Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การวิจัยทางการบริหารการศึกษา

การวิจัยทางการบริหารการศึกษา

Published by supasit.kon, 2022-12-29 03:14:00

Description: การวิจัยทางการบริหารการศึกษา

Search

Read the Text Version

การวิจัยทางการบรหิ ารการศึกษา Research in Educational Administration รองศาสตราจารย์ ดร.สวุ ทิ ย์ ภาณุจารี บัณฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลยั

การวิจยั ทางการบรหิ ารการศึกษา จำ�นวนพมิ พ์ 500 เล่ม จ�ำ นวนพิมพ์ 1,000 เล่ม ผเู้ ขียน: รองศาสตราจารย์ ดร.สวุ ทิ ย์ ภาณุจารี ISBN: 978-616-208-185-9 พิมพ์ครงั้ แรก: พ.ศ. 2562 ปรับปรุงครงั้ ท่ี 1 : พ.ศ. 2563 พิมพค์ รง้ั ที่ 2 : พ.ศ. 2563 สงวนลขิ สิทธติ์ ามกฎหมาย ขอ้ มูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดแหง่ ชาติ National Library of Thailand Cataloging in Publication Data สวุ ทิ ย์ ภาณจุ าร.ี การวจิ ยั ทางการบรหิ ารการศึกษา.-- พิมพค์ รัง้ ท่ี 2.-- นครปฐม : บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวทิ ยาลัย, 2563. 628 หนา้ . 1. การบรหิ ารการศึกษา—วจิ ัย. I. ชือ่ เรอ่ื ง. 371.2 ISBN 978-616-208-185 จ�ำ นวนหนา้ : 628 หนา้ จดั พิมพ์โดย: บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลยั 248 หมู่ 1 ถนนศาลายา-นครชยั ศรี ตำ�บลศาลายา อ�ำ เภอพทุ ธมณฑล จังหวดั นครปฐม 73170 พมิ พท์ ่:ี นติ ิธรรมการพมิ พ์ 76/251-3 หมู่ที่ 15 ต�ำ บลบางมว่ ง อ�ำ เภอบางใหญ่ จงั หวัดนนทบรุ ี 11140 โทร. 0-2403-4567-8, 0-2449-2525, 081-309-5215 E-mail: [email protected], [email protected] ราคา 499 บาท

ก ค�ำน�ำ ต�ำราเร่ือง “การวิจัยทางการบริหารการศึกษา” เล่มน้ี เขียนขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ เพ่ือใช้ประกอบการเรียนการสอนรายวิชาการวิจัยทางการบริหารการศึกษา (Research in Educational Administration) รหัสวชิ า GS 63103 สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย กล่าวคือ เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการวิจัย ทางการบริหารการศึกษา อันจะเป็นประโยชน์ในการท�ำวิจัยตามที่หลักสูตรก�ำหนดได้อย่าง มปี ระสทิ ธภิ าพ เน้ือหาสาระส�ำคญั ในต�ำราเล่มนี้ แบง่ ออกเปน็ 16 บท ได้แก่ บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับ การวจิ ยั ทางการบรหิ ารการศกึ ษา บทที่ 2 การวิจยั เชงิ ปริมาณ บทที่ 3 การวิจยั เชงิ คณุ ภาพ บทที่ 4 การวจิ ัยแบบผสมผสานวิธี บทท่ี 5 การวจิ ยั สถาบนั บทที่ 6 การวิจยั เชงิ นโยบาย บทท่ี 7 การ วจิ ยั เชงิ ปฏบิ ัตกิ ารแบบมสี ว่ นรว่ ม บทที่ 8 การวจิ ยั อนาคต บทที่ 9 การวิจยั และพฒั นา บทท่ี 10 การวจิ ยั ทฤษฎีฐานราก บทที่ 11 การวจิ ัยเชิงประเมิน บทท่ี 12 การวจิ ัยเชงิ ทดลอง บทที่ 13 การ วิจยั เพ่ือพัฒนาโมเดลความสัมพนั ธ์เชิงโครงสร้างของตวั บง่ ช้ี บทท่ี 14 การวิจัยเพือ่ พัฒนาโมเดล สมการโครงสร้าง บทท่ี 15 การวจิ ยั ทางวิทยาศาสตร์กบั การวิจัยทางพระพทุ ธศาสนา และ บทที่ 16 ศาสตร์และหลักธรรมเพื่อการวิจัยทางการบริหารการศึกษา ซึ่งเน้ือหาสาระส�ำคัญท้ัง 16 บท ดังกล่าว เป็นเนื้อหาสาระที่ได้รับการปรับปรุงจากฉบับพิมพ์คร้ังแรกให้มีรายละเอียดครอบคลุม การวิจัยทางการบริหารการศึกษาตามหลักสูตรมากยิ่งข้ึน และเพิ่มกรณีตัวอย่างงานวิจัยทางการ บริหารการศกึ ษาแต่ละประเภทใหไ้ ดศ้ ึกษาอีกด้วย ในการเขียนต�ำราเล่มนี้ ผู้เขียนได้เน้นการถ่ายทอดเนื้อหาสาระส�ำคัญเก่ียวกับ ประเภทและกระบวนการวจิ ยั ทางการบริหารการศกึ ษาทุกขัน้ ตอน รวมทัง้ ศาสตร์ทางการบรหิ าร การศึกษาที่เน้นการผสมผสานองค์ความรู้ในเชิงหลักการ แนวคิด และ/หรือทฤษฎีที่เก่ียวกับ การบริหารงาน การบริหารคน การบริหารองค์การ และภาวะผู้น�ำหรือความเป็นผู้น�ำ ตลอดถึง หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาส�ำหรับการบริหารตนเพื่อ “การครองตน” การบริหารคน เพื่อ “การครองคน” และการบริหารงานเพ่ือ “การครองงาน” ท้ังนี้ เพ่ือให้การท�ำวิจัยมีการ ประยุกต์ใช้ การวิเคราะห์ และการสังเคราะห์ทั้งศาสตร์ทางการบริหารการศึกษาและหลักธรรม ทางพระพุทธศาสนา ซึ่งจะเป็นไปโดยสอดคล้องกับทิศทางหรือปรัชญาของมหาวิทยาลัย คือ “ความเป็นเลิศทางวิชาการตามแนวพระพุทธศาสนา” โดยในการถ่ายทอดเนื้อหาสาระส�ำคัญ ดังกล่าว ผู้เขียนได้อาศัยความรู้และประสบการณ์ด้านการวิจัยท่ีได้รับจากแหล่งต่าง ๆ ไม่ว่าจะ เป็นการประสิทธ์ิประสาทจากคณาจารย์ผู้สอนรายวิชาเกี่ยวกับการวิจัย เช่น รองศาสตราจารย์ ดร.ศิริเดช สุชีวะ คณบดีคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รองศาสตราจารย์ ดร.ทวีวัฒน์ ปิตยานนท์ อดีตรองคณบดีฝ่ายวิจัย คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รองศาสตราจารย์

ข ดร.ประกอบ คุณารักษ์ อดีตคณบดีคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ฯลฯ หรือการ ได้เรียนรู้โดยตรงจากประสบการณ์ต่าง ๆ ได้แก่ ประสบการณ์ในการท�ำวิจัย ประสบการณ์ ในการสอนรายวิชาระเบียบวิธีวิจัยในระดับมหาบัณฑิตและรายวิชาการวิจัยทางการบริหาร การศึกษาในระดับดุษฎีบัณฑิตเป็นเวลาหลายปี ประสบการณ์จากการเป็นอาจารย์ท่ีปรึกษา และกรรมการสอบวิทยานิพนธ์และดุษฎีนิพนธ์ รวมทั้งประสบการณ์จากการได้รับการฝึก อบรมในหลักสูตรวิจัยทางสังคมศาสตร์จากหน่วยงานต่าง ๆ ตลอดจนประสบการณ์จากการ ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากเอกสารวิชาการทางการบริหารการศึกษาท้ังในประเทศและต่างประเทศ ด้วยตนเองอย่างตอ่ เนือ่ ง ผู้เขียนหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ต�ำราเล่มนี้จะเป็นแหล่งความรู้หรือสารสนเทศด้านการวิจัย ทางการบรหิ ารการศกึ ษา ซงึ่ ผสู้ อนและผเู้ รยี นสามารถใชป้ ระกอบการเรยี นการสอนตามหลกั สตู ร ท่ีเน้นการท�ำวิจัยทางการบริหารการศึกษาโดยค�ำนึงถึงการประยุกต์ใช้หลักธรรมทางพระพุทธ ศาสนาเปน็ ฐานประกอบกบั แนวคดิ หรอื ทฤษฎที างการบรหิ ารการศกึ ษาและจะอ�ำนวยประโยชนแ์ ก่ นกั วิชาการ นักวจิ ัย ตลอดถงึ ผู้สนใจทว่ั ไปไดต้ ามสมควร สุวิทย์ ภาณุจารี สาขาวชิ าการบริหารการศกึ ษา บณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั มหามกฏราชวทิ ยาลัย

ค สารบญั หน้า ค�ำน�ำ ก สารบัญ ค สารบญั ตาราง ฒ สารบญั ภาพ ด บทที่ 1 แนวคดิ เกีย่ วกบั การวิจยั ทางการบรหิ ารการศึกษา 1 1.1 ความหมายของการวจิ ยั ทางการบริหารการศึกษา 1 1.2 ลักษณะของการวิจยั ทางการบรหิ ารการศกึ ษา 2 1.3 ขอบขา่ ยของการวจิ ยั ทางการบรหิ ารการศึกษา 2 1. การก�ำหนดขอบขา่ ยโดยยึดทฤษฎ ี 2 2. การก�ำหนดขอบข่ายโดยยดึ แนวปฏบิ ัติ 4 1.4 การวจิ ัยทางการบริหารการศึกษา 5 1. การวจิ ัยเชงิ ปรมิ าณ (Quantitative Research) 5 2. การวิจัยเชิงคณุ ภาพ (Qualitative Research) 6 3. การวิจัยแบบผสมผสานวิธี (Mixed Methods Research) 9 สรปุ ทา้ ยบท 10 11 บทท่ี 2 การวจิ ยั เชิงปรมิ าณ 11 ตอนที่ 2.1 แนวคดิ เกี่ยวกบั การวจิ ยั เชงิ ปริมาณ 11 1. แนวคดิ พืน้ ฐานของการวจิ ยั เชงิ ปริมาณ 12 2. ความหมายของการวิจยั เชิงปริมาณ 13 3. ลกั ษณะส�ำคญั ของการวจิ ัยเชิงปริมาณ 14 ตอนที่ 2.2 ชือ่ เร่อื งและบทน�ำ 14 1. การต้งั ช่อื เรอื่ งวิจยั (Research Title/Topic) 14 2. การก�ำหนดปัญหาการวจิ ัย (Research Problem) 15 3. ปัญหาการวิจัยอยู่ทไ่ี หน 17 4. ลกั ษณะของปญั หาการวจิ ัยทีด่ ี 18 5. ตัวอยา่ งปัญหาการวจิ ัย 18 6. การก�ำหนดเรอ่ื งเพ่อื การท�ำวจิ ัย 18 7. หลกั เกณฑ์การตง้ั ช่อื เร่อื งวิจยั 20 8. ความเปน็ มาและความส�ำคญั ของปัญหา (Background and Significance) 21 9. วตั ถุประสงคก์ ารวิจยั (Research Objectives) 22 10. ค�ำถามการวจิ ัย (Research Questions)

ง 11. สมมตฐิ านการวจิ ยั (Research Hypothesis) 22 12. กรอบแนวคิดการวิจยั (Conceptual Framework) 23 13. ขอบเขตของการวจิ ยั (Scope of Research) 24 14. นิยามศพั ท์เฉพาะ (Definition) 24 15. ประโยชน์ท่ีคาดวา่ จะไดร้ ับ (Expected Results) 25 16. แนวทางการเขียนความเปน็ มาและความส�ำคัญของปัญหา 25 17. ค�ำถามทีผ่ วู้ จิ ยั ต้องตอบ 27 18. ตัวอย่างการเขียนความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา 27 ตอนที่ 2.3 การทบทวนวรรณกรรมที่เกยี่ วขอ้ ง 33 1. ความหมายของการทบทวนวรรณกรรม 33 2. ประโยชน์ของการทบทวนวรรณกรรม 34 3. จดุ เน้นในการทบทวนวรรณกรรม 35 4. การวเิ คราะห์ สังเคราะห์ และสรุปตวั แปรท่ีศกึ ษา 36 5. แนวทางการเขียนรายงานการวิจยั ท่ีไดจ้ ากการทบทวนวรรณกรรม 36 ตอนที่ 2.4 วิธีด�ำเนนิ การวจิ ยั 37 1. ข้นั ตอนการวจิ ยั 37 2. การออกแบบการวจิ ัย 37 3. ประชากรและกล่มุ ตวั อยา่ ง 60 4. เคร่อื งมอื และการสรา้ งเครื่องมอื 61 5. การเกบ็ รวบรวมข้อมลู 63 6. การวิเคราะหข์ ้อมูล 68 7. การแปลความหมาย 68 8. แนวทางการเขยี นรายงานวิธีด�ำเนินการวิจัย 69 ตอนที่ 2.5 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู 72 1. การออกแบบตาราง 72 2. การน�ำเสนอผลการวิเคราะหข์ อ้ มูล 72 3. แนวทางการเขียนรายงานผลการวิเคราะหข์ อ้ มูล 75 4. ตัวอยา่ งการเขยี นรายงานผลการวิเคราะหข์ ้อมูล 75 ตอนท่ี 2.6 การสรุป อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ 82 1. การสรปุ ผลการวจิ ัย 83 2. การอภิปรายผลการวจิ ัย 83 3. การใหข้ อ้ เสนอแนะ 83 4. แนวทางการเขียนรายงานการวิจยั เพอื่ การสรุป อภิปรายผลและเสนอแนะ 83 ตอนที่ 2.7 กรณีตวั อยา่ งงานวจิ ยั เชิงปริมาณ 88 สรปุ ทา้ ยบท 90

บทที่ 3 การวจิ ัยเชงิ คณุ ภาพ จ ตอนท่ี 3.1 แนวคิดเกย่ี วกบั การวจิ ยั เชิงคณุ ภาพ 93 1. ความหมายของการวิจยั เชงิ คณุ ภาพ 93 2. ปรัชญาและแนวคิดทฤษฎีท่มี อี ิทธิพลต่อการวิจัยเชงิ คณุ ภาพ 93 3. วตั ถปุ ระสงคข์ องการวิจยั เชงิ คณุ ภาพ 94 4. พฒั นาการของการวิจยั เชิงคุณภาพ 96 5. ลักษณะของการวจิ ยั เชิงคุณภาพ 98 6. ประเภทของการวิจัยเชงิ คณุ ภาพ 99 7. หวั ใจส�ำคญั ของการวิจัยเชิงคุณภาพ 103 8. การเน้นแบบองคร์ วม 107 9. ขอ้ มลู ของการวิจัยเชงิ คุณภาพ 108 10. การเน้นรังสรรค์วทิ ยา 108 11. การเปรยี บเทียบการวิจยั เชงิ คณุ ภาพกับการวจิ ัยเชงิ ปรมิ าณ 108 12. ระบบคดิ ของการวจิ ยั เชงิ คุณภาพ 108 13. ท�ำไมและเมือ่ ใดควรใช้การวจิ ัยเชงิ คณุ ภาพ 111 ตอนที่ 3.2 ระเบยี บวธิ ีวิจัยเชงิ คณุ ภาพ 112 1. ความยืดหย่นุ 113 2. การจดหรอื เขยี นของนกั วิจยั 113 3. การตคี วามของนกั วจิ ัย 113 ตอนที่ 3.3 กระบวนการที่ส�ำคัญของระเบียบวธิ วี ิจยั เชงิ คณุ ภาพ 114 1. การออกแบบการวจิ ัยเชงิ คุณภาพ 114 2. การเลือกสนามหรือกลมุ่ เปา้ หมายท่ศี กึ ษา 114 3. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 117 4. การวิเคราะห์ข้อมูล 119 ตอนท่ี 3.4 กระบวนการวจิ ัยเชิงคุณภาพในการบริหารการศกึ ษา 140 1. การศกึ ษาประเด็นการวจิ ัย 151 2. การก�ำหนดปัญหาการวจิ ยั 151 3. การก�ำหนดกรอบแนวคิดทฤษฎ ี 152 4. การเลอื กสนามหรอื กลุ่มเป้าหมายทศ่ี กึ ษา 152 5. การเก็บรวบรวมข้อมลู ภาคสนาม 154 6. การวิเคราะหข์ ้อมูล 154 ตอนที่ 3.5 การเขียนรายงานการวจิ ัยเชงิ คุณภาพ 154 ตอนท่ี 3.6 ขอ้ ควรค�ำนงึ ถึงในการวจิ ยั เชิงคณุ ภาพทางการบริหารการศกึ ษา 155 1. คณุ ลกั ษณะทีด่ ีของนักวิจัยเชิงคณุ ภาพ 160 2. จรยิ ธรรมในการวจิ ยั เชิงคณุ ภาพ 160 161

ฉ 163 ตอนท่ี 3.7 กรณีตัวอย่างงานวจิ ัยเชงิ คุณภาพ 166 สรปุ ท้ายบท 169 169 บทท่ี 4 การวิจยั แบบผสมผสานวิธ ี 169 4.1 แนวคดิ เกีย่ วกบั การวจิ ยั แบบผสมผสานวิธี 171 1. ความหมายของการวจิ ัยแบบผสมผสานวิธี 171 2. วิวฒั นาการของการวิจัยแบบผสมผสานวิธี   172 3. วัตถปุ ระสงค์ของการวิจยั แบบผสมผสานวธิ ี 173 4. ลักษณะส�ำคัญของการวิจัยแบบผสมผสานวธิ ี 173 5. ความส�ำคญั ของการวจิ ัยแบบผสมผสานวิธี   180 6. แบบแผนของการวจิ ยั แบบผสมผสานวธิ ี 181 7. ขอ้ จ�ำกดั ในการใชว้ ิธีการวจิ ยั แบบผสมผสานวิธ ี 181 8. เกณฑ์การวดั คณุ ภาพของการวิจยั แบบผสมผสานวธิ ี 183 9. ประเภทของความตรงในการวิจัยแบบผสมผสานวิธี 183 4.2 หน่วยพนื้ ท่ีท่ีศกึ ษา 183 1. ขนาดของหน่วย (Scale) 183 2. หากเป็นโรงเรียนตอ้ ง 30 โรง 183 3. การค้นหาปรากฏการณห์ รือหลักฐานทซ่ี ่อนเรน้ (Tacit knowledge) 183 4.3 หลกั ในการเลอื กแบบการวจิ ยั แบบผสมผสานวิธ ี 183 1. ปฏสิ ัมพนั ธ์ 183 2. น�้ำหนกั 184 3. ช่วงเวลา 184 4. ลกั ษณะการผสมผสาน 184 4.4 ข้นั ตอนการวจิ ยั แบบผสมผสานวธิ ี 184 ข้ันตอนที่ 1 การพิจารณาว่าการวิจยั แบบผสมผสานวิธสี ามารถใชไ้ ด้ 184 ขั้นตอนท่ี 2 การให้เหตุผลในการเลอื กใชก้ ารวจิ ยั แบบผสมผสานวิธี 184 ข้ันตอนท่ี 3 การก�ำหนดยทุ ธศาสตร์ในการเก็บรวบรวมขอ้ มูล 184 ขั้นตอนท่ี 4 การพฒั นาค�ำถามการวจิ ยั 185 ข้นั ตอนที่ 5 การเกบ็ รวบรวมข้อมลู เชงิ ปริมาณและเชงิ คณุ ภาพ 185 ขั้นตอนที่ 6 การวเิ คราะห์ข้อมลู แบบแยกจากกนั หรอื แบบบูรณาการ 185 ขน้ั ตอนที่ 7 การเขยี นรายงาน 194 4.5 กรณตี ัวอยา่ งการวจิ ัยแบบผสมผสานวธิ ี สรปุ ท้ายบท

บทที่ 5 การวจิ ยั สถาบนั ช 5.1 แนวคดิ พน้ื ฐานของการวจิ ัยสถาบนั 197 1. ความหมายของการวจิ ัยสถาบนั 197 2. ลักษณะและเป้าหมายของการวจิ ยั สถาบัน 197 3. ประวัตคิ วามเป็นมาของการวิจัยสถาบนั 198 4. คณุ คา่ ของการวิจัยสถาบนั 198 5. ประเภทของการวิจัยสถาบนั 199 6. แบบของการวจิ ยั สถาบนั 201 5.2 เทคนคิ ของการวจิ ยั สถาบนั 203 1. เทคนิคการวางกลยทุ ธ์ของสถาบัน 204 2. เทคนิคการน�ำกลยทุ ธ์ไปปฏบิ ตั ิ 204 3. เทคนคิ การปรบั ปรงุ ประสิทธิผลของสถาบนั 206 5.3 ระดบั การปฏบิ ตั ขิ องการวจิ ยั สถาบันและกรณีตัวอยา่ ง 208 1. การวจิ ยั สถาบันระดับสถาบันอดุ มศึกษา 209 2. การวจิ ยั สถาบันระดบั โรงเรยี น 209 3. การวจิ ัยสถาบนั ระดบั กลุ่มงานหรอื ปฏบิ ัติการ 211 สรปุ ท้ายบท 212 216 บทที่ 6 การวจิ ัยเชิงนโยบาย 217 6.1 แนวคดิ พ้ืนฐานเกีย่ วกบั นโยบายและการวจิ ัยเชงิ นโยบาย 217 1. ความหมายของนโยบาย 217 2. องค์ประกอบของนโยบาย 218 3. ลักษณะส�ำคัญของนโยบาย 218 4. การพฒั นานโยบาย 219 5. ความหมายของการวจิ ยั เชิงนโยบาย 219 6. พฒั นาการของการวจิ ยั เชิงนโยบาย 220 7. ลกั ษณะส�ำคญั ของการวิจยั เชงิ นโยบาย 221 8. ประเภทของการวจิ ัยเชิงนโยบาย 222 9. กระบวนการจดั ท�ำการวิจยั เชงิ นโยบาย 223 10. ขอบขา่ ยของการวจิ ยั เชงิ นโยบาย 224 11. ประโยชน์ของการวจิ ยั เชิงนโยบาย 225 6.2 การออกแบบการวิจัยเชิงนโยบาย 226 1. การออกแบบการวิจัยเชิงส�ำรวจ (Exploratory research design) 226 2. การออกแบบการวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive research design) 226 3. การออกแบบการวจิ ัยเชงิ สาเหตุ (Causal research design) 226

ซ 4. การออกแบบการวจิ ยั เพ่อื การประมาณคา่ (Estimation research design) 226 5. การออกแบบการวจิ ัยเชิงประเมนิ (Evaluation research design) 227 6.3 การด�ำเนนิ การวจิ ัยเชิงนโยบาย 227 1. เครอ่ื งมือในการวิจยั เชิงนโยบาย 227 2. การเกบ็ รวบรวมข้อมูล 227 3. การวิเคราะหข์ อ้ มลู 227 6.4 เทคนิคการวิจยั เชิงนโยบาย 228 6.5 กรณีตวั อย่างการวจิ ยั เชงิ นโยบายทางการบริหารการศกึ ษา 228 สรปุ ทา้ ยบท 232 บทท่ี 7 การวิจัยเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารแบบมีส่วนร่วม 235 7.1 แนวคดิ พน้ื ฐานเกยี่ วกับการวิจยั เชงิ ปฏิบตั กิ ารแบบมสี ว่ นรว่ ม 236 1. ความหมายของการวจิ ยั เชิงปฏิบตั กิ ารแบบมสี ่วนรว่ ม 236 2. พัฒนาการของการวจิ ยั เชิงปฏิบัตกิ ารแบบมีส่วนร่วม 238 3. ประโยชนท์ ่ีไดร้ บั จากการวจิ ัยเชงิ ปฏิบัติการแบบมสี ว่ นร่วม 239 7.2 กระบวนการวิจยั และการมีสว่ นร่วมของประชาชน 239 1. ขั้นเตรยี มการประสานพืน้ ที่ 240 2. ขน้ั ลงมอื วิจยั 240 3. ขน้ั พัฒนา 241 7.3 เทคนิคการสรา้ งความสัมพันธ์กบั ชมุ ชน 241 7.4 เทคนคิ ทจี่ �ำเป็นส�ำหรบั การเก็บรวบรวมขอ้ มลู จากชมุ ชน 243 1. เทคนิค AIC 243 2. เทคนคิ Mind Map 252 3. เทคนิคการจดั เวทปี ระชาคม 255 4. เทคนคิ SWOT 256 7.5 กรณีตวั อย่างงานวจิ ัยเชิงปฏิบัตกิ ารแบบมีสว่ นรว่ มในทางการบรหิ ารการศกึ ษา 277 สรปุ ทา้ ยบท 286 บทที่ 8 การวิจัยอนาคต 289 8.1 แนวคิดเกีย่ วกบั การวจิ ัยอนาคต 289 1. ความหมายของการวิจัยอนาคต 289 2. พัฒนาการของการวิจัยอนาคต 290 3. ความส�ำคญั ของการวจิ ยั อนาคต 291 8.2 ช่วงเวลาส�ำหรบั การวจิ ัยอนาคต 292 8.3 เทคนคิ การวิจยั อนาคต 292

ฌ 1. การวิเคราะหห์ รอื การส�ำรวจแนวโน้ม (Trend Analysis or Extrapolation) 293 2. การวิเคราะห์ผลกระทบไขว้ (Cross Impact Analysis) 293 3. วงลอ้ อนาคต (Futures Wheel) 294 4. การสรา้ งภาพอนาคต (Scenario Technique) 294 5. เทคนคิ Delphi (Delphi Technique) 295 6. เทคนคิ EFR (Ethnographic Future Research) 297 7. เทคนิค EDFR (Ethnographic Delphi Future Research) 298 8.4 จุดแข็งและจดุ อ่อนของเทคนิคการวิจัยอนาคต 301 8.5 หลกั การคัดเลือกผ้เู ช่ยี วชาญ 302 1. การก�ำหนดเกณฑ์คุณสมบัติ 302 2. การเลือกเฉพาะเจาะจง (Purposive) 302 3. การก�ำหนดจ�ำนวนผูเ้ ช่ียวชาญ 302 8.6 เทคนิคและข้นั ตอนการสมั ภาษณ์ผูเ้ ชีย่ วชาญ 302 1. เทคนคิ การสัมภาษณ์ 302 2. ข้ันตอนการสัมภาษณ์ 303 8.7 กรณตี ัวอย่างงานวจิ ยั อนาคต 305 สรุปทา้ ยบท 311 313 บทที่ 9 การวจิ ัยและพัฒนา 313 9.1 แนวคิดเก่ยี วกบั การวจิ ยั และพฒั นา 313 1. ความหมายของการวจิ ัยและพฒั นา 314 2. ประเภทและเหตุผลของการพฒั นานวตั กรรม 315 3. พฒั นาการของการวจิ ัยและพฒั นา 316 4. ลักษณะของการวจิ ยั และพฒั นา 317 9.2 กระบวนการวจิ ยั และพัฒนา 317 ขั้นตอนที่ 1 การส�ำรวจสภาพปัญหาและความต้องการ 319 ขัน้ ตอนที่ 2 การออกแบบผลติ ภัณฑ์ 320 ขัน้ ตอนท่ี 3 การวจิ ัยเชงิ ทดลอง 321 ขนั้ ตอนที่ 4 การวิจัยเชงิ ประเมิน 324 9.3 การออกแบบวิจยั และพัฒนา 324 1. การออกแบบประชากรและกลุ่มตวั อย่าง 324 2. การออกแบบการวัดตวั แปรหรือการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล 325 3. การออกแบบสถติ วิ เิ คราะห์ขอ้ มลู 326 9.4 การวิเคราะห์ขอ้ มูลในงานวิจัยและพฒั นา 326 9.5 การเขียนรายงานการวจิ ัยและพัฒนา

ญ 9.6 การประยุกตใ์ ชก้ ารวิจัยและพฒั นาทางการศกึ ษา 327 9.7 ชอื่ เรื่องและตวั อย่างช่ือเรอื่ งงานวจิ ัยและพัฒนา 328 9.8 กรณีตวั อย่างงานวิจยั และพฒั นา 328 สรุปท้ายบท 331 335 บทที่ 10 การวิจยั ทฤษฎฐี านราก 335 10.1 แนวคดิ เกย่ี วกับการวิจัยทฤษฎีฐานราก 335 1. ความหมายของการวิจยั ทฤษฎีฐานราก 337 2. พฒั นาการของการวจิ ยั ทฤษฎฐี านราก 337 3. หลกั การส�ำคัญของการสรา้ งทฤษฎีฐานราก 338 10.2 กระบวนการส�ำคัญของการวิจัยทฤษฎีฐานราก 338 1. การเกบ็ ข้อมูล 338 2. การสร้างสมมตฐิ าน 338 3. การเกบ็ ข้อมูล/ทดสอบสมมติฐาน 338 4. การปรบั สมมติฐาน 339 10.3 กรณตี ัวอยา่ งงานวจิ ยั ทฤษฎฐี านราก 348 สรปุ ท้ายบท 349 350 บทที่ 11 การวจิ ยั เชิงประเมนิ 350 11.1 แนวคิดพื้นฐานเกย่ี วกับการวิจัยเชิงประเมนิ 351 1. ความหมายของการวจิ ัยเชิงประเมิน 352 2. ลกั ษณะของการวจิ ยั เชงิ ประเมนิ 352 3. ความส�ำคญั ของการวิจัยเชงิ ประเมิน  353 4. วตั ถุประสงค์ของการวิจัยเชิงประเมนิ 355 5. ประเภทของการวิจัยเชงิ ประเมิน 355 11.2 เทคนคิ วิธกี ารวจิ ัยเชงิ ประเมนิ 355 1. การศกึ ษาความเป็นไปได้ (Feasibility study) 356 2. การก�ำกับตดิ ตาม (Monitoring) 356 3. การทดลอง (Experiment) 356 4. การศึกษาภาคสนามหรือการเยี่ยมสถานท่ี (Field study or site visiting) 356 5. การศึกษาผลกระทบ (Impact study) 356 11.3 กระบวนการวิจยั เชงิ ประเมิน 357 ข้ันตอนท่ี 1 การก�ำหนดวัตถุประสงคข์ องการวจิ ัยเชงิ ประเมิน 358 ขนั้ ตอนที่ 2 การระบุมาตรฐาน ตวั บง่ ช้ี และเกณฑ ์ ขน้ั ตอนท่ี 3 การออกแบบการวิจยั เชิงประเมนิ

ขั้นตอนท่ี 4 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ฎ ข้ันตอนท่ี 5 การวเิ คราะหข์ อ้ มูล 358 ขั้นตอนท่ี 6 การรายงานผลการวจิ ัยเชิงประเมนิ 359 11.4 การวจิ ยั เชงิ ประเมินกบั การประกันคุณภาพเพ่ือพัฒนาการศกึ ษา 359 1. ความหมายของการประกนั คุณภาพการศึกษา 360 2. ความส�ำคัญของการประกันคุณภาพการศึกษา 360 3. ประเภทของการประกันคณุ ภาพของการศกึ ษา 361 4. การประกันคณุ ภาพภายในกับการประเมนิ คุณภาพ 363 5. กระบวนการประกันคณุ ภาพการศึกษาภายใน 363 6. การวิจยั เชิงประเมนิ ในกระบวนการประกนั คณุ ภาพเพอื่ การศกึ ษา 364 11.5 การวจิ ัยแตกต่างจากการประเมินอย่างไร 364 1. ความหมายของการวจิ ยั และการประเมนิ 365 2. ความเหมอื นและความต่างของการวิจยั และการประเมิน 365 11.6 กรณีตัวอย่างการวิจยั เชิงประเมิน 366 สรปุ ทา้ ยบท 367 บทท่ี 12 การวจิ ัยเชิงทดลอง 369 12.1 แนวคดิ เก่ียวกับการวจิ ัยเชงิ ทดลอง 371 1. ความหมายของการวิจยั เชงิ ทดลอง 372 2. ลกั ษณะส�ำคัญของการวิจัยเชิงทดลอง 372 3. ประเภทของการวจิ ัยเชงิ ทดลอง 373 4. แบบของการวิจยั เชิงทดลอง 374 5. จดุ มงุ่ หมายของการวจิ ัยเชิงทดลอง 375 6. หลักการออกแบบการวจิ ัยเชิงทดลอง 392 7. ลักษณะของแบบการวิจยั ท่ดี ี 393 12.2 การมีกล่มุ ควบคมุ และการสมุ่ ในแบบการวจิ ัยเชิงทดลอง 394 12.3 การควบคุมตัวแปรแทรกซอ้ น 402 1. ความหมายและประเภทของตวั แปรแทรกซอ้ น 403 2. วิธีควบคุมตัวแปรแทรกซอ้ น 403 12.4 ระเบียบวธิ วี จิ ัยเชิงทดลอง 404 1. การก�ำหนดปัญหาการวิจยั 407 2. การก�ำหนดค�ำถามการวจิ ัย 407 3. การก�ำหนดสมมตฐิ านการวจิ ยั 407 4. การระบุและนยิ ามตัวแปรอสิ ระและตัวแปรตาม 407 5. การออกแบบการทดลอง 407 408

ฏ 6. การสรุปผลการทดลองและอภปิ รายผล 408 7. การเขยี นรายงานการวจิ ยั ฉบับสมบูรณ์ 408 12.5 กรณตี วั อย่างงานวิจัยเชิงทดลอง 409 สรปุ ท้ายบท 415 419 บทที่ 13 การวจิ ยั เพื่อพัฒนาโมเดลความสมั พันธเ์ ชงิ โครงสรา้ งของตัวบ่งชี้ 419 13.1 แนวคิดเก่ียวกับตัวบง่ ช้ี 419 1. ความหมายของตวั บง่ ช้ี 420 2. ลกั ษณะท่สี �ำคัญของตวั บ่งช้ที ด่ี ี 421 3. เกณฑ์ในการคดั เลือกตัวบ่งช้ี 422 4. ประเภทของตัวบ่งช้ ี 423 13.2 การพฒั นาตวั บง่ ช้ี 424 1.  การก�ำหนดวตั ถุประสงค์ 424 2.  การนยิ ามตวั บ่งช้ี 427 3. การเก็บรวบรวมขอ้ มูล (Data Collection) 427 4.  การสร้างตัวบ่งช้ี  427 5.  การตรวจสอบคุณภาพตวั บ่งชี้ (Quality Check)  428 6.  การน�ำเสนอรายงาน (Presentation)  428 13.3 การพัฒนาโมเดลความสมั พนั ธ์เชงิ โครงสร้าง 428 1. การอาศยั แนวคิด ทฤษฎี และงานวจิ ัยเปน็ พื้นฐาน 429 2. ความหมายของการวเิ คราะหอ์ งคป์ ระกอบ 429 3. ประเภทของการวิเคราะห์องคป์ ระกอบ 429 4. วตั ถุประสงค์ของการวิเคราะหอ์ งค์ประกอบ 430 5. ประโยชน์ของการวิเคราะห์องค์ประกอบ 430 6. ข้อตกลงเบอื้ งตน้ ของการใช้สถติ กิ ารวเิ คราะหอ์ งค์ประกอบ 431 7. ขอ้ จ�ำกัดของการใช้สถติ กิ ารวเิ คราะหอ์ งคป์ ระกอบ 431 8. ปญั หาของการใชส้ ถติ กิ ารวเิ คราะห์องคป์ ระกอบ 432 9. ขั้นตอนการวเิ คราะห์องค์ประกอบ 432 10. การออกแบบการวจิ ยั และการประยุกตใ์ ชส้ ถติ กิ ารวิเคราะห์องคป์ ระกอบ 433 13.4 กรณตี ัวอยา่ งการทบทวนวรรณกรรม 439 13.5 กรณีตัวอย่างงานวจิ ยั เพือ่ พัฒนาโมเดลความสัมพนั ธ์เชิงโครงสรา้ งของตวั บ่งชี้ 441 สรุปท้ายบท 443 443 บทที่ 14 การวจิ ัยเพ่อื พัฒนาโมเดลสมการโครงสรา้ ง 14.1 แนวคิดเก่ียวกับโมเดลสมการโครงสร้าง

ฐ 1. ความหมายของโมเดลสมการโครงสร้าง 443 2. ความส�ำคญั ของโมเดลสมการโครงสรา้ ง 444 3. โมเดลสมการโครงสรา้ ง 444 4. สัญลกั ษณ์ในโมเดลสมการโครงสร้าง หรือ SEM 445 5. ตวั แปรใน SEM 446 6. ความคลาดเคลื่อนใน SEM 447 7. ตัวแปรและความคลาดเคล่ือนใน SEM 447 8. ส่วนประกอบของ SEM 447 9. รูปเมทรกิ ซใ์ นโปรแกรม LISREL 448 10. การสร้างโมเดล SEM 448 14.2 การศกึ ษาแนวคดิ ทฤษฎี และงานวจิ ยั ท่เี กีย่ วข้อง 449 1. การศึกษาแนวคดิ และทฤษฎีของภาวะผูน้ �ำพลงั บวก 449 2. การศึกษาตวั บ่งช้ีของภาวะผนู้ �ำพลงั บวก 450 3. การศกึ ษานิยามเชิงปฏบิ ตั กิ ารและพฤติกรรมบง่ ชขี้ องตวั บง่ ชีว้ ดั ภาวะผูน้ �ำพลังบวก 452 4. การศึกษาปัจจัยที่มีอิทธพิ ลต่อภาวะผนู้ �ำพลงั บวกและเสน้ ทางอิทธพิ ล 454 5. การศึกษาตัวบง่ ชี้ในแต่ละปัจจัย 458 6. การศึกษานิยามเชงิ ปฏิบตั กิ ารและพฤติกรรมบ่งชีข้ องตัวบ่งชวี้ ัดปฏสิ มั พันธ์ทางสังคม 460 7. การสร้างโมเดลสมมติฐานภาวะผูน้ �ำพลงั บวก 462 14.3 การก�ำหนดขนาดตัวอย่างในงานวิจยั ท่ีใช้ SEM 465 14.4 ขัน้ ตอนการวเิ คราะห์ข้อมูลดว้ ยเทคนิค SEM 467 ขน้ั ตอนที่ 1 การก�ำหนดขอ้ มูลเฉพาะของโมเดล (Model specification) 467 ขั้นตอนท่ี 2 การระบุความเปน็ ไปได้ค่าเดียวของโมเดล (Model identification) 467 ขนั้ ตอนที่ 3 การประมาณค่าพารามิเตอร์ของโมเดล (Model parameter estimation) 468 ข้นั ตอนท่ ี 4 การทดสอบความตรงของโมเดล (Model validation testing) 469 ขนั้ ตอนที่ 5 การปรับโมเดล (Model modification) 470 14.5 กรณตี ัวอย่างงานวจิ ัยเพือ่ พฒั นาโมเดลสมการโครงสรา้ ง 471 สรปุ ทา้ ยบท 474 บทที่ 15 การวิจัยทางวิทยาศาสตรก์ ับการวจิ ัยทางพระพทุ ธศาสนา 477 15.1 การวิจยั ของพระพทุ ธเจา้ กับนักวทิ ยาศาสตร์ 477 15.2 การวิจยั ทางพระพทุ ธศาสนา 481 1. ความหมายการวิจัยทางพระพทุ ธศาสนา 481 2. วิธีวิจยั ทางพระพุทธศาสนา 481 3. กระบวนการวจิ ยั ทางพระพุทธศาสนา 482 4. การจบั คเู่ หตผุ ลในอรยิ สัจส ี่ 483

ฑ 484 15.3 กระบวนการวิจยั ทางพระพุทธศาสนากบั วิธีการวิจัยทางวทิ ยาศาสตร ์ 485 15.4 การประยกุ ต์ใชอ้ รยิ สัจสเ่ี ป็นต้นแบบของกระบวนการวิจัยทัว่ ไป 487 15.5 กิจในอริยสัจสี ่ 487 15.6 ทกุ ข์ในอริยสัจสี่ 489 15.7 กระบวนการเกดิ ทุกขใ์ นชวี ติ ประจ�ำวนั 490 สรุปท้ายบท 493 493 บทที่ 16 ศาสตรแ์ ละหลกั ธรรมเพ่อื การวิจัยทางการบริหารการศกึ ษา 494 16.1 ความหมายและตัวอยา่ งของศาสตร ์ 497 1. หลักการ แนวคิด และทฤษฎกี ารบรหิ ารงาน 498 2. หลกั การ แนวคิด และทฤษฎกี ารบรหิ ารคน 499 3. หลักการ แนวคดิ และทฤษฎีการบริหารองคก์ าร 500 4. หลกั การ แนวคิด และทฤษฎภี าวะผู้น�ำ 501 16.2 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา 525 1. หมวดหลกั ธรรมเพือ่ “การครองตน” 541 2. หมวดหลกั ธรรมเพอื่ “การครองคน” 553 3. หมวดหลักธรรมเพอื่ “การครองงาน” 555 สรุปทา้ ยบท 577 บรรณานุกรม 590 ภาคผนวก 608 ค�ำดัชน ี ประวัติผเู้ ขยี น

ฒ สารบัญตาราง ตารางที่ หนา้ 1.1 ขอบข่ายการวิจัยทางการบรหิ ารการศึกษาจ�ำแนกตามทฤษฎตี ามแนวคดิ ของ Silver 2 1.2 ขอบข่ายการวจิ ยั ทางการบรหิ ารการศึกษาจ�ำแนกตามทฤษฎีตามแนวคดิ ของ Hoy and Miskel 3 1.3 การเปรยี บเทยี บระหว่างการวิจัยเชิงปรมิ าณและการวจิ ัยเชงิ คุณภาพ 7 2.1 ตารางเลขสุ่ม 41 2.2 เปรยี บเทยี บแบบการสุ่มตัวอยา่ งโดยอาศยั ความน่าจะเป็น 46 2.3 วธิ กี ารสมุ่ ตัวอย่างแบบใช้และไม่ใช้ความน่าจะเปน็ และเง่ือนไขการใช ้ 48 2.4 (ตัวอย่าง) แบบสอบถามระดับการปฏบิ ัตขิ องตวั แปรทีศ่ กึ ษา 65 2.5 (ตวั อย่าง) แบบสอบถามระดับการปฏบิ ัติของตัวแปรท่ีศึกษา 65 2.6 (ตัวอยา่ ง) แบบสอบถามความคิดเห็นหรอื เจตคติของกลุม่ ตัวอย่าง 65 2.7 การใหค้ ะแนนค�ำถามท่มี ีข้อความทางบวกและทางลบ 66 2.8 (ตัวอย่าง) แบบสงั เกตทเี่ ป็นแบบส�ำรวจรายการ ซงึ่ เปน็ การสงั เกตพฤตกิ รรมการสอน ของอาจารย์ 67 2.9 การแจกแจงระดบั การศึกษากล่มุ ตวั อยา่ ง ซึง่ แสดงคา่ Frequency และ Percent 68 2.10 ผลการสอนวิชาภาษาอังกฤษ ซง่ึ แสดงค่า X และ SD 68 2.11 ผลการสอนวชิ าภาษาอังกฤษ ซ่งึ แสดงค่า X SD Max และ Min 69 3.1 ตัวอยา่ งการตั้งเกณฑ์การคัดเลอื กผ้รู จู้ รงิ ในการสัมภาษณแ์ บบเจาะลึก 125 3.2 คนจ�ำนวน 10 คน ในวงการสนทนากลุม่ แบบเจาะจง 133 3.3 การตัง้ เกณฑ์คดั เลือกและสอบถามเพ่อื คดั เลือกคนเข้ากลุ่มสนทนา 134 3.4 ตวั อยา่ งการก�ำหนดดชั นีในบญั ชีดัชนีส�ำหรบั การวเิ คราะหข์ ้อมลู 144 3.5 การท�ำดชั นีบันทึกภาคสนามจากการจัดสนทนากลมุ่ 145 4.1 ประเด็นและลักษณะส�ำคัญหรือจุดเน้นของการวจิ ัยแบบผสมผสานวธิ ี 172 5.1 การวเิ คราะห์ SWOT หรอื SWOT Analysis 205 7.1 ขน้ั ตอนการประชุม AIC 6 ขัน้ ตอน 249 7.2 สรุปผลการวเิ คราะหป์ ัจจยั ภายใน 261 7.3 การวเิ คราะหป์ ัจจัยภายในองคก์ ารโดยใชเ้ คร่ืองมือ McKinsey 7-S Framework 262 7.4 สรุปผลการวิเคราะห์ปัจจยั ภายนอก 265 7.5 การวเิ คราะหป์ จั จยั ภายนอกดว้ ยเครือ่ งมือ PEST Framework หรือ PEST Analysis 267 7.6 การจับค่ปู ระเด็นกลยุทธ์จากการวิเคราะห์ลงตาราง TOWS Matrix            268 7.7 กลยทุ ธ์ SO (การใชจ้ ุดแข็งสร้างโอกาส) 269 7.8 กลยุทธ์ ST (การใช้จดุ แข็งหลีกเลีย่ งอุปสรรค) 270

ณ 271 7.9 กลยุทธ์ WO (เอาชนะจดุ อ่อนโดยอาศยั โอกาส) 272 7.10 กลยทุ ธ์ WT (ลดจุดออ่ นและหลีกเลยี่ งอปุ สรรค) 274 7.11 กลยทุ ธ์จาก SWOT analysis และ TOWS Matrix 299 8.1 ความเหมอื นและความต่างระหว่างเทคนคิ EDFR EFR และ Delphi 301 8.2 จุดแขง็ และจดุ อ่อนของเทคนิคการวจิ ัยอนาคต 366 11.1 ความแตกต่างระหว่างการวจิ ัยและการประเมิน 392 12.1 การเปรยี บเทยี บลักษณะส�ำคัญของแบบการวิจยั เชิงทดลอง 426 13.1 วิธกี ารพัฒนาตวั บ่งชต้ี ามแนวคิดของ Johnstone 434 13.2 การสังเคราะหอ์ งค์ประกอบของภาวะผนู้ �ำของครเู ทคโนโลยีสารสนเทศ 436 13.3 การสงั เคราะห์ตัวบง่ ชผี้ ู้น�ำทางการสอนเทคโนโลยสี ารสนเทศ 448 14.1 ช่อื เมทริกซท์ แ่ี สดงคา่ พารามเิ ตอร์เปน็ ตวั เลขต่าง ๆ ในโมเดล 450 14.2 การสงั เคราะหต์ วั บง่ ชีส้ �ำหรบั การวัดภาวะผนู้ �ำพลังบวก 453 14.3 นยิ ามเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารและพฤตกิ รรมบง่ ช้เี พ่อื การวัดภาวะผนู้ �ำพลังบวก 455 14.4 การสังเคราะห์ปจั จัยทม่ี อี ิทธิพลต่อภาวะผนู้ �ำพลังบวก 457 14.5 การสังเคราะหเ์ สน้ ทางอทิ ธิพลของปัจจัยท่มี ีอิทธิพลต่อภาวะผู้น�ำพลังบวก 458 จ�ำแนกตามปัจจยั ภายนอกและปจั จัยภายใน 461 14.6 (ตัวอย่าง) การสังเคราะหต์ ัวบง่ ชสี้ �ำหรับการวดั ปฏสิ ัมพันธ์ทางสงั คม 466 14.7 นิยามเชิงปฏบิ ัตกิ ารและพฤติกรรมบ่งชี้เพอื่ การวดั ปฏสิ ัมพนั ธ์ทางสงั คม 469 14.8 การก�ำหนดตัวอย่างต่�ำสดุ ภายใตเ้ งื่อนไขของตวั แปรและคา่ ความรว่ มกันของ Hair 483 14.9 ดัชนแี ละเกณฑ์ทใี่ ช้ในการพิจารณาความสอดคลอ้ งกลมกลืนของโมเดลกบั 484 ข้อมูลเชงิ ประจักษ ์ 486 15.1 การรูจ้ กั ก�ำหนดรหู้ รือท�ำความเขา้ ใจเก่ียวกับอริยสัจส่ี 487 15.2 หลกั อริยสจั ส่ีและกิจท่จี ะตอ้ งท�ำในอรยิ สจั ส่ี 494 15.3 กระบวนการวิจัยตามหลกั อรยิ สจั ส ี่ 497 15.4 ทกุ ข์ในอรยิ สัจส่ี 498 16.1 หลักการ แนวคดิ และทฤษฎีการบรหิ ารงาน 499 16.2 หลกั การ แนวคดิ และทฤษฎกี ารบรหิ ารคน 502 16.3 หลกั การ แนวคดิ และทฤษฎีการบรหิ ารองคก์ าร 526 16.4 หลักการ แนวคดิ และทฤษฎภี าวะผู้น�ำ 541 16.5 หมวดหลักธรรมเพือ่ “การครองตน” 16.6 หมวดหลักธรรมเพือ่ “การครองคน” 16.7 หมวดหลกั ธรรมเพือ่ “การครองงาน”

ด สารบญั ภาพ ภาพที่ หน้า 2.1 การก�ำหนดปญั หาการวิจัย 15 2.2 แนวทางการเขยี นความเปน็ มาและความส�ำคัญของปัญหา จากภาพกวา้ งสู่ภาพแคบ ในลกั ษณะรปู สามเหล่ียมคว่�ำ 27 2.3 ประโยชน์ของการทบทวนวรรณกรรมท่ีมตี อ่ ผวู้ จิ ัยในทกุ ๆ ขัน้ ตอนของกระบวนการวจิ ยั 35 2.4 วธิ ีสุ่มตัวอยา่ งแบบชั้นภูม ิ 43 2.5 วิธีสมุ่ ตวั อยา่ งแบบกล่มุ 44 2.6 วธิ ีสุ่มตัวอย่างแบบหลายข้นั ตอน 45 2.7 ประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ ง 61 2.8 โครงสร้างการเขียนสรุปผลการวิจัย 85 2.9 โครงสร้างการอภิปรายผลการวิจัย 86 2.10 โครงสรา้ งการเขยี นข้อเสนอแนะ 87 3.1 กระบวนการวจิ ยั แบบทฤษฎีฐานราก 106 3.2 การเปรยี บเทยี บการสนทนากลุม่ และการสมั ภาษณก์ ลุ่ม 129 3.3 โต๊ะกลมส�ำหรบั การประชุมของอศั วินใน King McArthur 132 3.4 โต๊ะเหล่ียมทีอ่ ัศวนิ ใน King McArthur ไม่ใชส้ �ำหรบั การประชมุ 132 3.5 โตะ๊ กลมส�ำหรับคนจ�ำนวน 10 คน ในวงการสนทนากลุ่ม 133 3.6 กรอบแนวคดิ การวจิ ยั 153 3.7 แบบปรี ามิด (Pyramid) 153 4.1 แบบของการวจิ ัยแบบผสมผสานวธิ :ี แบบคู่ขนาน 174 4.2 แบบของการวจิ ยั แบบผสมผสานวิธี: แบบอธบิ ายตามล�ำดับ 175 4.3 แบบของการวจิ ยั แบบผสมผสานวิธ:ี แบบส�ำรวจบกุ เบกิ ตามล�ำดบั 177 4.4 แบบของการวิจยั แบบผสมผสานวธิ :ี แบบฝังตวั อยภู่ ายใน 178 4.5 แบบของการวจิ ยั แบบผสมผสานวธิ ี: แบบเปล่ียนแปลง 179 4.6 แบบของการวจิ ยั แบบผสมผสานวธิ ี: แบบหลายข้นั ตอน 180 5.1 การบรหิ ารแบบสมดุล  206 7.1 เครื่องมือ McKinsey 7-S Framework 258 7.2 PEST Framework หรอื PEST Analysis 264 13.1 ล�ำดบั ขนั้ ของการอธบิ ายเกย่ี วกบั การวิเคราะหอ์ งคป์ ระกอบ 433 13.2 โมเดลองค์ประกอบของภาวะผ้นู �ำของครเู ทคโนโลยีสารสนเทศ 435 13.3 โมเดลการวดั ตวั บ่งชี้ของผ้นู �ำทางการสอนเทคโนโลยีสารสนเทศ 437

ต 13.4 โมเดลความสัมพันธเ์ ชิงโครงสรา้ งของตวั บง่ ช้ภี าวะผู้น�ำของครเู ทคโนโลยีสารสนเทศ 438 14.1 โมเดล SEM 445 14.2 โมเดลการวัดภาวะผนู้ �ำพลงั บวก 452 14.3 โมเดลความสมั พนั ธเ์ ชงิ สาเหตขุ องปจั จยั ที่มอี ิทธิพลตอ่ ภาวะผ้นู �ำพลงั บวก 457 14.4 โมเดลการวัดปฏิสมั พันธ์ทางสังคม 459 14.5 โมเดลสมมตฐิ านภาวะผนู้ �ำพลงั บวกของผู้บรหิ ารโรงเรียนมัธยมศึกษา 464 สังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน 468 14.6 สตู รค�ำนวณคา่ องศาอิสระ

บทท่ี แนวคดิ เกี่ยวกับการวิจยั ทางการบริหารการศึกษา 1 CONCEPTS OF RESEARCH IN EDUCATIONAL ADMINISTRATION การวิจัยทางการบริหารการศึกษาเป็นการวิจัยท่ีมุ่งการแสวงหาความรู้ใหม่ที่เก่ียวข้องกับ กิจกรรมทางดา้ นการบริหารการศึกษา โดยมีลักษณะของการวจิ ัยท่ีเก่ยี วข้องกบั องคก์ าร ผู้บรหิ าร ครอู าจารย์ นักเรยี นนกั ศกึ ษา การเรยี นการสอน วัสดุ อุปกรณ์ และสภาพแวดล้อม มีขอบขา่ ยอาจ จำ� แนกไดต้ ามทฤษฎแี ละการปฏบิ ตั ิ และมวี ธิ วี จิ ยั ทงั้ เชงิ ปรมิ าณ เชงิ คณุ ภาพ และแบบผสมผสานวธิ ี ดงั นั้น ในบทแรกนี้ ผู้วจิ ัยควรศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับการวจิ ยั ทางการบรหิ ารการศึกษา ซ่งึ ประกอบ ด้วยเน้ือหาสาระที่ส�ำคัญ 4 เรื่อง ได้แก่ 1) ความหมายของการวิจัยทางการบริหารการศึกษา 2) ลกั ษณะของการวจิ ยั ทางการบริหารการศกึ ษา 3) ขอบข่ายของการวจิ ยั ทางการบริหารการศกึ ษา และ 4) การวจิ ัยทางการบรหิ ารการศกึ ษา โดยมรี ายละเอยี ด ดงั ตอ่ ไปน้ี 1.1 ความหมายของการวจิ ยั ทางการบริหารการศึกษา กลุ่มค�ำว่า “การวิจัยทางการบริหารการศึกษา” อาจแยกพิจารณาได้สองส่วน ส่วนแรก คอื การวจิ ยั และสว่ นทส่ี อง คอื การบริหารการศกึ ษา โดยมีนยิ าม ดงั น้ี “การวิจัย” หมายถึง ความพยายามอย่างเป็นระบบเพื่อให้ได้ค�ำตอบในประเด็นท่ีสงสัย (Tuckman, 1999) ในทำ� นองเดียวกนั ประพนธ์ เจียรกูล (2553, หน้า 7) ไดส้ งั เคราะหค์ วามหมาย ของการวจิ ัยจากแหลง่ ตา่ ง ๆ ซงึ่ สรุปได้ ดงั น้ี 1. การวิจัย เป็นกระบวนการแสวงหาความรู้ ข้อเท็จจริง หรือค�ำตอบของปัญหาต่าง ๆ โดยวธิ กี ารค้นควา้ รวบรวมข้อมูล หรอื ทดลอง 2. วิธีการค้นคว้า รวบรวมข้อมูล หรือทดลองที่จัดท�ำขึ้นนั้นจะต้องเป็นวิธีการอันเป็น ระบบถ่ีถว้ นและเช่ือถอื ได้ 3. ความรใู้ หม่ ข้อเท็จจริง หรอื คำ� ตอบของปญั หาทค่ี น้ พบนน้ั จะต้องไดร้ ับการแปลความ หมายอย่างถูกต้อง เพ่ือน�ำไปสู่การสร้างข้อสรุป กฎเกณฑ์ หรือทฤษฎีใหม่ หรือปรับแก้ข้อสรุป กฎเกณฑ์ หรอื ทฤษฎีเก่า ๆ ที่เคยยอมรบั กันมาแตเ่ ดิมนน้ั ใหถ้ กู ตอ้ งยิ่งขน้ึ สว่ น “การบรหิ ารการศกึ ษา” หมายถงึ กระบวนการทางสงั คมทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การเสรมิ สรา้ ง การรกั ษา การกระตนุ้ และการประสานสมั พนั ธพ์ ลงั ของบคุ คลและวสั ดอุ ปุ กรณข์ องระบบโรงเรยี น เพอ่ื ให้บรรลวุ ตั ถุประสงคท์ ่ีกำ� หนดไว้ (Knezevich, 1969) ต่อมา Glatter (1976 p. 16) ได้ให้ความ หมายของการบริหารการศึกษาว่า เป็นการศึกษาเก่ียวกับการด�ำเนินการภายในของสถาบันการ ศึกษา สภาพแวดลอ้ มของสถาบนั การศึกษา ซ่งึ ได้แก่ ชมุ ชน และองค์การทีท่ ำ� หน้าท่ีควบคมุ ดูแล สถาบนั การศกึ ษานนั้ ๆ สำ� หรบั วจิ ติ ร ศรสี อา้ น และทองอนิ ทร์ วงศโ์ สธร (2550) ไดใ้ หค้ วามหมาย ของการบรหิ ารการศกึ ษาว่า เป็นกระบวนการทางสังคมหรือกิจกรรมของกลมุ่ บุคคลที่รว่ มมือกนั ท�ำกิจกรรมของระบบโรงเรียนเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของการศึกษาโดยใช้กระบวนการและ ทรัพยากรท่เี หมาะสม

2 • การวจิ ยั ทางการบริหารการศกึ ษา กล่าวโดยสรุป การวิจัยทางการบริหารการศึกษา หมายถึง การแสวงหาความรู้ใหม่ หรอื วิธีแก้ปญั หาแบบใหม่ หรอื ค�ำตอบใหม่ ทเ่ี กย่ี วข้องกับกจิ กรรมทางด้านการบริหารการศึกษา โดยใชก้ ระบวนการทเ่ี ชอื่ ถอื ไดแ้ ละทรพั ยากรท่เี หมาะสม 1.2 ลกั ษณะของการวิจัยทางการบริหารการศกึ ษา จากค�ำนิยามท่ีได้กล่าวมาแล้วข้างต้น อาจสรุปได้ว่า การวิจัยทางการบริหารการศึกษา มลี ักษณะ ดงั นี้ 1. เป็นการวิจัยที่เก่ียวข้องกับองค์ประกอบท่ีสำ� คัญขององค์การ ได้แก่ 1) องค์การ 2) ผบู้ รหิ าร 3) ครู 4) นกั เรียน 5) การเรียนการสอน 6) วสั ดอุ ุปกรณ์ และ 7) สภาพแวดลอ้ ม 2. เป็นการวิจัยที่มีจุดเน้นที่ภารกิจและกระบวนการท�ำงานร่วมกันในอันท่ีจะท�ำให้ การเรียนการสอนบรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ 1.3 ขอบขา่ ยของการวิจยั ทางการบรหิ ารการศึกษา ทฤษฎีและแนวปฏิบัตเิ ป็นตัวก�ำหนดขอบข่ายท่ีสำ� คัญของการบรหิ ารการศึกษา ดงั น้นั นกั บรหิ ารการศกึ ษาจงึ ตอ้ งเรยี นรขู้ อบขา่ ยซง่ึ มี 2 ลกั ษณะ ไดแ้ ก่ 1) การใชท้ ฤษฎี และ 2) แนวปฏบิ ตั ิ ของสถานศึกษา โดยมรี ายละเอยี ด ดังน้ี 1. การกำ� หนดขอบขา่ ยโดยยดึ ทฤษฎี การวิจัยทางการบริหารการศึกษา อาจก�ำหนดขอบข่ายได้ตามกรอบทฤษฎีตามแนวคิด ของนักวชิ าการ ดงั ต่อไปนี้ 1.1 แนวคิดของ Silver (1983) Silver ไดแ้ บ่งทฤษฎีออกเป็น 6 หมวด หมวดละ 2 ทฤษฎี รวมเปน็ 12 ทฤษฎี ดงั แสดงในตารางที่ 1.1 ตารางท่ี 1.1 ขอบขา่ ยการวิจยั ทางการบริหารการศึกษาจำ� แนกตามทฤษฎีตามแนวคดิ ของ Silver ทฤษฎบี ริหารการศึกษาจำ�แนกตามแนวคิดของ Silver ขอบขา่ ย ทฤษฎี (I) (II) 1. องคก์ าร ทฤษฎขี องเฮก ทฤษฎีระบบทัว่ ไป 2. อำ�นาจ ทฤษฎีระบบราชการ ทฤษฎคี วามยนิ ยอม 3. ภาวะผนู้ ำ� ทฤษฎพี ฤติกรรมผนู้ ำ� ทฤษฎีสถานการณ์ 4. บรรยากาศองคก์ าร ทฤษฎบี รรยากาศ (เปดิ -ปิด) ทฤษฎีบรรยากาศ (ความ 5. บคุ คลในองคก์ าร ตอ้ งการ/ความกดดัน) ทฤษฎีระบบสงั คม ทฤษฎีระบบมโนมติ 6. การจูงใจ ทฤษฎีการจูงใจและสุขภาพ ทฤษฎคี วามคาดหวงั Source. Silver (1983)

Research in Educational Administration • 3 จากตารางท่ี 1.1 จะเหน็ วา่ งานวจิ ยั ทางการบรหิ ารการศกึ ษา จำ� แนกได้ 6 กลมุ่ โดยแตล่ ะ กลุม่ กแ็ บง่ ออกได้อีกเปน็ 2 กลุ่มย่อย ดังนี้ 1) งานวจิ ยั เกี่ยวกับองค์การ แบง่ ออกได้เปน็ 2 กลุ่มยอ่ ย ได้แก่ 1.1) งานวจิ ยั ตามทฤษฎขี องเฮก และ 1.2) งานวจิ ยั ตามทฤษฎีระบบทว่ั ไป 2) งานวจิ ัยเกีย่ วกบั อำ� นาจ แบง่ ออกไดเ้ ปน็ 2 กลุ่มย่อย ได้แก่ 2.1) งานวจิ ัย ตามทฤษฎีระบบราชการ และ 2.2) งานวจิ ัยตามทฤษฎคี วามยินยอม 3) งานวจิ ยั เกยี่ วกบั ภาวะผนู้ ำ� แบง่ ออกไดเ้ ปน็ 2 กลมุ่ ยอ่ ย ไดแ้ ก่ 3.1) งานวจิ ยั ตามทฤษฎีพฤติกรรมผนู้ ำ� และ 3.2) งานวจิ ยั ตามทฤษฎีสถานการณ์ 4) งานวิจัยเกี่ยวกับบรรยากาศองค์การ แบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่มย่อย ได้แก่ 4.1) งานวิจัยตามทฤษฎีบรรยากาศ (เปิด-ปิด) และ 4.2) งานวิจัยตามทฤษฎีบรรยากาศ (ความตอ้ งการ/ความกดดัน) 5) งานวิจัยเก่ียวกับบุคคลในองค์การ แบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่มย่อย ได้แก่ 5.1) งานวิจัยตามทฤษฎีระบบสงั คม และ 5.2) งานวจิ ัยตามทฤษฎรี ะบบมโนมติ 6) งานวิจยั เกย่ี วกบั การจูงใจ แบง่ ออกได้เปน็ 2 กลุม่ ย่อย ไดแ้ ก่ 6.1) งานวิจยั ตามทฤษฎกี ารจงู ใจและสขุ ภาพ และ 6.2) งานวจิ ยั ตามทฤษฎคี วามคาดหวัง 1.2 แนวคดิ ของ Hoy and Miskel (อา้ งถงึ ในวจิ ติ ร ศรสี อา้ น และทองอนิ ทร์ วงศโ์ สธร 2550, หน้า 25-26) Hoy and Miskel ไดแ้ บ่งทฤษฎีออกเปน็ 11 กลุ่ม โดยแต่ละกล่มุ มีหลายทฤษฎี และตัวแบบ ซึ่งน�ำมาช่วยก�ำหนดขอบข่ายและลักษณะของงานวิจัยทางการบริหารการศึกษา ดังแสดงในตารางที่ 1.2 ตารางท่ี 1.2 ขอบข่ายการวิจัยทางการบริหารการศึกษาจ�ำแนกตามทฤษฎีตามแนวคิดของ Hoy and Miskel ทฤษฎบี รหิ ารการศึกษาจำ�แนกตามแนวคดิ ของ Hoy and Miskel ขอบขา่ ย ทฤษฎ/ี ตัวแบบ ลักษณะของงานวจิ ยั 1. โรงเรียนในฐานะเปน็ - ทฤษฎีระบบสงั คม งานวจิ ัยเกี่ยวกบั โรงเรียน ระบบสังคม 2. สภาพแวดล้อมภายนอก - โลกทัศน์แห่งข่าวสาร งานวิจยั เก่ียวกบั สภาพ ของโรงเรียน - โลกทศั นแ์ หง่ การพึ่งพงิ ทรพั ยากร แวดลอ้ มภายนอกของโรงเรยี น 3. อำ�นาจ - ทฤษฎอี ำ�นาจของ Mintzberg งานวิจยั เก่ียวกบั อำ�นาจ - ทฤษฎีอำ�นาจของ Etzioni

4 • การวจิ ัยทางการบรหิ ารการศกึ ษา 4. โครงสร้างองค์การใน - ทฤษฎีความขดั แยง้ ระหวา่ ง งานวิจัยเกี่ยวกบั นกั วชิ าชพี โรงเรยี น นกั วิชาชพี และองค์การ ในโรงเรยี น 6. แรงจูงใจในโรงเรยี น - ทฤษฎคี วามตอ้ งการของ Maslow งานวจิ ัยเกี่ยวกบั แรงจงู ใจ 7. ลักษณะกลมุ่ ทำ�งาน - ทฤษฎีสององค์ประกอบของ 8. ภาวะผู้นำ� Herzberg - ทฤษฎคี วามคาดหวัง - ทฤษฎเี ป้าหมาย - ทฤษฎีคณุ ลกั ษณะ งานวจิ ัยเกย่ี วกบั กล่มุ การ - ทฤษฎพี ฤติกรรม ทำ�งาน - ทฤษฎีสถานการณ์ - ทฤษฎคี ณุ ลกั ษณะ งานวจิ ัยเกย่ี วกบั ภาวะผู้นำ� - ทฤษฎีพฤตกิ รรม - ทฤษฎสี ถานการณ์ 9. การตัดสนิ ใจ - ตวั แบบคลาสสิก งานวจิ ยั เก่ียวกบั การตดั สนิ ใจ - ตวั แบบบรหิ าร - ตวั แบบสะสม - ตัวแบบผสม - ตวั แบบถงั ขยะ - ทฤษฎีความขัดแย้งในการตดั สนิ ใจ 10. การสือ่ สาร - กรอบแนวคดิ การสือ่ สารแบบ งานวจิ ยั เกยี่ วกับการสอื่ สาร 11. ประสิทธิภาพ ทางการและไมเ่ ปน็ ทางการ งานวจิ ยั เกย่ี วกับ องคก์ ารของโรงเรยี น ประสิทธิภาพของโรงเรียน - ตัวแบบเป้าหมาย - ตัวแบบทรพั ยากรระบบ - ตวั แบบผสม ท่ีมา. วจิ ติ ร ศรีสอ้าน และทองอินทร์ วงศโ์ สธร (2550, หนา้ 1-29) 2. การก�ำหนดขอบขา่ ยโดยยึดแนวปฏิบัติ การวิจัยทางการบริหารการศึกษา อาจก�ำหนดขอบข่ายได้โดยยึดแนวปฏิบัติของ สถานศึกษา ซึ่งในประเด็นน้ี อาจพิจารณาได้ท้ัง 3 มิติ ได้แก่ 1) มิติภารกิจในการบริหาร 2) มิติกระบวนการบริหาร และ 3) มิติระดับการศึกษา โดยอาจสรุปได้ ดังนี้ (วิจิตร ศรีสอ้าน และทองอินทร์ วงศโ์ สธร, 2550, หน้า 21-23) 2.1 มิติภารกิจในการบริหาร การก�ำหนดขอบเขตการปฏิบัติภารกิจในการ บริหารการศึกษาโดยทัว่ ไป แบง่ ออกเป็น 5 ประเภท ได้แก่ 1) งานวชิ าการ 2) งานบริหารบคุ คล

Research in Educational Administration • 5 3) งานธุรการและการเงิน 4) งานกิจการนักเรียน นักศึกษา และ 5) งานสัมพันธ์กับชุมชน หรือ อาจแบ่งภารกิจตามพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) การศึกษาแห่งชาติฉบับปัจจุบันในเร่ือง โครงสร้าง การกระจายอ�ำนาจการบริหารและการจัดการศึกษาใน 4 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านวิชาการ 2) ด้าน บุคลากร 3) ด้านงบประมาณ และ 4) ด้านการบริหารทั่วไป 2.2 มิตกิ ระบวนการบรหิ าร การบวนการบรหิ ารท่ีรู้จักกนั ดีคอื POSDCoRB ซ่ึงมีข้ันตอนการด�ำเนินงาน 7 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การวางแผน (Planning) 2) การจัดหน่วยงาน (Organizing) 3) การจดั หาบุคลากร (Staffing) 4) การอ�ำนวยการ (Directing) 5) การประสานงาน (Coordinating) 6) การรายงาน (Reporting) และ 7) การจดั งบประมาณ (Budgeting) นอกจากนี้ ผู้ศึกษาอาจประยุกต์ใช้นวัตกรรมทางการบริหารการศึกษาอื่น ๆ เช่น PDCA ของ Deming หรือ การบริหารแบบสมดุล (Balanced Scorecard) ของ Kaplan และ Norton หรือการบริหารแบบ มุง่ เน้นผลสัมฤทธ์ิ (Result-Based Management) ฯลฯ 2.3 มติ ิระดับการศึกษา ในมติ นิ ี้ พจิ ารณาระดับการศึกษาต้ังแต่ปฐมวัยศึกษา ประถมศกึ ษา มัธยมศกึ ษา อาชีวศกึ ษา ถงึ อดุ มศกึ ษา กล่าวโดยสรุป ขอบข่ายของการวิจัยทางการบริหารการศึกษามีสองขอบข่ายที่ส�ำคัญ คือ ขอบข่ายทางทฤษฎี และขอบข่ายทางการปฏิบัติ ซ่ึงท้ังสองขอบข่ายมีความสัมพันธ์ซ่ึงกัน และกัน กล่าวคือ ทฤษฎใี ห้แนวทางสำ� หรับการบริหารและการบริหารท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพย่อมอาศยั ทฤษฎี ดงั นน้ั อาจกลา่ วไดว้ า่ ขอบขา่ ยของการวจิ ยั ทางการบรหิ ารการศกึ ษาจงึ กวา้ งเทา่ กบั ขอบเขต ของภารกิจในการบรหิ ารและลึกเท่ากบั พฒั นาการของทฤษฎีในเร่อื งนนั้ ๆ 1.4 การวิจยั ทางการบริหารการศกึ ษา การวจิ ยั ทางการบรหิ ารการศกึ ษาทเ่ี ปน็ กระแสหลกั ในปจั จบุ นั อาจจำ� แนกได้3ประเภท หรือ 3 แบบ ประกอบด้วย 1) การวิจัยเชิงปริมาณ 2) การวิจัยเชิงคุณภาพ และ 3) การวิจัยแบบ ผสมผสานวิธี โดยอาจสรุปได้ดังนี้ (พชิ ิต ฤทธจ์ิ รญู และเกจ็ กนก เอ้อื วงศ์, 2557) 1. การวิจัยเชงิ ปริมาณ (Quantitative Research) เปน็ การวิจยั ทม่ี ุง่ เนน้ การศึกษาโดย ใช้ข้อมูลที่อยู่ในลักษณะตัวเลข หรือก�ำหนดเป็นปริมาณได้ในการอธิบายปรากฏการณ์ทางสังคม หรือตอบค�ำถามวิจัยท่ีนักวิจัยสนใจศึกษา การวิจัยประเภทน้ีใช้เคร่ืองมือที่มีความเป็นปรนัยใน การเกบ็ รวบรวมข้อมลู และใชส้ ถิตเิ พอื่ การวิเคราะห์และแปลความหมายของขอ้ มลู การวจิ ยั เชิงปรมิ าณมวี ิธีการหรือหลกั การที่สำ� คัญ ๆ คอื การคำ� นงึ ถงึ เปา้ หมายของการ วจิ ยั ใชท้ ฤษฎเี ปน็ หลกั ความคดิ ในการศกึ ษาใหค้ วามสำ� คญั กบั วธิ กี ารวจิ ยั ทมี่ แี บบแผนเฉพาะเจาะจง ด�ำเนินการวิจัยอย่างเป็นระบบและมีล�ำดับข้ันตอน ใช้เทคนิควิธีเชิงปริมาณในทุกข้ันตอนของ การวจิ ัย และใชเ้ ทคนคิ วธิ กี ารเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลท่ีใหค้ ่าเชงิ ปริมาณ กระบวนการวจิ ยั เชงิ ปรมิ าณในการบรหิ ารการศกึ ษา ประกอบดว้ ย การกำ� หนดปญั หา การวจิ ยั การศกึ ษาเอกสารทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การวจิ ยั การกำ� หนดกรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั การออกแบบ การวจิ ัย การพัฒนาเครือ่ งมอื เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู การเก็บรวบรวมขอ้ มูล การวเิ คราะห์ขอ้ มูล และ การเขยี นรายงานการวจิ ยั

6 • การวจิ ยั ทางการบรหิ ารการศกึ ษา ส�ำหรับประเภทของการวิจยั เชิงปรมิ าณ อาจแบง่ ออกได้ 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ การวิจยั เชงิ ทดลอง และการวจิ ยั ทไ่ี มใ่ ชก่ ารทดลอง การวจิ ยั เชงิ ทดลองเปน็ การวจิ ยั ทม่ี งุ่ ศกึ ษาความสมั พนั ธ์ เชงิ เหตผุ ลระหวา่ งตวั แปรอสิ ระ (หรอื ตวั แปรทดลอง) และตวั แปรตาม ลกั ษณะสำ� คญั ของการวจิ ยั เชงิ ทดลอง คอื จะตอ้ งใหส้ งิ่ ทดลองหรอื มกี ารจดั กระทำ� (Treatment) ทตี่ วั แปรอสิ ระ มกี ารควบคมุ ปัจจัยที่จะมามีผลกระทบต่อผลการวิจัย และจะต้องมีการสังเกตหรือวัดผลการทดลอง ส่วนการ วิจัยที่ไม่ใช่การทดลอง แบ่งออกเป็นการวิจัยเชิงเปรียบเทียบสาเหตุ การวิจัยเชิงสหสัมพันธ์ และ การวิจัยเชงิ สำ� รวจ 2. การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เป็นการแสวงหาความรู้โดยการ พิจารณาปรากฏการณ์ทางสังคมในสภาพท่ีเป็นธรรมชาติในทุกมิติ เน้นข้อมูลด้านความรู้สึก นกึ คดิ ความหมาย และคา่ นยิ ม สว่ นการวเิ คราะหข์ อ้ มลู จะเนน้ การตคี วามสรา้ งขอ้ สรปุ แบบอปุ นยั การวิจัยเชิงคุณภาพสามารถจ�ำแนกได้หลายประเภท เช่น การวิจัยเชิงคุณภาพพ้ืนฐาน การศึกษา เฉพาะกรณี การวิจัยแบบปรากฏการณ์วิทยา การวิจัยแบบทฤษฎีฐานราก การวิจัยแบบชาติพันธุ์ วรรณนา ฯลฯ การวิจัยเชิงคุณภาพในการบริหารการศึกษา ส่วนใหญ่เน้นวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ พนื้ ฐานโดยมขี นั้ ตอนทส่ี ำ� คญั ๆคลา้ ยกบั กระบวนการวจิ ยั ทว่ั ๆไปประกอบดว้ ยการศกึ ษาประเดน็ การวิจัย การก�ำหนดปัญหาการวิจัย การก�ำหนดกรอบแนวคิดทฤษฎี การเลือกสนามหรือกลุ่ม เป้าหมายที่ศึกษา การเก็บรวบรวมข้อมูลภาคสนาม การวิเคราะห์ข้อมูล และการเขียนรายงาน การวิจยั ส�ำหรับวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงคุณภาพท่ีส�ำคัญ มี 4 วิธี ได้แก่ การสังเกต การสัมภาษณ์ การสนทนากลุ่ม และการใช้ข้อมูลเอกสาร และกระบวนการเก็บรวบรวมข้อมูล เชิงคณุ ภาพ ประกอบดา้ ย 1) การก�ำหนดสนามหรือบุคคลทีจ่ ะเกบ็ ขอ้ มลู 2) การเข้าถึงสนามและ การสร้างสัมพันธภาพ 3) การเลือกแบบเจาะจง 4) การเก็บรวบรวมข้อมูล 5) การบันทึกข้อมูล 6) การแก้ปญั หาที่เกิดขนึ้ ในสนาม และ 7) การเกบ็ รกั ษาขอ้ มูล จากการวจิ ยั เชงิ ปรมิ าณและการวจิ ยั เชงิ คณุ ภาพดงั กลา่ วขา้ งตน้ อาจกลา่ วไดว้ า่ การวจิ ยั เชงิ ปริมาณ เป็นการวิจยั ที่มุ่งหาข้อเท็จจรงิ และข้อสรุปเชิงปรมิ าณ เน้นการใชข้ อ้ มลู ทีเ่ ป็นตวั เลข เป็นหลักฐานยืนยันความถูกต้องของข้อค้นพบและสรุปต่าง ๆ มีการใช้เครื่องมือท่ีมีความเป็น ปรนัยในการเก็บรวบรวมข้อมูล เช่น แบบสอบถาม แบบทดสอบ แบบสังเกต แบบสัมภาษณ์ แบบทดลอง ฯลฯ  สว่ นการวิจัยเชงิ คุณภาพจะมีลักษณะตรงกนั ขา้ ม กล่าวคือ เป็นการวจิ ยั ทผ่ี ูว้ จิ ัย จะต้องลงไปศึกษาสังเกตกลุ่มบุคคลท่ีต้องการศึกษาโดยละเอียดทุกด้านในลักษณะเจาะลึกหรือ ฝังตัว ลุ่มลึก ยาวนาน โดยใช้วิธีการสังเกตแบบมีส่วนร่วม และการสัมภาษณ์แบบไม่เป็นทาง การเป็นหลักในการเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลจะใช้การวิเคราะห์เชิงเหตุผลโดยมิได้ มงุ่ เกบ็ เปน็ ตวั เลขมาทำ� การวิเคราะห์ เพอื่ ใหเ้ หน็ จดุ เน้นเชงิ เปรยี บเทยี บระหว่างการวจิ ยั เชิงปริมาณและการวจิ ยั เชิงคณุ ภาพ ได้อย่างชดั เจนมากย่ิงขนึ้ จงึ อาจวิเคราะห์เปรยี บเทยี บและสรปุ ได้ 15 ประเด็น ดังแสดงในตารางที่ 1.3 (Johnson and Christensen, 2003; Wiersma and Jurs, 2005; โยธิน แสวงดี, 2557)

Research in Educational Administration • 7 ตารางที่ 1.3 การเปรียบเทียบระหว่างการวจิ ัยเชิงปรมิ าณและการวจิ ัยเชิงคณุ ภาพ ประเด็นการ การวิจยั เชงิ ปรมิ าณ การวจิ ยั เชิงคณุ ภาพ เปรียบเทียบ 1. แนวคิดพ้ืนฐาน - ปฏิฐานนยิ ม (Postivism) - ปรากฏการณ์นิยม (Phenomenalism) เชื่อในข้อเท็จจริงทางสังคมที่เป็น เชอื่ ในหลกั ปรากฏการณท์ างสงั คมมนษุ ย์ ไปตามกฎธรรมชาติซ่ึงเป็นสากล ท่ีมีลักษณะเคล่ือนไหวอยู่ตลอดเวลา ใช้ และสามารถพิสูจน์ได้ทุกเรื่อง แต่ หลกั การคน้ หาความรทู้ เี่ ปน็ ความจรงิ จาก ในการพิสูจน์นั้น ต้องกำ�หนดผัง แหล่งรากเหงา้ หรือต้นตอของขอ้ มลู หรือกรอบแนวคิดข้ึนมาก่อน ถ้า ผิดหลักการ ส่งิ นนั้ จะไมเ่ กดิ ข้ึน 2. วัตถุประสงค์ - มุ่งวิเคราะห์ หาความสัมพันธ์ - ตอ้ งการเข้าใจความหมาย กระบวนการ ระหว่างตัวแปรอิสระกับตัวแปร และความรู้สึกนึกคิดโดยเช่ือมโยงกับ ตาม บริบทของสังคม 3. วธิ กี ารทาง - ใช้วิธีการอนุมานหรือนิรนัย - ใชว้ ธิ กี ารอุปมานหรอื อปุ นัย (Inductive วทิ ยาศาสตร์ (Deductive method) คอื สรา้ งองค์ method) คือ สร้างองค์ความรู้จากการ ความรู้จากการอนุมาน โดยเริ่ม อุปมาน โดยเริ่มจากข้อมูล ข้อเท็จจริง จากตั้งทฤษฎีและสมมติฐานแล้ว ปรากฏการณ์ หรือเหตุการณ์ ท่ีเกิดขึ้น พสิ จู นห์ รอื ทดสอบวา่ มนั จรงิ หรอื แล้วค้นหาความจริงเพื่อพิสูจน์สำ�หรับ ไมจ่ รงิ อยา่ งเชน่ ในทฤษฎวี างหลกั การสรา้ งสมมตฐิ าน และทฤษฎี ไวว้ ่า อายมุ ผี ลทางตรงต่อการตาย นน่ั คอื เมอ่ื อายเุ พมิ่ ขน้ึ โอกาสตายก็ จะสงู ขนึ้ ผ้วู จิ ยั กจ็ ะอนุมาน (หรอื พยากรณ์) ไปตามน้ัน 4. ทฤษฎแี ละ - ต้ังทฤษฎีและสมมติฐานขึ้นมา - กำ�หนดทฤษฎีหรือสมมติฐานคร่าว ๆ สมมติฐาน ก่อนทำ�การเกบ็ ขอ้ มลู พร้อมท่ีจะเปล่ียนแปลงตามสถานการณ์ หรืออาจต้ังทฤษฎี/สมมติฐาน ข้ึนภาย หลังเก็บข้อมูล โดยต้ังทฤษฎีจากข้อมูลที่ ได้จากการวิจัยโดยเป็นทฤษฎีที่เรียกกัน ว่า “ทฤษฎีฐานราก” (Grounded theory) - เก็บข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล - เกบ็ ข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมลู เพื่อสรา้ ง เพือ่ พิสจู นท์ ฤษฎหี รอื สมมตฐิ าน ทฤษฎหี รอื สมมติฐาน

8 • การวจิ ัยทางการบรหิ ารการศึกษา 5. การสุม่ /เลือก - การสุ่มตัวอย่าง (Random sam- - การเลือกตวั อยา่ ง (Random selection) ตวั อยา่ ง pling) โดยอาศัยการสุ่มชนิดท่ี โดยอาศัยการเลือกชนิดที่ไม่ทราบ ทราบโอกาส หรือความน่าจะเป็น โอกาสหรอื ความนา่ จะเปน็ ทจ่ี ะไดร้ บั การ ที่จะได้รับการสุ่ม (Probability คัดเลือกเป็นตัวอย่าง (Non-probability sampling) sampling) - กลุ่มตวั อย่างทส่ี ุ่มได้เป็นตัวแทน - กลมุ่ ตวั อยา่ งไมเ่ ปน็ ตวั แทนของกลมุ่ เปา้ ของประชากรท่ีศกึ ษา หมายทต่ี อ้ งการศกึ ษา แตเ่ ปน็ แหลง่ บคุ คล ที่มีข้อมูลอย่ใู นตวั มากเปน็ พเิ ศษ ซงึ่ ไดม้ า จากการคัดเลือกแบบเจาะจง (Purposive sampling) 6. จำ�นวนตัวอย่าง - จำ�นวนมาก - จำ�นวนน้อย 7. ขอบเขตการ - ศกึ ษาในวงกวา้ ง โดยเลอื กเฉพาะ - ศึกษาแนวลึก เฉพาะกล่มุ ท่ีสนใจ วิจยั กลมุ่ ตัวอยา่ งทีส่ ุ่มมา - เปน็ การมองในมุมแคบ - เป็นการมองในมุมกว้าง (Wide-angle (Narrow-angle lens) lens) 8. บทบาทของ - แยกผู้วิจัยออกจากเร่ืองท่ีศึกษา - ผู้วิจัยเป็นเครื่องมือในการทำ�วิจัย โดย ผ้วู จิ ยั โดยไม่ได้เข้าไปมีส่วนร่วมใน จะเข้าไปเป็นผู้สังเกตหรือมีส่วนร่วมใน กิจกรรมของกลมุ่ เปา้ หมายทมี่ ุง่ ศึกษา ปรากฏการณ์ของแหล่งข้อมูลที่ผู้วิจัยมุ่ง ศึกษา 9. ข้อมูล ขอ้ มลู คือ จำ�นวนการแจงนบั ทไ่ี ด้ ข้อมูล คอื ตัวอกั ษร รปู ภาพ ภาพวาด คำ� รบั จากการตอบหรือการวัด พูด/ เรอ่ื งเลา่ วตั ถ/ุ สิง่ ของ 10. วิธกี ารเก็บ (Measurement) ข้อมลู - ใช้แบบสอบถามและเคร่ืองมือ - การศกึ ษาจากเอกสาร การวัดค่าต่าง ๆ ซึ่งมีโครงสร้างท่ี - การสังเกต ออกแบบไว้ก่อนทำ�การเก็บข้อมูล - การสังเกตแบบมสี ่วนรว่ ม โดยวธิ สี ง่ ไปเกบ็ ทางไปรษณยี ห์ รอื - การสนทนากลุ่มย่อย (Small group เกบ็ ด้วยตนเอง discussion) - การสนทนากลุ่มแบบเจาะจง (Focus group discussion) - การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (In-depth interview) - โครงสร้างการเก็บข้อมูลตายตัว - โครงสรา้ งการเก็บข้อมูลมีความยดื หยุ่น ไม่สามารถปรับได้อีกเมื่อทำ�การ สามารถปรบั แกไ้ ข/เพมิ่ เตมิ ไดอ้ กี ขณะเกบ็ เก็บข้อมูล ข้อมูล

Research in Educational Administration • 9 11. การ - วิเคราะห์เชิงปริมาณ โดยการ - วิเคราะห์เชิงตรรกะ (เหตผุ ล) เปน็ หลัก วิเคราะหข์ ้อมลู ใช้สถิติช่วย (Statistical analysis) อาจมีการวิเคราะห์เชิงปริมาณช่วยเล็ก มุ่งเน้นวิเคราะห์ตัวแปรและความ น้อย มุ่งเน้นการวิเคราะห์เชิงเน้ือหา สัมพนั ธ์ของตัวแปรตา่ ง ๆ (Content analysis)ดา้ นการใหค้ วามหมาย แรงผลักดนั (Motive) แบบแผน(Pattern) ของปรากฏการณ์ความคิด ความรู้สึก และ/หรือพฤติกรรม 12. ขอ้ คน้ พบ - ข้ อ ค้ น พ บ มี คุ ณ ส ม บั ติ เ ป็ น - ข้อค้นพบเป็นองค์รวมเชิงลึก มีความ ลักษณะทั่วไปของประชากรที่ เจาะจง ศกึ ษา (Generalization) - พรรณนาข้อค้นพบตามตัวแปร - พรรณนาข้อคน้ พบตามประเดน็ เน้ือหา และสถติ ิ 13. การสรุปผล -ขอ้ คน้ พบทไ่ี ด้ ผวู้ จิ ยั สามารถนำ�ไป - ข้อค้นพบที่ได้ สามารถใช้อ้างอิงได้ ใชอ้ า้ งองิ แทนประชากรทงั้ หมดได้ เฉพาะกลมุ่ หรอื สรปุ ในบรบิ ททม่ี ลี กั ษณะ หรือสามารถสรุปอ้างอิงไปยัง เฉพาะ (Context-specific) ไมส่ ามารถสรปุ บริบทอ่ืนได้ โดยเป็นอิสระจาก เปน็ นยั ทวั่ ไปแลว้ อา้ งองิ ไปยงั บรบิ ทอน่ื ได้ บรบิ ทแวดลอ้ ม (Context-specific) 14. การรายงานผล - รายงานผลการวิจัยโดยอ้างอิง - รายงานผลการวจิ ยั โดยอา้ งองิ คำ�พดู หรอื สถิติ (Report statistical analysis) เรอื่ งราวจรงิ จากกลมุ่ ตวั อยา่ ง (Report rich narrative) 15. ทกั ษะของ - มคี วามสามารถทางสถติ ิ - มีความละเอียดอ่อนในการสังเกต การ นักวจิ ัย เก็บรวบรวมขอ้ มูล และการตีความ จากตารางท่ี 1.3 จะเห็นได้วา่ การวิจยั เชงิ ปริมาณและการวจิ ัยเชิงคุณภาพ มปี ระเดน็ เปรยี บเทยี บเพอ่ื ใหเ้ หน็ ความแตกตา่ งทงั้ หมด 15 ประเดน็ ไดแ้ ก่ 1) แนวคดิ พน้ื ฐาน 2) วตั ถปุ ระสงค์ 3) วิธีการทางวทิ ยาศาสตร์ 4) ทฤษฎีและสมมตฐิ าน 5) การสมุ่ /เลอื กตัวอย่าง 6) จำ� นวนตวั อยา่ ง 7) ขอบเขตการวิจัย 8) บทบาทของผู้วิจัย 9) ข้อมูล 10) วิธีการเก็บข้อมูล 11) การวิเคราะห์ ขอ้ มูล 12) ขอ้ คน้ พบ 13) การสรปุ ผล 14) การรายงานผล และ 15) ทกั ษะของนักวิจัย ซง่ึ ท้ัง 15 ประเด็นดงั กลา่ ว เปน็ เร่อื งท่ีผวู้ ิจัย โดยเฉพาะผู้ที่เลอื กใช้วิธวี จิ ัยแบบผสมผสานวธิ ี ควรศึกษาและ ท�ำความเข้าใจให้ชดั เจน 3. การวิจยั แบบผสมผสานวิธี (Mixed Methods Research) เปน็ การวจิ ัยทีใ่ ชว้ ธิ กี าร เชงิ ปริมาณและวิธกี ารเชิงคุณภาพในการกำ� หนดปญั หา การเก็บรวบรวมขอ้ มูล และการวิเคราะห์ ขอ้ มลู เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจตอ่ ปญั หาทดี่ กี วา่ การใชว้ ธิ วี จิ ยั เพยี งอยา่ งเดยี ว แบบแผนการวจิ ยั แบบ ผสมผสานวธิ ี มี 6 ลกั ษณะ คือ 1) แบบคขู่ นาน (Convergent parallel design) 2) แบบอธบิ ายตาม ลำ� ดบั (Explanatory sequential design) 3) แบบส�ำรวจบกุ เบกิ ตามล�ำดบั (Exploratory sequential

10 • การวิจยั ทางการบรหิ ารการศกึ ษา design) 4) แบบฝังตัวอยู่ภายใน (Embedded design) 5) แบบเปลี่ยนแปลง (Transformative design) และ 6) แบบหลายขนั้ ตอน (Multiphase design) การตดั สนิ ใจเลอื กแบบแผนการวจิ ยั แบบผสมผสานวธิ ี ตอ้ งคำ� นงึ ถงึ ระดบั ปฏสิ มั พนั ธ์ การให้น�้ำหนักในการวิจัยท้ัง 2 วิธี ช่วงเวลาในการศึกษา และลักษณะของการผสมผสาน โดยมีข้ันตอนการด�ำเนินการวิจัย คือ 1) การพิจารณาว่าการวิจัยแบบผสมผสานสามารถใช้ได้ 2) การระบเุ หตุผลในการใช้วธิ กี ารวิจัยแบบผสมผสาน 3) การกำ� หนดยทุ ธศาสตร์การเก็บรวบรวม ข้อมูล 4) การพัฒนาค�ำถามการวิจัยเชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ และค�ำถามการวิจัยแบบผสมผสาน 5) การเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ 6) การวิเคราะห์ข้อมูลอย่างแยกจากกัน หรือการวิเคราะห์ขอ้ มูลไปพรอ้ ม ๆ กนั และ 7) การเขียนรายงานการวิจยั (ดูรายละเอยี ดในบทที่ 4) สรปุ ทา้ ยบท การวิจัยทางการบริหารการศึกษา เป็นการวิจัยที่มุ่งแสวงหาความรู้ใหม่ หรือวิธีแก้ ปัญหาแบบใหม่ หรือค�ำตอบใหม่ ที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมทางด้านการบริหารการศึกษา โดยใช้ กระบวนการที่เชื่อถือได้และทรัพยากรท่ีเหมาะสม ลักษณะการวิจัยทางการบริหารการศึกษา จะเก่ียวข้องกับองค์การ ผู้บริหาร ครูอาจารย์ นักเรียนนักศึกษา การเรียนการสอน วัสดุ อุปกรณ์ และสภาพแวดลอ้ ม โดยมจี ดุ เนน้ ทภ่ี ารกจิ และกระบวนการทำ� งานรว่ มกนั เพอื่ ขบั เคลอ่ื นการเรยี น การสอนใหบ้ รรลวุ ตั ถุประสงค์ การวิจัยทางการบริหารการศึกษาดังกล่าว เมื่อยึดทฤษฎีเป็นหลัก อาจจ�ำแนกได้ ตามทฤษฎีที่ใช้เป็นกรอบแนวคิดในการวิจัย ทฤษฎีท่ีส�ำคัญ ได้แก่ ทฤษฎีองค์การ ทฤษฎีอ�ำนาจ ทฤษฎีภาวะผู้น�ำ ทฤษฎีบรรยากาศองค์การ ทฤษฎีเก่ียวกับบุคคลในองค์การ และทฤษฎีการจูงใจ แต่เม่ือยึดแนวปฏิบัติเปน็ หลกั อาจจำ� แนกตามภารกจิ การบริหาร กระบวนการบรหิ าร และระดับ หรอื ประเภทการศึกษา ส�ำหรบั การวจิ ัยทางการบริหารการศกึ ษาที่เป็นกระแสหลกั ในปจั จุบัน อาจจำ� แนกได้ 3 ประเภท หรอื 3 แบบ ประกอบดว้ ย 1) การวิจัยเชิงปรมิ าณในการบริหารการศึกษา 2) การวจิ ัย เชิงคุณภาพในการบรหิ ารการศกึ ษา และ 3) การวิจยั แบบผสมผสานวิธีในการบริหารการศกึ ษา

บทท่ี การวจิ ัยเชงิ ปริมาณ 2 QUANTITATIVE RESEARCH ข้อมูลสารสนเทศมีความส�ำคัญมาช้านาน ย่ิงในยุคปัจจุบันซ่ึงเป็นช่วงศตวรรษท่ี 21 ยิ่งมีความส�ำคัญเพิ่มมากขึ้น เพราะในยุคนี้ได้ช่ือว่าเป็นยุคแห่งข้อมูลข่าวสารที่มีความรวดเร็ว แพร่กระจายอย่างกว้างขวาง จนสามารถรับรู้กันได้ทันทีทั่วโลก เนื่องจากมีการพัฒนาเทคโนโลยี สารสนเทศถึงขีดที่จะช่วยประมวลผลได้อย่างรวดเร็ว และส่งผ่านไปยังท่ีต่าง ๆ ได้อย่างทันที ใน ทางการบริหารการศึกษาเองก็มองเห็นความส�ำคัญของข้อมูลสารสนเทศมากยิ่งข้ึน เพราะเป็น ส่วนสำ� คญั ยงิ่ ตอ่ การตดั สินใจในการด�ำเนนิ งานตา่ ง ๆ จะชว่ ยใหก้ ารตดั สินใจถูกตอ้ ง และชว่ ยใน การวางแผนด�ำเนินงานได้อย่างเหมาะสม เพ่ือให้เกิดผลดีต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา อย่างไร กต็ าม ข้อมูลสารสนเทศที่จะนำ� มาใชป้ ระกอบการตดั สินใจดังกลา่ ว ควรจะได้มาจากการบวนการ วจิ ัยเพราะจะท�ำให้มีความเทย่ี งตรง และน่าเช่อื ถอื ดังนน้ั ผ้บู รหิ ารการศึกษาและผบู้ รหิ ารสถาน ศึกษาจึงควรจะได้ศึกษาเก่ียวกับการวิจัยทางการบริหารการศึกษาเพ่ือเป็นเคร่ืองมือที่จะช่วยให้ได้ ขอ้ มลู สารสนเทศประกอบการตดั สินใจท่มี เี หตุผล มีความเทย่ี งตรง เท่ยี งธรรม น่าเช่ือถอื ลดภาวะ ความเส่ยี งทจ่ี ะตัดสินใจผดิ พลาด และเป็นประโยชน์ต่อการบริการจัดการศึกษาได้อย่างมีคณุ ภาพ การวจิ ยั ทางการบรหิ ารการศกึ ษาทเี่ ปน็ กระแสหลกั ในปจั จบุ นั ทผ่ี บู้ รหิ ารควรจะไดศ้ กึ ษา ใหเ้ ขา้ ใจและนำ� ไปประยกุ ตใ์ ชห้ รอื เปน็ เครอื่ งมอื ในการใหไ้ ดม้ าซง่ึ ขอ้ มลู สารสนเทศทเ่ี ปน็ ประโยชน์ ต่อการตดั สนิ ใจนัน้ ประกอบด้วย การวจิ ยั 3 ประเภท หรือ 3 แบบ ไดแ้ ก่ การวจิ ยั เชงิ ปรมิ าณ การ วจิ ยั เชิงคณุ ภาพ และการวจิ ยั แบบผสมผสานวธิ ี ซึ่งจะไดน้ �ำเสนอในบทท่ี 2 บทที่ 3 และบทท่ี 4 ตามล�ำดับ ในบทน้ี จะน�ำเสนอการวิจัยเชิงปริมาณ ซึ่งประกอบด้วยเน้ือหาสาระท่ีส�ำคัญ 7 ตอน ประกอบด้วย ตอนที่ 1 แนวคดิ เกีย่ วกบั การวิจัยเชิงปรมิ าณ ตอนท่ี 2 ชอื่ เรอื่ งและบทนำ� ตอนที่ 3 การทบทวนวรรณกรรมทเ่ี กีย่ วขอ้ ง ตอนท่ี 4 วธิ ดี �ำเนินการวิจัย ตอนท่ี 5 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู ตอนที่ 6 การสรปุ อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ และ ตอนท่ี 7 กรณีตวั อยา่ งงานวิจยั เชิงปริมาณ โดยมรี ายละเอียด ดังต่อไปน้ี ตอนท่ี 2.1 แนวคดิ เกีย่ วกับการวิจยั เชงิ ปริมาณ ในส่วนนี้ จะน�ำเสนอประเด็นที่ส�ำคัญเก่ียวกับแนวคิดของการวิจัยเชิงปริมาณ ซ่ึงประกอบด้วยแนวคิดพ้ืนฐานของการวิจัยเชิงปริมาณ ความหมายของการวิจัยเชิงปริมาณ และ ลักษณะสำ� คัญของการวจิ ัยเชิงปรมิ าณ โดยมีรายละเอยี ดดังต่อไปนี้ 1. แนวคดิ พน้ื ฐานของการวิจัยเชิงปรมิ าณ การวิจัยเชิงปริมาณมีรากฐานมาจาก “ปรัชญาเชิงปฏิฐานนิยม” (Positivist) หรือ “กระบวนทศั นแ์ บบปฏฐิ านนยิ ม” ซงึ่ เปน็ กระบวนทศั นด์ ง้ั เดมิ ทม่ี อี ทิ ธพิ ลอยา่ งมากตอ่ การแสวงหา

12 • การวจิ ัยทางการบรหิ ารการศึกษา ความรู้ความจริงของมวลมนุษยชาติ โดยปรัชญาหรือกระบวนทัศน์ดังกล่าวมีแนวคิดความเช่ือ วา่ การแสวงหาความรคู้ วามจรงิ ทางสงั คม โดยวธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์ คือ การสงั เกต การสัมผัส การควบคุมองค์ประกอบ ปัจจัย หรือตัวแปรท่ีไม่เกี่ยวข้องออกไปจากประเด็นที่มุ่งศึกษาวิจัย การแปลงคุณสมบัติของส่ิงท่ีท�ำการศึกษาออกมาเป็นตัวเลขอย่างเป็นระบบ และให้มีความ เป็นปรนัย เพื่อน�ำไปค�ำนาณหาความแม่นย�ำในการตอบค�ำถามการวิจัย ท�ำให้ได้ความรู้ความจริง ท่ีน่าเช่ือถือ ปราศจากอคติและค่านิยมของสังคม ค�ำว่า “ปฏิฐานนิยม” (Positivism) เป็นค�ำที่ ออกุสต์ คอมต์ (Auguste Comte, 1798-1857) นักปราชญ์ชาวฝรั่งเศส ใช้เพ่ือแสดงแนวคิด เชิงปรัชญาแบบประสบการณ์นิยม (Empiricism) ท่ีให้ความส�ำคัญกับการสืบค้นธรรมชาติของ การเกิดปรากฏการณ์ใด ๆ ที่สนใจมากกว่าการแสวงหามูลเหตุระดับรากฐานที่สุดของการเกิด ปรากฏการณ์ รวมท้ังการให้ความส�ำคัญกับการแสวงหาความรู้ท่ีแท้จริง ซ่ึงได้จากประสบการณ์ ผ่านทางประสาทสมั ผสั หรืออายตนะทงั้ ห้า ไดแ้ ก่ ตาเห็นรปู หไู ดย้ นิ เสียง จมกู ดมกลนิ่ ลน้ิ ชิมรส และผิวกายรับสัมผัสร้อน/เย็นหรือแข็ง/นุ่ม (พิชิต ฤทธ์ิจรูญ, 2557, อ้างจาก องอาจ นัยพัฒน์, 2549) 2. ความหมายของการวจิ ัยเชงิ ปริมาณ “การวิจัยเชิงปริมาณ” มีนักวิชาการท้ังในประเทศและต่างประเทศจ�ำนวนมากได้ให้ ความหมายไว้ โดยเน้นที่การใช้ตัวเลขและการวัดค่าตัวแปรออกมาเป็นตัวเลขเพื่อเป็นหลักฐาน เชงิ ประจักษใ์ นการอธบิ ายปรากฏการณท์ างสังคมท่ตี อ้ งการศกึ ษา นักวิชาการในต่างประเทศ ได้ให้ความหมายของการวิจัยเชิงปริมาณไว้หลากหลาย ดังตวั อย่างต่อไปนี้ Krathwohl (1993, p. 70) ได้ให้ความหมายของการวิจัยเชงิ ปริมาณวา่ หมายถึง การวจิ ัย ที่ศึกษาเพื่ออธิบายปรากฏการณ์ทางสังคมที่เน้นการใช้ตัวเลขและการวัดค่าแทนการใช้ค�ำพูด หรือขอ้ ความ ตอ่ มาอกี 10 ปี Johnson and Christensen (2003, p. 17) ไดใ้ หค้ วามหมายของการวจิ ยั เชงิ ปรมิ าณโดยให้ความส�ำคญั กบั ตัวเลขซึ่งสอดคลอ้ งกับ Krathwohl วา่ หมายถึง การศึกษาหาความรู้ ความจริงที่เน้นหรือให้ความส�ำคญั กบั วธิ ีการรวบรวมขอ้ มูลเชิงปรมิ าณ หรอื ขอ้ มลู ท่ีเป็นตวั เลข ส่วนนักวิชาการในประเทศ ก็ได้ให้ความหมายของการวิจัยเชิงปริมาณไว้หลากหลาย เช่นเดยี วกัน ดงั ตัวอยา่ งตอ่ ไปนี้ นงลักษณ์ วิรัชชัย (2543, หน้า 8-9) ให้ความหมายของการวิจัยเชิงปริมาณโดยให้ ความสำ� คัญกบั ตัวเลขซง่ึ สอดคลอ้ งกบั Krathwohl ว่า หมายถึง การวิจยั ที่ใช้ข้อมลู ประกอบดว้ ย ตัวแปรท่ีมีการก�ำหนดค่าของตัวแปรเป็นตัวเลข และใช้วิธีการทางสถิติวิเคราะห์ข้อมูลเพ่ือตอบ ปัญหาการวจิ ยั ตอ่ มาอีก 7 ปี วรรณี แกมเกตุ (2551, หน้า 30) ให้ความหมายว่า การวิจยั เชงิ ปริมาณ หมายถึง การแสวงหาความรู้ความจริงเก่ียวกับปรากฏการณ์ทางสังคมท่ีต้องการศึกษาโดยอาศัย ข้อมลู หลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ (Empirical evidence)

Research in Educational Administration • 13 จากการให้ความหมายของการวิจัยเชิงปริมาณของนักวิชาการท้ังในประเทศและ ตา่ งประเทศ ดงั กล่าวขา้ งต้น มคี วามหมายที่สอดคล้องกัน ซงึ่ อาจสรปุ ได้ว่า การวิจัยเชิงปรมิ าณ เป็นการวิจัยท่ีมุ่งเน้นการศึกษาโดยใช้วิธีการรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติท่ีอยู่ใน ลักษณะตัวเลขหรือก�ำหนดเป็นปริมาณได้ในการอธิบายปรากฏการณ์ทางสังคมหรือตอบค�ำถาม วิจัยท่ีนักวิจยั สนใจศึกษา 3. ลักษณะส�ำคญั ของการวิจยั เชงิ ปริมาณ Wiersma and Jurs (2005, pp. 13-15) ได้อธิบายลกั ษณะสำ� คัญของการวจิ ัยเชิงปรมิ าณ ซ่ึงนักวิจัยทว่ั ไปควรกำ� หนดและทำ� ความเข้าใจ ดังน้ี 3.1 เป็นการศึกษาหาความรู้ความจริงโดยใช้วิธีการสืบเสาะแบบอนุมานหรือ นิรนยั (Deductive inquiry) การวิจัยเชงิ ปริมาณ เป็นการเร่มิ ต้นคดิ หรือศกึ ษาโดยอาศัยกฎเกณฑ์ ทางตรรกะ หรือการใหเ้ หตุผลจากขอ้ เท็จจริงของหลักการส�ำคญั หรือนยั ท่วั ไป (General) ไปสู่ขอ้ เท็จจรงิ เฉพาะ (Specific) 3.2 ใช้กระบวนทัศน์แบบปฏิฐานนิยม (Positivism paradigms) เป็นฐานความ คิดในการศึกษาความรู้ความจริงของสังคม การวิจัยเชิงปริมาณ เป็นวิจัยโดยยึดแนวทางวิธีการ ทางวิทยาศาสตร์ (Scientific method) คอื การสังเกต การสมั ผัส การควบคมุ องค์ประกอบ ปจั จัย หรือตัวแปรท่ีไม่เกี่ยวข้องออกไปจากประเด็นที่มุ่งศึกษาวิจัย การแปลงคุณสมบัติของสิ่งที่ท�ำการ ศกึ ษาออกมาเปน็ ตวั เลขอยา่ งเปน็ ระบบ และใหม้ คี วามเปน็ ปรนยั เพอ่ื นำ� ไปคำ� นาณหาความแมน่ ยำ� ในการตอบค�ำถามการวิจัย ท�ำให้ได้ความรู้ความจริงที่น่าเช่ือถือ ปราศจากอคติและค่านิยมของ สังคม 3.3 มงุ่ ศกึ ษาขอ้ เทจ็ จรงิ การวจิ ยั เชงิ ปรมิ าณเปน็ วจิ ยั ทมี่ งุ่ ศกึ ษาขอ้ เทจ็ จรงิ เกยี่ วกบั ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งตวั แปร (Relationships) สาเหตทุ ท่ี ำ� ให้เกิดการเปล่ยี นแปลง (Causes) และ ผลทเ่ี กดิ การเปล่ียนแปลง (Effects) 3.4 ใชท้ ฤษฎเี ปน็ หลกั ความคดิ ในการศกึ ษา (Theory-Based) การวจิ ยั เชงิ ปรมิ าณ เป็นการวิจัยที่เริ่มจากการศึกษาทฤษฎีที่นักวิจัยเลือกและมีการแสวงหาข้อมูลหรือหลักฐาน เชงิ ประจักษเ์ พอ่ื ตรวจสอบความถูกตอ้ งตามทฤษฎี 3.5 มุ่งเน้นการศึกษาเป็นเฉพาะรายตัวแปร (Focused on individual variables) การวิจยั เชิงปรมิ าณ เป็นการวจิ ยั ทีเ่ น้นการศึกษาตัวแปรรายตวั หรอื ศกึ ษาปจั จัยตา่ ง ๆ มากกว่าท่จี ะ เนน้ การตีความหมายผลการศึกษาแบบองคร์ วม หรอื สิ่งท่เี ป็นแบบอยา่ ง 3.6 ผลการวจิ ยั จากบางสว่ นสามารถสรปุ อา้ งองิ ไปยงั ทกุ สว่ นการวจิ ยั เชงิ ปรมิ าณ เป็นการวจิ ัยท่ผี ้วู ิจยั สามารถสรุปผลการวจิ ัยจากบางสว่ นไปยังทกุ ส่วน หรอื สรุปเปน็ นัยทวั่ ไปแล้ว อ้างองิ ไปยังบรบิ ทอนื่ โดยเปน็ อสิ ระจากบรบิ ทแวดล้อมได้ (Context-free/Generalizations) 3.7 บทบาทของนักวิจัย (Role of researcher) ในการวิจัยเชิงปริมาณ บทบาท ของนักวิจัยจะแยกออกจากแหล่งข้อมูลท่ีศึกษา โดยไม่ได้เข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมของกลุ่ม เปา้ หมายท่ีมงุ่ ศกึ ษา

14 • การวิจัยทางการบรหิ ารการศกึ ษา จากลกั ษณะสำ� คญั ของการวจิ ยั เชงิ ปรมิ าณดงั กลา่ วขา้ งตน้ อาจกลา่ วไดว้ า่ การวจิ ยั เชิงปริมาณ เป็นการวิจัยทม่ี ีลกั ษณะเฉพาะซง่ึ จะแตกต่างจากลักษณะของการวิจัยเชิงคณุ ภาพที่จะ กล่าวถึงในบทถัดไปอย่างชัดเจน กล่าวคือ เป็นการวิจัยที่เน้นหาความรู้ความจริงโดยใช้วิธีการสืบ เสาะแบบอนมุ านหรอื นริ นยั ใชก้ ระบวนทศั นแ์ บบปฏฐิ านเปน็ ฐานความคดิ ในการศกึ ษา มงุ่ ศกึ ษา ขอ้ เทจ็ จรงิ เกยี่ วกบั ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งตวั แปรเหตแุ ละผลใชท้ ฤษฎเี ปน็ หลกั ความคดิ ในการศกึ ษา รายตวั แปร ผลการวจิ ยั จากบางสว่ นสามารถสรปุ อา้ งองิ ไปยงั บรบิ ทอนื่ ได้ และบทบาทของนกั วจิ ยั จะแยกออกจากแหลง่ ขอ้ มูลทศี่ ึกษา กล่าวสรุปโดยภาพรวม ผู้วิจัยควรศึกษาและท�ำความเข้าใจเก่ียวกับประเด็น ส�ำคัญที่เกี่ยวกับแนวคิดของการวิจัยเชิงปริมาณสามประเด็น ได้แก่ แนวคิดพ้ืนฐานของการวิจัย เชิงปรมิ าณ ความหมายของการวิจัยเชงิ ปรมิ าณ และลักษณะสำ� คญั ของการวิจยั เชงิ ปรมิ าณ ตามที่ ไดน้ ำ� เสนอมาแล้วข้างตน้ ตอนท่ี 2.2 ช่ือเรือ่ งและบทน�ำ กระบวนการวิจัยเชิงปริมาณท่ีเก่ียวกับชื่อเรื่องและบทน�ำในตอนท่ี 2.2 นี้ ประกอบ ด้วยเน้ือหาสาระท่ีส�ำคัญ 18 เร่ือง ได้แก่ 1) การต้ังช่ือเร่ืองวิจัย 2) การก�ำหนดปัญหาการวิจัย 3) ปัญหาการวิจัยอยู่ท่ีไหน 4) ลักษณะของปัญหาการวิจัยท่ีดี 5) ตัวอย่างปัญหาการวิจัย 6) การก�ำหนดเร่ืองเพ่ือการท�ำวิจัย 7) หลักเกณฑ์การตั้งชื่อเรื่องวิจัย 8) ความเป็นมาและความ ส�ำคัญของปัญหาการวิจัย 9) วัตถุประสงค์การวิจัย 10) ค�ำถามการวิจัย (หรือโจทย์วิจัย) 11) สมมตฐิ านการวจิ ยั 12) กรอบแนวคดิ การวจิ ยั 13) ขอบเขตของการวจิ ยั 14) นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ 15) ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 16) แนวทางการเขียนความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา การวจิ ยั 17) คำ� ถามทีผ่ ูว้ จิ ยั ต้องตอบ และ 18) ตัวอยา่ งการเขยี นความเปน็ มาและความสำ� คญั ของ ปญั หา โดยมรี ายละเอยี ด ดังต่อไปน้ี 1. การตั้งชอื่ เร่ืองวจิ ัย (Research Title/Topic) กอ่ นการตั้งชื่อเรอ่ื งวจิ ยั ผ้วู ิจัยต้องเลอื กปัญหาการวจิ ยั ก่อน เพราะจดุ เริม่ ต้นของการ ตงั้ ชื่อเร่อื งวจิ ัย หรอื จดุ เริม่ ตน้ ของการวจิ ยั อยู่ท่ี ปัญหา (Problem) หรือ ปัญหาการวจิ ยั (Research problem) เมอ่ื เลอื กปญั หาไดแ้ ล้ว ก็ต้องวเิ คราะหห์ าสาเหตุของปัญหา ซ่ึงปญั หาหน่งึ ๆ อาจมไี ด้ หลายสาเหตุ และเมื่อผู้วิจัยวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาได้แล้ว ก็ให้น�ำปัญหาและสาเหตุของ ปญั หานน้ั มากำ� หนดการตง้ั ชอ่ื เรอ่ื งวจิ ยั โดยใหช้ อ่ื เรอ่ื งมคี วามสมั พนั ธโ์ ดยตรงกบั สาเหตขุ องปญั หา 2. การกำ� หนดปัญหาการวิจยั (Research problem) ปัญหาการวจิ ยั ถอื เปน็ ส่วนที่ส�ำคญั มาก อาจเรยี กไดว้ า่ เปน็ หวั ใจของกระบวนการวิจยั เลยกไ็ ดเ้ นอื่ งจากคณุ คา่ ของงานวจิ ยั จะเรมิ่ ตง้ั แตก่ ารเลอื กปญั หาการวจิ ยั ทมี่ คี ณุ คา่ หรอื มปี ระโยชน์ เพราะหากท�ำการวิจัยในประเด็นท่ีไม่มีคุณค่าหรือไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ หรือเพียงตอบสนอง ความต้องการอยากรู้ของตนเอง แต่ผู้อ่ืนหรือหน่วยงานอื่นน�ำไปใช้ประโยชน์ต่อไม่ได้ ก็คงไม่ เป็นการวิจยั ทด่ี ี

ϭϴ  Research in Educational Administration • 15 การก�ำหกนารดกปาหัญนหดปาัญกหาารกวาริจวัยิจยั กก็ค็คือือกการานรานเส�ำนเอสปนัญอหาปในัญรหูปขาอใงนปรรูะปพขจอน์ขงอปงรปะัญพหาจกนาร์ขวิจอัยงปัญหา การวจิ ัย (Sta(Stetamtemenentt ooffthtehReesReaerscheaPrrocbhlemPr)oคbือleขmอ้ ค)วคามอื ที่เขป็อ้นคปรวะาโมยทคบี่เปอกน็ เลป่ารหะรโือยปครบะโอยกคเปลฏา่ ิเสหธหรรอื ือประโยค ไปหคดวฏร้แาอืิเมสกทไ่ธีเ่มขกห่บดิ้อรรขมือร้นึูลภหเปปกลาจทรรณรพุผืะอรี่เฑะทโลไปิงยี่มค์โ2หค็นดยว่ป.1บารคังรเมอกือะแบสกสไณสาเอบมเลรดฑคก่า็จ่ปเงวกชเ์คราใลบัิงมนะวปข่าสสอ้ภาฏเาชมมิเเบาสรูลิงพส็จธคทปใท�ี่ำเวนปใฏเ็าี่หนเร2ริเม้เคื่็สจอ.ห1วสงก็นธาต�ำ(มับค่าปเสวงรขาใราๆ็จมมห้อะใาชกมโร้นเดัหถดอูลเเหยจร็นบทมนร่ือือีขคเ่ีเคปงส้อปว็ตนถุณม็านารูล่ามนาูปงใครภนชธวากัๆรเัดพรารษื่อทเมมโจง,์ี่ทเดนสกน2าี่ั้ยยนไ5าเวดมมป6ๆกจ้ 0ีขาบรั็นอิ)งร้อส้าหรงถภมรูปอาืหอูลิงวธทดะใร้่ีเรวนขกือยรอิดเสงรขไมค้ดึนื่อถเวแ้กจงาากร่ีมยนนิง่ ขไวดั้นภอม้ กงั ม่บาแับๆูพลรสทรสดทล่ีอเงปภุผใ่ีท้า็นนลาง�ำวอไะดิงขด้จอ้วรงยิง   b  เกณฑ์ความสำเร็จ (b)  สภาพปญั หา (P) ความสามารถทที่ ำได้ C  หรอื สภาพเดมิ (C)    P = ab - ac aa   ภภาาพพทที่ 2ี่ .21.1การกกาาหรนกด�ำปหัญนหดากปารญั วจิหยั าการวิจยั จากภาพท่ี 2.1 สมมตวิ ่า ในการสอบครัง้ หนึง่ ต้ังเกณฑค์ วามสำ� เร็จไว้ 80 คะแนน (b) แต่วัดความรู้ของเจดา็กกภไาดพ้ ท4่ี 20.1คสะมแมนติวน่า ใน(cก)ารกสอ็ถบือควร้ัง่าหนไม่ึง ่สต้งั�ำเเกรณ็จฑตค์ าวมามเสกาณเร็จฑไว์ ้เ8ก0ิดคะเปแน็นนช(b่อ)งแวต่า่วงดั /ปัญหา (Gap/Probleคmวา)มซรู้ข่งึ อแงทเดน็กไดดว้ ้ 4ย0สคัญะแลนักนษ(cณ) ก์ (็ถPือ)ว่า ไม่สาเร็จตามเกณฑ์ เกิดเป็นช่องว่าง/ปัญหา (Gap/Problem) ซ่ึงแทนดว้ ยสัญลกั ษณ์ (P) 3. ปญั หาการวจิ ยั อยู่ท่ไี หน ถามว่า ปญั หาการวิจัยอยู่ทไ่ี หน ? อย่ทู ี่เขา หรอื อยู่ทเี่ รา ? หรอื ว่าอย่ทู ่พี นื้ ที่ หรอื อยทู่ ่ี ผวู้ ิจยั เอง ? คำ� ถามเหล่าน้ี ผูว้ จิ ัยต้องตอบใหไ้ ด้อยา่ งชัดเจน ดงั นนั้ ก่อนตง้ั ชอ่ื เรอ่ื งเพื่อการท�ำวจิ ัย ให้ผู้วิจัยถามตนเองก่อนว่า “ปัญหาการวิจัย” อยู่ท่ีไหน ผู้วิจัยก�ำหนดรู้ชัดเก่ียวกับ “ปัญหาการ วจิ ยั ” ดงั กลา่ ว แลว้ ยงั ? ถา้ ยงั ... กแ็ สดงวา่ ปญั หาการวจิ ยั ยงั อยทู่ ผ่ี วู้ จิ ยั เอง คอื ผวู้ จิ ยั เปน็ คนมปี ญั หา ในตวั เอง แตย่ งั ไม่มปี ัญหาการวจิ ยั ทแ่ี ทจ้ รงิ มแี ต่ “ตณั หาวิจยั ” คอื อยากทำ� วิจัย ยงั ไมช่ ดั เจนใน การก�ำหนดปัญหาการวิจัย เพียงแต่อยากท�ำวิจัย ท้ัง ๆ ที่ไม่รู้เลยว่า “ปัญหาการวิจัย” ที่แท้จริง คืออะไร ท�ำวิจัยแล้วจะน�ำผลการวิจัยไปใช้เพื่อแก้ปัญหาอะไร อย่างไรก็ตาม แม้เม่ือผู้วิจัยก�ำหนด ปัญหาการวิจัยท่ีแท้จริงได้แล้ว แต่ไม่ได้อ้างอิงที่มาของปัญหาการวิจัยน้ัน ปัญหาการวิจัย ดังกล่าวนั้นก็จะกลายเป็น “กล่าวหาวิจัย” ไปในทันที คือ ไม่มีหลักฐานยืนยันเชิงประจักษ์เพ่ือ ให้เหน็ ความส�ำคญั และนา่ เช่อื ถอื แค่กล่าวหาลอย ๆ เป็นเสมือนหน่ึงไปช้วี า่ พืน้ ที่หรือสถานศึกษา ทจี่ ะไปทำ� วจิ ยั นัน้ เป็นปญั หา ทัง้ ๆ ท่อี าจไมไ่ ด้เป็นปญั หาอยา่ งทีผ่ ู้วิจัยช้ีหรือกล่าวอา้ งก็ได้

16 • การวิจัยทางการบรหิ ารการศึกษา อันท่ีจริง ปัญหาการวิจัยเป็นผล (ไม่ใช่เหตุ) ท่ีเกิดมาจากเหตุ ซ่ึงในทางการบริหารการ ศึกษานน้ั ปัญหาการวจิ ัยอาจอย่ทู ผ่ี ลของการบริหารทไ่ี มม่ ีประสิทธิภาพ อยู่ท่ผี ลของการสอนของ ครทู ไี่ มไ่ ดม้ าตรฐานหรอื อาจอยทู่ ผ่ี ลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นของนกั เรยี นทไี่ มผ่ า่ นเกณฑม์ าตรฐานขนั้ ตำ่� ฯลฯ การทจ่ี ะไดม้ าซง่ึ ปญั หาการวจิ ยั ดงั กลา่ ว ผวู้ จิ ยั ตอ้ งรจู้ กั แหลง่ ทม่ี าของปญั หาการวจิ ยั เปน็ อยา่ ง ดี ซง่ึ อาจสรุปแหลง่ ทีม่ าของปัญหาการวิจัยได้ 5 แหลง่ ดังนีค้ อื 1) ประสบการณ์ เปน็ ประสบการณ์ สว่ นตัวของผูว้ ิจยั ท่ีเคยพบ เคยเห็น หรอื เคยประสบกับปรากฏการณท์ างสงั คม 2) แนวคดิ ทฤษฎี เป็นความไม่สอดคล้องระหว่างแนวคิดทฤษฎีกับเหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนจริงในสังคมที่สามารถน�ำไป สู่การกำ� หนดปญั หาการวจิ ยั 3) การทบทวนวรรณกรรม โดยการอ่านรายงานการวิจัย วทิ ยานิพนธ์ หรอื บทความในวารสารตา่ ง ๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การบรหิ ารการศกึ ษา 4) การปรกึ ษานกั วจิ ยั และเพอ่ื น รว่ มงาน เปน็ อกี แหลง่ หนงึ่ ทที่ ำ� ใหไ้ ดป้ ญั หาการวจิ ยั เพราะนกั วจิ ยั และเพอื่ นรว่ มงานทมี่ คี วามรอบรู้ และประสบการณท์ างดา้ นวจิ ยั ยอ่ มสามารถทจี่ ะมองเหน็ ปญั หาในเรอ่ื งตา่ ง ๆ ไดด้ ี และจะสามารถ ใหข้ ้อแนะน�ำได้ 5) แหลง่ ทนุ วจิ ยั เป็นการก�ำหนดปญั หาการวจิ ัยโดยเจ้าของทนุ เชน่ ส�ำนักงาน กองทุนสนบั สนุนการวจิ ัย สำ� นักงานคณะกรรมการวิจัยแหง่ ชาติ ฯลฯ อย่างไรกต็ าม เมือ่ ผ้วู จิ ยั ไมส่ ามารถกำ� หนดปญั หาการวจิ ยั เพื่อการวิจยั ได้ ผูว้ ิจัยสว่ นใหญ่ หรือบางรายจึงก�ำหนด “ตัณหาวิจัย” คือ การอยากท�ำวิจัย โดยก�ำหนดจากแหล่งแห่งดวงใจ ของตนเอง ซึ่งจะท�ำให้ผู้วิจัย “มีทุกข์” หรือ “มีปัญหาเพื่อตัวผู้วิจัยเอง” แต่ไม่ได้ “มีปัญหาเพื่อ การวิจัย” การคิดจะแก้ทุกข์หรือแก้ปัญหาตามแนวอริยสัจสี่ ต้องเร่ิมด้วย “ปริญญากิจ” คือการ ก�ำหนดรู้ทุกข์หรือรู้ปัญหาให้ชัดเจนก่อน และให้แก้ท่ีสาเหตุแห่งทุกข์หรือสาเหตุแห่งปัญหา คือ “ตัณหา” ไม่ใช่แก้ท่ีตัวทุกข์หรือตัวปัญหาโดยตรง ตามแนวคิดเชิงเหตุผลท่ีว่า “ เมื่อส่ิงนี้มี ส่ิงนี้จึงมี เมื่อสิ่งนี้ไม่มี ส่ิงน้ีจึงไม่มี” หรือ “เม่ือเหตุมี ผลจึงมี เม่ือเหตุไม่มี ผลจึงไม่มี” หรือ “เมื่อสมทุ ัย (เหต)ุ มี ทุกข์ (ผล) จงึ มี เมอ่ื สมทุ ัยไมม่ ี ทกุ ข์จงึ ไมม่ ”ี วธิ คี ดิ เชงิ เหตผุ ลดงั กลา่ วถอื เปน็ เรอ่ื งทสี่ ำ� คญั มากในพระพทุ ธศาสนา เปน็ ทมี่ าของดวงตา เหน็ ธรรม คอื ความเข้าใจเร่อื งเหตผุ ล ตัวอยา่ งในเร่อื งนคี้ อื อุปติสสมาณพได้ฟังคาถาสั้น ๆ คาถา หนงึ่ จากพระอสั สชิโดยแสดงถงึ ลกั ษณะความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งเหตแุ ละผลในหลกั พระพทุ ธศาสนา แลว้ ไดด้ วงตาเห็นธรรม โดยมองเห็นวา่ “สรรพสง่ิ ท้ังหลายมีความเกดิ เปน็ ธรรมดา แต่สรรพส่งิ เหล่านล้ี ว้ นมีความดับเป็นธรรมดาเช่นกนั ” คาถาดงั กลา่ ว นยิ มเรียกกันวา่ คาถา “เย ธมมฺ า...” มี ใจความดงั น้ี (วินย.มหา. 4/65/74) เย ธมฺมา เหตปุ ปฺ ภวา เตสํ เหตํุ ตถาคโต (อาห) เตสญฺจ โย นโิ รโธ จ เอวํ วาที มหาสมโณ ธรรมเหล่าใด เกดิ แตเ่ หตุ พระตถาคตกลา่ วเหตแุ ห่งธรรมเหล่านั้น และความดบั แหง่ ธรรมเหลา่ น้นั พระมหาสมณะมีวาทะอยา่ งน้ ี จากคาถา “เย ธมฺมา...” ข้างตน้ เป็นคาถาท่ีพระอสั สชิ กล่าวแสดงแกอ่ ปุ ติสสมาณพ โดย เปน็ การแสดงถงึ ลกั ษณะความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งเหตแุ ละผลในหลกั พระพทุ ธศาสนาซงึ่ ลว้ นประกอบ ดว้ ยเหตแุ ละผลสมั พนั ธก์ นั   และเป็นการกลา่ วสรปุ ในหลักธรรมสำ�คัญท่ีสดุ ของพระพุทธศาสนา

Research in Educational Administration • 17 คอื อรยิ สัจสี่ อรยิ สจั สดี่ งั กลา่ ว มี 4 ประการ ไดแ้ ก่ 1) ทกุ ข์ คอื ความไมส่ บายกาย ไมส่ บายใจ ซง่ึ เปน็ ผล 2) สมุทัย คอื เหตุใหเ้ กดิ ทกุ ข์ จึงเปน็ เหตุท่ีท�ำใหเ้ กิดผลคือทกุ ข์ 3) นโิ รธ คอื ความดับทุกข์ ซึง่ เปน็ ผลท่ที ำ� ให้ทกุ ขน์ นั้ ดับสน้ิ ไป และ 4) มรรค คือ ข้อปฏบิ ัตใิ หเ้ กิดความดบั ทกุ ข์ เป็นเหตทุ ี่ทำ� ใหเ้ กิด ผลคือนโิ รธ เมื่อน�ำหลักอริยสัจสี่เข้ามาใช้เป็นกรอบในการพิจารณาตัวคาถา “เย ธมฺมา...” จะเป็น ดังนี้คือ คาถาบาทท่ีหน่ึง มีความว่า ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ ก็หมายถึง ทุกข์ ซึ่งเป็นผลอันเกิด จากเหตุ คือสมทุ ยั คาถาบาททส่ี อง มีความว่า พระตถาคตตรสั เหตขุ องธรรมเหลา่ น้นั นก่ี ็คือเรอื่ ง สมทุ ยั ซงึ่ เปน็ เหตใุ หเ้ กดิ ทกุ ข์ คาถาบาททสี่ าม มคี วามวา่ และความดบั แหง่ ธรรมเหลา่ นนั้ หมายถงึ พระพุทธองค์ทรงแสดงธรรมเร่ืองนโิ รธ ซง่ึ เปน็ ความดับทุกข์ และ มรรค ซง่ึ เป็นขอ้ ปฏบิ ตั อิ นั นำ� ไปสคู่ วามดบั ทุกข์ ส่วนคาถาบาทสุดท้าย ความว่า พระมหาสมณะมีวาทะอย่างนี้ กค็ ือ พระพุทธ องค์ไดต้ รสั สง่ั สอนไวเ้ ช่นน้ ี อนั ทจี่ รงิ คาถาวา่  “เย ธมมฺ า...”  ซง่ึ พระอสั สชกิ ลา่ วนี้ มไิ ดห้ มายเฉพาะแตเ่ รอ่ื งอรยิ สจั สี่ เทา่ นนั้ แตย่ งั หมายถงึ หลกั ธรรมทวั่ ไปของพระพทุ ธศาสนาอกี ดว้ ย หลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนา โดยทัว่ ไป ไดช้ ใี้ หเ้ หน็ ถึงความสัมพันธ์ระหวา่ ง เหตุ กบั ผล นั่นคอื ผลทดี่ ตี ่าง ๆ ลว้ นเกิดจากเหตุ ทด่ี ที ง้ั นัน้ ซ่ึงจะเรยี กว่า บญุ หรือ กศุ ลกรรม กไ็ ด้ ส่วนผลทีไ่ มด่ ตี ่าง ๆ กล็ ้วนเกิดจากเหตุที่ไม่ดี คอื บาป หรอื อกศุ ลกรรม นนั่ เอง พระพทุ ธองคจ์ งึ ไดท้ รงชใี้ หเ้ หน็ วา่ เหตทุ ดี่ ี คอื บญุ หรอื กศุ ลกรรมยอ่ ม มีผลในทางทด่ี ี สว่ นเหตุทไ่ี มด่ ี คือ บาปหรอื อกศุ ลกรรม กย็ ่อมมีผลในทางตรงขา้ ม นอกจากนนั้ ยงั ตรัสช้เี หตุ คือ ท�ำความดี (กศุ ลกรรม) หรอื ทำ� บุญ เพ่อื ให้เกิดผลท่ีดแี ก่ตัว ผู้ปฏิบัติเอง ในท�ำนองเดียวกัน เหตุ คือ ท�ำความไม่ดี (อกุศลกรรม) หรือท�ำบาป ก็ย่อมน�ำ ผลร้ายมาสู่ชีวิตของผู้ปฏิบัติเองเช่นกัน พระพุทธศาสนาจึงเป็นศาสนาท่ีไม่ได้สอนให้คนหวัง ความช่วยเหลือเออ้ื อำ� นวยจากพลังภายนอก หรือพลงั เหนอื ธรรมชาติ ในรปู ใด ๆ ก็ตาม แต่สอน ให้เช่ือม่ันในหลัก “กรรม” คือการกระท�ำของตนเอง ถ้าท�ำดี ก็ย่อมได้ผลท่ีดี ตรงกันข้าม ถ้าท�ำ ไม่ดี ก็ย่อมได้รับผลร้ายหรือผลไม่ดี คาถาว่า  “เย ธมฺมา...” ซึ่งพระอัสสชิกล่าวน้ัน จึงเป็นการ กล่าวคาถาสรปุ รวมยอดค�ำสอนในพระพทุ ธศาสนา 4. ลกั ษณะของปัญหาการวิจยั ท่ีดี นอกจากทราบแหล่งของปัญหาในการวิจัยและเกณฑ์ในการเลือกปัญหาแล้ว ผู้วิจัย ควรจะทราบลักษณะของปัญหาการวิจัยท่ีดี เพื่อเป็นแนวทางในการตัดสินใจเลือกหัวข้อเร่ืองมา ทำ� วิจัย ซงึ่ ลกั ษณะของปัญหาการวจิ ยั ท่ดี ีนน้ั มีดงั ต่อไปนี้ (ประกอบ คุณารักษ,์ 2560) 4.1 เป็นประโยคหรือข้อความบอกเล่า/ปฏิเสธ/บอกเล่าเชิงปฏิเสธที่ควรศึกษา (ไมใ่ ชค่ วรตอบ) 4.2 เป็นปญั หาท่แี ท้จรงิ ไมจ่ �ำกัดทางแก้ และผลเสยี จะตามมาถา้ ไมแ่ กไ้ ข 4.3 เป็นเร่ืองของส่วนใหญห่ รือส่วนน้อยท่ีมีจำ� นวนมาก 4.4 เป็นปัญหาผลผลิต (Output) หรอื อย่างนอ้ ยต้องเปน็ กระบวนการ (Process)

18 • การวิจยั ทางการบริหารการศกึ ษา 5. ตวั อย่างปัญหาการวจิ ยั เพอ่ื ใหผ้ วู้ จิ ยั ไดเ้ หน็ ลกั ษณะของประโยคหรอื ขอ้ ความทเี่ ปน็ ปญั หาการวจิ ยั จงึ ขอนำ� เสนอ ตวั อยา่ งปญั หาการวจิ ยั ดังน้ี (ประกอบ คณุ ารกั ษ,์ 2560) 5.1 ร้อยละ 80 ของนักศึกษาในระดับปริญญาตรียังมีความรู้ภาษาอังกฤษไม่ เพยี งพอท่จี ะอา่ นตำ� ราภาษาอังกฤษได้ 5.2 ประชาชนชาวไทยส่วนใหญ่ยังยากจน 5.3 ยงั มีชาวชนบทจำ� นวนมากท่สี ขุ ภาพไม่ค่อยสมบูรณ์ จากตัวอย่างปญั หาการวจิ ยั ดงั กล่าว ไม่ไดเ้ ป็นปญั หารอ้ ยเปอร์เซ็นต์ แตม่ สี ว่ นหน่งึ หรอื จ�ำนวนหนง่ึ ทเ่ี ป็นปัญหา และถือว่าเป็นปัญหาทีต่ ้องแก้ ถา้ ไมแ่ ก้ไข กจ็ ะเกิดความเสียหายแน่ หรือ จะส่งผลกระทบ หรอื เกดิ วิกฤตขยายออกในวงกว้าง แต่ถ้าไมแ่ กไ้ ขแล้ว ไม่เกดิ ความเสียหายอะไร เลย กไ็ ม่ต้องทำ� วจิ ยั ใหเ้ สยี เวลาและเงินทนุ 6. การกำ� หนดเร่ืองเพ่ือการทำ� วิจยั ปัญหาท่ีส�ำคัญส�ำหรับนักวิจัยใหม่ ๆ ก็คือ ไม่รู้ว่าจะวิจัยเร่ืองอะไร หรือไม่มีเร่ืองที่จะ วิจัย เพราะคิดว่าเร่ืองน้ี หรือปัญหาน้ี มีคนท�ำมาแล้วท้ังนั้น ท�ำให้รู้สึกว่าการหาเร่ืองท�ำวิจัยน้ัน เป็นส่ิงท่ียาก แต่แท้ท่ีจริงแล้วยังมีปัญหาท่ีน่าท�ำการวิจัยอยู่มากมาย ท้ังนี้เพราะเม่ือเวลา สถานท่ี ชมุ ชน หลกั สตู ร ฯลฯ เปลย่ี นแปลง จงึ เปน็ การยากทจ่ี ะลงสรปุ ผลอยา่ งแนน่ อนได้ เพราะปญั หาทาง สงั คมนน้ั ไมค่ งทแี่ นน่ อนตลอดเวลา ไมเ่ หมอื นกบั การสรปุ ผลทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์ เชน่ เคมี ฟสิ กิ ส์ หรือคณติ ศาสตร์ ฯลฯ ปญั หาทางสงั คมทเี่ คยศกึ ษามาแลว้ สามารถน�ำมาศกึ ษาใหม่ได้ เมื่อเวลา และสถานการณเ์ ปลยี่ นไป ทง้ั นเ้ี พอื่ ใหม้ คี วามทนั สมยั อยเู่ สมอ หรอื เมอื่ ตอ้ งการเปรยี บเทยี บกบั ขอ้ สรปุ เดมิ จงึ เห็นได้ว่า เร่ืองทจ่ี ะท�ำนนั้ มีอยแู่ ล้วทั่ว ๆ ไป แต่ผวู้ จิ ยั อาจจะยังมองหาไมพ่ บกไ็ ด้ ท้งั นี้ เพราะยังมีจุดบอดในการมองหาเร่อื งทจี่ ะท�ำวิจัย (Problem blindness) น่ันเอง อย่างไรก็ตาม เรื่อง ทผี่ ู้วิจยั ควรกำ� หนดหรอื เลือกมาเพ่ือการท�ำวจิ ัย ควรมลี ักษณะ ดงั นี้ (ประกอบ คณุ ารักษ,์ 2560) 6.1 ตอ้ งมคี วามเปน็ นวภาพ (Originality) ตรงตามสาขาทศ่ี กึ ษา และเปน็ การขยาย หรือประยกุ ตอ์ งค์ความร้เู ดมิ หรือสรา้ งองค์ความรูใ้ หม่ 6.2 เปน็ เรอ่ื งที่อยใู่ นความสนใจและตรงตามภมู หิ ลงั ของผ้วู ิจยั 6.3 เปน็ ไปตามนโยบายหรอื ความประสงคข์ องผใู้ หก้ ารสนับสนุน (ถา้ มี) 6.4 เปน็ เร่อื งท่ีเปน็ ปญั หาและต้องแก้ ถ้าไมแ่ ก้จะเกิดความเสยี หาย 7. หลักเกณฑ์การตง้ั ชื่อเรอ่ื งวิจัย ช่ือเร่ืองวิจัยนับเป็นจุดแรกที่จะดึงดูดความสนใจของผู้อ่าน และท�ำให้ผู้อ่านเกิดความ เข้าใจในปญั หาการวจิ ยั ต้องเขียนใหช้ ดั เจน เขา้ ใจงา่ ย หรอื ไมเ่ ขยี นอยา่ งคลุมเครือ ผ้วู จิ ยั จงึ ตอ้ ง ระมัดระวังในการต้ังช่ือเร่ืองวิจัยให้เหมาะสม ในที่นี้ จะน�ำเสนอหลักเกณฑ์การต้ังช่ือเรื่องวิจัย 2 แบบ ได้แก่ 1) หลักเกณฑก์ ารต้งั ชอื่ เร่อื งวิจัยทว่ั ไป และ 2) หลักเกณฑ์การตง้ั ชือ่ เร่อื งวจิ ัยแบบ VPAT โดยมรี ายละเอียดในการพจิ ารณาด�ำเนนิ การ ดงั นี้ (ประกอบ คุณารกั ษ,์ 2560) 7.1 หลกั เกณฑก์ ารต้งั ชอ่ื เรื่องวจิ ัยท่วั ไป ในการต้งั ช่ือเรื่องวจิ ยั มหี ลกั เกณฑ์การ ต้ังชอ่ื เรอ่ื งวิจัยทวั่ ไป ซึ่งผูว้ จิ ัยอาจพจิ ารณาเป็นแนวทางในการดำ� เนนิ การได้ ดงั นี้

Research in Educational Administration • 19 1) เขยี นเรยี บเรยี งใหก้ ระชบั ในรปู นามวลที มี่ ลี กั ษณะบอกเลา่ (ไมใ่ ชน่ ามวลใี น เชิงปฏิเสธหรอื คำ� ถาม) 2) ไมค่ วรยาวเกนิ 2 บรรทัด ถ้าจ�ำเปน็ ตอ้ งยาวถงึ 2 บรรทดั แม้บรรทัดท่ีสอง กไ็ ม่ควรเตม็ บรรทัด จึงจะกระชบั 3) ระบุตัวแปรท่ีศึกษา (ท้ังตัวแปรต้นและตัวแปรตาม หรืออย่างน้อยต้อง ระบุตัวแปรต้น ส่วนตัวแปรตามจะไปเขียนในหัวข้อขอบเขตของการวิจัย) หรือเขียนแสดงเป็น นัยใหเ้ ห็นตวั แปรหรือลักษณะความสมั พนั ธร์ ะหว่าง X กบั Y หรอื เหตุ กบั ผล หรือ อย่างน้อย ต้องเห็น X (ตัวแปรต้น) 4) ระบปุ ระชากรทีศ่ ึกษา 5) ใช้ภาษาที่มีความชดั เจนตรงประเด็น (ถกู ต้อง) และมีสมั ผสั พยัญชนะหรอื สมั ผสั เสียง (ไพเราะ) ตามควรแกก่ รณี ตวั อยา่ งการต้งั ช่อื เรื่องวจิ ยั เป็นตัวอย่างการตั้งชื่อเร่ืองวิจัยตามหลักเกณฑ์ทั่วไปดังกล่าวข้างต้น ซึ่งมีการ ต้ังใหส้ ัมผสั เสยี งและสมั ผสั พยญั ชนะ ดงั นี้  1. ตัวการ (X) ทางวฒั นธรรมทน่ี �ำไปสพู่ ฤติกรรม (Y) การตัดสินใจในองค์กร Ϯϰ (ตัวการ กับ พฤติกรรม = สมั ผสั เสยี ง) 2. วิธีการสร้างเสริมสุขภาพให้เกิดประสิทธิผลสูง (สร้างเสริมสุขภาพ กับ ประสิทธผิ ล = ส7.มั 2ผ หัส7.พล2ักยหเญั กลชณักนเฑกะ์กณ) าฑร์ตกั้งารชตื่อ้ังเรช่ือื่องเวร่ืิอจังยวแิจบัยบแบVบPAVTPATในใกนากรตารั้งตช้งั่ือชเร่ือ่ือเรง่ือวงิจวัยิจมยั ีหมลีหักลกั เกณฑใ์ น เกณฑกใ์านรตก้งัาชรต่ือั้งเรช่ือือ่ งเรอ่อืีกงแอบกี บแหบนบ่ึงหเนรีงึ่ยกเรวียา่ กว“า่แบ“บแบVบPVAPTA” Tซ”่ึงเซปงึ่็นเปแ็นบแบบเฉบพเฉาพะาอะาอจแาจสแดสงดใงหใเ้ห้เ็นหโน็ ครงสร้างได้ โครงดสงัรนา้ ้งี ไดด้ ังน้ี V+P+A+T โดย V = Variables (ตวั แปร) P = Population (ประชากร) A = Area (พ้ืนท่ี, สถานท่ี) T = Time (เวลา) ตวั อย่างปัญหาและการวเิ คราะห์สาเหตุ ปัญหา: มีโรคเอดส์แพร่ระบาดมากที่เมืองพทั ยา วเิ คราะห์สาเหตุ: 1. ไม่มีการป้องกนั ขณะมีเพศสมั พนั ธ์

20 • การวิจัยทางการบริหารการศึกษา ตวั อย่างปญั หาและการวเิ คราะห์สาเหตุ ปญั หา: มีโรคเอดสแ์ พร่ระบาดมากที่เมืองพทั ยา วิเคราะห์สาเหตุ: 1. ไมม่ ีการปอ้ งกันขณะมเี พศสัมพันธ์ 2. มีนกั ท่องเท่ียวตา่ งชาตมิ าเที่ยวและแพรโ่ รคเอดส์ 3. มีแหลง่ ทอ่ งเท่ียวที่มัว่ สมุ ทางเพศสมั พนั ธม์ าก 4. ขาดความรูว้ ิธปี อ้ งกันโรคเอดส์ ฯลฯ ตัวอย่างชอ่ื เร่ือง T = พ.ศ. 2559 การปอ้ งกนั โรคเอดสข์ องเยาวชนทเ่ี มืองพัทยา พ.ศ. 2559 V= การปอ้ งกนั โรคเอดส์ P = เยาวชน A = เมอื งพัทยา 8. ความเปน็ มาและความส�ำคัญของปญั หา (Background and Significance) ภายใต้หัวขอ้ ความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหาน้ี มี 3 หวั ข้อยอ่ ยท่ีตอ้ งเขยี น ไดแ้ ก่ 1) ความเป็นมาของปัญหาการวิจัย 2) ปัญหาการวิจัย และ 3) ความส�ำคัญของปัญหาการวิจัย โดยมรี ายละเอยี ด ดังนี้ 8.1 ความเป็นมาของปัญหาการวิจัย (Background) ในการเขียนข้อความภายใต้หัวข้อความเป็นมาของปัญหาการวิจัย ต้องประกอบ ด้วยโครงสร้าง 2 ส่วน คือ 1) หลักการ/แนวคดิ /ทฤษฎี หรือส่ิงที่คาดหวงั และ 2) ความขัดแยง้ กับ หลกั การ/ แนวคดิ /ทฤษฎี หรอื สง่ิ ทคี่ าดหวงั จากโครงสรา้ งทง้ั 2 สว่ นนี้ ผวู้ จิ ยั ตอ้ งระบวุ า่ หลกั การ/ แนวคิด /ทฤษฎี หรือส่ิงท่ีคาดหวัง ของเร่ืองท่ีศึกษาว่าคืออะไร และมีการปฏิบัติท่ีขัดแย้งกับ หลกั การ/ แนวคิด /ทฤษฎี หรือสง่ิ ทค่ี าดหวัง อย่างไร ย่อหน้าแรก ให้ผู้วิจัยกล่าวถึงหลักการ/ แนวคิด /ทฤษฎี หรือส่ิงที่คาดหวัง ทน่ี �ำมาใชส้ นับสนุนการวจิ ัยครัง้ นว้ี า่ มหี ลกั การ/ แนวคดิ /ทฤษฎี หรอื ส่ิงทีค่ าดหวังอะไรบา้ ง ย่อหน้าท่ีสอง ให้ผู้วิจัยบอกว่าสภาพพ้ืนที่ที่ท�ำวิจัย ควรมีการปฏิบัติท่ี สอดคลอ้ งกบั หลกั การ/แนวคดิ /ทฤษฎีหรอื สงิ่ ทคี่ าดหวงั ในยอ่ หนา้ แรกแตค่ วามเปน็ จรงิ ในปจั จบุ นั มีการปฏิบัติท่ีไม่สอดคล้องกับหลักการ/ แนวคิด /ทฤษฎี หรือสิ่งที่คาดหวังในย่อหน้าแรกเท่าที่ ควร จงึ ก่อใหเ้ กดิ ช่องวา่ ง (Gap) หรอื ปัญหา (Problem) อยา่ งไรบา้ ง มีความถี่ และรุนแรงอยา่ งไร 8.2 ปัญหาการวจิ ัย (Research Problem) ผู้วิจัยต้องบอกว่าเกิดเหตุการณ์หรือปรากฏการณ์อะไรขึ้นที่ขัดแย้งกับหลักการ/ แนวคิด/ทฤษฎี หรือสิ่งท่ีคาดหวัง และท�ำให้เกิดปัญหา โดยให้ผู้วิจัยระบุถึงปัญหาการวิจัย หรือ

Research in Educational Administration • 21 ประพจน์ของปัญหาการวิจัย หรือข้อความท่ีเป็นปัญหาการวิจัย (The statement of Research Problem) ให้ชัดเจน เพียง 1 ประโยค (อ้างอิงที่มาตามระบบ APA Style ด้วย) โดยเขียนเป็น ประโยคบอกเลา่ เชงิ ปฏเิ สธ และมกี ารอธบิ ายรายละเอยี ดประกอบเพม่ิ เตมิ วา่ เกดิ ขนึ้ เมอื่ ไร มคี วามถี่ ขนาดไหน ตลอดถึงให้วิเคราะห์สาเหตุของปัญหา และให้บอกว่ามีผลกระทบหรือมีความรุนแรง มากน้อยเพียงใด มีข้อมูลทางสถิติหรือตารางแสดงด้วยย่ิงดี (แต่ในบทนี้ ไม่นิยมใช้ตาราง ควรใช้ ขอ้ มูลในตารางโดยปรบั เขยี นเป็นความเรียง) และตอ้ งมกี ารอา้ งองิ ที่มาของขอ้ มูลอยา่ งถูกตอ้ งด้วย 8.3 ความส�ำคญั ของปญั หาการวิจัย (Significance of Research Problem) ผู้วิจัยควรบอกว่าปัญหาการวิจัยท่ีเก่ียวกับเร่ืองท่ีท�ำวิจัยครั้งนี้ ส�ำคัญอย่างไรบ้าง ใหผ้ ู้วิจยั บอกความส�ำคญั ประมาณ 2 ยอ่ หนา้ โดยยอ่ หน้าแรกให้บอกวา่ เรอ่ื งท่ีทำ� วจิ ัยนม้ี คี วาม ส�ำคญั เพราะได้มกี ารก�ำหนดไว้ในกฎหมายและเอกสารสำ� คญั อะไรบา้ ง ในยอ่ หนา้ ทสี่ อง ใหบ้ อกวา่ ปญั หาเรอื่ งน้ีเปน็ ปญั หาเรง่ ดว่ นทค่ี วรทำ� วจิ ยั ถา้ ปลอ่ ย ไวโ้ ดยไมท่ ำ� วจิ ยั และนำ� ผลวจิ ยั มาใชแ้ กป้ ญั หา กจ็ ะเพม่ิ ความรนุ แรงหรอื อาจลกุ ลามบานปลายในวง กว้าง ซง่ึ จะยากต่อการแกไ้ ข หากได้ท�ำวจิ ัยเร่ืองนี้แล้วน�ำผลวิจัยมาใช้ จะชว่ ยแก้ปัญหาอะไรบา้ ง และในย่อหน้าสุดทา้ ย (สรุป) จากสภาพของปญั หา ผลกระทบ และความส�ำคญั ของปญั หาดงั กลา่ วขา้ งตน้ ประกอบกบั จากการศกึ ษาคน้ ควา้ เอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง พบวา่ ยงั ไมม่ ผี ใู้ ดไดเ้ คยทำ� วจิ ยั เรอื่ งนมี้ ากอ่ น ผวู้ จิ ยั ในฐานะเปน็ ..................จงึ สนใจทำ� วจิ ยั เรอื่ งน้ี เพอื่ นำ� ผลการวจิ ยั ไปใชเ้ ปน็ แนวทางในการแกป้ ญั หาใหห้ มดไปหรอื อยา่ งนอ้ ยใหล้ ดลงและสามารถนำ� ไป ใชใ้ นการวางแผนและกำ� หนดนโยบายหรอื แนวทางเกยี่ วกบั .................ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพตอ่ ไป 9. วัตถุประสงค์การวิจัย (Research Objectives) วัตถปุ ระสงคก์ ารวจิ ัย ถอื ว่ามีความส�ำคญั และจำ� เปน็ อย่างยง่ิ ในการทำ� วิจัย เพราะผู้อ่าน รายงานการวิจัยทุกคนจะดูวัตถุประสงค์ก่อนว่า ท�ำวิจัยเพ่ืออะไร น่าสนใจหรือไม่ อย่างไรก็ตาม การต้ังวัตถปุ ระสงค์การวิจัย สว่ นใหญป่ ระมาณ 80% ตั้งวัตถุประสงคท์ มี่ ใิ ช่วัตถปุ ระสงค์ ดังนน้ั ผู้วิจัยจึงต้องตั้งวัตถุประสงค์การวิจัยให้เป็นวัตถุประสงค์จริง ๆ โดยมีหลักเกณฑ์ในการตั้ง วตั ถปุ ระสงค์ ดังนี้ 9.1 ตัง้ วตั ถุประสงค์การวจิ ยั เป็นขอ้ ๆ ว่าตอ้ งการทำ� อะไร 9.2 ตัง้ ให้สอดคลอ้ งกับช่อื เรอ่ื งและปญั หาการวจิ ยั 9.3 ตั้งเปน็ ประโยคบอกเล่า หรือเขียนเปน็ ขอ้ ความเชิงบอกเล่า 9.4 เขียนเปน็ เชิงพฤตกิ รรมโดยบอกว่า จะท�ำอะไรหรอื เพ่อื ท�ำอะไร 9.5 เขยี นแล้วตอ้ งหาค�ำตอบ มใิ ช่เขยี นเป็นประโยชน์ท่ีได้รบั 9.6 ให้เรม่ิ ต้นด้วยค�ำวา่ “เพือ่ ...” และตามด้วยคำ� กริยาเชิงพฤตกิ รรมหรือทแี่ สดง การกระทำ� เชน่ เพอื่ ศกึ ษา....เพอ่ื เปรยี บเทยี บ.....เพอื่ วเิ คราะห.์ ....เพอื่ พฒั นา...เพอ่ื ประเมนิ ......ฯลฯ ทั้งน้ี เพ่อื บอกเจตจำ� นงของผวู้ ิจัยว่า ตอ้ งการจะทำ� อะไร โดยมี โครงสรา้ ง ดังนี้

Ϯϳ  22 • การวจิ ยั ทางการบริหารการศึกษา เพื่อ + กริยา + V + P + A + T ศึกษา พฒั นา ประเมิน วเิ คราะห์ สารวจ สร้าง เปรียบเทียบ ฯลฯ 10. คำ� ถามการวจิ ัย (Research Questions) ผ1ู้ว0ิจ. ัยคคาถวารมรกะาบรุวว่าจิ มยั ีป(Rรeะsเeดa็นrcคh�ำQถuาeมstกioาnรsว) ิจัย (หรือโจทย์วิจัย) อะไรบ้างที่ต้องการทราบ โดยต้องระผบวู้ ุใิจหยั ้สควอรดรคะลบ้อุวา่งมกีปับรวะัตเดถน็ ุปคราะถสามงกคา์กราวรจิ วยั ิจ(ัยหรแือลโะจตท้อยว์งิจเขยั ีย) นอะเปไร็นบปา้ งรทะ่ีตโยอ้ คงกคา�ำรถทารมาเบป็นโดขย้อตอ้ ๆง โดรยะมบีรุใหายส้ ลอะดเคอลยี อด้ งขกอบั งวเกตั ณถุปฑรก์ะาสรงตคัง้ก์ คารำ� วถิจายัมแกลาระตวจิอ้ ัยงเขดียังนนเป้ี ็นประโยคคาถามเป็นขอ้ ๆ โดยมีรายละเอียด หตหสข้อรล่อืองวางกยเนพเขากครื่อ้อณําศต)ถฑึกอขาขก์ษบ้มอ้อาาวสรกสัตตาสัังง้งถัรเเ่ว1111ก1111คกวปุ 000น00000ตาิตจร........ถ1423ค1342ัย:ะา�:คปมำสตเเใใตเถขรืรัอชญเปกชอง้ียข้อาียยีส้าสคง้สัมบหญนีงยบรม่ิา์ขง�ำมเกานวแนหรเีคทนกอรจิายีคียแววาา่ีงยีรยผกวังวนยารกกงว้ในูเวมาปกวภดในาาิจิมจภสิ็จนเนารรงััยรัปยสัยษอานวูวรขปตตษ็นอดา้คจิีูปิจอ้ป้่แาอาคดัยืขอัยปงรลๆแงลค้อจตะระลกอส้ลโาโ่าถะะงากดๆิ่งย้องอโ้แรถคยทคยงจยลหอ้เาโํคแคี่ผราคะถดยาีายลกคู้วาคาถยคคงทะิจ�ำคมราเตํ�ำาถ่ีกรคัยอ�มกทตาำียารตรถบามอี่กมะงรอ้อคาลชบรตวบมงลาิะบจัาเดกุมกคพัยชมบัาอปลาื่ับอลรปขา่รัญมุ หใ�ำนัญอวอปหดหเงาิจหา่ข้ญัับากคเันยาก้ขาา�ขหใกำ้เาราตขจปอราศาใงอ้าวรกงัึกจญ่าใิจวบกายษปจิยหจัราเังาญพัยวรหาา่ คจิื่อศหกยาือัยึคใกาาสหารกษิ่ตง้วเาาขทอิรจห้าี่บผวัยใาู้วิจจค(ิจกคัยป�ำัยรือหตัญตณอร้อหสีืมอบงีหา่ิงกเกพทลา(การื่อาี่ผรศยรตู้ววขึกณอิจิจอ้ษีมบััยย)าี วตั ถปุ ระสงค์ของการวิจัย 11. สมมตฐิ านการวจิ ยั (Research Hypothesis) ส1ม1.มตสฐิมามนตกิฐาารนวกจิ ายัรควจิอื ัยข(อ้ Rคesวeาaมrcทhคี่hyาpดoคthะeเsนisค)ำ� ตอบของงานวจิ ยั ไวล้ ว่ งหนา้ เปน็ การคาดเดา วา่ ผลการวจิสยั มขมอตงิฐปานญั กหารานวิจนั้ ยั ๆคือจะขไอ้ ดคค้ วำ� าตมอทบ่ีคอาดอคกะมเนาใคนาลตกัอษบณขอะงใงดานผววู้ ิจจิ ยัยั ไคววล้ ร่วรงะหบนหุ า้ รอเื ปเ็ขนยี กนาสรคมามดตเดฐิ าาวนา่ กซาผรวง่ึ ราิมจลยวยัรกีลจิใาาะยันยรเใอลรวนูียปะิจรดเยัขอปู ขออยีขอางดอจขงจงอปอ้ าข11าัคญแ11อจ้ วนห..จคา12กำ�ามวแอนาททสนอม้นัี่ออดกทกธดสๆเอปอ่ีิบคอ็อธจนาลบกะบยิป้อไคเไารปดดงวยะน็กาค้ค้เดมปบัวาน็สตารปยมอัมะญัอ่สบพเดยหมัอนัน็ๆพอาธยวกดน์ขัอ่ ิจงมัอธยนัยางข์ ๆ้ ใีตอนวัดงลแตงั กปันวั ษรแี้ ทณป่ีศระึกทใษดศี่ ากึ ทผษ่ีูวค้ าิจาทดยั ค่ีคคาะวดเรนครคะะาเบนตุหคอรบำ� ือตขเอขอบียงผนขลอสกงมผามรลตวกิฐิจาายั รนซวก่จิึงายัมรี 11.3 ถกู ต้องตามแนวคิดทฤษฎี 11.4 ระบคุ วามสมั พันธร์ ะหว่างตัวแปร 2 ตัว หรือมากกวา่ 11.5 เขียนในรปู ประโยคบอกเลา่ ชัดเจน เขา้ ใจงา่ ย 11.6 ระบุกอ่ นทดสอบสมมติฐาน

Research in Educational Administration • 23 อย่างไรก็ตาม ในงานวิจัยบางเรื่องอาจมีการต้ังสมมตฐิ านการวจิ ยั หรือบางเรื่องอาจไม่ จ�ำเปน็ ต้องต้ังสมมตฐิ านการวจิ ยั กไ็ ด้ ไมม่ หี ลกั เกณฑบ์ งั คบั วา่ ตอ้ งตงั้ หรอื ไมต่ ง้ั อยา่ งไร สำ� หรบั เรอื่ งน้ี ไดม้ ผี รู้ กู้ ลา่ วไวใ้ นเชงิ เปรยี บเทยี บวา่ การตงั้ สมมตฐิ านการวจิ ยั เปรยี บเหมอื นกบั การลมื ตาปาเปา้ สว่ น การไมต่ ง้ั สมมตฐิ านการวจิ ยั จะเปรยี บเหมอื นกบั การปดิ ตาปาเปา้ 12. กรอบแนวคดิ การวิจยั (Conceptual Framework) กรอบแนวคิดการวิจัย เป็นกรอบของผู้วิจัยเอง ซึ่งจะแตกต่างจากกรอบทฤษฎี (Theoretical framework) ที่เป็นของผู้อื่นหรือนักวิชาการคนอ่ืน ๆ และแตกต่างจากขั้นตอนการ วิจยั (Research framework) ซึ่งเป็นของผูว้ ิจัยเองดว้ ย มผี ใู้ หน้ ิยามเกยี่ วกับกรอบแนวคิดการวิจัย ไว้ดงั ตัวอยา่ งต่อไปน้ี 12.1 กรอบแนวคดิ การวจิ ยั หมายถงึ สภาพทเ่ี ปน็ ทฤษฎชี วั่ คราวเกยี่ วกบั สงิ่ ทนี่ กั วจิ ยั ตอ้ งการศึกษา และยงั ต้องรอการพสิ ูจนจ์ ากขอ้ มูลเชิงประจกั ษ์ (Maxwell, 1996, p. 25) 12.2 กรอบแนวคิดการวจิ ยั หมายถึง ความคดิ ของผู้วิจยั เกี่ยวกบั ความสมั พนั ธ์ ระหว่างตัวแปรต่าง ๆ ทีผ่ ูว้ จิ ยั ตอ้ งการศึกษาและทดสอบด้วยข้อมลู เชงิ ประจักษ์ (สชุ าติ ประสทิ ธิ์ รัฐสนิ ธ์,ุ 2550, หน้า 73) 12.3 กรอบแนวคิดการวิจัย หมายถงึ แผนภาพทางความคิดของนกั วิจัยในการ หาคำ� ตอบส�ำหรบั ปัญหาการวจิ ยั ครั้งน้นั ซง่ึ ประกอบไปดว้ ยตวั แปรทมี่ งุ่ ทำ� การศึกษา และระบถุ ึง ความสมั พันธเ์ กย่ี วขอ้ งระหวา่ งตัวแปรเหล่าน้นั (วรรณี แกมเกต,ุ 2551, หน้า 70) 12.4 กรอบแนวคิดการวิจัย หมายถึง ความคิดรวบยอดที่แสดงความสัมพันธ์ หรือความเก่ียวพันธ์ของมโนทัศน์ (Concepts) ปรากฏการณ์ (Phenomena) หรือตัวแปรต่าง ๆ ทผ่ี วู้ จิ ยั สนใจศกึ ษาอยา่ งชดั เจนและอธบิ ายไดด้ ว้ ยเหตผุ ลเชงิ วชิ าการ (บญุ ใจ ศรสี ถติ ยน์ รากรู , 2553, หนา้ 41) กลา่ วโดยสรุป กรอบแนวคดิ การวจิ ัย หมายถงึ แผนภาพหรือความคิดรวบยอดที่ แสดงความสมั พนั ธข์ องแนวคดิ ทฤษฎี หรอื ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งตวั แปรทมี่ คี วามเชอื่ มโยงซงึ่ กนั และกันเพื่อให้เกิดภาพในการพิจารณาหรือเพ่ือเป็นแนวทางในการวิจัยท่ีชัดเจนมากข้ึน หรืออาจ เรียกว่า กรอบตัวแปรที่ผู้วิจัยสรุปได้จากการศึกษาวิเคราะห์สังเคราะห์กรอบทฤษฎี (Theoretical framework) หรือแนวคดิ ทฤษฎี ซึ่งถกู บันทึกไว้ในวรรณกรรม กรอบแนวคดิ การวจิ ยั ดงั กลา่ ว โดยปกติ ผวู้ จิ ยั จะไดม้ าจากการทบทวนวรรณกรรม แล้วสรุปเป็นกรอบแนวคิด โดยเขียนไว้ในบทท่ี 2 ของรายงานการวิจัย หรือสถาบันการศึกษา บางสถาบนั อาจกำ� หนดใหเ้ ขยี นหรือแสดงไว้ในบทที่ 1 ของรายงานการวิจยั เพราะเห็นว่าเปน็ สว่ น ส�ำคัญยิ่งที่บอกกรอบแนวทางการวิจัยโดยสรุป เป็นเสมือนหน่ึงเป็นลายแทง (Manuscript) ที่ สำ� คญั ของการวิจัย ซง่ึ ผวู้ ิจัยต้องตระหนักตัง้ แตเ่ บ้ืองตน้ ส่วนกรอบทฤษฎีที่ไดม้ าจากการทบทวน วรรณกรรม นิยมเขียนไว้ในบทที่ 2 ของรายงานการวิจัย ในขณะทข่ี ั้นตอนการวิจัย จะเขียนไว้ ในบทที่ 3 ของรายงานการวิจยั

24 • การวิจยั ทางการบรหิ ารการศึกษา นอกจากน้ี วรรณี แกมเกตุ (2551, หนา้ 71) กลา่ วอธิบายเพมิ่ เติมว่า กรอบแนวคิด การวจิ ยั น้ี โดยหลกั การแลว้ กค็ อื ผลจากการลดรปู กรอบแนวคดิ เชงิ ทฤษฎี (Theoretical framework) นนั่ เอง ซง่ึ กรอบแนวคดิ เชงิ ทฤษฎจี ะรวมตวั แปรทกุ ตวั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งสมั พนั ธก์ บั ตวั แปรตามทนี่ กั วจิ ยั ต้องการศกึ ษา แตใ่ นการวิจยั นน้ั นักวจิ ัยอาจจำ� กดั ขอบเขตการวิจยั โดยการศึกษาตวั แปรเพียงบาง ตวั ในกรอบแนวคดิ เชงิ ทฤษฎี หรอื มกี ารควบคมุ ความแปรปรวนของตวั แปรบางตวั เพอ่ื ใหอ้ ทิ ธพิ ล จากตวั แปรนน้ั คงที่ ดงั นน้ั ตวั แปรทีเ่ หลอื อยู่ในกรอบแนวคิดของการวิจยั จึงอาจมจี �ำนวนน้อยกว่า ตวั แปรในกรอบแนวคดิ เชิงทฤษฎกี ็ได้ 13. ขอบเขตของการวิจัย (Scope of Research) ผวู้ จิ ยั ควรระบใุ หท้ ราบวา่ การวจิ ยั ทจ่ี ะศกึ ษามขี อบขา่ ยกวา้ งขวางเพยี งใด เนอ่ื งจากผวู้ จิ ยั ไม่สามารถท�ำการศึกษาได้ครบถ้วนทุกแง่ทุกมุมของปัญหานั้น จึงต้องก�ำหนดขอบเขตของการ ศึกษาให้แน่นอนว่าจะครอบคลุมอะไรบ้าง ซึ่งอาจท�ำได้โดยการก�ำหนดขอบเขตของเรื่องให้แคบ ลงเฉพาะตอนใดตอนหนงึ่ ของสาขาวชิ า ในทีน่ ี้ ผ้วู จิ ยั ควรกำ� หนด 4 ขอบเขต ได้แก่ 1) ขอบเขตดา้ นประชากร 2) ขอบเขตด้าน ตัวแปร/เน้ือหาที่ศึกษา 3) ขอบเขตด้านพ้ืนที่/สถานที่ที่ท�ำวิจัย และ 4) ขอบเขตด้านระยะเวลาท่ี ท�ำวจิ ยั 14. นิยามศพั ท์เฉพาะ (Definition) ผู้วจิ ยั ควรเขยี นอธิบายความหมายของตวั แปร ค�ำ กล่มุ ค�ำ หรอื ค�ำส�ำคัญจากชื่อเรอื่ งหรอื ตวั แปรจากกรอบแนวคดิ เพอื่ สอื่ ความหมายใหเ้ ขา้ ใจตรงกนั ระหวา่ งผวู้ จิ ยั กบั ผอู้ า่ น โดยการนยิ าม ศพั ทส์ องระดบั ไดแ้ ก่1)นยิ ามศพั ทต์ ามทฤษฎี(Constitutivedefinition)หรอื นยิ ามศพั ทท์ วั่ ไป(General definition) และ 2) นยิ ามศัพท์เชิงปฏบิ ตั กิ าร (Operational definition) โดยมรี ายละเอยี ด ดังน้ี 14.1 นยิ ามศพั ทต์ ามทฤษฎี(Constitutivedefinition)หรอื นยิ ามศพั ทท์ วั่ ไป(General definition) เปน็ การให้ความหมายที่เป็นการบอกคุณลักษณะเฉพาะทีส่ ำ� คญั ของตัวแปร คำ� กลุ่มค�ำ หรือค�ำส�ำคัญ หรือเปน็ การบอกความหมายของคำ� ศพั ทท์ ใี่ ชใ้ นการวจิ ยั เพอ่ื สอ่ื ความหมายระหวา่ ง ผอู้ า่ นกบั ผวู้ จิ ยั ใหต้ รงกนั ในทำ� นองเดยี วกบั การให้นยิ ามตามพจนานุกรมซงึ่ ยังเปน็ นามธรรม 14.2 นิยามศัพท์เชิงปฏิบัติการ (Operational definition: OD) โดยท่ัวไป นิยาม ศพั ท์เชิงปฏบิ ตั กิ ารจะควบค่กู บั นิยามศพั ท์เชงิ ทฤษฎี เปน็ การนิยามเชิงพฤติกรรมซงึ่ เป็นรปู ธรรม ทสี่ ามารถวดั ได้ และสงั เกตได้ หรอื เปน็ การนยิ ามเพอื่ นำ� ไปสคู่ วามตรงเชงิ เนอื้ หา (Content validity) ในขน้ั ตอนของการสร้างเครอื่ งมอื โดยอาจจ�ำแนกประเด็นการเขียนนิยามเชิงปฏบิ ตั กิ ารได้ ดงั นี้ 1) เป็นนยิ ามเชิงปฏิบตั ิการของตวั แปร หรือเรียกส้นั ๆ ว่า นยิ ามตัวแปร 2) ต้องเขียนบนพื้นฐานของค�ำนิยามเชิงแนวคิด (Conceptual definition) ของตัวแปรนั้น ๆ 3) ก่อนเขียนนิยามศัพท์เชิงปฏิบัติการ ต้องศึกษาแนวคิดหรือทฤษฎีของ ตัวแปรในวรรณกรรมให้เข้าใจอย่างชัดเจน เพราะถ้าสาระในค�ำนิยามเชิงปฏิบัติการตรงหรือ

3) ก่อนเขียนนิยามศพั ทเ์ ชิงปฏิบตั ิการ ตอ้ งศึกษาแนวคิดหรือทฤษฎีของตวั แปร ในวรรณกรรมให้เขา้ ใจอย่างชดั เจน เพราะถา้ สาระในคRาeนseิยarาcมhเiชnิงEปduฏcิบatตัioิกnaาlรAตdรmงinหisรtrือaสtioอnด•ค2ล5อ้ งกบั แสนอวดคคิดลขอ้ องงกตับวั แแนปวรคกิดจ็ ขะอทงาตใวัหแเ้ คปรรื่อกงจ็มะือทวำ�ิจใยัหมเ้ ีคครว่อืามงมตรอื งวเจิชยั ิงมเนีค้ือวหามาต(Cรงoเnชtงิeเnนtื้อvหalาid(iCtyo)ntent validity) แนวคิดของตวั แปร คานิยามเชิงปฏิบตั ิการ เคร่ืองมือวจิ ยั หหาากกสสาราระะในในคคาน�ำนิยาิยมาเมชเิงชปิงฏปิบฏตัิบิกัตาิกราไรมไ่ตมร่ตงรหงรหือรไือมไ่สมอ่สดอคดลคอ้ ลงก้อบังกแับนแวคนิดวขคอิดงขตอวั งแตปัวรแเปคร่ืองมือ วเเิจนคยั รอื้ ทื่อห่ีสงามรด้าือว้ งวยขิจ้ึนัยตทาี่สมรค้าางนขิยึ้นามตเาชมิงคป�ำฏนิบิยตัามิกเาชริงหปรืฏอิบนิัตยาิกมาตรวหั แรปือรนยิยอ่ามมตจะัวขแาปดรควยา่อมมตจระงขเชาดิงเคนว้ือาหมาตดรว้ งยเชิง 1ก1ก5า5.าร.รทปทปารว�ำระวจิะโิจยัยโัยยทชทชกุนนุกเ์ทรเ์ท่ือร่ีค่ีคื่องาาดงผดวทู้ผว่าาู่า้ทจวจะ�ำิจะไวยัไดิจจด้รัยะ้รับจตบั ะอ(้ ตE(งE้อxทxpงรpeทาecบรctetาวedบา่dวเrมR่าe่ือseเusทมulื่อาtlsเtท)สs)�ำรเ็จสแรล็จว้ แผลล้วกผาลรกวิจารยั วจิจะัยกจ่อะใกห่อเ้ กใิดหป้เกริดะโยชน์ อปยรา่ งะไโยรชปนร์อะยโ่ายงชไนร์ขปอรงะกโายรชวนิจ์ขยั มอีไงกดาห้ รลวาิจยัยลมกั ีไษดณ้หละาเยชล่นักษกาณระนาเชผ่นลกการารวนิจยั�ำผไปลกใชารใ้ วนิจกัยาไรปกใาชห้ในดกนารโยบาย พปทเกรรย�ำำ�อื่ับาหวยงปิจนาครยัมดุงวตในกรอ่หปพาโไเป้ยรหปรยปบระา็นฯะฏโยาปลยโายิบยมรฯชตัปชะในิงหโรน์าจยับ้เน์จึหงชปึเงน็นปใเรป็ชปน์ตุงเ้็กน่อรกปะาว็ากนรโงรายแปวอรชนิชฏธอนวาิบิบธกทต์ าัิตบา่อายิงรางวถายกปงึนงถาวปรรึงิชะใรตปชาชะดักร้เาโปสาะกยร็นินโรชยปแในฯชจนรล์ขนะวใฯอช์ขทชงาใอ้างกนงงารกนงกาาฯาวรนรลิจตแวฯยั ัดกิจนสป้ัย้ี ินโันญดใี้หจยโาดอใหยาชศอร้ใยัืนาอคศทกวัยาาาควรมแิจวสยกาั ามต้ปค่อสัญญัไ�ำหปคขาัอญฯงหลขเรฯรอื่อืองง ควร การเขียนประโยชน์ของงานวิจัย ควรเขียนเป็นข้อ ๆ เพ่ือระบุถึงประโยชน์ที่จะเกิดขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ท่ีวางไว้ จะต้องเขียนด้วยภาษาที่อ่านง่ายและพยายามโน้มน้าวให้ ผู้อ่านเห็นประโยชน์ของงานวิจัยให้มากท่ีสุดว่า ผลการวิจัยเรื่องน้ีเมื่อส�ำเร็จแล้ว จะก่อให้เกิด ประโยชน์หรือคุณค่าแก่วงวิชาการ ประชาชน สังคมและประเทศชาติอย่างไรบ้าง โดยมีหลักการ เขียนประโยชนท์ ค่ี าดวา่ จะได้รบั ดงั น้ี 1) เขียนประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับโดยตรงมากที่สุด ไปหาประโยชน์น้อยที่สุด จากการวจิ ยั 2) ไม่ขยายความเกินความเป็นจริง ต้องอยู่ในขอบเขตของวัตถุประสงค์ท่ีศึกษา เท่าน้ัน 3) ควรเขยี นใหค้ รอบคลมุ ทง้ั ผลในระยะสนั้ และระยะยาวทงั้ ผลทางตรงและทางออ้ ม 4) ควรระบใุ นรายละเอียดวา่ ผลดังกลา่ วจะตกกับใครเป็นสำ� คญั 5) ไม่ควรเขยี นในลกั ษณะท่ีล้อจากวตั ถปุ ระสงค์    เช่น ถ้าผูว้ จิ ยั ไดก้ �ำหนดไวว้ ่า “1.เพอ่ื ศกึ ษา…..” ประโยชนท์ ค่ี าดวา่ จะไดร้ บั กไ็ มค่ วรเขยี นลอ้ เลยี นในลกั ษณะทว่ี า่ “1.เพอ่ื ทราบ…” เพราะการศกึ ษาเรอื่ งใดกย็ อ่ มจะทราบเรอื่ งนนั้ อยแู่ ลว้ จงึ ควรเขยี นในทำ� นองวา่ เมอื่ ทราบผลแลว้ จะ น�ำผลไปใช้ประโยชนอ์ ะไร และให้เร่มิ เขยี น ดว้ ยคำ� ว่า “จะชว่ ยให้...” “จะน�ำผลการวิจัย...” ฯลฯ 16. แนวทางการเขยี นความเปน็ มาและความสำ� คัญของปัญหา ขน้ั ตอนที่ 1 (กลา่ วนำ� ) กล่าวน�ำเข้าสู่เนื้อหาในบทน�ำ โดยไม่ต้องมีช่ือหัวข้อ ท้ังน้ีเพ่ือเป็นการน�ำหรือเกริ่นน�ำ แก่ผู้อ่านในเบื้องต้น และบอกให้ผู้อ่านทราบว่าบทน้ีประกอบด้วยเนื้อหาสาระที่ส�ำคัญอะไรบ้าง

26 • การวิจยั ทางการบริหารการศกึ ษา (ความยาวประมาณ 1-2 ย่อหนา้ ) ขัน้ ตอนท่ี 2 (ความเปน็ มาของปญั หาการวิจยั ) 1) กลา่ วถงึ หลกั การ/ แนวคดิ /ทฤษฎี หรอื สง่ิ ทค่ี าดหวงั ในเรอ่ื งทที่ ำ� วจิ ยั โดยกลา่ ว ทัว่ ไปในวงกว้าง แล้วเข้าส่วู งแคบ ชใี้ หเ้ ห็นความสำ� คญั ของเรอื่ งทศ่ี ึกษา และมกี ารอ้างอิงทีถ่ กู ตอ้ ง 2) กลา่ วถงึ ความขัดแยง้ กบั หลักการ/แนวคิด/ทฤษฎี หรือสง่ิ ที่คาดหวงั จนท�ำให้ เกดิ ปัญหา ขน้ั ตอนท่ี 3 (ปญั หาการวจิ ัย) ให้สรปุ ข้ันตอนที่ 2 มาประมาณหนงึ่ บรรทัด แล้วใหร้ ะบุปญั หาวจิ ยั หรือขอ้ ความท่ีเป็น ประพจนข์ องปญั หา (Statement of problem) ใหช้ ดั เจน โดยใหม้ ถี อ้ ยคำ� หรอื ความหมายทสี่ อดคลอ้ ง กบั หวั ขอ้ วจิ ยั และอธบิ ายขยายความวา่ เกดิ ปญั หา/เหตกุ ารณ์ หรอื ปรากฏการณอ์ ะไรขน้ึ บา้ ง เกดิ ขนึ้ เมื่อไร มคี วามถขี่ นาดไหน ให้วิเคราะห์สาเหตุของปญั หา และให้บอกวา่ มีผลกระทบหรือมคี วาม รุนแรงมากนอ้ ยเพยี งใด มขี ้อมูลทางสถิตหิ รอื ตารางแสดงดว้ ยย่ิงดี (แต่ในบทน้ี ไมน่ ยิ มใช้ตาราง ควรใชข้ ้อมูลในตารางและเขยี นเปน็ ความเรยี ง) และต้องมีการอา้ งองิ ที่มาของข้อมูลดว้ ย ขนั้ ตอนที่ 4 (ความส�ำคัญของปัญหาการวิจัย) ให้สรุปข้ันตอนที่สามมาประมาณหนึ่งบรรทัด แล้วเขียนถึงความส�ำคัญของปัญหาการ วจิ ยั โดยอา้ งองิ กฎหมายและเอกสารสำ� คญั ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง รวมทง้ั ใหบ้ อกวา่ ถา้ ทำ� วจิ ยั หรอื ไมท่ ำ� วจิ ยั แลว้ จะเกิดผลดีผลเสยี อยา่ งไร โดยมีรายละเอยี ด ดงั น้ี ในย่อหน้าท่ีหนึ่ง ให้ผู้วิจัยบอกว่าปัญหาการวิจัยท่ีเก่ียวกับเร่ืองท่ีท�ำวิจัยคร้ังนี้ ส�ำคัญ อยา่ งไรบา้ ง โดยบอกความสำ� คญั 2 ยอ่ หนา้ โดยยอ่ หนา้ แรกใหบ้ อกวา่ เรอื่ งทท่ี ำ� วจิ ยั นมี้ คี วามสำ� คญั เพราะไดก้ ำ� หนดไว้ในกฎหมายและเอกสารสำ� คญั อะไรบ้าง ในย่อหน้าที่สอง ให้บอกว่า ปัญหาเรื่องนี้ เป็นปัญหาเร่งด่วนท่ีควรท�ำวิจัย ถ้าปล่อยไว้ โดยไม่ท�ำวิจัยและน�ำผลวิจัยมาใช้แก้ปัญหา ก็จะเพิ่มความรุนแรงหรืออาจลุกลามบานปลายใน วงกวา้ ง ซง่ึ จะยากตอ่ การแกไ้ ข หากไดท้ ำ� วจิ ยั เรอ่ื งนแ้ี ลว้ นำ� ผลวจิ ยั มาใช้ จะชว่ ยแกป้ ญั หาอะไรบา้ ง และในย่อหน้าสุดท้าย (สรุป) ให้ผู้วิจัยเขียนว่า จากสภาพของปัญหา ผลกระทบ และ ความส�ำคัญของปัญหาดังกล่าวข้างต้น ประกอบกับจากการศึกษาค้นคว้าเอกสารและงานวิจัยที่ เกีย่ วข้อง พบวา่ ยงั ไมม่ ผี ู้ใดไดเ้ คยท�ำวจิ ัยเรอื่ งน้ีมาก่อน ผูว้ ิจัยในฐานะเป็น..................จึงสนใจทำ� วิจัยเรื่องน้ีเพ่ือน�ำผลการวิจัยไปใช้เป็นแนวทางในการแก้ปัญหาให้หมดไปหรืออย่างน้อยให้ลดลง และสามารถน�ำไปใช้ในการวางแผนและก�ำหนดนโยบายหรือแนวทางเกี่ยวกับ.................ได้อย่าง มปี ระสิทธภิ าพต่อไป แนวทางการเขยี นความเปน็ มาและความสำ� คญั ของปญั หาดงั กลา่ วขา้ งตน้ อาจนำ� เสนอเปน็ ภาพกวา้ งสภู่ าพแคบในลกั ษณะรปู สามเหลย่ี มควำ�่ ดงั แสดงในภาพที่ 2.2

Research in Educational Administration • 27 ข้นั ตอนที่ 1 กล่าวนาเพื่อเริ่มตน้ ในบทนา ข้นั ตอนท่ี 2 ความเป็นมาของปัญหาการวจิ ยั ข้นั ตอนท่ี 3 ปญั ปหัญาหกาวริจวยัิจัย ข้นั ตอนที่ 4 ความสาคญั ของปัญหา การวจิ ยั ภาพท่ี 2.2 แนวทางการเขยี นความเปน็ มาและความสำ� คญั ของปัญหา จากภาพกวา้ งสู่ ภภาพาพทแ่ี ค2บ.2ในลแกั นษวณทะารงปูกสาราเมขเียหนลคี่ยมวาคมวเ่ำ� ป็ นมาและความสาคญั ของปัญหา จากภาพกวา้ งสู่ภาพ แคบ17ใ.นคลำ�กั ถษาณมะทรผ่ี ูปู้วสิจายั มตเอ้หงลต่ียอมบควา่ ไปน้ใี ห1ไ้ ด7ใน.้ ถสคา้ ต่วาถนอาบคมไวทมาี่ผม่ไดู้วเปก้จิ ็น็แยั สตมด้อาแงงวลต่าะอกคบาวราเมขยีสน�ำคคัญวาขมอเปงป็นัญมาหแาลดะังคกวลา่ามวสมำ�าคนัญี้ ผขู้วอิจงัยปตญั ้อหงตายอังบไคม�ำ่สถมาบมูรตณ่อ์ และไมค่ในวรสท่ว�ำนวคิจวัยาตม่อเหป็รนอื มใาหแ้ยลตุ ะิกคาวราดม�ำสเนาคินญักาขรอวงิจปยั ัญเรหอ่ื งานดงั้นกลด่าังวนมี้ าน้ี ผวู้ ิจยั ตอ้ งตอบคาถามต่อไปน้ีให้ ได้ ถา้ ตอบไม่ไดก้ แ็17ส.ด1งทวา่�ำกไมารตเ้อขงียทนำ� คววจิ ายั มเรเปือ่ ็นงนมี้าและความสาคญั ของปัญหายงั ไม่สมบูรณ์ และไม่ควร ทาวจิ ยั ต่อหรือให11ย้ 771111ตุ ..777712ิก....4263าทมรมปมมีดคาไคสีแีีวญัามเนาวภนหมตาวาินามเอพ้คปทกเงิด็ปนี่เสาทกทน็รมาาิดวฤเมวาหขจิษอิจา้ึนตยัอยยฎั เุแมาเ่ยรีอรงล่ืา่ีผอื่ะอไงะลงไงรไครนกรนบว้นรั้ี าา้ะมงทดทรบงัุนี่มนอแา้ียสรา่ งนงขไบั อรสบงนป้างุนัญใหหาท้ อำ�ยว่าิจงไยั รบา้ ง 171.73.7มมีแีผนู้ใวดคเคิดยททฤ�ำษวฎิจีอยั ะเรไือ่ รงบนา้ ม้ีงทาก่ีมอ่ านสหนรบั ือสไนมุน่ ใหท้ าวจิ ยั 171.74.8มผีสลภกาาพรวสิจายัเหทตไี่ ดุแล้จะนคว�ำไาปมใรชุน้อแยรา่ งงขไรอบงป้างัญหาอยา่ งไรบา้ ง ตบวัทอทยี่ 1่างบ1ท1(8ตน.วัำ� อตยัว111า่อง777ยเ...786ช่างงิ กผมปโคาลีผัญรรกใู้ หเงดขาสารเยี คทวรนยิจา้ี่เกคทงยั ิด)วทาขาว่ีไม้ิจึนดยเัมปจ้ เรีะผน็ ื่อนลมงกาานไรแ้ปีมะลทใาะกชบค่ออ้ วอนยายา่มหา่ งงสรไไือ�ำรรคบไบญัมา้ า้ง่ขงองปญั หา เป็นทย่ี อมรับกนั แลว้ โดยท่ัวไปว่า รูปแบบการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 น้ี แตกตา่ ง จากรูปแบบการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 20 กลา่ วคอื ในศตวรรษท่ี 20 ครูสว่ นใหญม่ แี นวคิดว่า หอ้ งเรียนคอื โลก แตใ่ นศตวรรษที่ 21 ครสู ่วนใหญม่ ีแนวคดิ ว่าโลกคือห้องเรยี น รูปแบบการเรยี น

หอ้ งเรียนคือโลก แต่ในศตวรรษที่ 21 ครูส่วนใหญ่มีแนวคิดว่าโลกคือห้องเรียน รูปแบบการเรียนการ ส28อน• ใกนารศวติจัยวทรารงษกาทรบ่ี 2ร0หิ าจรึงกเานรศน้ กึ ทษาี่ครู แต่รูปแบบการเรียนการสอนในศตวรรษท่ี 21 เนน้ ที่เด็ก โดยครูทา ยปหกไคมงัารนรยน่รูทะา้ดึส้อท�ำกตอหย่ีเอิดปนทนบก็นใยี่า้ บดนังงงัทผายา้วรศี่เมู้นนูปึดปยตีบตววน็เแวนทิจิิดจบรผ้ืัยอบรกัย้มูบเษเหบัารบีกรทท่ือรื่าาอทชูปงสร่ี 2งบ้นีเนแ0านราี้รบีาย้จที ศศะนบึงสชึกึทเกกกอนีน้ษ่ีษสาาน้น�ำารราารนสทสเรครูปอ้อูคี่อปียัญแยนรนนแบูนแๆแก7บบตบ้อาบแเกรร่ยบรตกสาปู่ือๆเ่ใรดาอแงหสรแิมนบส้เตอไดแบๆใ่ดนอบ็กกห้แนทเบา้เรกด่ีรมทีเยด่เ็กีป่ีมรน1มิเียรีร)ปมนะียๆารคสนกกะวิทามสๆราาธิทสมกิอภอธเยๆาปินภพา่ ็อนงใานยไพโมา่ดรศางกโยตแไบ็ดตรวลากยทระมบต็รนคษาทย�ำวมทงใันานมย่ี 2มางัีรค1ใสมารนเยูนีคาองรครีกน้ าาอูัญจนทยีกาขกงเี่ นจดาาอ�ำก็วนรนงนวโกปวดิจไาันญยัยมร่นวหิจอ้ายัย2นท)้ีี่ วนตั ี้ ปถุประรกะอสบงคดก์ว้ ยารเนวอื้ิจหยั า3ส)าคระาถทา่สี มำ� วคิจัญยั 74)เรข่อื องบไเดข้แตกข่ อ1)งกคาวราวมิจเยัป็น5ม) ากแรลอะบคแวนาวมคสิดำ� คกญัารขวอิจงยั ปัญ6)หนาิย2า)มศพั ท์ เวฉตั พถาปุ ะรแะลสะงค7)์กปารรวะิจโยั ยช3น) ์ทคำ�ี่คถาาดมววา่ จิ ัยะไ4ด)ร้ ขับอบซเ่ึงขแตตข่ลอะงปกราะรเวดิจน็ ัยม5ีร)ายกลระอเบอแียนดดวคงั ติด่อกไาปรวนจิ ้ี ยั 6) นิยาม ศพั ทเ์ ฉพาะ และ 7) ประโยชน์ท่ีคาดวา่ จะไดร้ ับ ซ่งึ แต่ละประเดน็ มีรายละเอียดดงั ต่อไปนี้ 1วก1.จิ.า11ยรั วคคแจิ ววลัยาาะมมแคเใเใปลปวนน็ ะนาน็ สสมคมม่วว่สวาานนาแแมนนคลลส้ญีัี้ะะออ�ำคคขาาควจจวอัญาจจางมม�ำาขปแแสสอัญนนา�ำงหคคกปกญัาัญออญั กออขขหากกอรอาไไงวงกดดปจิปาส้ ส้ยัรัญัญาวามหหโมิจปดาัยปายรรโมะะดเีรเดยดาน็มยน็ ลรี ไไาะดดยเแ้อลแ้ กียะก่ดคเ่อคดวียวงัาดาจมมดะเปเงันปจน็ า็นะเมสนมานำ�าขเขออสอตงนงป่ออปไญั ตัญปหอ่ นหไา้ีปากกนาาร้ีรววิจิจัยยั ปปัญัญหหาาการ 11.1.1.1.1คคววาามมเปเป็น็ นมมาาขขอองงปปญั ัญหหากาการารววจิ จิยั ัย จากงานวิจยั ในช่วงหลายปี ท่ีผ่านมา และจากการระดม สมองในกลุ่มผู้เชี่ยวชาญด้านศึกษาศาสตร์ ทาให้ครู ได้พบ ทางเลือกในเรื่องรูปแบบการสอน เช่น การสอนโดยตรง (กฤต ส่วนที่ 1: หลกั การ นุ่มนนท,์ 2554 ; วนั เพญ็ หิรัญฤกษ,์ 2555) การสอนแบบซกั (ตอ้ งอา้ งอิงดว้ ย) ϯϱ ภาส (วิทวสั หรุ่มเรืองวงษ,์ 2555; Carlisle, 2009)...........(ความรู้ /  คา้ น หลกั การ) ฯลฯ อย่างไรก็ตาม แม้ครูจะมีทางเลือกมากมายในการเลือก ส่วนท่ี 2: ขดั แยง้ กบั ปฏิบตั ิเพ่ือจะไดจ้ ดั การเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ แต่รูปแบบ หลกั การ การสอนท่ีครูส่วนใหญ่ใช้อยู่ยงั คงเป็ นลกั ษณะของการบรรยาย ...........(การปฏิบตั ิท่ีขดั แยง้ กบั หลกั การ) จึงทาใหเ้ กิดปัญหาข้ึน 1.1.2 ปญั หาการวิจัย 1.จ1า.2กกปาัรญทหี่คารกูสาร่ววนิจใยัหญ่เลือกใช้รูปแบบการสอน ท่ียังมีลักษณะยึดติดกับรูปแบบเก่า ๆ คขรเเท้ึนรกทปููมงั้ ิด่าโแีคๆทปดบวี่ทคยัญาบปวคี่มหเรรรกจรามะูู่า้เาขกรพกคี ๆึ้่ืนอลกวจง่าานซาโวมรรดึ่ง์ขคูทรปขยอือเู้ี่คปแารงดอื่รบปรรูปสงะูปับญ่รวพรแกหะปูนจบาสาแในรบคิทหบส์ขือกธญบออาิภนกง่เกรลาปาสแาพือรรบัญอสกหสนบหอใอลชใขนานาหครอ้ยแขูปมือดงบอค้า่แทบงกนรบ่ีจคใาูสะบหรรเช่วเูทกสมพน่นาท่อ่ีใ่ิมช.รใน.จี่ ปห้.สอ.ะข.รยญอ.เ.อพะ่ใู.น่ท.นงส.ม่ิ .ค่ีใท.ปิทป.ช.รี่ยัจ.ธร้อ.ูทง.จัะิภ.ยม่ีใ.บุส.าชู่ใ.ีลพ.ันทิน้อ.กั.กธไ.ปย.ษม.ภิาู่ใัจ.ณ.รน่มา.จ.สพปปี.ะุบอกยัรจัน(นาดึะสจรสตขุบวุยสิิดทอิทังันอมกงธยไนตบีลัิภ์มขนักรภา่มอูพปเษาีปองณแเณตงรทบุจนะะ่าทบาสทยเาอรึเดิทคี่ใก,ีงหตธว่2าทิดริภเ้5ๆกำ� 5กาใกิด9พทหับลป)้ง้ัา่ ัญวๆคหทือาี่ รู…ปแ…บ…บก...า.…รส…อ…นข(อธงบิคารยูสข่วยนายใคหวญาม่ทข่ีใอชง้อปยญั ู่ใหนาปใหัจช้ จดัุบเจันยงิ่ยขงั น้ึม)ีล…ัก…ษณ…ะ…ยึด.…ติด…ก…ับ…รูป..แ...บ...บ...เ.ก…่า…ๆ…ซ่ึงขาด ป…ร…ะ ส…ิ ท…ธิ…ภ า...พ...ห....ล...า..ย...ด..้.า..น.....เ..ช..่.น.........................................................................(..ส..ุ.ว..ิ.ท.…ย์. ภ า ณุ จ า รี , 2559)………....………(อธิบายขยายความของปัญหาใหช้ ดั เจยงิ่ ข้ึน)……………………............ ……………………...................................................................................................................…. ปัญหาการวิจัยดังกล่าว อาจวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาได้.......ประการดังน้ี คือ 1) การ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook