Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 64-08-09-คู่มือครู สังคมศึกษา ป.5.-1

64-08-09-คู่มือครู สังคมศึกษา ป.5.-1

Published by elibraryraja33, 2021-08-09 01:43:27

Description: 64-08-09-คู่มือครู สังคมศึกษา ป.5.-1

Search

Read the Text Version

คูม ือครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู (สาํ หรบั ครผู ูส อน) เพอ่ื การจัดการเรยี นรูโดยใชก ารศกึ ษาทางไกลผา นดาวเทียม กลมุ สาระการเรยี นรูสงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ภาคเรียนที่ ๑ ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ี่ ๕ (ฉบับปรบั ปรุงครัง้ ท่ี ๒) โครงการสวนพระองคส มเด็จพระกนษิ ฐาธริ าชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี มูลนิธิการศกึ ษาทางไกลผานดาวเทียม ในพระบรมราชปู ถัมภ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน

คูม ือครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู (สาํ หรบั ครผู ูส อน) เพอ่ื การจัดการเรยี นรูโดยใชก ารศกึ ษาทางไกลผา นดาวเทียม กลมุ สาระการเรยี นรูสงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ภาคเรียนที่ ๑ ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ี่ ๕ (ฉบับปรบั ปรุงครัง้ ท่ี ๒) โครงการสวนพระองคส มเด็จพระกนษิ ฐาธริ าชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี มูลนิธิการศกึ ษาทางไกลผานดาวเทียม ในพระบรมราชปู ถัมภ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน

ก คำนำ ด้วยพระบรมราโชบายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๑๐ ทรงมุ่งหมายให้การศึกษาบ่ม เพาะสมรรถนะให้แก่ผู้เรียน เพื่อสร้างคุณลักษณะสำคัญ ๔ ประการให้กับคนไทย อันได้แก่ ๑) มีทัศนคติท่ีดี และถูกต้อง ๒) มีพ้ืนฐานชีวิตท่ีม่ันคงเข้มแข็ง ๓) มีอาชีพ มีงานทำ ๔) เป็นพลเมืองดี มีระเบียบวินัย และพระ ราชปณิธานในการสืบสาน รักษา พัฒนาต่อยอด โครงการในพระราชดำริของพระราชบิดา จึงทรงพัฒนา การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม หรือ NEW DLTV ในทุกด้าน อาทิ ระบบออกอากาศ อุปกรณ์เทคโนโลยี บุคลากรและกระบวนการจัดการศึกษา เพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนครูในโรงเรียนขนาดเล็ก สร้างโอกาสการ เข้าถึงการเรียนรู้ตลอดชีวิตของประชาชน ทุกเพศ ทุกวัย ผ่านการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมจำนวน ๑๕ ช่องสัญญาณ ไปยังโรงเรียนต่าง ๆ และผู้สนใจทั่วประเทศเพื่อให้ประเทศไทยเป็นสังคมแห่งปัญญามีจิตอาสา ในการสรรค์สร้างและพฒั นาประเทศใหม้ นั่ คง การสอนออกอากาศทางไกลผา่ นดาวเทียม ระดับประถมศึกษา ตงั้ แตป่ กี ารศึกษา ๒๕๖๑ เป็นต้นมา เป็นการสอนออกอากาศในแนวใหม่ บันทึกเทปการสอนจากห้องเรียนต้นทางของโรงเรียนวังไกลกังวล ในพระบรมราชูปถัมภ์ ครูปลายทางสามารถดูเทปการสอนผ่านทางเว็บไซต์ www.dltv.ac.th และ Application on mobile DLTV ของมูลนิธิ และมีคู่มือครูและแผนการจัดการเรียนรู้รายชั่วโมงครบท้ัง ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ซึ่งครูปลายทางสามารถปรับกิจกรรมการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับชุมชน ท้องถ่ิน วัฒนธรรม และบริบทของแตล่ ะโรงเรียน คู่มือครูและแผนการจัดการเรียนรู้ โดยใช้การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี ๑ ฉบับน้ี เป็นการปรับปรุงครั้งท่ี ๒ ซึ่งดำเนินการโดยมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยความร่วมมอื จากคณะทำงาน ประกอบด้วย สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร คณาจารย์จากมหาวิทยาลัย ศึกษานิเทศก์ และครูผู้เช่ียวชาญ ทั้ง ๘ กลุ่มสาระ การเรียนรู้ เพ่ือให้ครูปลายทางใช้ในการเตรียมการสอนล่วงหน้า รวมทั้งสามารถจัดเตรียมเอกสาร ได้แก่ ใบงาน ใบความรู้ แบบฝึกหัด เพ่ือให้การจัดการเรียนการสอนเกิดประสิทธิผล นำไปสู่การพัฒนาคุณภาพการ จดั การศกึ ษาของโรงเรยี นประถมศึกษาขนาดเลก็ ต่อไป นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณอย่างหาท่ีสุดมิได้ ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมุ่งม่ันพัฒนา ยกระดับคุณภาพการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม เพื่อพัฒนาสังคมไทยและยกระดับคุณภาพของคนไทยให้ เข้มแข็ง สมดงั พระราชปณิธาน “...การศกึ ษาคอื ความม่นั คงของประเทศ...” ขอพระองคท์ รงพระเจริญ มลู นิธกิ ารศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถมั ภ์



ค สารบญั คู่มอื ครแู ละแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัตศิ าสตร์ ระดบั ประถมศกึ ษา กล่มุ สาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชน้ั ประถมศึกษาที่ 5 ภาคเรียนที่ ๑ หน้า คำนำ ก หนังสอื รับรองความรว่ มมือการพัฒนาคูม่ ือครูและแผนการจดั การเรยี นรู้ ข เพ่ือการสอนออกอากาศทางไกลผา่ นดาวเทยี ม สารบญั ค-ซ คำชแี้ จงการรบั ชมรายการออกอากาศดว้ ยระบบทางไกลผ่านดาวเทียม ฌ-ญ ตอนท่ี ๑ วชิ าสงั คมศึกษา รหัสวชิ า ส๑๕๑๐๑ ๑ คำชแ้ี จงรายวชิ าสังคมศกึ ษาฯ กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๒ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๕ ภาคเรยี นที่ ๑ คำอธบิ ายรายวิชาสังคมศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๑๒ ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ ๕ ภาคเรยี นที่ ๑ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชวี้ ดั วิชาสงั คมศึกษา กล่มุ สาระการเรียนรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนา และ ๑๔ วัฒนธรรม ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๕ ภาคเรียนท่ี ๑ โครงสรา้ งรายวิชาสงั คมศกึ ษา กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๑๕ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี ๑ เรื่อง นวัตวถิ สี ู่เศรษฐกิจชมุ ชน ๑๗ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๑ เรอื่ ง การผลติ สนิ ค้าและบริการ ๒๒ แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๒ เรอ่ื ง เทคโนโลยีการผลติ สินค้าและบรกิ าร ๓๔ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓ เรอื่ ง ประโยชนข์ องการผลิตสนิ ค้าและบริการ ๔๔ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๔ เรอื่ ง การผลติ สินคา้ ในครัวเรอื น ๕๕ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๕ เรอ่ื ง การรวมกลุ่มการผลติ สินคา้ และบริการในชมุ ชนหรือทอ้ งถ่นิ ๖๖ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๖ เรอื่ ง ปจั จัยทมี่ ีผลต่อการเลอื กซ้ือสนิ ค้าและบรกิ าร ๗๙ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๗ เรอ่ื ง ปัจจยั ในการเลือกสนิ ค้ามาบริโภค ๙๑ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๘ เรอื่ ง ปจั จยั ที่กำหนดปริมาณสนิ ค้าและบริการ ๑๐๔ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๙ เรอื่ ง บทบาทของผู้บริโภค ๑๑๖ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๑๐ เร่อื ง พฤติกรรมของผบู้ ริโภค ๑๒๘ แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ ๑๑ เรอ่ื ง ปจั จยั ทีมีอิทธพิ ลต่อพฤติกรรมของผูบ้ รโิ ภค ๑๓๗ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๑๒ เรื่อง หลกั การของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ๑๔๗

ง สารบญั (ตอ่ ) คมู่ ือครแู ละแผนการจดั การเรียนรู้ วิชาประวัตศิ าสตร์ ระดบั ประถมศกึ ษา กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชัน้ ประถมศึกษาท่ี 5 ภาคเรยี นท่ี ๑ หน้า หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ ๑ เรอ่ื ง นวตั วิถสี ู่เศรษฐกจิ ชมุ ชน (ตอ่ ) แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๑๓ เรอ่ื ง แนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง ๑๕๗ แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๑๔ เรอื่ ง ครอบครัวพอเพยี ง ๑๖๗ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๑๕ เรือ่ ง โรงเรยี นพอเพียง ๑๗๙ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๑๖ เรอ่ื ง ชุมชนพอเพียง ๑๙๑ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๗ เรือ่ ง สนิ ค้าของชมุ ชนพอเพยี ง ๒๐๓ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๑๘ เรอ่ื ง หลกั การของสหกรณ์ ๒๑๕ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๑๙ เรอ่ื ง ประเภทของสหกรณ์ ๒๒๕ แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ ๒๐ เรอ่ื ง การประยุกต์หลกั การของสหกรณม์ าใช้ในชวี ิตประจำวนั ๒๓๘ แบบประเมินตนเอง หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๑ นวตั วิถสี ู่เศรษฐกิจชมุ ชน ๒๕๑ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๒ เรอื่ ง การเงินและการธนาคาร ๒๕๓ แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ ๑ เรอ่ื ง ความหมายของธนาคาร ๒๕๗ แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๒ เรอ่ื ง ความสำคัญของธนาคาร ๒๖๘ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๓ เรอื่ ง ประเภทของธนาคาร ๒๘๑ แผนการจัดการเรยี นรูท้ ่ี ๔ เรอื่ ง บทบาทหน้าทีข่ องธนาคาร ๒๙๓ แผนการจัดการเรยี นรูท้ ่ี ๕ เรอ่ื ง การฝากเงิน ถอนเงิน และดอกเบย้ี ต่าง ๆ ๓๐๕ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๖ เรอ่ื ง ความหมายของการกยู้ ืมเงนิ ๓๑๘ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๗ เรอื่ ง ลักษณะของการก้ยู ืมเงนิ ๓๒๘ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ๘ เรอ่ื ง ผลท่ีเกดิ จากการกูย้ ืม ๓๔๑ แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ ๙ เรอ่ื ง เงินและสกลุ เงนิ ในประเทศไทย ๓๕๑ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ๑๐ เรอื่ ง สกุลเงนิ ในประเทศเพ่อื นบา้ น ๓๖๔ แบบประเมินตนเอง หน่วยการเรียนรทู้ ี่ ๒ การเงินและการธนาคาร ๓๗๗ หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๓ เรอ่ื ง วัฒนธรรมต่อการดำเนินชวี ติ ๓๗๘ แผนการจัดการเรยี นรูท้ ่ี ๑ เรอื่ ง วัฒนธรรมที่มีต่อสงั คมไทย ๓๘๒ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๒ เรอื่ ง ความแตกต่างทางวฒั นธรรมท่ีมผี ลตอ่ การดำเนินชีวิต ๓๙๖ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๓ เรอ่ื ง คุณค่าของวฒั นธรรมกบั การดำเนินชวี ิต ๔๐๙

จ สารบัญ (ตอ่ ) คู่มอื ครูและแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวตั ิศาสตร์ ระดับประถมศึกษา กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชน้ั ประถมศึกษาที่ 5 ภาคเรียนที่ ๑ หน้า หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี ๓ เร่อื ง วฒั นธรรมต่อการดำเนนิ ชีวติ (ตอ่ ) แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๔ เรอื่ ง วัฒนธรรมทีม่ ผี ลต่อการดำเนินชีวติ ของคนไทยในปัจจบุ นั ๔๒๒ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๕ เรอื่ ง ความแตกต่างของวฒั นธรรมที่มผี ลต่อการดำเนนิ ชวี ิตของคน ๔๓๔ ไทยในปจั จบุ นั แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๖ เรอ่ื ง การสบื สานวัฒนธรรม ๔๔๗ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๗ เรอ่ื ง ความหมายและความสำคัญภมู ปิ ญั ญาท้องถิ่น ๔๕๙ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๘ เรอื่ ง ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ในชมุ ชน ๔๗๑ แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี ๙ เรอ่ื ง การสืบต่อภมู ิปัญญาทอ้ งถ่ินในชมุ ชน ๔๘๒ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑๐ เรือ่ ง การอนรุ ักษ์และเผยแพรภ่ มู ปิ ญั ญาทอ้ งถิ่นของชุมชน ๔๙๔ แบบประเมนิ ตนเอง หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๓ เรอื่ ง วฒั นธรรมต่อการดำเนนิ ชวี ติ ๕๐๕ บันทกึ การเรยี นรู้ (Learning logs) ๕๐๖ หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๔ เรอื่ ง พลเมอื งดี ๕๐๗ แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ ๑ เรอ่ื ง สถานภาพ บทบาทตามหน้าท่ี ๕๑๑ แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี ๒ เรอ่ื ง สิทธแิ ละเสรีภาพ ๕๒๓ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๓ เรอ่ื ง หนา้ ทีข่ องพลเมือง ๕๓๖ แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๔ เรอ่ื ง คณุ ลักษณะของพลเมอื งดี ๕๔๙ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๕ เรอื่ ง การปฏบิ ตั ิตนเป็นพลเมืองดี ๕๖๓ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๖ เรอื่ ง ผลของการเป็นพลเมืองดี ๕๗๕ แบบประเมนิ ตนเอง หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๔ เรอื่ ง พลเมอื งดี ๕๘๘ หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๕ เรื่อง การปกปอ้ งคมุ้ ครองสทิ ธเิ ดก็ ๕๘๙ แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี ๑ เรอื่ ง สิทธเิ ด็กข้นั พนื้ ฐาน ๕๙๓ แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี ๒ เรอ่ื ง การละเมิดสทิ ธิเดก็ ๖๐๘ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ๓ เรอื่ ง แนวทางการปกป้องคุ้มครองตนเองหรือผู้อน่ื จากการถูกละเมิด ๖๒๑ สทิ ธิเดก็ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๔ เรอ่ื ง การปกปอ้ งคมุ้ ครองสทิ ธเิ ด็ก ๖๓๕ แบบประเมินตนเอง หน่วยท่ี ๕ เรื่อง การปกปอ้ งค้มุ ครองสิทธิเด็ก ๖๔๕

ฉ สารบญั (ตอ่ ) ค่มู อื ครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู้ วชิ าประวตั ิศาสตร์ ระดบั ประถมศกึ ษา กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชน้ั ประถมศึกษาท่ี 5 ภาคเรยี นที่ ๑ หน้า หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๖ เรอ่ื ง การปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ ๖๔๖ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๑ เรอื่ ง อำนาจหนา้ ทขี่ ององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ ๖๕๐ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒ เรอื่ ง โครงสรา้ งการบรหิ ารงานการปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน ๖๖๔ แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ ๓ เรอื่ ง ความสำคญั ขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ๖๗๗ แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ ๔ เรอื่ ง บทบาทหน้าทข่ี องผูบ้ รหิ ารท้องถิ่น ๖๘๙ แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี ๕ เรอื่ ง ตำแหนง่ ของผูบ้ ริหารทอ้ งถิ่น ๗๐๒ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๖ เรอื่ ง องคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่นกับการบริการสาธารณประโยชนใ์ น ๗๑๕ ชุมชน แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ ๗ เรอื่ ง การบรกิ ารสาธารณประโยชนข์ องประชาชนในทอ้ งถ่ิน ๗๒๘ แบบประเมินตนเอง หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๖ เรอ่ื ง การปกครองส่วนทอ้ งถิน่ ๗๔๑ บนั ทึกการเรยี นรู้ (Learning logs) ๗๔๒ บรรณานกุ รม ๗๔๓ ภาคผนวก ก. แบบประเมนิ รวม (สงั คมศึกษา) ๗๔๔ ตอนท่ี ๒ วชิ าประวตั ิศาสตร์ รหสั วชิ า ส๑๕๑๐๒ ๗๕๒ คำช้แี จงรายวชิ าประวตั ิศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๗๕๓ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๕ ภาคเรียนท่ี ๑ คำอธบิ ายรายวิชาประวัตศิ าสตร์ กลุ่มสาระการเรยี นรูส้ ังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๗๖๒ ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ ๕ ภาคเรียนท่ี ๑ มาตรฐานการเรียนร้/ู ตวั ช้ีวดั วิชาประวตั ิศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา ๗๖๓ และวฒั นธรรม ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๕ ภาคเรยี นที่ ๑ โครงสร้างรายวชิ าประวัติศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๗๖๔ ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๕ ภาคเรยี นท่ี ๑

ช สารบัญ (ตอ่ ) ค่มู อื ครูและแผนการจดั การเรยี นรู้ วชิ าประวัติศาสตร์ ระดับประถมศกึ ษา กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชน้ั ประถมศึกษาท่ี 5 ภาคเรยี นที่ ๑ หน้า หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๑ วธิ ีการทางประวตั ศิ าสตร์ ๗๖๕ แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๑ เรอ่ื ง ขน้ั ตอนวิธกี ารทางประวตั ศิ าสตร์ ๗๖๙ แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี ๒ เรอ่ื ง การสืบค้นขอ้ มลู โดยวิธีการทางประวัติศาสตร์ ๗๘๖ แผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี ๓ เรอื่ ง ขอ้ มูลหลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์ ๘๐๕ แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๔ เรอ่ื ง ประเภทหลักฐานทางประวตั ิศาสตร์ ๘๒๑ แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ ๕ เรอ่ื ง หลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ ๘๔๐ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๖ เรอื่ ง ความจริงกบั ขอ้ เท็จจริงทางประวัติศาสตร์ ๘๕๔ แบบประเมนิ ตนเอง หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ วธิ กี ารทางประวัตศิ าสตร์ ๘๗๒ บันทึกการเรยี นรู้ (Learning logs) ๘๗๓ หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๒ อทิ ธิพลของอารยธรรมตา่ งชาติทีม่ ีตอ่ ไทย ๘๗๔ แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๑ เรอ่ื ง อารยธรรมอนิ เดีย ๘๗๘ แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ ๒ เรอ่ื ง อารยธรรมจีน ๘๙๘ แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี ๓ เรอ่ื ง อารยธรรมอนิ เดียและจีน ๙๑๗ แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ ๔ เรอื่ ง การเขา้ มาของอารยธรรมอนิ เดียทีม่ ีตอ่ ไทย ๙๓๕ แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๕ เรอื่ ง การเข้ามาของอารยธรรมจนี ทีม่ ตี อ่ ไทย ๙๕๓ แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๖ เรอ่ื ง อิทธพิ ลของอารยธรรมอินเดียท่ีมตี อ่ สงั คมไทย ๙๗๐ และภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๗ เรอ่ื ง อิทธพิ ลของอารยธรรมจนี ทมี่ ตี ่อสังคมไทย ๙๘๘ และภมู ภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ ๘ เรอื่ ง ความแตกต่างของอิทธิพลของอารยธรรมอินเดีย ๑๐๐๖ และจีนทม่ี ีตอ่ ไทย แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ ๙ เรอ่ื ง การเข้ามาของอารยธรรมตา่ งชาติท่มี ตี ่อสังคมไทย ๑๐๒๓ แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ ๑๐ เรือ่ ง อทิ ธิพลของวัฒนธรรมต่างชาติทม่ี ีตอ่ สังคมไทย ๑๐๔๐ แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๑๑ เรอ่ื ง อิทธิพลของชาติตะวนั ตกทีม่ ตี ่อสังคมไทย ๑๐๕๘ (โปรตเุ กส ฮอลนั ดา ฝรงั่ เศส อังกฤษ) แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๑๒ เร่ือง ผลกระทบของวัฒนธรรมตา่ งชาตทิ ี่มตี ่อสงั คมไทย ๑๐๗๖ แบบประเมินตนเอง หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๒ อทิ ธพิ ลของอารยธรรมต่างชาตทิ ่มี ีตอ่ ไทย ๑๐๙๕ บนั ทกึ การเรยี นรู้ (Learning logs) ๑๐๙๖

ซ สารบัญ (ตอ่ ) คู่มอื ครูและแผนการจัดการเรยี นรู้ วชิ าประวัตศิ าสตร์ ระดับประถมศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน้ ประถมศกึ ษาที่ 5 ภาคเรยี นที่ ๑ หนา้ บรรณานกุ รม ๑๐๙๗ ภาคผนวก ก. แบบประเมินรวม (ประวัติศาสตร์) ๑๐๙๘ ภาคผนวก ข. แผนผังความคดิ (Graphic Organizers) ๑๑๐๖ ภาคผนวก ค. แบบบนั ทกึ การเรยี นรู้ (Learning Logs) ๑๑๑๕ คณะผ้จู ัดทำคูม่ ือครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู้ กล่มุ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ๑๑๒๓ ศาสนา และวัฒนธรรม ระดบั ประถมศกึ ษา (คร้ังที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๖๑) คณะกรรมการปรับปรงุ คมู่ อื ครูและแผนการจดั การเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ๑๑๒๖ ศาสนา และวัฒนธรรม ระดบั ประถมศกึ ษา (ฉบับปรบั ปรงุ ครงั้ ที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๖๓)

ฌ คำชแี้ จง การรับชมรายการออกอากาศด้วยระบบทางไกลผ่านดาวเทยี ม มลู นิธกิ ารศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ใหบ้ รกิ ารการจดั การเรียนการสอน จากสถานีวิทยุโทรทัศน์การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม จำนวน ๑๕ ช่องรายการ ทั้งรายการสด (Live) และ รายการย้อนหลัง (On demand) สามารถรบั ชมผา่ นช่องทาง ต่อไปน้ี ๑. www.dltv.ac.th ๒. Application on mobile DLTV - ระบบ Android เขา้ ท่ี Play Store/Google Play พิมพ์คำว่า DLTV - ระบบ iOS เขา้ ท่ี App Store พิมพ์คำวา่ DLTV หมายเลขช่องออกอากาศสถานวี ทิ ยุโทรทัศน์การศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม ๑๕ ชอ่ งรายการ ช่อง (DLTV) ช่อง (TRUE) รายการในเวลาเรียน รายการนอกเวลา (ชว่ งเวลา ๐๘.๓๐–๑๔.๓๐ น.) (ชว่ งเวลา ๑๔.๓๐–๐๘.๓๐ น.) DLTV ๑ ช่อง ๑๘๖ รายการสอนชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ สถาบนั พระมหากษตั รยิ ์ DLTV ๒ ชอ่ ง ๑๘๗ รายการสอนช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๒ ความรู้รอบตัว DLTV ๓ ชอ่ ง ๑๘๘ รายการสอนชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี DLTV ๔ ช่อง ๑๘๙ รายการสอนชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๔ ธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม DLTV ๕ ช่อง ๑๙๐ รายการสอนช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๕ ศิลปวัฒนธรรมไทย DLTV ๖ ชอ่ ง ๑๙๑ รายการสอนชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ หน้าท่ีพลเมอื ง DLTV ๗ ช่อง ๑๙๒ รายการสอนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ภาษาองั กฤษเพอื่ การสือ่ สาร DLTV ๘ ชอ่ ง ๑๙๓ รายการสอนชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๒ ภาษาต่างประเทศ DLTV ๙ ช่อง ๑๙๔ รายการสอนชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี ๓ การเกษตร DLTV ๑๐ ชอ่ ง ๑๙๕ รายการสอนชน้ั อนบุ าลปีที่ ๑ รายการสำหรับเด็ก-การเล้ยี งดูลกู DLTV ๑๑ ชอ่ ง ๑๙๖ รายการสอนชั้นอนุบาลปที ่ี ๒ สุขภาพ การแพทย์ DLTV ๑๒ ชอ่ ง ๑๙๗ รายการสอนชนั้ อนบุ าลปที ่ี ๓ รายการสำหรบั ผู้สูงวัย DLTV ๑๓ ช่อง ๑๙๘ รายการของการอาชพี วงั ไกลกังวล และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคล DLTV ๑๔ ชอ่ ง ๑๙๙ รายการของมหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช DLTV ๑๕ ชอ่ ง ๒๐๐ รายการพัฒนาวชิ าชีพครู *หมายเหตุ : รายการสอนออกอากาศในเวลาเรยี นระดบั ช้ันปฐมวยั ชว่ งเวลา ๐๘.๓๐–๑๑.๓๐ น

ญ การตดิ ต่อรบั ขอ้ มลู ขา่ วสาร ๑. มูลนิธิการศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ เลขที่ ๒๑๔ ถนนนครสวรรค์ แขวงวดั โสมนัส เขตป้อมปราบศัตรูพา่ ย กรงุ เทพมหานคร โทร ๐๒ ๒๘๒ ๖๗๓๔ โทรสาร ๐๒ ๒๘๒ ๖๗๓๕ ๒. สถานีวิทยโุ ทรทัศนก์ ารศึกษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม ซอยหวั หิน ๓๕ ถนนเพชรเกษม ตำบลหวั หิน อำเภอหัวหนิ จังหวดั ประจวบคีรีขันธ์ ๗๗๑๑๐ โทร ๐๓๒ ๕๑๕๔๕๗–๘ โทรสาร ๐๓๒ ๕๑๕๙๕๑ [email protected] (ติดตอ่ เร่อื งเว็บไซต์) [email protected] (ติดตอ่ เรอ่ื งทัว่ ไป) ๓. โรงเรยี นวังไกลกังวล ในพระบรมราชูปถัมภ์ อำเภอหวั หนิ จังหวดั ประจวบคีรีขนั ธ์ ๗๗๑๑๐ โทร ๐๓๒ ๕๒๒ ๓๔๗ , ๐๓๒ ๕๒๐ ๔๗๘ โทรสาร ๐๓๒ ๕๒๐ ๔๗๘ Facebook : โรงเรยี นวงั ไกลกงั วล ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ Website : http://www.kkws.ac.th ๔. ช่องทางการติดตามข่าวสาร Facebook : มลู นธิ ิการศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ DLTV Website : http://www.dltv.ac.th

ตอนท่ี ๑ วชิ าสังคมศึกษา กล่มุ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๑ ตอนที่ ๑ วิชาสังคมศกึ ษา

๒ ค่มู อื ครแู ละแผนการจดั การเรียนรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ ๑ (สงั คมศึกษา ป.๕) คำชีแ้ จง รายวชิ าสงั คมศึกษา กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๑. แนวคดิ หลกั หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กำหนดสาระการเรียนรู้ จำนวน ๘ กลุ่ม สาระการเรียนรู้ ครูผู้สอนต้องจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยนำความรู้ด้านเน้ือหาวิชามาจัดกิจกรรม การเรียนการสอนโดยการฝึกทักษะให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจ และเกิดสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ๕ ประการ และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ๘ ประการ ดังนี้ สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รยี น ๕ ประการ ๑) ความสามารถในการสื่อสารเป็นความสามารถในการรบั สารและส่ือสารมวี ฒั นธรรมในการใช้ภาษา ๒) ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การคิดอย่างเป็นระบบเพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศ เพ่ือใชใ้ นการตัดสนิ ใจ เกยี่ วกบั ตนเอง สงั คมไดอ้ ย่างเหมาะสม ๓) ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ท่ีเผชิญได้ อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และ การเปลย่ี นแปลงของเหตกุ ารณต์ ่าง ๆ ในสังคม ๔) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการเข้าใจและเคารพตนเอง สามารถนำ กระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเองการเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง การทำงาน และการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธอ์ ันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหา และความขดั แยง้ ต่าง ๆ อย่างเหมาะสม ๕) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และ ใช้เทคโนโลยี การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ถูกตอ้ งเหมาะสม มีคุณธรรมดา้ นตา่ ง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพอื่ การพฒั นาตนเอง สังคมในดา้ นการเรียนรู้ การสอ่ื สาร การทำงาน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๘ ประการ เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมอื งไทยและพลโลก ดงั นี้ ๑) รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๒) ซื่อสตั ย์ สุจริต ๓) มวี นิ ัย ๔) ใฝ่เรยี นรู้ ๕) อยูอ่ ย่างพอเพยี ง ๖) มุ่งมน่ั ในการทำงาน ๗) รกั ความเปน็ ไทย ๘) มีจิตสาธารณะ

คำชี้แจงรายวิชาสังคมศกึ ษา กลุ่มสาระการเรียนร้สู ังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมว่าด้วยการอยู่ร่วมกันในสังคมท่ีมีความ เช่ือมโยงสัมพันธ์กัน และมีความแตกต่างอย่างหลากหลาย เพื่อช่วยให้สามารถปรับตนเองกับบริบท สภาพแวดล้อม เปน็ พลเมืองดี มีความรับผิดชอบ มีความรู้ ทักษะ คุณธรรมและค่านิยมท่ีเหมาะสม เป็นวิชาท่ี ประกอบด้วยหลายแขนงสาระ ทำใหม้ ลี ักษณะเป็นสหวิทยาการ เป็นการนำวิชาตา่ ง ๆ ในสาขาวชิ าสังคมศาสตร์ เข้าด้วยกัน ได้แก่ ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ นิติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์ เป็นต้น กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรมประกอบดว้ ย ๒ รายวชิ า คอื วชิ าสงั คมศกึ ษา และวิชาประวัติศาสตร์ วิชาสังคมศึกษากำหนดสาระต่าง ๆ ดังนี้ ๑) ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม ๒) หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม ๓) เศรษฐศาสตร์ ๔) ภูมิศาสตร์ ซึ่งช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ การดำรงชีวิตของมนุษย์ ท้ังในฐานะปัจเจกบุคคลและการอยู่ร่วมกันในสังคม การปรับตัวตามสภาพแวดล้อม การจัดการทรัพยากรท่ีมีอยู่อย่างจำกัด มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอิทธิพลของสภาพแวดล้อม ที่มีผลต่อ การดำรงชวี ติ การอยู่ร่วมกันในสังคม การเปล่ียนแปลงตามเหตุปจั จยั ต่าง ๆ เกิดความเข้าใจในตนเองและผู้อนื่ ปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เป็นพลเมืองท่ีรับผิดชอบ มีความสามารถทางสังคม มีความรู้ มีทักษะและมีคุณธรรม มีความอดทน อดกล้ัน ยอมรับในความแตกต่าง และเพ่ือเกิดค่านิยมที่เหมาะสม มุ่งหวังให้ผเู้ รยี นเกิดความเจรญิ งอกงามดา้ นความรู้ โดยการให้ความรแู้ กผ่ ู้เรียนดา้ นเน้ือหาสาระ ความคิดรวบ ยอดและหลักการสำคัญในสาขาต่าง ๆ สามารถนำความรู้ไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิต เป็นกำลังของชาติ เปน็ พลเมอื งดีของประเทศชาติ และสังคมโลก หลักการออกแบบกิจกรรมมีการบูรณาการด้านคุณลักษณะ ในแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีคำนึงถึง คุณลักษณะที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้มีทักษะการพัฒนาค่านิยมและเจตคติที่ดีในการประพฤติปฏิบัติตน ให้เหมาะสมและสอดคล้องกับความต้องการของสังคมหลังการเรียนรู้ สอดคล้องตามเป้าหมายของหน่วย การเรียนรู้ มีเจตคติท่ีดีต่อสถาบันชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย์ และมีจิตอาสา ครูผู้สอนควรปลูกฝัง คุณลักษณะอันพึงประสงค์ให้แก่ผู้เรียนทุกแผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และเปน็ คนดีของสงั คม ๒. กระบวนการจัดการเรยี นรู้ แนวคิดสำคัญของการจัดศึกษา ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ คือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เปิดโอกาสให้ ผู้เรียน คิดและลงมือปฏิบัติด้วยกระบวนการท่ีหลากหลาย เพ่ือเกิดการเรียนรู้และพัฒนาตนเองเต็มตาม ศกั ยภาพ การประเมินการเรียนรจู้ ึงมคี วามสำคญั และจำเปน็ อย่างยิ่ง ต่อการจดั กจิ กรรมการเรียนรใู้ นห้องเรยี น เพราะสามารถทำใหผ้ สู้ อนประเมนิ ระดับพฒั นาการเรียนรขู้ องผู้เรียน การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนา ตนเองได้ และถือว่า ผเู้ รยี นมีความสำคญั ทีส่ ุด กระบวนการจัดการศึกษาตอ้ งส่งเสริมให้ผเู้ รียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาตแิ ละเต็ม ตามศักยภาพ ให้ความสำคัญของการบูรณาการความรู้คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้ตามความเหมาะสมของ ระดับการศกึ ษา ได้ระบใุ ห้ผู้ที่เกี่ยวขอ้ งดำเนนิ การ ดังนี้

๔ คมู่ อื ครูและแผนการจัดการเรียนรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ ๑ (สงั คมศึกษา ป.๕) ๑) สถานศกึ ษาและหน่วยงานที่เกยี่ วขอ้ ง (๑) จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียน โดยคำนึงถึงความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล (๒) ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์และการประยุกต์ ความรู้มาใชเ้ พอ่ื ป้องกนั และแกไ้ ขปัญหา (๓) จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติ ให้ทำได้ คิดเป็น ทำเปน็ รักการอา่ น และเกิดการใฝ่รูอ้ ยา่ งตอ่ เนอ่ื ง (๔) จัดการเรียนการสอน โดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกัน รวมท้ังปลกู ฝังคุณธรรม ค่านิยมท่ีดีงามและคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ไว้ในทุกวชิ า (๕) ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียน และ อำนวยความสะดวกเพ่ือให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้ รวมท้ังสามารถใช้การวิจัยให้เป็นส่วนหน่ึง ของกระบวนการเรียนรู้ ท้ังนี้ ผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากส่ือการเรียน การสอนและแหล่ง วิทยาการประเภทต่าง ๆ (๖) จัดการเรียนรู้ให้เกิดข้ึนได้ทุกเวลา ทุกสถานที่ มีการประสานความร่วมมือกับพ่อแม่ ผู้ปกครอง และบคุ คลในชมุ ชนทกุ ฝ่าย เพอ่ื ร่วมกนั พัฒนาผูเ้ รียนตามศกั ยภาพ ๒) การจัดสภาพแวดลอ้ มส่งเสรมิ การเรียนรู้ (๑) จัดสภาพแวดล้อม ห้องเรียน หรือภายนอกห้องเรียน ให้เอื้อต่อการเรียนรู้ สะอาด มีความเป็นระเบียบ ตกแต่งห้องเรียนให้น่าอยู่ มีมุมต่าง ๆ ในห้องเรียน มีท่ีเก็บวัสดุอุปกรณ์ และง่ายต่อ การนำมาใช้ มีป้ายนิเทศให้ความรู้ ภายนอกห้องเรียนจัดบรรยากาศให้เป็นธรรมชาติน่าอยู่ ร่มรื่นและเหมาะ กบั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ถกู สุขลักษณะและปลอดภยั (๒) จดั สภาพแวดล้อม หรือหอ้ งใหผ้ เู้ รยี นได้ฝึกปฏิบัตกิ าร (๓) จัดสื่อ อปุ กรณ์ ทีเ่ กย่ี วกบั การเรียนรูอ้ ยา่ งเพยี งพอ เหมาะสม (๔) จัดหาเครื่องมือแสวงหาความรู้ หรือช่องทางเสนอข่าวสารต่าง ๆ เพื่อให้ผู้เรียนได้รับรู้ ข้อมลู ข่าวสารทที่ ันสมยั ปจั จุบนั อยเู่ สมอ ๓) ครผู สู้ อน การจัดการเรียนรู้ตามแนวดังกล่าว จำเป็นต้องเปล่ียนแปลงพฤติกรรมการเรียนการสอนทั้ง ของผู้เรียนและผู้สอน กล่าวคือลดบทบาทของครูผู้สอน จากการเป็นผู้บอกเล่า บรรยาย สาธิต เป็นการวางแผนจัดกิจกรรมให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ กิจกรรมต่าง ๆ จะต้องเน้นท่ีบทบาทของผู้เรียนตั้งแต่ เริ่ม คือ ร่วมวางแผนการเรียน การวัดผล ประเมินผล และต้องคำนึงว่ากิจกรรมการเรียนนั้น เน้นการพัฒนา

คำช้แี จงรายวิชาสงั คมศึกษา กลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๕ กระบวนการคิด วางแผน ลงมือปฏิบัติศึกษา ค้นคว้า รวบรวมข้อมูล ด้วยวิธีการต่าง ๆ จากแหล่งเรียนรู้ หลากหลาย ตรวจสอบ วิเคราะห์ การแก้ปัญหา การมีปฏิสัมพันธ์ซ่ึงกันและกัน การสร้างคำอธิบายเก่ียวกับ ข้อมลู ทส่ี ืบคน้ ได้ เพือ่ นำไปสู่คำตอบของปัญหาหรอื คำถามตา่ ง ๆ และสรา้ งองค์ความรู้ ท้งั นี้กิจกรรมการเรียนรู้ เหล่านตี้ อ้ งพฒั นาผู้เรยี นให้มพี ัฒนาการเหมาะสมตามวัย ทัง้ ทางรา่ งกาย อารมณส์ งั คม และสตปิ ัญญา หลักการจัดกระบวนการเรียนรู้วิชาสังคมศึกษา มุ่งพัฒนาสมรรถนะของผู้เรียนให้สามารถ เรียนรู้การดำเนินชีวิตอยู่ในสังคมและการอยู่ร่วมกับบุคคลอื่นได้อย่างมีความสุข ตลอดจนสามารถนำเอา ความรู้ ความเข้าใจน้ันไปปรับใช้ให้เข้ากับสภาพสังคมท่ีแปรเปล่ียนได้อย่างเหมาะสม สมดุลและย่ังยืน มุ่งเน้น ให้ผู้เรียนได้มีทักษะต่าง ๆ เช่น ทักษะทางสังคม ทักษะการคิด ทักษะการตัดสินใจ และทักษะการแก้ปัญหา ที่ใช้ในการดำเนินชีวิตของผู้เรียน ให้สอดคล้องกับความต้องการของสังคม ในการสร้างพลเมืองดีของประเทศ อนั เปน็ รากฐานของพลโลกต่อไป ดังน้ัน การจัดการเรียนรูว้ ชิ าสังคมศึกษาจึงต้องใชว้ ิธกี ารเรียนรู้ที่จะช่วยสร้าง เสรมิ เติมเต็มประสบการณ์ให้ผู้เรียนได้ใช้สติปัญญา ความรู้ ความคดิ ความสามารถ ทักษะ ค่านิยมและเจตคติ ที่ดี ตลอดจนต้องจัดให้เหมาะสมกับวัยและวุฒิภาวะของผู้เรียน ให้ผู้เรียนมีส่วนจัดการเรียนรู้ของตนเอง พัฒนาและขยายความคิดของตนเองจากความรู้ทเี่ รียน กระบวนการเรยี นรูว้ ิชาสังคมศกึ ษา ๑. การพัฒนาทักษะทางปัญญา เป็นกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่มุ่งให้ผู้เรียนมีทักษะ ด้านความรู้ความเข้าใจในเน้ือหาสาระของวิชา อันประกอบด้วยเคร่ืองมือช่วยคิด กระบวนการคิด เช่น การคิด วิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ คิดแก้ปัญหาและคิดสร้างสรรค์ ตลอดจนความรู้ท่ีได้จาก การบรู ณาการที่เชื่อมโยงเป็นสาระเรือ่ งราวต่างๆ จากสภาพแวดลอ้ ม ๒. การพัฒนาทักษะทางสังคม เป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่มุ่งให้ผู้เรียนมีทักษะที่เน้น การฝึกปฏิบัติจริงเพอ่ื สร้างผู้เรียนให้มีทักษะชีวิตพน้ื ฐาน เชน่ ทักษะการรู้จักตนเอง ทักษะการคิด การตดั สินใจ และการแก้ปัญหา ทักษะการแสวงหาข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ ทักษะการปรับตัว ทักษะการสื่อสารและสร้าง สัมพันธภาพ ทกั ษะการวางแผนและการจัดการ และทักษะการทำงานเป็นทีม ๓. การพัฒนาเจตพสิ ยั และคณุ ลักษณะ เป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่มุ่งใหผ้ ู้เรยี นมีทักษะ การพัฒนาค่านิยมและเจตคติที่ดีในการประพฤติปฏิบัติตนให้เหมาะสมและสอดคล้องกับความต้องการของ สังคม เช่น ความขยัน ประหยัด ซื่อสัตย์ อดทน โดยยึดหลักธรรมมาใชเ้ ปน็ แนวทางในการดำเนินชีวิตของ ผเู้ รียน การออกแบบและการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาสังคมจะต้องคำนึงถึงองค์ประกอบท้ังความรู้ ทักษะและเจตคติเพ่ือใช้ในการปลูกฝังและส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการคิดหรือมีวิธีการคิด ดังนั้น การจัดการเรียนรู้ต้องเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และส่งเสริมการจัดแหล่งเรียนรู้ท่ีหลากหลายอันเป็นพ้ืนฐานของ การเสรมิ สร้างความรู้ ความคดิ ประสบการณ์ และปลกู ฝังเจตคตทิ ดี่ ใี นสังคมอยา่ งมคี ุณภาพ

๖ ค่มู อื ครูและแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี ๑ (สงั คมศกึ ษา ป.๕) เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ ได้แก่ การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ทัศนศึกษานอกสถานท่ี การเรียนรู้จากห้องสมุด แหล่งเรียนรู้จากภูมิปัญญาท้องถ่ิน ปราชญ์ชาวบ้าน งานวิเคราะห์จากการศึกษา ภาคสนาม พิเคราะห์แหล่งข้อมูล การสอนแบบให้ผู้เรียนเรียนรู้โดยอิสระจากศูนย์การเรียนรู้และการเรียนรู้ ตามความสนใจ การสอนวิชาสงั คมไม่ควรจำเจอยู่ในหอ้ งเรียนอย่างเดยี ว การเรียนรู้โดยผู้เรียนลงมือปฏิบัติ ได้แก่ เกม การศึกษาสถานการณ์จำลอง กรณีตัวอย่าง บทบาทสมมุติ โครงงาน การทดลอง ศิลป์สร้างสรรค์การสอน การเรียนการสอนที่เน้นกระบวนการกลุ่ม ประกอบด้วย การอภิปรายกลุ่มย่อย การแก้ปัญหากลุ่ม สืบค้นความรู้ กลุ่มสัมพันธ์ การเรียนรู้แบบร่วมมือ การอภปิ ราย การเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิด ได้แก่ การแก้สถานการณ์ การถามตอบ การสืบสอบ ความคิดรวบยอด การพฒั นากระบวนการคดิ การใชท้ ักษะกระบวนการ การสอนโดยใชว้ ิธีการตง้ั คำถามผู้เรยี น การเรียนการสอนเน้นความจำ การเรียนการสอนโดยใช้แผนผังความคิด (Graphic Organizers) การเรียน การสอนกระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ การสอนกระบวนการคิด ๑๐ มิติ การคิดเปรียบเทียบการคิด สังเคราะห์ การคิดประยุกต์ การคิดสร้างสรรค์ การคิดวิเคราะห์ การคิดกลยุทธ์ การคิดบูรณาการ การคิด มโนทัศน์ การคดิ อนาคต การคดิ วิพากษ์ การเรียนรผู้ ่านสือ่ เทคโนโลยี ได้แก่ โปรแกรมสำเร็จรปู ชดุ การสอน ชุดการสอนรายบุคคล ชุดการสอนสำหรับการเรียนเป็นกลุ่มย่อย ชุดการสอนประกอบคำบรรยายของครู คอมพิวเตอร์ช่วยสอน และการนำเสนอโดยวดี ทิ ัศน์ น อ ก จ าก น้ั น ค รู ผู้ ส อ น ต้ อ งจั ด กิ จ ก รร ม ก ารเรีย น รู้ ท่ี ให้ ผู้ เรีย น ได้ เรีย น รู้อ ย่ างมี ค วาม ห ม าย โดยการร่วมมือระหว่างครูกับผู้เรียน ผู้เรียนกับผู้เรียน ครูต้องลดบทบาทในการสอนโดยเป็นผู้ช้ีแนะ กระตุ้นให้ผู้เรียนกระตือรือร้นท่ีจะเรียนรู้ และปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ มากขึ้นและอย่างหลากหลาย ดังนี้ ๑) ควรให้นักเรยี นทกุ คนมสี ว่ นรว่ มในกจิ กรรมการเรียนรูต้ ลอดเวลาด้วย การกระตนุ้ ให้นกั เรยี น ลงมือปฏิบัติและอภิปรายผล เชน่ แบ่งกลุ่มให้อภิปราย แสดงบทบาทสมมุติ จัดนิทรรศการด้วยตนเอง โดยใช้ เทคนิคต่าง ๆ ของการสอน เช่น การนำเข้าสู่บทเรียน การใช้คำถาม การเสริมพลังมาใช้ให้เป็นประโยชน์ ที่จะ ทำให้การเรยี นการสอนนา่ สนใจและมชี วี ติ ชีวา ๒) ครคู วรมกี ารวางแผนการใชค้ ำถามอยา่ งมีประสิทธิภาพ เพือ่ จะนำนกั เรยี นเข้าสู่บทเรียน และลงข้อสรุปได้โดยที่ไมใ่ ช้เวลานานเกินไป ครูควรเลอื กใช้คำถามที่มคี วามยากงา่ ยพอเหมาะกับความสามารถ ของนักเรยี น ๓) เมอื่ นักเรยี นถาม อยา่ บอกคำตอบทันที ควรใหค้ ำแนะนำท่ีจะชว่ ยให้นักเรียนหาคำตอบไดเ้ อง ครูควรให้ความสนใจต่อคำถามของนักเรียนทุก ๆ คน แม้ว่าคำถามนั้นอาจจะไม่เก่ียวกับเรื่องที่กำลังเรียนอยู่ก็ตาม ครูควรจะช้ีแจงให้ทราบและเบนความสนใจของนักเรียนกลับมาสู่เร่ืองท่ีกำลังอภิปรายอยู่ สำหรับปัญหาท่ีนักเรียน ถามมาน้นั ควรจะได้หยิบยกมาอภิปรายในภายหลัง

คำชแ้ี จงรายวิชาสงั คมศึกษา กลุ่มสาระการเรียนร้สู ังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๗ ๔) การสำรวจตรวจสอบซ้ำ เป็นส่ิงจำเป็นเพ่ือให้ได้ข้อมูลท่ีน่าเช่ือถือ ดังนั้น ในการจัด การเรียนรู้ครูควรย้ำให้นักเรียนได้สำรวจตรวจสอบซ้ำเพ่ือนำไปสู่ข้อสรุปที่ถูกต้องและเช่ือถือได้ ครูควรเลือกเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริงหรือกำลังเกิดขึ้นกับสังคมมาเป็นตัวอย่างในการสอนวิชา สังคม นักเรียนจะได้เข้าใจอย่างถ่องแท้ถึงเหตุการณ์ของคนท่ัวไปมาเกริ่นนำเพ่ือโยงสัมพันธ์กับเร่ืองท่ีสอน หรือนำเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นมาอภิปราย ร่วมกันกำหนดหัวข้อให้ครอบคลุมเรื่องท่ีสอน นักเรียนได้ปฏิบัติจริง หรอื สรา้ งสถานการณจ์ ำลองให้ทดลองปฏบิ ัติ ๓. สือ่ การจัดการเรียนรู/้ แหล่งเรยี นรู้ สื่อการจัดการเรียนรู้ เป็นเคร่ืองมือส่งเสริมสนับสนุนการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้นักเรียนได้รับ ความรู้ ทักษะกระบวนการได้ง่ายในระยะเวลาสั้นและช่วยให้เกิดความคิดรวบยอดอย่างถูกต้องและรวดเร็ว สอื่ ท่ปี รากฏในแผนการจัดการเรียนรู้มดี ังน้ี ๑) ใบความรู้ ใบงาน แผนภาพนำเสนอข้อมูล ๒) บัตรภาพ ๓) เกม/เพลง/นทิ าน ๔) คลิป/วดี ทิ ศั น์/ภาพขา่ วสถานการณ์ปจั จุบัน ๕) สถานการณ์สมมตุ ิ ๖) สือ่ บุคคล แหล่งเรียนรู้ เป็นเครอื่ งมอื สรา้ งคุณลักษณะการใฝเ่ รียนรู้ทท่ี กุ คนต้องใฝ่รตู้ ลอดชีวิต ดงั น้ี ๑) แหล่งเรยี นรภู้ ายในโรงเรียน ๒) แหล่งเรียนรู้ภายนอกโรงเรียน ได้แก่ ชุมชน ท้องถิ่น พิพิธภัณฑ์ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หอ้ งสมุดประชาชน ห้องสมดุ แห่งชาติ ห้องสมุดเป็นแหล่งเรียนรู้ที่สำคัญและเป็นหัวใจสำคัญของผู้เรียนในการศึกษาค้นคว้า โรงเรียน ควรจัดห้องสมุดกลาง ห้องสมุดหมวดวิชา มุมหนังสือในห้องเรียน ห้องสมุดเคลื่อนท่ี รถเคลื่อนที่ ห้องสมุด ประชาชนล้วนเป็นแหล่งเรียนรู้จะทำให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และปลูกฝังลักษณ ะนิสัยท่ีดีใ นการส่งเสริมนิสัย รักการอ่าน ๓) แหลง่ เรยี นรู้ออนไลน์ - สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน - สำนกั หอสมุด มหาวทิ ยาลยั ต่าง ๆ - กระทรวงวฒั นธรรม ฯลฯ

๘ คู่มือครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ (สงั คมศกึ ษา ป.๕) ๔. การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ จดุ ประสงคส์ ำคัญของการประเมินการเรียนรู้คือการชว่ ยให้ผู้เรียนเกดิ การเรียนรู้ตามวัตถปุ ระสงค์ ท่ี ผู้สอนหรือหลักสูตรวางไว้ ปัญหาที่พบในปัจจุบันก็คือ ผู้บริหาร ผู้สอน ตลอดจนผู้ปกครองเป็นจำนวนมาก ยังให้ความสำคัญการเรียนรู้แบบท่องจำเพื่อสอบ หรือการเรียนรู้เพ่ือแข่งขัน ซ่ึงถือเป็นการเรียนรู้แบบผิวเผิน มากกวา่ การประเมินการเรยี นรู้ระหวา่ งเรียนการเรยี นรู้เพอื่ พัฒนาตนเองซ่ึงผลลัพธ์ของการเรียนรู้จะย่ังยนื กว่า (กุศลิน มสุ ิกุล, ๒๕๕๕; ขจรศกั ด,์ิ เพญ็ จันทร์ และวรรณทิพา รอดแรงค้า, ๒๕๔๘) ในการจัดการเรียนรู้เพ่อื พัฒนาสมรรถนะด้านตา่ ง ๆ ของผู้เรียนนั้นจำเป็นตอ้ งมีการประเมินการเรียนรู้ อย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่เร่ิมต้น ระหว่าง และส้ินสุดกระบวนการเรียนรู้ โดยใช้การประเมินในรูปแบบที่หลากหลาย สอดคล้องตามวตั ถุประสงค์ของการเรียนรู้ รูปแบบการประเมินการเรียนรู้ ไดแ้ ก่ การประเมินการเรียนรู้ระหวา่ งเรียน (Formative Assessment) การประเมินการเรียนรู้สรุปรวม (Summative Assessment) และการประเมินการเรียนรู้ ตามสภาพจริง (Authentic Assessment) ในการประเมินเพ่ือพัฒนาการเรียนรู้และการประเมินตามสภาพจริงน้ัน ผู้สอนจำเป็นต้องสะท้อนการประเมินให้ผู้เรียนรับทราบเพ่ือปรับปรุงและพัฒนาตนเอง และผู้สอนต้องนำผล การประเมิน มาพิจารณาเพ่ือทบทวนและปรับแผนการจัด การเรียนรู้เพอ่ื ให้สามารถดำเนินการแก้ไข ช่วยเหลือ หรือ หาวิธีการต่าง ๆ เพ่ือช่วยให้ผู้เรียนแต่ละคนเกิดการเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ตามแต่ละจุดประสงค์การเรียนรู้หรือ เปา้ หมายของตวั ช้ีวัดต่าง ๆ (กศุ ลนิ มสุ กิ ลุ , ๒๕๕๕) การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนต้องอยู่บนหลักการพ้ืนฐาน ๒ ประการ คือ การประเมินเพ่ือพัฒนาผู้เรียน และเพ่ือการตัดสินผลการเรียน ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนให้ ประสบความสำเร็จนั้น ผู้เรียนจะต้องได้รับการพัฒนาและประเมินตามตัวชี้วัด เพื่อให้บรรลุตามมาตรฐาน การเรียนรู้ สะท้อนสมรรถนะสำคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ซ่ึงเป็นเป้าหมายหลักในการวดั และประเมนิ การเรียนรใู้ นทุกระดบั (กระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๕๒) การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ท่ีปรากฏในแผนการจดั การเรียนรู้ ให้ความสำคญั ของการประเมิน พฤตกิ รรมการปฏิบตั ิ ดังน้ี ๑) วธิ กี ารประเมนิ (๑) การวัดและประเมินก่อนเรียน เพื่อตรวจสอบความพร้อม และความรู้เดิมของผู้เรียน (ผสมผสานในกิจกรรมการเรียนรู้ข้ันนำ) (๒) การวดั และประเมินระหวา่ งเรียน ได้แก่ ดา้ นความรู้ ทกั ษะการปฏิบตั ิ และคณุ ลกั ษณะ โดยวธิ กี ารสงั เกตพฤติกรรม ถามตอบพร้อมแสดงเหตุผล ตรวจชนิ้ งาน การนำเสนอ (ผสมผสานในกิจกรรม การเรียนรูข้ น้ั สอน) จดุ มุง่ หมายของการประเมินระหว่างเรยี น มีดงั นี้ (๒.๑) เพื่อค้นหาและวินิจฉัยว่าผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเน้ือหา มีทักษะความชำนาญ รวมถึงมีเจตคติทางการเรียนรู้อย่างไรและในระดับใด เพื่อเป็นแนวทางให้ผู้สอนสามารถวางแผนการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสม เพ่ือพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนได้อย่างเต็มศักยภาพ

คำชแี้ จงรายวิชาสังคมศกึ ษา กลุ่มสาระการเรยี นรูส้ ังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๙ (๒.๒) เพอ่ื ใชเ้ ปน็ ข้อมูลปอ้ นกลบั ใหก้ ับผูเ้ รยี นว่ามผี ลการเรยี นร้อู ย่างไร (๒.๓) เพ่อื ใชเ้ ป็นขอ้ มลู ในการสรุปผลการเรียนรแู้ ละเปรยี บเทยี บระดับพัฒนาการดา้ นการเรยี นรู้ ของผเู้ รียนแต่ละคน (๓) การวัดและประเมินหลังเรียน เพื่อตรวจสอบความสำเร็จตามจุดประสงค์รายแผนเป็น การพัฒนาในจุดที่ผู้เรียนอาจจะเข้าใจคลาดเคลื่อนหรือปฏิบัติไม่ถูกต้อง (ผสมผสานในกิจกรรมขั้นสรุป) และเพื่อ ตัดสินผลการจัดการเรียนรู้ เป็นการประเมินหลังจากผู้เรียนได้เรียนไปแล้ว ผลจากการประเมินประเภทน้ีใช้ ประกอบการตัดสินผลการจัดการเรียนการสอน หรือตัดสินใจว่าผู้เรียนคนใดควรจะได้รับระดับคะแนนใด (๔) ประเมนิ รวบยอดเมอื่ สิ้นสดุ หนว่ ยการเรียนรู้ ดำเนินการดังนี้ การประเมินโดยครูผู้สอน เพอ่ื ตรวจสอบคุณภาพผู้เรียนวา่ บรรลุเป้าหมายของหน่วยการเรียนรู้ตาม มาตรฐาน ตัวชี้วัด สมรรถนะ คุณลักษณะ และเจตคติ หรือไม่ เช่น การทำโครงงาน การนำความรู้ไปใช้เพ่ือพัฒนา สังคมในรปู แบบตา่ ง ๆ การประเมินโดยผู้เรียนแต่ละคน โดยการทำแบบบันทึกการเรียนรู้ (Learning logs) ควรให้ ผู้เรียนได้ประเมินการเรียนรู้ของตนเอง เพื่อเปิดโอกาสได้สะท้อนคิดสิ่งที่เรียนรู้ทั้งที่ทำได้ดีและยังต้องพัฒนา (ตวั อย่างแบบบันทึกการเรียนรู้ ดภู าคผนวก ค.) ควรให้ผู้เรียนได้ประเมินการเรียนรู้ย่อยหลังจบการเรียนรู้แต่ละหน่วย การเรียนรู้ และประเมินการเรียนรู้รวมในช่วงกลางภาคเรียน และปลายภาคเรียน โดยครูสามารถเลือกใช้ชุดคำถาม และจำนวนข้อให้เหมาะสมกับบริบทของผู้เรียน ช่วงเวลาและธรรมชาติของแต่ละวิชา ท้ังน้ีในครั้งแรกครูควรทำ ร่วมกับนักเรียนเพ่ือแนะนำวิธีการเขียนแบบสะท้อนคิด และควรอ่านส่ิงท่ีนักเรียนบันทึกพร้อมให้ข้อมูลย้อนกลับ เสนอแนะในเชิงบวกและสร้างสรรค์ รวมทั้งใช้ประโยชน์จากข้อมูลในแบบบันทึกเพื่อพัฒนาการสอนของตัวเองและ ชว่ ยเหลอื นักเรียนเปน็ รายบคุ คลต่อไป ๒) ผู้ประเมิน ไดแ้ ก่ เพ่อื นประเมินเพ่ือน ครปู ระเมินผู้เรียน ผู้เรยี นประเมินตนเอง และผู้ปกครองร่วม ประเมนิ ๕. คำแนะนำบทบาทครูปลายทางในการจดั การเรยี นรู้ ครูปลายทางควรมีบทบาทการสอนคู่ขนานกับครูต้นทางในการกำกับดูแลช่วยเหลือนักเรียนในทุกข้ันตอน การสอน ดังน้ี ๑) ขั้นเตรียมตวั ก่อนสอน (๑) ศึกษาทำความเข้าใจคำช้ีแจงและทำความเข้าใจเช่ือมโยง ท้ังเป้าหมาย กิจกรรมและ การวัดผลและประเมินผลระหว่างหน่วยการเรียนรู้กับแผนการจัดการเรียนรู้รายช่ัวโมง (๒) ศึกษาค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม จากแหล่งเรียนรู้ หน่วยงาน องค์กรที่ให้ความรู้ที่เช่ือถือได้ รวมท้ังเทคนิคการจัดการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาความสามารถของผู้เรียนอย่างรอบด้าน (๓) ปรับ/ประยุกต์หรือเพ่ิมเป้าหมายทั้งเนื้อหา ทักษะกระบวนการ คุณลักษณะท่ีเปน็ จุดเน้น และท่ีเป็นปจั จุบันตามบริบทของห้องเรียน โรงเรียน ชุมชน รวมถึงการวดั ประเมินทักษะกระบวนการเรียนรู้ ตามศักยภาพของผู้เรียน และตามสภาพจริง

๑๐ คู่มอื ครแู ละแผนการจัดการเรียนรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ (สงั คมศกึ ษา ป.๕) (๔) ศึกษาคลิปบทเรียนที่มีการอัปโหลดล่วงหน้าเพื่อทำความเข้าใจการจัดกิจกรรม PowerPoint และสื่อต่าง ๆ ท่ีครูใช้ประกอบการสอน โดยเฉพาะแนวการจัดกจิ กรรมในขั้นตอนชว่ งการปฏิบตั ิ ทั้งด้านวิธีการ สื่อที่ใช้ และช่วงเวลาของการทำแต่ละกิจกรรมเพื่อนำมาวิเคราะห์และหาแนวทางเตรียม นักเรียน/ช่วยเหลือ ส่งเสริม/อำนวยความสะดวกนักเรียนตามบริบทของห้องเรียนของตนให้สามารถเรียนรู้ได้ อย่างมีประสิทธภิ าพและเต็มตามศกั ยภาพ (๕) เตรียมใบงาน (ที่คัดเลือกสำหรับมอบหมายให้นักเรียนได้ทำตามเห็นควรและเหมาะสม) รวมทงั้ การเตรียมอุปกรณต์ ามระบุในแผนฯ และ/หรอื ทป่ี รากฏในคลิป (ในกรณีมกี ารปรับเปลีย่ นเพ่มิ เติม) (๖) ติดตามข้อมูลรายละเอียดการจัดกิจกรรมในช่วงการปฏิบัติตามกำหนดการสอนที่มี รายละเอยี ดของสื่อการสอน ใบงาน ใบความรู้ บนเว็บไซต์ www.dltv.ac.th ๒) ขน้ั การจัดการเรยี นรู้ (๑) สร้างการมสี ่วนรว่ มของนักเรียนในการทำกิจกรรม เชน่ กระต้นุ ให้นักเรยี นคิด ตอบคำถาม ของครูต้นทาง ฟังเฉลยและช่วยเสริม/อธิบาย/ในสิ่งท่ีนักเรียนยังไม่เข้าใจ ชมเชย/ให้กำลังใจหากนักเรียน ทำได้ดี (๒) ให้ความช่วยเหลือนักเรียนท่ีตามไม่ทัน เช่น อธิบายเพิ่มเติมเพื่อให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ ต่อไปอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ (๓) กำกบั ดแู ลให้มีวินยั ในการเรียน เชน่ ไม่เล่นหรอื พูดคุยกนั ปฏบิ ัติตามคำส่ังในการทำกิจกรรม ฯลฯ (๔) อำนวยความสะดวกในการเรียนรู้ เช่น จดั เตรยี มส่อื การเรยี นรู้/อปุ กรณ์ (๕) สังเกตพฤติกรรมนักเรียน เช่น คุณลักษณะผู้เรียน สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน การจัดการเรียนรู้/การปฏิบัติงาน ความรู้ในบทเรียน และบันทึกข้อมูลตามแนวทางประเมินที่แนะนำไว้ใน แผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อนำข้อมูลไปพัฒนานักเรียนและให้ความช่วยเหลือนักเรียนทั้งช้ัน/กลุ่ม/รายบุคคล ตามกรณี ๓) ขน้ั การปฏบิ ัติ (๑) ทบทวนขั้นตอนการทำกิจกรรมตามท่ีครูต้นทางแนะนำ และตามข้อแนะนำการปฏิบัติ ทรี่ ะบุใน PowerPoint ตรวจสอบความเขา้ ใจ และเตรยี มนักเรียนก่อนทำกิจกรรม (การแบ่งกลุม่ ฯลฯ) (๒) กำกบั ใหก้ ารทำกิจกรรมเป็นไปตามลำดบั เวลาตามแนวทางทรี่ ะบุบน PowerPoint (๓) ใหค้ วามช่วยเหลอื นักเรยี นในระหว่างการทำกจิ กรรม (๔) เตรียมพร้อมนักเรียนสำหรับกิจกรรมในข้ันตอนสรุปการเรียน (ถ้ามี) เช่น การสรุปผล ปฏบิ ตั ิงานเพือ่ เทยี บเคียงกบั ผลงานทนี่ กั เรียนตน้ ทางจะนำเสนอ เป็นต้น

คำช้แี จงรายวิชาสงั คมศึกษา กลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๑๑ ๔) ขน้ั สรปุ (๑) กำกบั นกั เรียนใหม้ ีสว่ นร่วมในการเฉลยใบงาน/สรปุ ผลการทำกิจกรรม ฯลฯ (๒) ทบทวนประเด็นสำคัญท่ีมีการสรุปท้ายช่ัวโมง และงาน/ใบงานที่ครูต้นทางมอบหมายให้ ทำเปน็ การบา้ น/หรือใบงานท่คี รูปลายทางไดเ้ ลอื กมาใช้กับช้นั เรยี นของตน (๓) จัดให้นักเรียนได้ทำแบบประเมินตามระบุในหัวข้อ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ (เฉพาะหลงั จบแตล่ ะหนว่ ยการเรียนรู้และครึ่ง/ปลายภาคเรยี น) ๕) การบันทึกผลหลงั สอน (๑) บันทึกการจัดการเรียนรู้ของตนเอง โดยใช้ข้อมูลจากแบบสังเกตพฤติกรรมผู้เรียน ระหว่างเรียน และแบบประเมินตนเอง บันทึกการเรียนรู้ของนักเรียนเพ่ือวิเคราะห์เทคนิค หรือวิธีการใด ท่ีทำให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม มีความรู้ มีทักษะ และคุณลักษณะตามจุดประสงค์ (๒) บันทึกสาเหตุของความสำเร็จ อุปสรรค และ/หรือข้อจำกัดที่เกิดขึ้น เช่น เทคนิค หรือวิธีการใด การบริหารจัดการชั้นเรียน การจัดบรรยากาศ สิ่งแวดล้อมอย่างไร ฯลฯ ที่ทำให้ผู้เรียน มีส่วนร่วม มีความรู้ มีทักษะ และคุณลักษณะตามจุดประสงค์ โดยใช้คำถามที่ให้ ไว้ใน “คำถามบันทึก ผลหลังสอนสำหรับครูปลายทาง” (ดูภาคผนวก ค.) เป็นแนวทางในการย้อนคิด ไตร่ตรองสิ่งที่เกิดขึ้น และนำไปบันทึกผลหลังสอนของชั่วโมงนั้น (๓) วิเคราะห์และสรุปผลจากข้อมูลตามปัญหา/ความสำเร็จท่ีเกิดขึ้น และเสนอแนวทาง การปรับปรุง เพ่ือนำมาพัฒนาการจัดการเรียนรู้ และช่วยเหลือ/ส่งเสริมนักเรียนในการจัดการเรียนรู้ในคร้ัง ต่อไป รวมท้ังนำไปใช้เป็นขอ้ มลู เพ่ือพฒั นาเปน็ งานวจิ ัยในชัน้ เรียนตอ่ ไป

๑๒ ค่มู ือครแู ละแผนการจัดการเรียนรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ ๑ (สงั คมศกึ ษา ป.๕) คำอธบิ ายรายวชิ าพ้นื ฐาน รหสั วิชา ส๑๕๑๐๑ ชือ่ วชิ าสงั คมศกึ ษา กล่มุ สาระการเรียนรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๕ เวลา ๑๒๐ ชว่ั โมง ศึกษาความสําคัญของพระพทุ ธศาสนาหรือศาสนาทีต่ นนบั ถอื พุทธประวตั ิ พทุ ธกจิ สําคัญ หรอื ประวตั ิ ศาสดาท่ีตนนับถือ เห็นคุณค่า และประพฤติตนตามแบบอย่างการดําเนินชีวิต และข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก ศาสนิกชนตัวอย่างองค์ประกอบ และความสําคัญของพระไตรปิฎกหรือคัมภีร์ของศาสนาที่ตนนับถือ การแสดงความเคารพพระรัตนตรัยและปฏิบัติตามไตรสิกขา และหลักธรรมโอวาท ๓ ในพระพุทธศาสนาหรือ หลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ การจัดพิธกี รรมตามศาสนาที่ตนนับถืออย่าง เรียบง่าย มีศาสนพิธี พิธีกรรม และวันสําคัญทางศาสนา และอภิปรายประโยชน์ท่ีได้รับจากการเข้าร่วม กิจกรรม มีมารยาทของความเปน็ ศาสนิกชนที่ดี สถานภาพ บทบาท สิทธเิ สรีภาพและหน้าท่ีในฐานะพลเมืองดี เสนอวิธีการปกป้องคุ้มครองตนเองหรือผู้อ่ืน จากการละเมิดสิทธิเด็ก วัฒนธรรมไทยที่มีผลต่อการดําเนินชีวิต ในสังคมไทย ในการอนุรักษ์และเผยแพร่ภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ ของชมุ ชน โครงสร้างอํานาจ หน้าท่ีและความสําคัญ ของการปกครองส่วนท้องถ่ินระบุบทบาทหน้าที่ และวิธีการเข้าดํารงตําแหน่งของผู้บริหารท้องถิ่น ประโยชน์ที่ ชุมชนจะได้รับจากองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ปัจจัยการผลิตสินค้าและบริการแนวคิดของปรัชญาขอ ง เศรษฐกจิ พอเพยี งในการทํากิจกรรมต่าง ๆ ในครอบครัว โรงเรยี นและชมุ ชน หลักการสาํ คัญและประโยชน์ของ สหกรณ์ บทบาทหน้าที่เบ้อื งต้นของธนาคาร จําแนกผลดผี ลเสียของการกู้ยมื ตําแหน่ง (พิกัดภูมิศาสตร์ละติจูด ลองจิจูด) ระยะ ทิศทางของภูมิภาคของตนเอง ลักษณะภูมิลักษณ์ท่ีสําคัญในภูมิภาคของตนเองในแผนท่ี ความสัมพันธ์ของลักษณะทางกายภาพกบั ลกั ษณะทางสังคมในภมู ภิ าคของตนเอง สภาพแวดล้อมทางกายภาพ ท่ีมีอิทธิพลต่อลักษณะการต้ังถิ่นฐานและการย้ายถิ่นของประชากรในภูมิภาค อิทธิพลของสิ่งแวดล้อมทาง ธรรมชาติที่ก่อให้เกิดวิถีชีวิตและการสร้างสรรค์วัฒนธรรมในภูมิภาค ผลจากการรักษาและการทําลาย สภาพแวดลอ้ มและการรักษาสภาพแวดลอ้ มในภูมภิ าค โดยใช้กระบวนการสืบสอบทางสังคม การฝึกด้านทักษะกระบวนการคิด การแก้ปัญหาการเรียนรู้ การจัดการและการปฏิบัติการสืบค้น กระบวนการกลุ่ม การอภิปราย บทบาทสมมุติ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความคิด เรียนรู้อย่างมีความสุขและเห็นคุณค่าของการนําความรู้ไปใช้ ประโยชน์ในการดําเนินชีวิต เป็นพลเมืองดีของประเทศชาติและสังคมโลก มีวินัย ซื่อสัตย์สุจริต อยู่อย่าง พอเพียง เหน็ คณุ ค่าของการนําความรู้ไปใชป้ ระโยชนใ์ นการดาํ เนินชีวติ รหัสตัวชวี้ ัด ส ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗ ส ๑.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓ ส ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔ ส ๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓

คำชี้แจงรายวิชาสังคมศกึ ษา กลุม่ สาระการเรียนรูส้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๑๓ ส ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓ ส ๓.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒ ส ๕.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒ ส ๕.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓ รวมทง้ั หมด ๒๗ ตวั ชวี้ ัด

๑๔ คมู่ อื ครแู ละแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ ๑ (สงั คมศึกษา ป.๕) มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชีว้ ดั กล่มุ สาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม รหสั วชิ า ส๑๕๑๐๑ รายวชิ าสงั คมศกึ ษา จำนวน ๖๐ ชัว่ โมง ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ สาระท่ี ๓ : เศรษฐศาสตร์ มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ส ๓.๑ เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภคการใชท้ รัพยากร ท่ีมี อยู่จำกัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือการดำรงชีวิต อยา่ งมดี ลุ ยภาพ ตวั ช้วี ดั ป.๕/๑ อธิบายปัจจัยการผลติ สินค้าและบริการ ป.๕/๒ ประยกุ ต์ใชแ้ นวคิดของปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงในการทำกิจกรรมตา่ ง ๆ ในครอบครัว ป.๕/๓ อธิบายหลกั การสำคัญและประโยชน์ของสหกรณ์ มาตรฐาน ส ๓.๒ เขา้ ใจระบบ และสถาบนั ทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพนั ธท์ างเศรษฐกจิ และความจำเป็น ของการรว่ มมอื กันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก ตวั ช้วี ัด ป.๕/๑ อธิบายบทบาทหนา้ ท่เี บอ้ื งตน้ ของธนาคาร ป.๕/๒ จำแนกผลดแี ละผลเสยี ของการก้ยู มื สาระที่ ๒ : หน้าท่พี ลเมอื ง วฒั นธรรม และการดำเนนิ ชีวติ ในสงั คม มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐานส ๒.๑ เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าท่ีของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมท่ีดีงามและธำรงรักษา ประเพณแี ละวฒั นธรรมไทย ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันในสงั คมไทยและสังคมโลกอยา่ งสันตสิ ขุ ตวั ชี้วดั ป.๕/๑ ยกตัวอยา่ งและปฏิบัตติ นตามสถานภาพ บทบาท สทิ ธิเสรีภาพ และหน้าท่ีในฐานะพลเมืองดี ป.๕/๒ เสนอวธิ ีการปกปอ้ งคุม้ ครองตนเองหรอื ผ้อู น่ื จากการละเมิดสทิ ธเิ ดก็ ป.๕/๓ เห็นคุณค่าวัฒนธรรมไทยทมี่ ผี ลตอ่ การดำเนนิ ชวี ติ ในสังคมไทย ป.๕/๔ มีสว่ นรว่ มในการอนุรักษแ์ ละเผยแพร่ภมู ิปญั ญาทอ้ งถิน่ ของชมุ ชน มาตรฐาน ส ๒.๒ เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธาและธำรงรักษา ไว้ซึ่ง การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุข ตัวชว้ี ดั ป.๕/๑ อธบิ ายโครงสร้าง อำนาจ หนา้ ท่แี ละความสำคญั ของการปกครองสว่ นท้องถิ่น ป.๕/๒ ระบบุ ทบาทหน้าท่ี และวธิ กี ารเขา้ ดำรงตำแหนง่ ของผ้บู ริหารท้องถิน่ ป.๕/๓ วิเคราะหป์ ระโยชนท์ ี่ชมุ ชนจะไดร้ ับจากองค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน

โครงสรา้ งรายวชิ าสังคมศึกษา กลุม่ สาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๑๕ โครงสรา้ งรายวชิ าสงั คมศกึ ษา รหสั วชิ า ส๑๕๑๐๑ รายวชิ า สงั คมศกึ ษา ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ รวมเวลา ๕๗ ชว่ั โมง หน่วย ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด เวลา น้ำหนกั ที่ เรียนรู้/ตัวชว้ี ดั (ช่วั โมง) คะแนน ๑ นวตั วถิ สี ู่เศรษฐกจิ ส ๓.๑ ป.๕/๑ การจดั การทรพั ยากรใน ๒๐ ๑๘ ชมุ ชน ป.๕/๒ การผลิตสินค้าและบริการ ป.๕/๓ การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างมี ประสทิ ธภิ าพและคุ้มคา่ ก า ร น ำ ห ลั ก ก า ร เศ ร ษ ฐ กิ จ พอเพียงและสหกรณ์ไปใช้ใน ชีวิต ประจำวัน เพื่อการดำรง ชวี ติ อยา่ งมดี ุลยภาพ ๒ การเงนิ และการ ส ๓.๒ ป.๕/๑ การสร้างความเข้มแข็งให้ ๑๐ ๙ ธนาคาร ป.๕/๒ ชุมชน โดยการรวมกลุ่มทาง เศ รษ ฐกิ จ ภ าย ใน ท้ อ งถิ่ น ประกอบอาชีพ ผลิตสินค้า และบริการต่าง ๆ ในแต่ละ ชุมชนนั้น ต้องมีความสัมพันธ์ กันระหว่างผู้ผลิต ผู้บริโภค ธนาคารและรัฐบาล ๓ วฒั นธรรมต่อการ ส ๒.๑ ป.๕/๓ วัฒนธรรมไทยและภูมิปัญญา ๑๐ ๙ ดำเนินชวี ิต ป.๕/๔ ท้องถิน่ มคี วามสำคญั ตอ่ การดำเนินชีวิตในสังคมไทย การอนุรักษเ์ ผยแพรว่ ัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่นจึงเป็น หน้าท่ขี องทุกคนในชมุ ชน ๔ พลเมอื งดี ส ๒.๑ ป.๕/๑ สถานภาพ บทบาทหน้าท่ี ๖ ๕ สิ ท ธิ แ ล ะ เส รี ภ า พ ใ น ฐ า น ะ พลเมืองดี คุณลักษณะของ พลเมืองดี เป็นสิ่งจำเป็นต้องมี ค ว า ม รู้ ค ว า ม เข้ า ใ จ ก า ร อ ยู่ ร่วมกับบุคคลอ่ืนในสังคมเพื่อ การปฏบิ ตั ิตนเป็นสมาชิกท่ดี ี

๑๖ คูม่ อื ครแู ละแผนการจัดการเรียนรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ ๑ (สงั คมศกึ ษา ป.๕) หนว่ ย ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด เวลา นำ้ หนัก ที่ เรียนรู้/ตวั ชว้ี ดั (ชั่วโมง) คะแนน ๕ การปกปอ้ งคุม้ ครอง ส ๒.๑ ป.๕/๒ เด็กทุกคนท่ีเกิดมาย่อมได้รับ ๔ ๓ สทิ ธเิ ดก็ ไทย สิทธิขั้นพ้ืนฐาน การละเมิด สิทธิเด็กทำให้เด็กไม่ได้รับ ๖ ๖ การปกครองสว่ น ส ๒.๒ ป.๕/๑ การพัฒนาให้เจริญเติบโตท้ัง ทอ้ งถ่นิ ป.๕/๒ ทางร่างกาย จิตใจ สังคม ป.๕/๓ และอารมณ์อย่างเหมาะสม ดังนั้นผู้ใหญ่และหน่วยงานท่ี เกี่ยวข้องจึงต้องร่วมมือกัน ปกป้องคุม้ ครองสิทธิเดก็ การปกครองส่วนท้องถ่ิน ๗ เป็นการกระจายอำนาจ การปกครองส่วนกลางไปสู่ ท้องถิ่น ประชาชนในท้องถ่ิน ดำเนินการบริหารตามความ ต้องการของตนเอง การเรยี นรเู้ ก่ยี วกบั เรือ่ ง การปกครองส่วนท้องถ่ินทำ ให้เข้าใจเก่ียวกับการเมือง การปกครองในสังคมปัจจุบัน และสามารถดำเนินชีวิตอยู่ ใน สั งค ม ได้อ ย่างถูกต้ อ ง เหมาะสม และมีความสุข รวมตลอดภาคเรียน ๕๗ ๕o

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี ๑ เร่อื ง นวัตวิถสี ่เู ศรษฐกิจชมุ ชน ๑๗ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๑ นวตั วิถสี ูเ่ ศรษฐกจิ ชมุ ชน

๑๘ คู่มือครูและแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรียนที่ ๑ (สงั คมศกึ ษา ป.๕) หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๑ ชอื่ หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๑ เร่ือง นวัตวิถสี ู่เศรษฐกิจชุมชน รหัสวิชา ส๑๕๑๐๑ รายวิชา สงั คมศึกษา กล่มุ สาระการเรยี นรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๕ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลา ๒๐ ชัว่ โมง ๑. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชว้ี ัด สาระ ๓ เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน ส ๓.๑ เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้ทรัพยากรที่มี อยู่จำกัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดำรงชีวิต อยา่ งมดี ลุ ยภาพ ตวั ชี้วดั ป.๕/๑ อธบิ ายปัจจยั การผลติ สนิ คา้ และบรกิ าร ป.๕/๒ ประยุกต์ใช้แนวคิดของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการทำกิจกรรมตา่ ง ๆ ในครอบครัว โรงเรียน และชุมชน ป.๕/๓ อธบิ ายหลกั การสำคญั และประโยชน์ของสหกรณ์ ๒. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด การจัดการทรัพยากรในการผลิตสินค้าและบริการ การใช้ทรัพยากรท่ีมีอยู่อย่างมีประสิทธิภาพและ คุม้ ค่า การนำหลกั การเศรษฐกิจพอเพียงและสหกรณ์ไปใช้ในชีวติ ประจำวัน เพือ่ การดำรงชีวิตอย่างมดี ลุ ยภาพ ๓. สาระการเรยี นรู้ ความรู้ ๑. ความหมายของการผลติ สินคา้ และบริการไดถ้ ูกต้อง ๒. เทคโนโลยีการผลติ สนิ คา้ และบรกิ าร ๓. ประโยชนข์ องการผลิตสินคา้ และบรกิ ารทม่ี คี ุณภาพไดถ้ กู ต้อง ๔. แนวคดิ ของเศรษฐกจิ พอเพียง ๕. หลกั การของเศรษฐกจิ พอเพียง ๖. หลักการและประโยชน์ของสหกรณ์ ๗. ประเภทของสหกรณ์ ๘. การผลิตสนิ คา้ และบริการที่มอี ยู่ในท้องถ่นิ ๙. สามารถอธบิ ายปจั จัยท่ีต้องมีผบู้ ริโภคได้ ๑๐. สามารถประยุกตใ์ ชแ้ นวคดิ ในครอบครัว โรงเรยี น และชมุ ชนได้

หน่วยการเรียนรทู้ ่ี ๑ เรอื่ ง นวัตวิถสี เู่ ศรษฐกจิ ชุมชน ๑๙ ทกั ษะ/กระบวนการ ๑. นำความรู้เร่ืองปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ให้เกิดในชีวิตประจำวัน เช่น การทำบัญชี รายรับรายจา่ ย ๒. ออกแบบสนิ ค้าและบริการได้สอดคล้องกบั ทรพั ยากรในท้องถิ่น ๓. นกั เรยี นสามารถจำแนกประเภทของการผลิตสินค้าและบริการได้ ๔. นกั เรยี นสามารถบอกเทคโนโลยกี ารผลติ สนิ ค้าและบรกิ ารได้ ๕. สามารถบอกประโยชนก์ ารผลติ สินค้าและบรกิ าร ๖. นำความรู้บทบาทผ้บู ริโภคมาปรบั ใช้ ๗. วิเคราะหห์ ลักการและประโยชนข์ องสหกรณ์ เจตคติ ๑. เหน็ ประโยชนข์ องสนิ ค้าท่ีเกิดขน้ึ ในทอ้ งถิ่นและนำมาปรบั ใช้ใหเ้ กิดประโยชน์ ๒. ตระหนักถงึ คุณค่าความพอเพยี งและการประยกุ ตใ์ ชใ้ นครอบครัว ชุมชน และโรงเรยี น ๓. การนำไปประยุกต์ใชข้ องสหกรณ์ ๔. เหน็ ประโยชนข์ องสินคา้ และบริการตา่ ง ๆ ๕. ตระหนักถงึ ปจั จัยในการเลอื กซอื้ สนิ คา้ และบริการ ๖. ตระหนักถงึ บทบาทการบรโิ ภค ๗. ตระหนักถงึ การใชช้ ีวิตแบบพอเพียงและเดินทางสายกลาง ๔. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น ๑. ความสามารถในการสอ่ื สาร ๒. ความสามารถในการคิด ๓. ความสามารถในการแกป้ ญั หา ๔. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต ๕. คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ๑. ซอ่ื สัตย์ สุจรติ ๒. มวี ินยั ๓. ใฝเ่ รียนรู้ ๔. อยู่อยา่ งพอเพียง ๕. มุง่ มั่นในการทำงาน ๖. มจี ิตสาธารณะ

๒๐ คมู่ ือครแู ละแผนการจดั การเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี ๑ (สงั คมศกึ ษา ป.๕) ๖. การประเมนิ ผลรวบยอด ชิ้นงานหรือภาระงาน ๑. ใบงานที่ ๑ เรอื่ ง เทคโนโลยกี ารผลิตสนิ ค้าและบรกิ าร ๒. ใบงานที่ ๒ เรอ่ื ง ประโยชนข์ องการผลิตสินค้าและบรกิ าร ๓. ใบงานที่ ๓ เรอ่ื ง การรวมกลุ่มการผลิตสนิ ค้าและบริการในชมุ ชน หรอื ทอ้ งถน่ิ ๔. ใบงานที่ ๔ เรอื่ ง ปจั จัยทม่ี ผี ลตอ่ การผลิตและเลอื กซ้อื สินคา้ และบรกิ าร ๕. ใบงานที่ ๕ เรอื่ ง ปจั จยั ในการเลอื กสนิ ค้าบรโิ ภค ๖. ใบงานที่ ๖ เรอ่ื ง ปจั จยั ทเ่ี ป็นตวั กำหนดสนิ คา้ และบริการ ๗. ใบงานที่ ๗ เรอ่ื ง บทบาทของผู้บรโิ ภค ๘. ใบงานท่ี ๘ เรอ่ื ง หลักการของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ๙. ใบงานที่ ๙ เรอื่ ง แนวคิดของเศรษฐกจิ พอเพียง ๑๐. ใบงานที่ ๑๐ เรื่อง ครอบครวั พอเพียง ๑๑. ใบงานท่ี ๑๑ เรอ่ื ง โรงเรยี นพอเพยี ง ๑๒. ใบงานที่ ๑๒ เรื่อง ชุมชนพอเพียง ๑๓. ใบงานท่ี ๑๓ เรอ่ื ง วิเคราะห์บทบาทเศรษฐกิจพอเพยี ง ๑๔. ใบงานท่ี ๑๔ เรอ่ื ง วิเคราะห์สถานการณ์สหกรณใ์ นชมุ ชน ๑๕. ใบงานที่ ๑๕ เรอื่ ง ประโยชนท์ ี่เกดิ ข้นึ กับสมาชิก

หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๑ เร่อื ง นวตั วิถีสู่เศรษฐกิจชมุ ชน ๒๑ เกณฑก์ ารประเมินผลชนิ้ งานหรอื ภาระงาน ประเดน็ การ ระดับคณุ ภาพ ประเมนิ ๔ (ดมี าก) ๓ (ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรบั ปรงุ ) ๑. การบรรยาย บรรยายเกี่ยวกบั บรรยายเกี่ยวกับ บรรยายเกย่ี วกับ บรรยายเกี่ยวกับ จดุ ประสงค์ จดุ ประสงค์ใน จุดประสงคใ์ น จดุ ประสงค์ใน จุดประสงค์ใน การสรา้ งสรรค์ การสรา้ งสรรค์ การสร้างสรรค์ การสร้างสรรค์ ผลงาน ได้ถูกตอ้ ง ผลงานได้ถูกตอ้ ง ผลงานได้ถกู ตอ้ ง ผลงานได้ถกู ตอ้ ง ชัดเจน เปน็ สว่ นใหญ่ เปน็ บางส่วน เพียงสว่ นน้อย ๒. ความครอบคลุม การนำเสนอเปน็ การนำเสนอเป็นไป การนำเสนอเปน็ ไป การนำเสนอเปน็ ไป ของเนอื้ หา ไปตามลำดับ ตามลำดับขั้นตอน ตามลำดับขน้ั ตอน ตามลำดบั ข้ันตอน ขนั้ ตอนความ ความถกู ต้องของ ความถูกต้องของ ความถกู ตอ้ งของ ถูกตอ้ งของ เนอ้ื หา ๘๐ % เนือ้ หา ๗๐ % เนือ้ หา ๕๐ % เนอื้ หา ๑๐๐ % ๓. ความสวยงาม ใชเ้ ครื่องหมาย ใชเ้ ครือ่ งหมาย ใช้เครือ่ งหมาย ใชเ้ ครื่องหมาย การตกแตง่ ช้นิ งาน รปู ภาพ สมการ รปู ภาพ สมการ รูปภาพ สมการ รปู ภาพ สมการ สัญลกั ษณแ์ ทนกฎ สญั ลกั ษณ์แทนกฎ สญั ลกั ษณ์แทนกฎ สัญลกั ษณแ์ ทนกฎ ทฤษฎี หลกั การ ทฤษฎี หลกั การ ทฤษฎี หลักการ ทฤษฎี หลกั การ นิยามตา่ ง ๆ ได้ นยิ ามต่าง ๆ ได้ นยิ ามต่าง ๆ ได้ นิยามตา่ ง ๆ ได้ ถกู ต้องและครบถว้ น ถูกต้องแต่ครบถ้วน ถูกตอ้ ง ถกู ต้อง ๔. ความถูกตอ้ ง ใชส้ ีท่ชี ่วยจดจำ ใชส้ ที ี่ช่วยจดจำ ใช้สีทีช่ ่วยจดจำ ไม่ใชส้ ที ี่ชว่ ยจดจำ เพลินตา สเี ดียว เพลินตา สีเดียว เพลินตา สีเดียว เพลินตา สเี ดียว ตลอด แต่ละสีไม่ ตลอด แตล่ ะสีซ้ำกนั ตลอดแต่ละสเี ดยี วกนั ตลอด ซ้ำกัน ๕. ความตรงตอ่ เวลา ส่งงานครบถ้วน ส่งงานครบถ้วนตรง ส่งงานครบถ้วนตรง ส่งงานครบถ้วนตรง ตรงตามเวลาท่ี ตามเวลาท่ีกำหนด ตามเวลาที่กำหนด แต่ช้ากว่ากำหนด กำหนด ๑-๒ วนั ๓-๔ วนั ๕ วันขนึ้ ไป เกณฑ์การตัดสิน คะแนน ๑๖-๒๐ หมายถึง ดมี าก คะแนน ๑๓-๑๕ หมายถงึ ดี คะแนน ๑๐-๑๑ หมายถึง พอใช้ คะแนน ๐-๙ หมายถึง ปรับปรุง เกณฑ์การผ่าน ตง้ั แตร่ ะดับ ๑๐ คะแนน ขน้ึ ไปผา่ น

๒๒ คู่มอื ครแู ละแผนการจดั การเรียนรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ (สงั คมศกึ ษา ป.๕) แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ ๑ เร่อื ง การผลติ สนิ คา้ และบรกิ าร หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๑ เร่ือง นวัตวิถีสเู่ ศรษฐกิจชมุ ชน เวลา ๑ ชั่วโมง กลมุ่ สาระการเรียนร้สู ังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม รายวิชาสงั คมศึกษา ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ ๕ ๑. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชวี้ ดั มาตรฐาน ส ๓.๑ เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้ทรัพยากร ที่มีอยู่จำกัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมท้ังเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจ พอเพียงเพือ่ การดำรงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ ตวั ชว้ี ัด ป.๕/๑ อธบิ ายปจั จัยการผลติ สินคา้ และบรกิ าร ๒. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด การจัดการทรัพยากรในการผลิตสินค้าและบริการ การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างมีประสิทธิภาพและ คุ้มคา่ การนำหลักการเศรษฐกจิ พอเพยี งและสหกรณ์ไปใชใ้ นชีวิตประจำวัน เพอื่ การดำรงชีวติ อยา่ งมีดลุ ยภาพ ๓. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ๓.๑ ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K) - บอกความหมายของการผลติ สินคา้ และบรกิ ารได้ถูกตอ้ ง ๓.๒ ทักษะ/กระบวนการ (P) - จำแนกประเภทของการผลิตสนิ ค้าและบริการได้ ๓.๓ ดา้ นคณุ ลกั ษณะ เจตคติ ค่านิยม (A) - เห็นประโยชนข์ องสนิ คา้ และบรกิ ารต่าง ๆ ๔. สาระการเรยี นรู้ การจัดการทรัพยากรในการผลิตสินค้าและบริการ การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างมีประสิทธิภาพและ คุ้มค่ามากท่ีสุด ๕. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น ๑. ความสามารถในการสอ่ื สาร ๒. ความสามารถในการคิด ๖. คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ๑. ซ่อื สตั ย์ สุจรติ ๒. ใฝเ่ รียนรู้ ๓. มุ่งมน่ั ในการทำงาน ๗. กิจกรรมการเรยี นรู้

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี ๑ เร่อื ง นวัตวถิ สี ่เู ศรษฐกิจชุมชน ลำดบั ที่ ขอบเขตเนอื้ หา/ ขน้ั ตอนการจดั การจดั กจิ กรรมการเรียนร ๑. จุดประสงค์ การเรียนรู้ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๑ เร การเรียนรู้ ขน้ั นำ รายวิชาสงั คมศึกษา เวลา ที่ใช้ กจิ กรรมค ๕ นาที ๑. ครใู ห้นกั เรยี นดูภา - ภาพตกุ๊ ตา - ภาพคนปรงุ อาหาร - ภาพกระเปา๋ - ภาพชา่ งเสริมสวย - ภาพคนลา้ งรถ จากน้นั ให้นักเรียนตอ จากภาพ ๓ คำถาม ๑. นกั เรยี นทราบหรอื และบริการที่อยู่ในรปู อะไรและใครเปน็ ผู้ผลิต เข้าสเู่ นื้อหา

๒๓ รู้ ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๕ รอ่ื ง…การผลติ สนิ คา้ และบริการ จำนวน ๑ ชั่วโมง แนวการจดั การเรียนรู้ การ สื่อการเรยี นรู้ ประเมนิ ครู กิจกรรมนกั เรยี น การเรียนรู้ าพ - นักเรียนเลือกสินค้าจากในภาพท่ีดู PowerPoint ๑ ภาพ (เชฟ) อบคำถาม อไมว่ า่ สนิ ค้า ๑. นักเรียนตอบคำถาม ผู้ผลิตมาจาก ปผลิตมาจาก โรงงาน ตเพอื่ เชอื่ มโยง

๒๔ คูม่ ลำดบั ที่ ขอบเขตเน้อื หา/ ข้ันตอนการจดั เวลา ๒. จุดประสงค์ การเรยี นรู้ ที่ใช้ การเรียนรู้ ขนั้ สอน กิจกรรมค ๑. บอกความหมาย ๒. นักเรียนเคยพบ ของการผลิตสินค้า แบบใดบ้างนอกเห และบรกิ ารได้ถูกตอ้ ง บรกิ ารในลกั ษณะน้ี ๓. เพราะเหตุใดจึงตอ้ สนิ คา้ และบรกิ าร ๒๐ นาที ๑. ครูแบง่ กลมุ่ นักเรีย คน โดยคละตามควา ๒. ครูให้นักเรียนศึก เรอ่ื ง การผลิตสนิ คา้ แ ๓. ครูใหน้ กั เรยี นร่วม สรุปองคค์ วามรทู้ ีศ่ กึ ษ อภปิ รายเพ่มิ เตมิ - ความหมายของการ และบริการ การนำท ปจั จัยการผลิตตา่ ง ๆ

มอื ครูและแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี ๑ (สงั คมศกึ ษา ป.๕) แนวการจดั การเรยี นรู้ สอื่ การเรียนรู้ การประเมิน การเรยี นรู้ ครู กิจกรรมนักเรยี น บการบริการ ๒. นักเรียนตอบคำถามร้านล้าง หนือจากการ รถ โรงพยาบาล ร้านตัดผม ๓. เพื่อตอบสนองความต้องการ องมกี ารผลติ ของมนษุ ย์ใดด้านต่าง ๆ ยนกลุม่ ละ ๔ ๑. นกั เรยี นแตล่ ะกลุม่ - PowerPoint - แบบสงั เกต ามสามารถ กลุ่มละ ๔ คน - ใบความรทู้ ่ี ๑ พฤตกิ รรม กษาใบความรู้ ๒. นักเรียนศึกษาใบความรู้ท่ี๑ - บตั รภาพ การทำงาน และบรกิ าร เรอ่ื ง การผลติ สนิ คา้ และบรกิ าร กลมุ่ มกันอภิปราย ๓. นกั เรยี นสรปุ องคค์ วามรเู้ ปน็ ษามาโดยครู กลุ่ม โดยการสรุปลงในสมดุ รผลติ สนิ คา้ ทรพั ยากรและ ๆ

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ ๑ เร่ือง นวัตวิถีสเู่ ศรษฐกิจชุมชน ลำดับท่ี ขอบเขตเนอื้ หา/ ขัน้ ตอนการจดั เวลา จุดประสงค์ การเรยี นรู้ ที่ใช้ การเรยี นรู้ กิจกรรมค มาประกอบกันเพ่ือใ แ ล ะ บ ริ ก า ร ท่ี ต อ บ ส ตอ้ งการ - การผลิตสินคา้ และบ คำนึงถึงสิง่ ใดบ้าง ทนุ แรงงาน และผปู้ ระกอ ๓. ครถู ามนักเรียนวา่ - เพราะเหตุใดจงึ ตอ้ ง สินค้าและบริการ - สนิ คา้ ประเภทตา่ ง ๆ ใช้ปัจจัยการผลติ ใดบ ๔. ครใู ห้นักเรยี นดภู า บรกิ าร ดงั น้ี

๒๕ แนวการจดั การเรียนรู้ ส่อื การเรยี นรู้ การประเมิน การเรยี นรู้ ครู กิจกรรมนักเรียน ให้เกิดสินค้า สนองความ บริการตอ้ ง - แบบสงั เกต น ที่ดนิ พฤตกิ รรม อบการ การทำงานกลุ่ม า ๓. นกั เรยี นตอบคำถาม งมกี ารผลิต - เพราะมนุ ษย์ ทุ กคนมี ความ ต้องการท่ีแตกต่างกันแต่ละพื้นที่มี ทรัพยากรที่แตกต่างกัน จึงเกิด การผลติ เพ่ือตอบสนอง ๆ สร้างขึ้นโดย - ทนุ ทด่ี ิน แรงงาน และ บา้ ง ผู้ประกอบการ าพสินค้าและ ๔. นกั เรยี นจำแนกประเภทสนิ ค้า และบรกิ ารจากรูปภาพทีค่ รู กำหนดให้

๒๖ ค่มู ลำดับที่ ขอบเขตเนอ้ื หา/ ขั้นตอนการจดั เวลา จดุ ประสงค์ ๓. การเรียนรู้ การเรียนรู้ ที่ใช้ กจิ กรรมคร ๔. ๑. อาหาร ๒. ไปรษณยี ์ ๓. รา้ นสะดวกซื้อ ๔. คอมพวิ เตอร์ ๕. แว่นตา ๖. รีสอรท์ จากนัน้ นกั เรยี นจำแนก สินคา้ และบริการ ขัน้ ปฏิบตั ิ ๑๕ นาที ๑. ครูให้นกั เรยี นทำกจิ เรื่อง การผลิตสนิ ค้าแล (ในรปู แบบแผนผงั ควา ตวั อยา่ งข้ึน PowerPo ข้ันสรปุ ๑๐ นาที ๑. ครูส่มุ ให้นกั เรียนแต สรปุ บทเรยี น เรือ่ ง กา สินค้าและบริการ โดย แผนผังความคดิ

มือครแู ละแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี ๑ (สงั คมศึกษา ป.๕) แนวการจัดการเรยี นรู้ สื่อการเรียนรู้ การประเมิน รู กจิ กรรมนักเรียน การเรยี นรู้ กประเภท จกรรมกลุ่ม ๑. นักเรียนทำกิจกรรมกลุ่มที่แบ่ง PowerPoint - แบบสงั เกต ละบริการ ข้างต้น พฤติกรรมการ ามคดิ ) ครมู ี ทำงานกลุ่ม oint ให้ ต่ละกลมุ่ ๑. นกั เรยี นสรปุ เรือ่ ง การผลิต นำเสนอแผนผงั - แบบประเมนิ ารผลติ สินค้าและบริการ ความคดิ จาก แผนผังความคดิ ยการทำ - หมายถึง การนำทรัพยากรและ การสรปุ ของ - แบบประเมิน ปัจจัยการผลิตสินค้าและบริการที่ นกั เรยี น การนำเสนอ ต้องสนองความตอ้ งการ หนา้ ชัน้ เรียน

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๑ เรอ่ื ง นวตั วถิ ีส่เู ศรษฐกิจชมุ ชน ลำดับท่ี ขอบเขตเนอื้ หา/ ขัน้ ตอนการจดั เวลา จุดประสงค์ การเรียนรู้ ที่ใช้ การเรยี นรู้ กิจกรรมคร ๒. ครูและนักเรียนร บทเรียนกันอกี ครั้ง เรื่อ สินคา้ และบรกิ าร

๒๗ แนวการจัดการเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ การประเมิน การเรียนรู้ รู กจิ กรรมนกั เรียน - การผลติ สินคา้ และบรกิ าร จำเป็นตอ้ งคำนงึ ถงึ ปัจจยั ใด เช่น ทีด่ นิ ทุน แรงงาน ผ้ปู ระกอบการ ร่วมกันสรุป ๒. นักเรียนร่วมกันสรุปบทเร่ือง อง การผลิต การผลติ สนิ คา้ และบรกิ าร

๒๘ คมู่ ือครูและแผนการจัดการเรียนรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ ๑ (สงั คมศกึ ษา ป.๕) ๘. สอ่ื การเรยี นรู้/แหล่งเรยี นรู้ ๑. PowerPoint เรอ่ื ง การผลติ สนิ ค้าและบรกิ าร ๒. ใบความรทู้ ่ี ๑ เรื่อง การผลิตสนิ ค้าและบริการ ๓. บตั รภาพ ๙. การประเมนิ ผลรวบยอด ชนิ้ งานหรอื ภาระงาน ประเดน็ การวัดและ วิธกี าร เครอ่ื งมอื เกณฑ์การประเมนิ ประเมนิ ผล ทักษะ (P) - จำแจกประเภทของการ - แบบสังเกตพ ฤติกรรม ผ่านเกณฑ์ประเมิน ความรู้ (K) ผลติ สนิ คา้ และบริการได้ การทำงานกลุ่ม รอ้ ยละ ๖๐ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ - ตรวจผงั แผนความคดิ - แบบประเมินแผนผัง ผ่านเกณฑ์ประเมิน ประสงค์ ความคดิ ร้อยละ ๖๐ สมรรถนะสำคัญของ ผู้เรยี น - ประเมนิ ความซือ่ สัตย์ สุจรติ - แบบสังเกตพฤติกรรม ผ่านเกณฑ์ประเมิน ใฝเ่ รยี นรแู้ ละมุ่งม่นั ใน การทำงานกลุ่ม ระดับคณุ ภาพพอใช้ การทำงาน ขึน้ ไป - ประเมินความสามารถใน - แบบสังเกตพฤติกรรม ผ่านเกณฑ์ประเมิน การส่ือสารและความสามารถ การทำงานกลมุ่ ระดับคณุ ภาพพอใช้ ในการคดิ - แบบประเมินแผนผงั ขึน้ ไป ความคดิ - แบบประเมินการนำเสนอ หนา้ ชน้ั เรียน

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี ๑ เรอื่ ง นวัตวถิ สี ู่เศรษฐกิจชมุ ชน ๒๙ ๑๐. บนั ทึกผลหลงั สอน ผลการจัดการเรยี นการสอน ……………………………………………………………………………………….……………………..………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ความสำเร็จ หรือปัญหาและอุปสรรค ……………………..……………..…………………………………….......................................................................................... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ขอ้ จำกัดการใช้แผนการจดั การเรียนรู้ และข้อเสนอแนะ/แนวทางการปรับปรุงแก้ไข ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………..……… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………..……… ลงชือ่ …………………………………ผสู้ อน (………………..……………….) วันท…่ี …….เดือน……………..….พ.ศ.…………. ๑๑. ความคิดเหน็ /ข้อเสนอแนะของผู้บรหิ ารหรือผ้ทู ี่ไดร้ ับมอบหมาย ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอ่ื …………………………………ผู้ตรวจ (……………………………………..) วันท…ี่ …….เดือน………………….พ.ศ.………….

๓๐ ค่มู อื ครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ ๑ (สงั คมศกึ ษา ป.๕) ใบความรทู้ ี่ ๑ เร่อื ง การผลติ สนิ คา้ และบริการ หน่วยการเรียนร้ทู ี่ ๑ เร่ือง นวตั วถิ สี เู่ ศรษฐกิจชมุ ชน แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ ๑ เร่ือง การผลิตสินค้าและบรกิ าร รายวิชาสงั คมศึกษา รหัสวชิ า ๑๕๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๕ ใบความรู้ การผลิตสนิ คา้ และบรกิ าร การผลิต หมายถึง การแปรสภาพทรัพยากรท่ีมีอยู่อย่างจํากัด ให้เกิดประโยชน์เป็นสินค้าหรือบริการ เพอ่ื ตอบสนองความต้องการมนษุ ย์ ในการดำเนินการผลิตนั้น ผู้ผลิตสามารถดำเนินการผลิตเพ่ือให้เกิดมูลค่าเพ่ิมโดยสร้างประโยชน์ใน ลักษณะตา่ ง ๆ ดงั นี้ ๑. การทําให้ผลผลิตมีมูลค่าเพิ่มด้วยวิธีแปรรูปเป็นวิธีการนําผลผลิตมาเปลี่ยนแปลงรูปแบบ ทําให้ สินค้ามีมูลค่าเพิ่มขึ้น เช่น การทําสวนกล้วยน้ำว้า เพ่ือนํากล้วยมาแปรรูปทําเป็นกล้วยตาก กล้วยอบน้ำผ้ึง ซ่ึง ทาํ ใหเ้ ก็บไวไ้ ดน้ านและนําไปขายไดร้ าคาเพ่ิมขนึ้ ๒. การทําให้ผลผลิตมีมูลค่าเพ่ิมโดยการเปล่ียนแปลงสถานที่เป็นการนําสินค้าและบริการจากแหล่ง ผลิตไปสู่ผู้บริโภคสามารถเลือกซื้อได้อย่างสะดวกสบาย เช่น ผู้ขายเส้ือผ้าไปซ้ือเส้ือผ้าจากตลาดประตูน้ ำ ในราคาตวั ละ ๑๒๐ บาท แล้วนํามาวางขายที่บา้ นในราคาตัวละ ๑๙๙ บาท ทําให้ผลผลติ มีมลู คา่ เพมิ่ ขน้ึ ๓. การทําให้ผลผลิตมีมูลค่าเพิ่มโดยใช้ช่วงเวลาท่ีต่างกันเป็นวิธีการทําให้ผลผลิตหรือสินค้าต่าง ๆ มีประโยชน์เพ่ิมมากขึ้น เช่น การนําโทรศัพท์เคลื่อนท่ีที่มีรูปลักษณ์แปลกแตกต่างกับย่ีห้ออื่น ๆ ออกมาวาง จําหน่ายเปน็ รายแรก ซ่งึ ทาํ ให้สินคา้ มีราคาแพงกว่าสินค้าชนดิ เดยี วกันทวี่ างจาํ หนา่ ยอยใู่ นขณะนน้ั ๔. การทําให้ผลผลิตมีมูลค่าเพ่ิมโดยการให้บริการเพิ่มเติมเป็นวิธีเพิ่มการบริการเป็นพิเศษ เพ่ือทําให้ ผู้บริโภคได้รับความสะดวกสบายมากขึ้น เช่น การขายรถยนต์พร้อมกับมอบกรรมสิทธิ์ในการเรียนขับรถกับ โรงเรียนสอนขบั รถยนตซ์ ึ่งมบี ริการนาํ ไปทาํ ใบขบั ขี่พร้อม เป็นตน้ ดังนั้น หากผู้ผลิตรู้จักสร้างประโยชน์ให้กับผลผลิตของตนเองในลักษณะต่าง ๆ เหล่านี้ก็จะทําให้ ผลผลติ มมี ลู ค่าเพ่ิมขึ้นได้ แหลง่ ที่มา : ชุดเอกสารสื่อ ๖o พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี

หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี ๑ เรอ่ื ง นวัตวิถีสู่เศรษฐกิจชุมชน ๓๑ แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุ่ม คำชี้แจง : ให้ครูผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ ลงใน ชอ่ งทต่ี รงกบั ระดับคะแนน ความ การแสดง การรบั ฟัง ความตง้ั ใจ การแกไ้ ข/ รวม ที่ ชอ่ื –นามสกลุ รว่ มมือทำ ความ ความ ในการ ปรบั ปรุง ๑๕ กิจกรรม คดิ เหน็ คิดเหน็ ทำงาน ผลงานกลุ่ม คะแนน ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑๓๒๑ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑o เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ลงช่ือ...................................................ผปู้ ระเมนิ ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสม่ำเสมอ ............../.................../................ ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมบ่อยคร้ัง ปฏิบตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมบางคร้งั ให้ ๓ คะแนน ให้ ๒ คะแนน ให้ ๑ คะแนน เกณฑ์การตดั สนิ ใจ ระดับคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ดี ๑๒–๑๕ พอใช้ ๘–๑๑ ปรบั ปรุง ตำ่ กว่า ๘

๓๒ ค่มู ือครูและแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรียนที่ ๑ (สงั คมศกึ ษา ป.๕) แบบประเมนิ แผนผงั ความคิด (ป.๔-๖) เกณฑ์ ระดับคณุ ภาพ การประเมิน ดมี าก (๔) ดี (๓) พอใช้ (๒) ปรับปรุง (๑) ขอ้ มูลขาดความ ๑. เน้อื หา ข้อมูลครบถ้วนทุก ขอ้ มลู ถกู ตอ้ ง ขอ้ มูลค่อนขา้ ง ถูกต้อง ลำดบั ความคดิ วกวนและ ประเดน็ มคี วาม สมบูรณ์ เรียงลำดับ ครบถ้วน แตย่ งั ขาด ขาดความต่อเนื่อง สัมพนั ธก์ ัน หลากหลาย ถกู ตอ้ ง ความคดิ ก่อนหลัง ความสมบรู ณ์ ลำดับ รูปแบบประเด็นขาด สมบูรณ์ ชดั เจน ไม่วกวนต่อเน่อื ง ความคิดก่อนหลัง องคป์ ระกอบของ แผนทคี่ วามคดิ เรียงลำดับความคิด สัมพันธก์ ัน วกวนหรือขาดความ มากกว่า ๒ ประเด็น กอ่ นหลัง ไม่วกวน ตอ่ เนอ่ื งสมั พนั ธก์ นั ขาดความสวยงาม ลายมอื ไม่เปน็ ต่อเน่อื งสมั พันธก์ นั ระเบียบ ขีดฆา่ ๒. รปู แบบ รปู แบบของแผนภาพ รปู แบบของแผนภาพ รูปแบบประเดน็ ขาด สง่ ชน้ิ งานไม่ทัน กำหนดต้ังแต่ ๒ วนั มคี วามคิดประเดน็ มีความคิดประเด็น องค์ประกอบของ ขึ้นไป หลัก ประเดน็ รอง หลกั ประเดน็ รอง แผนผังความคดิ และประเดน็ ย่อย และประเดน็ ๑-๒ ประเดน็ อย่างชดั เจนเข้าใจง่าย ๓. ความ สวยงามและมคี วาม สวยงามนำเสนอ สวยงาม ลายมอื เปน็ สวยงาม คดิ สรา้ งสรรค์ รปู แบบนา่ สนใจ ระเบยี บ สะอาด สร้างสรรค์ นำเสนอรปู แบบ ลายมือสวยงามเปน็ แปลกใหม่ ลายมอื ระเบยี บ อา่ นงา่ ย สวยงามเป็นระเบียบ สะอาด ผลงานเป็น อา่ นงา่ ย สะอาด ตน้ แบบได้ ผลงานเปน็ ตน้ แบบได้ ๔. เวลา ส่งชิ้นงานก่อนเวลาที่ ส่งช้นิ งานภายใน สง่ ช้ินงานไม่ทนั กำหนด เวลากำหนด กำหนด ๑ วัน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน หมายถงึ ดีมาก คะแนน ๑๔-๑๖ คะแนน หมายถงึ ดี คะแนน ๑๑-๑๓ คะแนน หมายถงึ พอใช้ คะแนน ๘-๑๐ คะแนน หมายถงึ ปรบั ปรุง คะแนน ๑-๗ คะแนน เกณฑ์การผา่ น ตง้ั แต่ ๘ คะแนน ขึน้ ไป

หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ ๑ เรอ่ื ง นวตั วิถีสเู่ ศรษฐกิจชุมชน ๓๓ แบบประเมนิ การนำเสนอหน้าชนั้ เรยี น เกณฑ์ ระดบั คณุ ภาพ การประเมิน ดีมาก (๔) ดี (๓) พอใช้ (๒) ปรับปรุง (๑) ติดขัด หยุดชะงักใน ๑. การถา่ ยทอด คล่องแคล่วไมต่ ดิ ขดั คล่องแคลว่ ไมต่ ิดขดั ไมค่ ลอ่ งแคล่วมีการ หลายจังหวะ พูดเร็ว หรือช้าเกนิ ไป เน้ือหา ทำใหเ้ ขา้ ใจประเดน็ ทำใหเ้ ข้าใจประเด็น หยดุ ชะงักบา้ ง ก้มหน้าไม่สบตาและ ไดง้ า่ ยและเร็ว การพูด ไดง้ ่าย การพดู มีการ บางครงั้ จังหวะพดู นำ้ เสยี งส่นั และเบา มกี ารเวน้ จงั หวะและ เวน้ จังหวะอย่าง ช้าจบั ประเดน็ ไม่ได้ ไมใ่ ชภ้ าษากาย สื่อสาร เน้นคำ เน้นสาระ เหมาะสม ความเรว็ ใช้เวลาในการนำ สำคญั อย่างเหมาะสม ในการพูดอยใู่ น เสนอเกินเวลาท่ี กำหนด มากกวา่ เพอ่ื ให้ผฟู้ ังติดตาม ระดับเหมาะสม ๕ นาทขี ้ึนไป การนำเสนอ ความเรว็ ในการพดู อย่ใู น ระดับเหมาะสม ๒. บุคลกิ ภาพ มีความมนั่ ใจ สบ สบสายตาผู้ฟงั สบสายตาผูฟ้ ังนอ้ ย สายตาผฟู้ ังตลอด พอสมควร นำ้ เสียง น้ำเสียงสน่ั ขาด เวลาเพ่ือดงึ ดูดให้ สะทอ้ นถึงความ ความมน่ั ใจ เสียง ผู้ฟังสนใจในเนอ้ื หา มัน่ ใจ เสยี งดัง เบาและดงั สลบั ไป ที่ถา่ ยทอด เสยี งดงั พอเหมาะ พอเหมาะ ๓. การใช้ภาษา คลอ่ งแคล่ว เชน่ ยก แสดงกรยิ าทา่ ทาง ใช้ภาษากายสอ่ื สาร กายในการส่ือสาร มือ/ผายมือ แสดง ประกอบการ นอ้ ยครงั้ กรยิ าทา่ ทางประกอบ นำเสนอพอสมควร การนำเสนอเพื่อ ดึงดูดความสนใจ ๔. ความ ใชเ้ วลาในการนำ ใช้เวลาในการ ใช้เวลาในการ เหมาะสมกบั เสนอเหมาะสม นำเสนอเกนิ เวลาที่ นำเสนอเกินเวลาที่ เวลา กำหนด ๑-๓ นาที กำหนด ๔-๕ นาที เกณฑ์การใหค้ ะแนน ดี คะแนน ๑๔-๑๖ คะแนน หมายถงึ ดี คะแนน ๑๑-๑๓ คะแนน หมายถึง พอใช้ คะแนน ๘-๑๐ คะแนน หมายถึง ปรบั ปรุง คะแนน ๑-๗ คะแนน หมายถงึ เกณฑ์การผ่าน ตัง้ แต่ ๘ คะแนน ขึน้ ไป


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook