุปฏฐาก ไมพอใจใหบํารงุ ภิกษุกุรุ แควน หน่ึงในบรรดา ๑๖ มหาชนบท อื่น; ดู มัจฉรยิ ะแหง ชมพูทวปี อยแู ถบลุมนา้ํ ยมุนาตอน กลุ สตรี หญงิ มตี ระกลู มคี วามประพฤตดิ ,ีบน ราวมณฑลปญจาบลงมา นครหลวง สตรีท่ีมีคุณความดีสมควรแกตระกูล,ช่ือ อินทปตถ ตง้ั อยู ณ บริเวณเมืองเดลี สตรเี จา บา น กลุ ปุ กะ, กุลปู กะ “ผูเ ขาถึงสกลุ ”, พระท่ีนครหลวงของอินเดยี ปจ จบุ นักุรุนที ดูโปราณัฏฐกถา, อรรถกถา คุนเคยสนิท ไปมาหาสูประจําของกลุ ตระกลู , ครอบครวั , วงศ, หมชู นที่ ตระกูล, พระท่ีเขาอุปถัมภและเปนท่ีรวมพงศพันธุเดียวกัน, เผาชน; ใน ปรกึ ษาประจาํ ของครอบครวัความหมายท่ีขยายออกไป หมายถึงหมู กุเวร ดู จาตุมหาราช, จาตุมหาราชิกา,ชนที่รวมสงั กัด หรอื ขึ้นตอ การปกครอง ปริตรเดียวกนั เชนในคําวา “กลุ บด”ี ซึง่ บางที กศุ ล 1. “สภาวะทเ่ี กย่ี วตดั สลดั ทง้ิ สง่ิ เลว หมายถงึ หัวหนา สถาบันการศกึ ษา รา ยอนั นา รงั เกยี จ”, “ความรทู ที่ าํ ความชวั่กลุ ทสู ก “ผปู ระทษุ รายตระกลู ” หมายถึง รา ยใหเ บาบาง”, “ธรรมทตี่ ดั ความช่ัวอันภิกษุผูประจบคฤหัสถ เอาใจเขาตางๆ เปนดจุ หญา คา”, สภาวะหรอื การกระทาํดวยอาการอันผิดวินัย มุงเพื่อใหเขา ท่ฉี ลาด กอปรดว ยปญ ญา หรอื เกดิ จากชอบตนเปนสวนตัว เปนเหตุใหเ ขาคลาย ปญ ญา เกอ้ื กลู เออ้ื ตอ สขุ ภาพ ไมเ สยี หายศรทั ธาในพระศาสนาและเสอ่ื มจากกศุ ล- ไรโ ทษ ดงี าม เปน บญุ มผี ลเปน สขุ , ธรรม เชนใหของกํานัลเหมือนอยาง ความดี (กศุ ลธรรม), กรรมดี (กศุ ลกรรม) ตามปกติ กศุ ล กบั บญุ เปน คาํ ทใี่ ชแ ทน คฤหสั ถเ ขาทาํ กนั ยอมตวั ใหเ ขาใช เปน ตนกุลธิดา ลูกหญิงผูมีตระกูลมีความ กนั ได แต กศุ ล มคี วามหมายกวา งกวา คอื กศุ ล มที ง้ั โลกยิ ะ (กามาวจร รปู าวจร ประพฤตดิ ี อรปู าวจร) และโลกตุ ตระ สว น บญุ โดยกุลบุตร ลูกชายผูมีตระกูลมีความ ประพฤติดี ทั่วไปใชกับโลกียกุศล ถาจะหมายถึงกุลปสาทกะ ผยู งั ตระกูลใหเ ลือ่ มใส ระดบั โลกตุ ตระ มกั ตอ งมคี าํ ขยายกาํ กบั

กศุ ลกรรม ๒๖ กศุ ลกรรมบถไวด ว ย เชน วา “โลกตุ ตรบญุ ”, พดู อกี อยา ง ทาน] ชักจูงแมคนอื่นๆ ใหตง้ั อยใู นพระหนึ่งวา บุญ มักใชในความหมายทแี่ คบ สทั ธรรม ในพรหมจริยะ)กวา หรอื ใชใ นขนั้ ตน ๆ หมายถงึ ความดที ่ี คาถาน้ี แมจ ะเปนคาํ แนะนําแกเ ทวดายงั ประกอบดว ยอปุ ธิ (โอปธกิ ) คอื ยงั เปน ก็ใชไดท่วั ไป คือเปนคําแนะนาํ สาํ หรับผูสภาพปรงุ แตง ทก่ี อ ผลในทางพอกพนู ให ท่จี ะอยเู ปน คฤหัสถว า ในดานแรกหรอืเกดิ สมบตั ิ อนั ไดแ กค วามพรงั่ พรอ ม เชน ดา นหลกั ใหท าํ กศุ ล ท่ีเปน นริ ปู ธิ ซึ่งรา งกายสวยงามสมบรู ณ และมง่ั มที รพั ย เปนการศึกษาหรือปฏิบัติเพื่อใหไดสาระสนิ แต กศุ ล ครอบคลมุ หรอื เลยตอ ไป ของชีวิต โดยพัฒนาตนใหเปนอริยชนถึงนิรูปธิ (ไรอุปธิ) และเนนที่นิรูปธินั้น โดยเฉพาะเปนโสดาบนั จากนน้ั อีกดา นคือมุงทภี่ าวะไรป รงุ แตง ความหลดุ พน หน่งึ ในฐานะเปนอรยิ ชน ก็ทาํ ความดีเปน อสิ ระ โยงไปถงึ นพิ พาน, พดู อยา ง หรือกรรมสรางสรรคตางๆ ที่มีผลในงายๆ เชนวา บุญ มุงเอาความสะอาด ทางอปุ ธิ เชน ลาภ ยศ สรรเสรญิ และหมดจดในแงที่สวยงามนาชื่นชม แต ความสุข ซ่งึ เปนไปตามธรรมดาของมนักศุ ล มงุ ถงึ ความสะอาดหมดจดในแงท ่ี และที่เปนเรื่องสามัญในสังคมคฤหัสถเปนความบริสุทธ์ิ ไมมีอะไรติดคาง ได ไมเ สยี หาย เพราะเปน ผมู ีคุณความปลอดโปรง โลง วา ง เปน อสิ ระ, ขอใหด ู ดีที่เปนหลักประกันใหเกิดแตผลดีทั้งตวั อยา งที่ บญุ กบั กศุ ล มาดว ยกนั ใน แกตนเองและแกสังคมแลว; ตรงขามกับ อกศุ ล, เทียบ บุญ, ดู อุปธิ 2. บางแหง (เชนคาถาตอ ไปนี้ (ข.ุ อติ .ิ ๒๕/๒๖๒/๒๙๐)กาเยน กุสล กตฺวา วาจาย กสุ ล พหุ ข.ุ เถร.๒๖/๑๗๐/๒๖๘) กศุ ล หมายถงึ ความมนสา กสุ ล กตฺวา อปฺปมาณ นิรปู ธึ ฯ เกษม, ความปลอดภัย, สวัสดิภาพ,ตโต โอปธกิ  ปุ ฺ กตฺวา ทาเนน ต พหุ ความหวงั ด,ี ความมเี มตตาอฺเปมจเฺจสทธฺ มเฺม พรฺ หฺมจริเย นเิ วสย กุศลกรรม กรรมด,ี กรรมทีเ่ ปน กุศล,(ทานจงทาํ ใหม าก ท้งั ดวยกาย ดว ย การกระทําท่ีดคี อื เกดิ จากกุศลมูลวาจา และดว ยใจ ซง่ึ กศุ ล อันประมาณ กศุ ลกรรมบถ ทางแหง กรรมด,ี ทางทาํ ด,ีมิได [อปั ปมาณ แปลวา มากมาย ก็ได ทางแหงกรรมที่เปนกุศล, กรรมดีอันเปนโลกตุ ตระ กไ็ ด] อนั ไรอ ปุ ธิ [นริ ูปธ]ิ เปนทางนาํ ไปสูสุคติ มี ๑๐ อยางคอื ก.แตน นั้ ทา นจงทําบญุ อันระคนอปุ ธิ ให กายกรรม ๓ ไดแก ๑. ปาณาติปาตามาก ดวยทาน แลวจง [บาํ เพ็ญธรรม เวรมณี เวน จากทาํ ลายชวี ติ ๒. อทนิ นา-

กศุ ลธรรม ๒๗ กูฏทนั ตสตู รทานา เวรมณี เวน จากถอื เอาของท่ีเขามิ เบียดเบยี นไดใ ห ๓. กาเมสมุ ิจฉาจารา เวรมณี เวน กสุ าวดี ช่อื เกา ของเมืองกุสนิ ารา นครจากประพฤตผิ ิดในกาม ข. วจกี รรม ๔ หลวงของแควน มัลละ เมอ่ื ครง้ั เปน ราช-ไดแก ๔. มุสาวาทา เวรมณี เวนจากพดู ธานีของพระเจามหาสุทัศน จักรพรรดิเทจ็ ๕. ปส ุณาย วาจาย เวรมณี เวนจาก ครง้ั โบราณพดู สอเสียด ๖. ผรุสาย วาจาย เวรมณี กุสิ เสนค่นั ดจุ คันนายืนระหวางขณั ฑก ับเวน จากพดู คําหยาบ ๗. สมั ผปั ปลาปา ขณั ฑของจีวร; เทียบ อฑั ฒกุสิ, ดู จีวรเวรมณี เวน จากพดู เพอ เจอ ค. มโนกรรม กสุ นิ ารา เมืองหลวงแหงหน่ึงของแควน๓ ไดแ ก ๘. อนภชิ ฌา ไมโ ลภคอยจอ ง มลั ละ (อกี แหง หนงึ่ คอื ปาวา) สมยั พทุ ธ-อยากไดข องเขา ๙. อพยาบาท ไมคดิ กาล กุสินาราเปนเมืองเล็กๆ มีมัลล-รายเบียดเบียนเขา ๑๐. สมั มาทฏิ ฐิ เหน็ กษัตริยเปนผูปกครอง พระพุทธเจาชอบตามคลองธรรม; เทยี บ อกศุ ลกรรมบถ, เสด็จดับขันธปรนิ พิ พานท่ีเมอื งนี้ดู กรรมบถ กฏู ทนั ตสตู ร สตู รหนง่ึ ในคมั ภรี ท ฆี นกิ ายกศุ ลธรรม ธรรมทเ่ี ปน กศุ ล, ธรรมฝา ย สลี ขนั ธวรรค สตุ ตนั ตปฎ ก พระพทุ ธเจากุศล ธรรมทีด่ ี, ธรรมฝา ยดี ทรงแสดงแกกูฏทันตพราหมณผูกําลังกุศลบุญจริยา ความประพฤตทิ เ่ี ปนบุญ เตรียมพิธีบูชายัญ วาดวยวิธีบูชายัญ เปน กุศล, การทาํ ความดีอยางฉลาด ตามความหมายในแบบของพระพุทธ-กศุ ลมลู รากเหงา ของกศุ ล, ตน เหตขุ อง ศาสนา ซง่ึ ไมต อ งมกี ารฆา ฟน เบยี ดเบยี น กศุ ล, ตน เหตขุ องความดมี ี ๓ อยา ง คอื สัตว มีแตการเสียสละทําทานและการ ๑. อโลภะ ไมโ ลภ (จาคะ) ๒. อโทสะ ไม ทาํ ความดอี ืน่ ๆ เรมิ่ ดวยการตระเตรียม คดิ ประทษุ รา ย (เมตตา) ๓. อโมหะ ไม พิธโี ดยจดั การบา นเมอื งใหส งบเรยี บรอ ย หลง (ปญ ญา); เทียบ อกุศลมูล กอ นตามธรรมวธิ ี มกี ารสง เสรมิ กสกิ รรมกุศลวตั ร ขอ ปฏิบัตทิ ีด่ ,ี กจิ ทพ่ี ึงทําท่ดี ี พาณชิ ยกรรม สมั มาชีพ และบํารุงสงกศุ ลวิตก ความตริตรกึ ทเ่ี ปน กศุ ล, ความ เสรมิ ขา ราชการทด่ี ี ซงึ่ จะทาํ ใหป ระชาชน นึกคดิ ทีด่ งี ามมี ๓ คือ ๑. เนกขัมมวติ ก ขวนขวายขะมักเขมนในหนาที่การงาน ความตรกึ ปลอดจากกาม ๒. อพยาบาท- ของตนๆ จนบานเมืองมีความเกษม วติ ก ความตรึกปลอดจากพยาบาท ๓. ปลอดภยั พลเมอื งมคี วามสขุ ราชทรพั ย อวิหิงสาวิตก ความตรึกปลอดจากการ บรบิ รู ณด แี ลว จงึ กระทาํ พธิ บี ชู ายญั ดว ย

เกจิ ๒๘ เกจิ การบรจิ าคทรพั ยท าํ ทานเปน ตน ผลของ ใหมๆ ธิดามารไดมาสําแดงอาการย่ัว พระธรรมเทศนาน้ี คอื กฏู ทนั ตพราหมณ ยวนตางๆ ทั้งปรากฏตัวเปนหญิงสาว ลมเลิกพิธีบูชายัญของตน ปลอยสัตว เปนหญิงวยั กลาง และเปนสตรีผูใหญ ท้ังหมด และประกาศตนเปนอุบาสก แตพ ระพทุ ธเจามไิ ดท รงใสพ ระทยั เมอื่เกจิ “บางพวก” หมายถงึ อาจารยบาง เลาความตอนน้ี พระอรรถกถาจารย พวก (เกจอิ าจารย, ใชวา พระเถระบาง กลาววา “สวนอาจารยบางพวก พวก กม็ บี า ง แตน อยแหง), เปน คําที่ (เกจอิ าจารย) กลาววา พระผูมพี ระภาค กลาวถึงบอยในอรรถกถาท้ังหลาย เจา คร้นั ทรงเหน็ ธิดามารเหลา นัน้ เขา มา กลาวคือ ในเวลาท่ีพระอรรถกถาจารย หาโดยภาวะเปนสตรีผูใหญ จึงทรง อธิบายความและเลาเรอื่ งราวตา งๆ บาง อธิษฐานวา ‘หญิงเหลานี้จงเปนผูมีฟน คร้ังทานก็ยกมติหรือความเห็นของทาน หัก ผมหงอก อยางน้ีๆ’ คําของ ผอู น่ื มาใหด ดู ว ย เมอื่ ไมอ อกชอ่ื เจา ของ เกจอิ าจารยน น้ั ไมค วรเชอื่ ถอื เพราะพระ มตเิ หลา นน้ั กใ็ ชค าํ วา “เกจ”ิ นี้ (ถา ยก ศาสดายอมไมทรงกระทําการอธิษฐาน มติอืน่ มาอกี ตอ จาก “เกจ”ิ ก็คือ “อปเร” อยา งทว่ี า นนั้ แตพ ระผมู พี ระภาคเจา ทรง แตบางทีมีหลายมติ ก็ตองใชคําอื่นอีก ปรารภถึงการละกิเลสของพระองคเอง โดยเฉพาะ “เอเก” หรอื “อเฺ ” กม็ บี า ง) ตรสั วา ‘พวกทา นจงหลกี ไปเถดิ พวก มตขิ องเกจอิ าจารยเ หลา นนั้ ทา นยกมาให ทานเปนเชนไรจึงพากันพยายามอยางนี้ ดูเพราะเปนคําอธิบายที่ตางออกไปบาง ช่ือวากรรมเชนน้ี พวกทานควรกระทํา เพียงเพราะมีแงน าสนใจบาง มีบอยครั้ง เบ้ืองหนาคนท่ียังไมปราศจากราคะ ที่ทานยกมาเพ่ือปฏิเสธหรือชี้แจงความ เปนตน แตตถาคตละราคะ โทสะ โมหะ ผิดพลาด และมีบางท่ีทานยกมาโดย เสยี แลว ’”; ในภาษาไทย เมอื่ ไมน านนกั น้ี แสดงความเห็นชอบ, การอางมติของ คําวา เกจิ หรอื เกจอิ าจารย ไดม คี วาม เกจอิ าจารยอ ยางทวี่ าน้ัน มักมีในกรณี หมายเพี้ยนไปจากเดิมหางไกลมาก อธิบายหลักพระธรรมวินัยท่ีอาจจะยาก กลายเปนหมายถึงพระภิกษุผูมีชื่อเสียง สําหรบั คนทั่วไป หรือเร่ืองทีล่ ึกซง้ึ แต เดนในทางความขลัง (พระขลัง หรือ ในท่ีนี้ จะยกตัวอยา งทเี่ ขาใจงายมาดูสกั อาจารยข ลงั ) หรอื แมก ระทงั่ ในเชงิ ไสย- เร่อื งหนึ่ง ตามความในอรรถกถาชาดก ศาสตร, ขอ เพยี้ นทสี่ าํ คญั คอื ๑) ความ (ชา.อ.๑/๑๒๔) วา เม่อื พระพุทธเจาตรสั รู หมายในทางปญญาและความใสใจใน

เกตุมาลา ๒๙ โกนาคมนการศึกษาหาความรูเก่ียวกับพระธรรม ดงั น้ี วา คาํ ใดคาํ หนง่ึ กเ็ ปน อนั พกั มานตั ตอวินัยเลือนลางหรือถูกกลบบัง โดยลัทธิ ไปเมอื่ มโี อกาสกใ็ หส มาทานวตั รใหมไ ดอ กีถือความขลังศักด์ิสิทธ์ิอิทธิฤทธ์ิไสย- เกษม ปลอดภัย, พนภยั , สบายใจศาสตร ๒) “เกจ”ิ ซง่ึ เดมิ เปน เพยี งผู เกษมจากโยคธรรม ปลอดภยั จากธรรมแทรกเสรมิ หรอื เปน ตวั ประกอบ กลายมา เครอ่ื งผกู มดั , ปลอดโปรง จากเรอ่ื งทจ่ี ะ เปน ตวั หลกั ๓) “เกจ”ิ ซงึ่ เดมิ เปน คาํ ตอ งถกู เทยี มแอก, พน จากภยั คอื กเิ ลสที่ พหูพจนท่ีไมระบุตัว กลายเปนคําเอก- เปน ตวั การสวมแอก; ดู โยคเกษมธรรม พจนทีใ่ ชเรียกบุคคลผูม ชี ่ือเสียงน้นั ๆ เกสา ผมเกตมุ าลา รศั มซี งึ่ เปลง อยเู หนอื พระเศียร เกินพิกัด เกินกําหนดท่ีจะตองเสียภาษีของพระพทุ ธเจา อากรเก็บปรวิ าส ดู เก็บวัตร เกียรติยศ ยศคอื เกยี รติ หรือกติ ติคุณ,เก็บมานัต ดู เกบ็ วัตร ความเปนใหญโ ดยเกียรติ; ดู ยศเก็บวัตร โวหารเรียกวินัยกรรมเกี่ยวกับ แกงได รอยกากบาทหรือขีดเขียนซึ่งคนวฏุ ฐานวิธอี ยางหนึง่ คอื เมอื่ ภกิ ษุตอง ไมร หู นังสือขดี เขียนลงไวเ ปน สาํ คญัครุกาบัติข้ันสังฆาทิเลสกําลังอยูปริวาส โกฏิ ชือ่ มาตรานบั เทากบั สบิ ลา นยงั ไมค รบเวลาทปี่ กปด อาบตั ไิ วก ด็ ี กาํ ลงั โกณฑธานะ ดู กุณฑธานะประพฤติมานัตยงั ไมครบ ๖ ราตรกี ็ดี โกณฑญั ญะ พราหมณห นมุ ทสี่ ดุ ในบรรดาเม่อื มีเหตุอันสมควร ก็ไมต อ งประพฤติ พราหมณ ๘ คน ผูทํานายลกั ษณะของติดตอกันเปนรวดเดียว พึงเขาไปหา สทิ ธตั ถกมุ าร ตอ มาออกบวชตามปฏิบัติภิกษุรูปหนึ่ง ทําผาหมเฉวียงบา นั่ง พระสิทธัตถะขณะบําเพ็ญทุกรกิริยากระหยง ประนมมอื ถาเกบ็ ปริวาส พงึ เปนหัวหนาพระปญจวัคคีย ฟงพระกลาววา “ปริวาสํ นิกฺขิปามิ” แปลวา ธรรมเทศนาธัมมจักกัปปวัตตนสูตร“ขา พเจา เกบ็ ปรวิ าส” หรือวา “วตตฺ ํ นกิ ฺข-ิ แลวไดดวงตาเห็นธรรม ขอบรรพชาปามิ” แปลวา “ขา พเจา เก็บวัตร” วา คาํ อปุ สมบทเปน ปฐมสาวกของพระพทุ ธเจาใดคาํ หนง่ึ กเ็ ปน อนั พกั ปรวิ าส; ถา เกบ็ มีช่ือเรียกกันภายหลังวา พระอัญญา-มานตั พงึ กลา ววา “มานตฺตํ นกิ ขฺ ปิ าม”ิ โกณฑัญญะแปลวา “ขา พเจา เกบ็ มานตั ” หรอื วา “วตตฺ ํ โกธะ ความโกรธ, เคอื ง, ขนุ เคืองนิกขฺ ิปามิ” แปลวา “ขาพเจาเก็บวตั ร” โกนาคมน พระนามพระพุทธเจาองค


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook