Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore จิตวิทยาพัฒนาตนในสังคมยุคใหม่

จิตวิทยาพัฒนาตนในสังคมยุคใหม่

Published by kolratnara.dear, 2022-09-30 08:29:46

Description: จิตวิทยาพัฒนาตนในสังคมยุคใหม่

Search

Read the Text Version

คํานาํ เอกสารคาํ สอนฉบบั น้ี จดั ทาํ ขน้ึ เพอ่ื ประกอบการสอนรายวชิ า จิตวทิ ยาพัฒนาตนใน สังคมยุคใหม่ (Psychology for Self-development in modern society) GE 20007 ผู้เขียนได้ รวบรวมเนื้อหาเกย่ี วกบั จิตวิทยาพฒั นาตนในสังคมยุคใหมท่ ค่ี รอบคลมุ คําอธิบายรายวชิ าประกอบด้วย เนือ้ หาสาระความรูพ้ ื้นฐานเก่ียวกับจิตวิทยา การตระหนกั รูใ้ นตนเอง การเข้าใจผอู้ ่นื การคดิ อย่างมีสติ การฝกึ สมอง บุคลกิ ภาพและการวางตัวเพ่ือความเหมาะสม การสร้างสัมพนั ธภาพระหวา่ งบคุ คล และ จิตสาธารณะเพื่อการปรับตัวในโลกยุคใหม่ นอกเหนือจากเน้ือหาดังกล่าวแล้ว นักศึกษายังได้รับ ประสบการณ์จากการลงมือปฏิบัติผา่ นกระบวนการเรียนรูท้ ีเ่ น้นผู้เรยี นเป็นสําคญั ในทุกเนอ้ื หาและ นักศึกษาจะได้รับความรู้จากการร่วมกิจกรรมโดยร่วมอภิปรายอย่างเสรี เปิดโอกาสพูดคุย ซักถาม ตอบคําถามและทาํ ความเข้าใจพร้อมกับการฝกึ ปฏิบตั ิจนนําไปสกู่ ารเกดิ การเรียนรูอ้ ยา่ งรู้แจง้ กระจา่ ง ชดั เจน ในการรวบรวมเอกสารคาํ สอนในคร้ังน้ี ผู้เขียนขอขอบคุณผู้เขียนเอกสาร หนังสือ ตาํ ราและงานวิจัยท่ีได้นํามาประกอบการอ้างอิงและเรียบเรียง และขอขอบพระคุณบุคคลที่มีส่วน เก่ยี วขอ้ งที่ใหค้ วามชว่ ยเหลอื เปน็ ทป่ี รกึ ษา ในการจดั ทาํ เอกสารคําสอนฉบับนี้จนกระทง่ั สาํ เรจ็ บรรลุ เป้าหมายและหากทา่ นท่นี ําเอกสารคาํ สอนไปใชแ้ ลว้ มีขอ้ เสนอแนะแกผ่ ู้เขยี น ผู้เขียนนอ้ มรบั และนาํ มา ปรับปรงุ แกไ้ ข ให้เอกสารคาํ สอนมีความถกู ต้อง สมบรู ณม์ ากย่งิ ขึน้ และท้ายนี้ หวังเปน็ อย่างย่ิงว่า เอกสารคาํ สอนจะมปี ระโยชนส์ าํ หรบั นักศกึ ษาท่เี รียนวชิ าจิตวิทยาพฒั นาตนในสงั คมยุคใหมแ่ ละผทู้ มี่ ี ความสนใจ ธนัญญา ธรี ะอกนิษฐ์ พฤษภาคม 2560

(2) หน้า (1) สารบญั (2) (16) คํานํา (24) สารบญั (26) สารบญั ภาพ (28) สารบัญตาราง 1 สารบัญแผนผัง 5 แผนบรหิ ารการสอนประจําวชิ า 5 แผนบริหารการสอนบทที่ 1 6 บทที่ 1 ความรูพ้ น้ื ฐานเกีย่ วกบั จติ วิทยา 8 16 1. ความหมายของจติ วทิ ยา 16 2. ความหมายของพฤติกรรมมนษุ ย์ 17 3. ประเภทของพฤติกรรมมนุษย์ 21 4. ความสาํ คัญของการศกึ ษาจติ วิทยา 22 5. ตาํ นานทางจติ วิทยา 26 6. ประวตั คิ วามเป็นมาของจิตวทิ ยา 29 7. กลุ่มแนวคดิ ทางจติ วทิ ยา 32 35 7.1 กลุม่ โครงสร้างของจติ 41 7.2 กลมุ่ หนา้ ทข่ี องจติ 42 7.3 กลมุ่ พฤตกิ รรมนยิ ม 42 7.4 กลมุ่ จติ วิเคราะห์ 45 7.5 กลมุ่ จติ วิทยาเกสตอลท์ 45 7.6 กลมุ่ มนษุ ยนยิ ม 8. วิธกี ารศึกษาทางจติ วทิ ยา 8.1 วธิ ีการวจิ ัย 8.2 เป้าหมายของการวิจยั 8.3 เครือ่ งมอื ทใี่ ชพ้ รรณนา

(3) หน้า สารบญั (ต่อ) 47 52 8.4 เครอื่ งมอื ในการอธิบาย 54 9. ศีลธรรมทางจิตวทิ ยา 57 10. สาขาต่างๆของจิตวิทยา 59 สรุปบทท่ี 1 60 คาํ ถามทา้ ยบทที่ 1 61 เอกสารอ้างอิงบทที่ 1 65 แผนบริหารการสอนบทท่ี 2 66 บทที่ 2 การตระหนักรใู้ นตนเองและเข้าใจผอู้ ืน่ 68 1. ความหมายของการรจู้ ักตนเอง 69 2. ความสําคญั ของการร้จู กั ตนเอง 69 3. แนวคิดนกั จติ วทิ ยาของการร้จู ักตนเอง 70 71 3.1 การรจู้ กั ตนเองตามแนวคิดของ คาร์ล อาร์ โรเจอร์ 71 3.2 การรู้จกั ตนเองตามแนวคิดของโบลส์ และดาเวน พอร์ท 78 4. ทฤษฎกี ารรู้จกั ตนเอง 78 4.1 หนา้ ตา่ งของโจ-แฮรี่ 79 4.2 การวเิ คราะห์ส่ือสารสมั พนั ธ์ 84 94 4.2.1 โครงสรา้ งของบุคลิกภาพ 95 4.2.2 รายละเอียดเก่ียวกับโครงสรา้ งบุคลกิ ภาพ 101 4.2.3 รูปแบบการส่อื สารสมั พันธ์ระหวา่ งบุคคล 103 5. ปัจจัยสง่ เสริมการรู้จกั ตนเอง 103 6. มโนมติพ้นื ฐานในการรูจ้ กั ตนเอง 7. การพฒั นาการรู้จกั ตนเอง 8. การตระหนักรู้ในตนเอง 8.1 ความหมายของการตระหนกั รู้ในตนเอง

(4) หนา้ สารบญั (ตอ่ ) 104 105 8.2 ความสําคัญของการตระหนักรู้ในตนเอง 106 8.3 องค์ประกอบของการตระหนักรูใ้ นตนเอง 106 8.4 ระดบั วุฒภิ าวะของบคุ คล 108 8.5 กระบวนการของการตระหนกั รู้ในตนเอง 112 8.6 หลักสําคญั ในการพฒั นาการตระหนักรู้ในตนเอง 112 9. การเหน็ คุณค่าในตนเอง 113 9.1 ความหมายของการเหน็ คุณค่าในตนเอง 114 9.2 ความสําคัญของการเห็นคุณค่าในตนเอง 116 9.3 ประเภทของการเห็นคุณคา่ ในตนเอง 118 9.4 องค์ประกอบทีม่ อี ิทธิพลตอ่ การเห็นคุณค่าในตนเอง 126 9.5 ทฤษฎที ี่เกยี่ วข้องกับการเห็นคณุ ค่าในตนเอง 128 9.6 พฒั นาการการเห็นคณุ คา่ ในตนเอง 128 9.7 ลักษณะของบุคคลที่การเหน็ คณุ ค่าในตนเอง 131 9.8 ลกั ษณะของบคุ คลทก่ี ารเหน็ คณุ คา่ ในตนเองสงู 133 9.9 การสร้างความเชือ่ มัน่ ในตนเอง 135 9.10 การเสริมสร้างการเห็นคุณคา่ ในตนเอง 135 9.11 ผลลัพธข์ องกระบวนการเรียนรจู้ ากการเติบโตกับคาํ ต่างๆ 137 9.12 วถิ ชี วี ิตกับการเปรยี บเทยี บการเห็นคุณคา่ ในตนเอง 138 9.13 การเห็นคณุ คา่ ในตนเองกับพฤตกิ รรมความสาํ เร็จ 140 9.14 การเหน็ คุณคา่ ในตนเองกับผู้อื่น 140 10. การพัฒนาตน 141 10.1 ความหมายของการพฒั นาตน 141 10.2 แนวคดิ พื้นฐานการพฒั นาตน 10.3 ความสาํ คญั ของการพฒั นาตน

(5) หนา้ สารบญั (ต่อ) 142 148 10.4 แนวคิดพืน้ ฐานเกย่ี วกับการพัฒนาตน 149 10.5 คณุ ลักษณะของบคุ คลทมี่ ีทุนจิตวทิ ยาในการพฒั นาตน 159 10.6 เทคนคิ การพฒั นาตน 162 10.7 แนวทางในการพฒั นาตนในชีวิตประจาํ วนั 165 11. การเข้าใจผอู้ น่ื 167 สรุปบทที่ 2 171 คาํ ถามทา้ ยบทที่ 2 175 เอกสารอ้างองิ บทท่ี 2 179 แผนบริหารการสอนบทที่ 3 180 บทที่ 3 การคิดอย่างสติ 182 1. ความหมายของการคดิ 185 2. ความสําคัญของการคิด 186 3. การเกิดของการคิด 188 4. กระบวนการของการคดิ 189 5. กรอบการคิด 191 6. ทักษะการคดิ 195 7. ลกั ษณะการคดิ แบบตา่ งๆ 198 8. ประเภทของการคดิ 199 9. การคดิ อย่างมีสติ 199 9.1 การคิดแบบอภปิ ญั ญาหรือการร้คู ิด 199 200 9.1.1 ความหมายของการคดิ แบบอภปิ ญั ญาหรือการรู้คดิ 201 9.1.2 กระบวนการรู้คิด 9.1.3 พฒั นาการดา้ นการรู้คดิ 9.1.3.1 ทฤษฎพี ัฒนาการสติปัญญาของเพียเจท์

(6) หนา้ สารบญั (ต่อ) 204 206 9.1.3.2 ทฤษฎพี ัฒนาการสติปญั ญาของบรูนเนอร์ 210 9.1.3.3 ทฤษฎีการเรยี นรู้ของกาเย่ 212 9.1.3.4 ทฤษฎีการสร้างความรู้ดว้ ยตนเอง วีกอ็ สกี้ 213 9.1.3.5 ทฤษฎกี ารเรยี นรู้อย่างมคี วามหมายของออซูเบล 218 9.2 การคดิ แบบญาณปัญญาหรอื แบบหยง่ั เห็น 219 9.3 การคิดบวก 219 9.4 การคิดแกป้ ัญหาและการตดั สนิ ใจ 221 9.4.1 การคดิ แกป้ ญั หา 221 9.4.2 การตัดสนิ ใจ 224 9.4.2.1 ความหมายของการตดั สนิ ใจ 225 9.4.2.2 ความสาํ คัญของการตดั สินใจ 225 9.4.2.3 ลกั ษณะของของการตดั สินใจ 226 9.4.2.4 ชนิดของการตัดสินใจ 228 9.4.2.5 กระบวนการตดั สนิ ใจ 230 9.4.2.6 ทฤษฎกี ารตัดสินใจ 230 9.6 การคดิ อย่างมีวจิ ารญาณ 232 9.6.1 ความหมายของการคิดอย่างมีวจิ ารญาณ 232 9.6.2 ลําดับขัน้ ของกระบวนคดิ อยา่ งมีวิจารญาณ 234 9.6.3 ความสามารถในการคดิ อย่างมวี จิ ารญาณ 234 9.7 ความคิดสร้างสรรค์ 235 9.7.1 นิยามของความคิดสร้างสรรค์ 236 9.7.2 ความหมายของความคิดสร้างสรรค์ 237 9.7.3 วธิ ีการปรับปรุงทักษะคดิ สร้างสรรค์ 9.7.4 ขอบเขตของความคิดสรา้ งสรรค์

(7) หน้า สารบญั (ต่อ) 238 238 9.7.5 วธิ ีการคดิ สรา้ งสรรค์ 239 9.7.6 องค์ประกอบของความคิดสร้างสรรค์ 240 9.7.7 กระบวนการสร้างความคิดสร้างสรรค์ 241 9.7.8 วธิ กี ารฝกึ เพ่ือพัฒนาศกั ยภาพของความคดิ สร้างสรรค์ 241 9.7.9 วธิ พี ฒั นาความคดิ สร้างสรรค์ 243 9.7.10 การฝึกในมมุ ตา่ งมุม 244 9.7.11 การสร้างทัศนคติท่เี ออ้ื ต่อของความสรา้ งคิดสรา้ งสรรค์ 245 10. อปุ สรรคของการคดิ 246 11. การปอ้ งกนั และแก้ไขข้อบกพร่องในการคิด 248 สรุปบทที่ 3 251 คาํ ถามท้ายบทที่ 3 255 เอกสารอ้างองิ บทที่ 3 261 แผนบรหิ ารการสอนบทที่ 4 261 บทท่ี 4 การฝกึ สมอง 262 ระบบประสาท 262 1. ระบบประสาทส่วนกลาง 264 1.1 เซลล์ประสาท 264 1.2 ไขสนั หลงั 265 1.2.1 หนา้ ที่หลักของไขสันหลงั 267 1.2.2 ระบบการกระจายของไขสนั หลัง 269 1.2.3 โครงสร้างของไขสนั หลงั 269 1.2.4 ปลอ้ งของไขสนั หลัง 270 1.2.5 เส้นประสาทของไขสนั หลัง 1.3 สมอง

(8) หนา้ สารบญั (ตอ่ ) 271 272 1.3.1 พฒั นาการของสมอง 278 1.3.1.1 โครงสร้างของสมอง 278 280 1.3.2 ส่วนประกอบของสมอง 280 1.3.2.1 สมองส่วนหลงั 282 1.3.2.2 สมองสว่ นกลาง 283 1.3.2.3 สมองสว่ นหน้า 284 1.3.2.4 บริเวณหน้าทข่ี องสมอง 285 1.3.2.5 เส้นประสาท 288 1.3.2.5 ก้านสมอง 288 1.3.2.6 บรเิ วณอ่ืนๆในสมอง 288 288 1.3.3 ประสาทรับความรู้สึก 291 1.3.3.1 Perfrontal Cortex 293 1.3.3.2 Brodmann Area 4 294 1) คอรเ์ ท็กซก์ ารเหน็ ปฐมภูมิ 295 2) คอร์เท็กซก์ ารไดย้ ินปฐมภูมิ 297 298 1.3.4 สารสื่อประสาทในสมอง 299 1.3.4.1 สารเคมีในสมองทส่ี ําคญั 299 1.3.4.2 การสร้างและการทาํ งานของสารสือ่ ประสาท 299 1.3.4.3 การทํางานของสารเคมีในสมอง 300 1.3.4.4 เสน้ ทางเดนิ ของข่าวสาร 2. ระบบประสาทอสิ ระ 2.1 ระบบยอ่ ยของระบบประสาทอิสระ 2.1.1 ระบบซมิ พาเตตคิ 2.1.2 ระบบพาราซิมพาเตตคิ

(9) หนา้ สารบญั (ต่อ) 302 302 การฝกึ สมอง 304 1. ยุคของความหลากหลายทางสมอง 306 2. หน้าทขี่ องสมอง 309 2.1 หน้าท่ขี องสมองซกี ซ้ายกบั สมองซีกขวา 310 2.2 การใชส้ มองทง้ั สองซกี 311 3. คลื่นสมอง 312 3.1 ประเภทของคล่ืนสมอง 313 3.2 คลื่นสมองกบั การเรียนรู้ 313 4. การปดิ และเปิดของการทํางานของสมอง 316 4.1 กจิ กรรมการปดิ สวิตซข์ องสมอง 317 4.2 กจิ กรรมการเปดิ สวิตซ์ของสมอง 322 5. การพัฒนาสมอง Brain Gym 329 6. การบรหิ ารสมอง Brain Activation 332 7. สมองกบั ความจํา 335 8. สมองกับความฉลาดและความคิด 336 9. สมองกับนาํ้ 337 10. สมองกบั การหายใจ 341 11. สมองกับดนตรี 344 12. สมองกับการผ่อนคลาย 345 13. สมองกบั สารอาหาร 347 14. สมองกับกิจกรรมในแต่ละช่วงเวลา 350 สรุปบทที่ 4 354 คําถามทา้ ยบทที่ 4 เอกสารอ้างองิ บทท่ี 4

(10) หนา้ สารบญั (ตอ่ ) 355 359 แผนบรหิ ารการสอนบทท่ี 5 359 บทที่ 5 การจัดการอารมณแ์ ละความเครียด 362 362 1. ความหมายของอารมณ์ 362 2. หนา้ ทขี่ องอารมณ์ 363 3. องค์ประกอบของอารมณ์ 364 365 3.1 องคป์ ระกอบของอารมณ์ 367 3.2 การเปล่ยี นแปลงของอารมณ์ 369 4. การจําแนกของอารมณ์ 371 5. ปัจจัยทม่ี ีส่วนสมั พันธก์ บั อารมณ์ 372 6. ลกั ษณะของอารมณ์ 375 7. ประเภทของอารมณ์ 378 8. การเกิดอารมณ์ 378 9. การเปลยี่ นแปลงทางรา่ งกายเมื่อเกดิ อารมณ์ 380 10. พัฒนาการทางอารมณ์ 381 11. ทฤษฎีของอารมณ์ 382 11.1 ทฤษฎีอารมณข์ องเจมส์ แลง 383 11.2 ทฤษฎีอารมณข์ อง แคนนอน – บารด์ 386 11.3 ทฤษฎอี ารมณ์ของแซตเตอร์ ซิงเกอร์ 388 11.4 ทฤษฎีอารมณ์วา่ ดว้ ยการใครค่ รวญและการเรียนรขู้ องสมอง 390 12. ความฉลาดทางอารมณ์ 397 13. การวดั อารมณ์ 14. ความเครยี ด 15. ภาวะทเ่ี กิดจากความเครยี ด 16. การจัดการกบั อารมณ์

(11) หนา้ สารบญั (ตอ่ ) 400 401 17. การควบคุมอารมณ์ 402 18. เทคนิคในการร้จู กั และเขา้ ใจอารมณ์ของผูอ้ นื่ 404 สรปุ บทท่ี 5 413 คาํ ถามทา้ ยบทท่ี 5 415 เอกสารอา้ งอิงบทท่ี 5 419 แผนบริหารการสอนบทที่ 6 420 บทที่ 6 บุคลิกภาพและการวางตัวเพื่อความเหมาะสม 422 1. ความหมายของบุคลิกภาพ 423 2. ความสําคัญของบคุ ลกิ ภาพ 424 3. องค์ประกอบของบุคลกิ ภาพ 426 4. บคุ ลิกภาพกับความแตกต่างระหว่างบุคคล 426 5. ทฤษฎีบคุ ลกิ ภาพ 426 429 5.1 กลุ่มทฤษฎกี ารเคล่ือนไหวทางจติ 435 5.1.1 ทฤษฎจี ติ วเิ คราะหข์ องฟรอยด์ 437 5.1.2 ทฤษฎีจติ วิเคราะหข์ องคาร์ล จงุ 438 5.1.3 ทฤษฎีจติ วทิ ยาของรายบคุ คลของอัลเฟรด แอดเลอร์ 439 441 5.2 กลุ่มทฤษฎีบคุ ลิกภาพแบ่งตามประเภท 444 5.2.1 ทฤษฎีจติ วิทยาของเชลดอน 447 5.2.2 ทฤษฎีจติ วทิ ยาของแฮนส์ ไอแซงค์ 447 5.2.3 ทฤษฎจี ติ วิทยาของอัลพอร์ต 452 5.2.4 ทฤษฎีลกั ษณะเฉพาะของเรมอนด์ บี แคทแทลล์ 452 5.3 กลุ่มทฤษฎีบุคลิกภาพเชิงมนษุ ยนยิ ม 5.3.1 ทฤษฎีบคุ ลิกภาพของคารล์ โรเจอร์ 5.4 กลุ่มทฤษฎีการเรียนรู้ทางสงั คม 5.4.1 ทฤษฎบี คุ ลกิ ภาพของมาสโลว์

(12) หน้า สารบญั (ต่อ) 454 454 5.5 กลมุ่ ทฤษฎกี ารวิเคราะห์การส่ือสมั พนั ธ์ 456 5.5.1 ทฤษฎีการวิเคราะห์การสอ่ื สัมพันธ์ของเบร์ิน 456 457 6. วิธีการประเมนิ และการวดั บคุ ลิกภาพ 461 6.1 การประเมินบคุ ลิกภาพ 461 6.2 การวัดบคุ ลกิ ภาพ 462 463 7. การวางตัวเพ่ือความเหมาะสม 464 7.1 ลักษณะของผูท้ ี่มบี ุคลกิ ภาพที่ดี 464 7.2 ลกั ษณะของบคุ ลิกภาพทางกาย ทางอารมณ์และจิตใจ และทางวาจา 466 7.3 การวางตัวของผหู้ ญิงในสงั คมไทย 468 7.4 การวางตวั ของผู้ชายในสงั คมไทย 469 7.5 การวางตวั ที่เหมาะสมในสถานทต่ี ่างๆ 470 471 8. การปฏบิ ัติตนต่อผอู้ ่ืนในทางทดี่ ี 475 สรปุ บทที่ 6 475 คาํ ถามท้ายบทที่ 6 476 เอกสารอ้างอิงบทที่ 6 476 แผนบริหารการสอนบทท่ี 7 477 บทที่ 7 การสร้างสัมพันธภาพระหว่างบุคคล 478 1. ความสัมพันธ์ระหว่างบคุ คล 478 479 1.1 ระดับคนรูจ้ ัก 1.2 ระดบั เพือ่ น 1.3 ระดบั ลึกซึ้ง 2. การเกดิ ความสัมพนั ธ์ระหว่างบคุ คล 3. สาเหตโุ ดยทวั่ ไปของการเกิดความสมั พันธร์ ะหว่างบุคคล 4. ขน้ั ตอนของการเกดิ ความสัมพนั ธ์

(13) หนา้ สารบญั (ตอ่ ) 482 482 5. คุณค่าของสมั พนั ธภาพระหวา่ งบุคคล 483 6. คุณลักษณะสาํ คัญในการสมั พันธภาพระหวา่ งบุคคล 485 7. ทักษะการสร้างสัมพนั ธภาพท่ีดรี ะหวา่ งบคุ คล 486 488 7.1 การเปดิ เผยตนเอง 491 7.2 ความไวว้ างใจและความน่าไว้วางใจ 492 8. ความหมายของมนุษยสมั พนั ธ์ 496 9. ลกั ษณะของมนุษยสมั พนั ธ์ 496 10. องคป์ ระกอบของมนษุ ยสัมพันธ์ 498 11. ทฤษฎที เ่ี กยี่ วข้องกับมนษุ ยสมั พันธ์ 498 11.1 ทฤษฎีความตอ้ งการ 5 ขนั้ ของอิรคิ ฟรอมม์ 501 11.2 ทฤษฎคี วามตอ้ งการ 5 ขัน้ ของมาสโลว์ 504 11.3 ทฤษฎคี วามตอ้ งการความสมั ฤทธ์ิของแมคเคลแลนด์ 505 11.4 ทฤษฎีสององค์ประกอบของเฟรเดอริค เฮอร์เบริ์ก 507 11.5 ทฤษฎี ERG ของอัลเดอรเ์ ฟอร์ 508 11.6 ทฤษฎคี วามต้องการของมอรเ์ รย์ 20 ประการ 510 11.7 ทฤษฎีความคาดหวงั ของวิตเตอร์ วรมู 512 11.8 ทฤษฎตี น้ ไม้จรยิ ธรรมของดวงเดือน พนั ธมุ าวนิ 516 12. อิทธพิ ลของมนษุ ยสัมพนั ธ์ตอ่ บคุ คล 516 13. วธิ กี ารสรา้ งมนษุ ยสมั พันธ์ 516 14. การติดตอ่ ส่อื สาร 518 14.1 ความหมายของการติดตอ่ ส่ือสาร 519 14.2 ความสาํ คญั ของการติดต่อสอ่ื สาร 14.3 องค์ประกอบของของการตดิ ต่อสือ่ สาร 14.4 กระบวนการตดิ ต่อสือ่ สาร

(14) หนา้ สารบญั (ตอ่ ) 520 522 14.5 ปัญหาและอปุ สรรคในการติดต่อสอ่ื สาร 523 14.6 ความแตกตา่ งระหว่างแบบของพฤติกรรม 524 14.7 ความแตกตา่ งระหวา่ งการรับสาร 524 15. การเพิ่มประสทิ ธภิ าพของการติดต่อส่อื สาร 526 15.1 การฟัง 527 15.2 ภาษาทา่ ทาง 527 15.3 การสบตา 527 15.4 การแสดงสหี น้า 528 15.5 การสัมผสั 529 15.6 การเข้าใจมุมมองของผอู้ ่ืน 531 15.7 การใหแ้ ละรับขอ้ ติชมในการตดิ ต่อส่ือสาร 533 15.8 เทคนิคการส่ือสารกับบคุ คลทมี่ แี บบพฤตกิ รรมต่างกนั 534 สรปุ บทท่ี 7 535 คาํ ถามทา้ ยบทท่ี 7 537 เอกสารอ้างอิงบทท่ี 7 541 แผนบริหารการสอนบทท่ี 8 541 บทท่ี 8 จิตสาธารณะ 548 1. ความหมายของจิตสาธารณะ 550 2. ความสาํ คัญของจิตสาธารณะ 553 3. การกอ่ รูปของจติ สาธารณะ 553 4. ปัจจัยทกี่ ่อใหเ้ กิดจติ สาธารณะ 558 5. องคป์ ระกอบของจติ สาธารณะ 559 6. ลกั ษณะของบุคคลที่มีจติ สาธารณะ 7. กลยทุ ธใ์ นการปลกู ฝังจิตสาธารณะ

(15) หน้า สารบญั (ต่อ) 560 560 8. แนวคิดเก่ยี วกับจติ สาธารณะ 561 8.1 แนวคิดการอาสาสมคั ร 563 8.2 แนวคิดพฤติกรรมเออ้ื สงั คม 563 568 9. แนวคิดและทฤษฎที ่ใี ชใ้ นการพฒั นาจติ สาธารณะ 571 9.1 ตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 572 9.2 ตามหลกั คําสอนพุทธศาสนา 575 9.3 ตามทฤษฎกี ารเรยี นรกู้ ารวางเงอ่ื นไขแบบกระทํา 575 9.4 ตามทฤษฎกี ารเรยี นรู้ทางปัญญาเชงิ สังคม 576 578 10. กระบวนการเรยี นรู้เพอื่ พัฒนาจติ สาธารณะ 579 10.1 แบบเทคนิคการเรียนรู้ดว้ ยการรบั ใชส้ ังคม 579 10.2 แบบเทคนิคศึกษากรณีตัวอย่างท่ีเน้นการเสนอตัวแบบสัญลักษณ์ 581 10.3 แบบโครงงาน 581 10.4 แบบอรยิ สจั 582 10.5 แบบบทบาทสมมติ 582 10.6 แบบใช้การเผชิญสถานการณ์ 598 10.7 แบบใช้เกม 602 10.8 แบบการอภปิ รายกลุ่มยอ่ ย 604 606 11. เครอื่ งมอื วดั จิตสาธารณะ 607 12. การสรา้ งเสริมจิตสาธารณะตอ่ ส่วนรวม 609 13. ประโยชนข์ องการมีจติ สาธารณะ สรปุ บทที่ 8 คําถามทา้ ยบทที่ 8 เอกสารอ้างองิ บทท่ี 8 บรรณานุกรม

(16) หน้า สารบญั ภาพ 7 8 ภาพที่ 9 9 1 ภาพการคิด การพูด และการอ่าน 10 2 ภาพการกระทําของมนุษย์ 11 3 ภาพเด็กหวั เราะ 13 4 ภาพเดก็ รอ้ งไห้ 13 5 ภาพความเข้มขน้ ของนา้ํ ตาลในเลือด หรือ ระดับกลโู คสในเลือด 14 6 ภาพการทาํ งานของกระเพาะอาหาร 15 7 ภาพประสาทสมั ผสั ทงั้ หา้ 17 8 ภาพการเขา้ ใจหรือตีความ 21 9 ภาพพฤตกิ รรมทเ่ี ปน็ ความจํา 22 10 ภาพการคิดและการตัดสินใจ 23 11 ภาพไซกี 26 12 ภาพวลิ เฮล์ม วุ้นท์ 28 13 ภาพเพลโต 30 14 ภาพอริสโตเติล 32 15 ภาพจอหน์ ดิวอี้ และวิลเลยี่ ม เจมส์ 33 16 ภาพจอหน์ วตั สนั 36 17 ภาพเอดเวดิ ธอรน์ ไดด์ 37 18 ภาพซิกมันด์ ฟรอยด์ (1) 40 19 ภาพจติ สํานึก จิตก่งึ ร้สู าํ นกึ และจิตไรส้ ํานกึ 53 20 ภาพแมกซ์ เวอร์ไทเมอร์ และโคเลอร์ 65 21 ภาพลงิ ชมิ แปนซี 22 ภาพอับราฮมั มาสโลว์ และ คารล์ โรเจอรส์ 23 ภาพสาขาตา่ งๆของจิตวทิ ยา 24 ภาพการตระหนักร้ใู นตนเองและการเข้าใจผอู้ ่นื

(17) หน้า สารบญั ภาพ (ต่อ) 66 69 ภาพท่ี 72 72 25 ภาพการรู้จักตนเอง (1) 73 26 ภาพการรูจ้ กั ตนเอง (2) 74 27 ภาพบริเวณเปิดเผย 75 28 ภาพบรเิ วณจดุ บอด 75 29 ภาพบริเวณความลบั 76 30 ภาพบริเวณอวิชา 77 31 ภาพการขยายบรเิ วณเปิดเผย 77 32 ภาพการแสดงลกั ษณะหน้าตา่ งหัวใจของผทู้ ่ีรับข้อติชมมากใหข้ ้อติชมทนี่ อ้ ย 81 33 ภาพการแสดงลกั ษณะหน้าต่างหัวใจของผูท้ ใี่ ห้ขอ้ ติชมมากรบั ข้อตชิ มมาก 94 34 ภาพลักษณะหนา้ ต่างหวั ใจของคนทโี่ ง่เขลา 96 35 ภาพลักษณะหนา้ ตา่ งหัวใจของคนท่เี ปิดเผย 102 36 ภาพโครงสร้างของบคุ ลกิ ภาพ PAC 111 37 ภาพมโนมตพิ ื้นฐานของการร้จู กั ตนเอง 113 38 ภาพอัตมโนทัศนข์ อง Mc Davis and Harrari 120 39 ภาพการตระหนกั ร้ใู นตนเอง 128 40 ภาพการเห็นคุณคา่ ในตนเอง 133 41 ภาพความสาํ คัญของการเห็นคุณคา่ ในตนเอง 139 42 ภาพทฤษฎคี วามตอ้ งการตามลําดบั ขน้ั ของ Maslow 150 43 ภาพลกั ษณะของบคุ คลทเ่ี ห็นคณุ คา่ ในตนเอง 152 44 ภาพการเสริมสรา้ งการเห็นคณุ ค่าในตนเอง 153 45 ภาพการพฒั นาตน 46 ภาพการควบคุมตนเอง 47 ภาพการเตอื นตนเอง 48 ภาพการเสรมิ แรง

(18) หนา้ สารบญั ภาพ (ตอ่ ) 154 156 ภาพที่ 162 179 49 ภาพการลงโทษตวั เอง 183 50 ภาพวิธีเจริญสมาธิเบ้อื งตน้ 188 51 ภาพการเขา้ ใจผู้อน่ื 191 52 ภาพการคดิ (1) 201 53 ภาพการคิด (2) 204 54 ภาพทักษะการคดิ 206 55 ภาพลักษณะการคดิ แบบต่างๆ 210 56 ภาพ Jean Piaget 212 57 ภาพ Jerome Seymour Bruner 58 ภาพ Robert M. Gagne 215 59 ภาพ Lev Semionovich Vygotsky 216 60 ภาพ David Ausubel 217 61 ภาพแมกซ์ เวอรไ์ ทม์เมอร,์ วุล์ฟแกงค์ โคห์เลอร์ 219 222 เคิรท์ คอฟฟ์กาและเคริ ์ท เลวนิ 230 62 ภาพการเรียนรแู้ บบหย่ังเหน็ ของโคห์เลอร์ 234 63 ภาพการคิดบวก 262 64 ภาพการคิดแก้ปัญหา 263 65 ภาพการตดั สินใจ 265 66 ภาพการคิดอย่างมีวิจารณญาณ 266 67 ภาพการคิดสรา้ งสรรค์ 68 ภาพเซลลป์ ระสาท 69 ภาพไซแนปส์ 70 ภาพปฏกิ ริ ิยารีเฟลก็ ซ์ 71 ภาพ Temporal และ Spatial summation

(19) หนา้ สารบญั ภาพ (ต่อ) 266 268 ภาพท่ี 270 271 72 ภาพวงจรการกระตุน้ ภายใน 273 73 ภาพไขสนั หลัง 276 74 ภาพสมอง 279 75 ภาพพฒั นาการของสมองของสตั ว์ประเภทต่างๆ 282 76 ภาพโครงสรา้ งของสมอง 283 77 ภาพการทาํ งานของสมอง 285 78 ภาพส่วนประกอบของสมอง 286 79 ภาพบริเวณหน้าทีข่ องสมอง 287 80 ภาพเส้นประสาทสมองของมนุษย์ 290 81 ภาพต่อมใต้สมองหรือตอ่ มพิทูอิทารี 301 82 ภาพตอ่ มไพเนียล 305 83 ภาพประสาทรบั ความรสู้ ึก 305 84 ภาพส่วนประกอบของหู 307 85 ภาพการทํางานของระบบประสาทอิสระ 311 86 ภาพหนา้ ท่ีของสมองซีกซา้ ยและสมองซกี ขวา (1) 313 87 ภาพหนา้ ทีข่ องสมองซกี ซา้ ยและสมองซกี ขวา (2) 315 88 ภาพหลักสําคญั ของความถนัดของสมองซีกขวา 316 89 ภาพคลื่นสมอง 317 90 ภาพการปดิ ของการทํางานของสมอง 318 91 ภาพพฤตกิ รรมทําลายสมอง 319 92 ภาพการเปดิ ของการทํางานของสมอง 93 ภาพการพัฒนาสมองด้วย Brain Gym 94 ภาพการเคลอื่ นไหวสลับขา้ ง 95 ภาพการยืดส่วนต่างๆ ของร่างกาย

(20) หน้า สารบญั ภาพ (ต่อ) 320 321 ภาพท่ี 323 323 96 ภาพการเคล่ือนไหวเพือ่ กระตนุ้ 324 97 ภาพท่าบริหารรา่ งกายง่ายๆ 325 98 ภาพการบรหิ ารปมุ่ สมอง 325 99 ภาพการบริหารปุม่ ขมับ 326 100 ภาพการบรหิ ารปมุ่ ใบหู 327 101 ภาพการเคลื่อนไหวสลับขา้ ง ทา่ ท่ี 1 นบั 1-10 328 102 ภาพการเคลื่อนไหวสลบั ข้าง ท่าที่ 2 จีบ L 328 103 ภาพการเคล่อื นไหวสลบั ขา้ ง ทา่ ท่ี 3 โปง้ -ก้อย 334 104 ภาพการเคลื่อนไหวสลบั ขา้ ง ทา่ ท่ี 4 แตะจมูก-แตะหู 336 105 ภาพการเคลอื่ นไหวสลบั ขา้ ง ทา่ ท่ี 5 แตะหู 341 106 ภาพการเคล่อื นไหวสลบั ขา้ ง ทา่ ท่ี 6 การผอ่ นคลาย 359 107 ภาพความมหัศจรรยข์ องนํ้า 367 108 ภาพสมองกับการหายใจ 368 109 ภาพสมองกบั การผอ่ นคลาย 368 110 ภาพอารมณ์ 369 111 ภาพอารมณโ์ กรธ 371 112 ภาพอารมณก์ ลัว 383 113 ภาพอารมณ์พึงพอใจ 387 114 ภาพประเภทของอารมณ์ 396 115 ภาพการเกิดอารมณ์ 399 116 ภาพความฉลาดทางอารมณ์ 117 ภาพความเครียด 118 ภาพการจดั การอารมณ์ 119 ภาพการควบคุมอารมณ์

(21) หนา้ สารบญั ภาพ (ต่อ) 419 422 ภาพที่ 424 427 120 ภาพบคุ ลกิ ภาพ (1) 429 121 ภาพบคุ ลกิ ภาพ (2) 430 122 ภาพบุคลกิ ภาพกบั ความแตกต่างระหว่างบคุ คล 432 123 ภาพ Id Ego Superego 435 124 ภาพคาร์ล จุง 438 125 ภาพโครงสร้างทางบคุ ลกิ ภาพ 439 126 ภาพหนา้ กาก 440 127 ภาพอลั เฟรด แอดเลอร์ 442 128 ภาพวิลเลียม เชลดอน 444 129 ภาพแฮนส์ ไอแซงค์ 445 130 ภาพกลมุ่ ลกั ษณะนสิ ัยตามแนวคิดของไอแซ้งค์ 446 131 ภาพกอร์ดอน อัลพอร์ต 447 132 ภาพเรมอนด์ บี แคทเทลล์ 452 133 ภาพเทรท 16 ลกั ษณะของแคทเทลล์ 459 134 ภาพการใชแ้ บบทดสอบ 16 PF คัดเลอื กความถนัดในอาชีพของบุคคล 460 135 ภาพคาร์ล โรเจอร์ 475 136 ภาพอบั บาฮัม มาสโลว์ 478 137 ภาพตัวอยา่ งแบบทดสอบหยดหมึกของรอร์ชาช 483 138 ภาพตวั อย่างแบบทดสอบประเภทฉายภาพแบบ TAT 484 139 ภาพความสัมพันธ์ระหวา่ งบุคคล 486 140 ภาพการเกดิ ความสัมพันธร์ ะหว่างบุคคล 141 ภาพทกั ษะการสร้างสัมพันธภาพท่ีดรี ะหวา่ งบุคคล 142 ภาพการเปดิ เผย 143 ภาพความไว้วางใจภาพมนษุ ยสมั พันธ์

(22) หน้า สารบญั ภาพ (ต่อ) 488 491 ภาพที่ 496 499 144 ภาพมนษุ ยสมั พันธ์ 501 145 ภาพลกั ษณะของมนุษยสัมพนั ธ์ 504 146 ภาพอรี ิค ฟรอมม์ 509 147 ภาพทฤษฎีสององคป์ ระกอบของเฟรเดอรคิ เฮอรซ์ เบรก์ิ 512 148 ภาพทฤษฎคี วามตอ้ งการความสมั ฤทธ์ิผลของแมคเคลแลนด์ 516 149 ภาพทฤษฎี ERG ของเคลยต์ ัน อัลเดอร์เฟอร์ 517 150 ภาพทฤษฎตี ้นไม้จรยิ ธรรม 541 151 ภาพวิธกี ารสร้างมนษุ ยสมั พันธ์ 542 152 ภาพการตดิ ตอ่ ส่ือสาร 548 153 ภาพองคป์ ระกอบของการติดต่อสอ่ื สาร 154 ภาพจิตสาธารณะ (1) 562 155 ภาพจิตสาธารณะ (2) 156 ภาพความสาํ คญั ของจติ สาธารณะ 564 157 ภาพความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งพฤตกิ รรมเอื้อสงั คม 592 593 พฤติกรรมการใหค้ วามชว่ ยเหลอื และความเออ้ื เฟอื้ ไบเออรอ์ อฟ 598 158 ภาพสรปุ หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง โครงการวจิ ยั เศรษฐกจิ พอเพยี งสาํ นกั งานทรัพยาสนิ สว่ นพระองคต์ ามรอยพอ่ ชีวิตพอเพียงสู่การพัฒนาที่ยง่ั ยนื 159 ภาพหอ้ งเรยี น 160 ภาพนกั ศกึ ษาทําความสะอาด 161 ภาพการสรา้ งเสรมิ จิตสํานึกสาธารณะต่อส่วนรวม



(24) หน้า สารบญั ตาราง 20 52 ตารางท่ี 71 83 1 แสดงเหตุการณ์สําคัญทางจิตวทิ ยา 131 2 แสดงการเปรยี บเทยี บวิธกี ารทดลองและวิธีการหาค่าสหสมั พันธ์ 132 3 แสดงการตระหนกั รทู้ ีบ่ ุคคลจะพงึ มีตอ่ ความเปน็ ตนเอง 135 4 แสดงบุคลิกภาพท่ีเหมาะสมและบคุ ลิกภาพที่ต้องไดร้ ับการแก้ไข 136 5 แสดงความตระหนกั ถึงคุณค่าตนเองและความเชอ่ื มนั่ ในความสามารถตนเอง 137 6 แสดงการสร้างความม่นั ใจในตัวเอง 158 7 แสดงผลลพั ธข์ องกระบวนการเรยี นรจู้ ากการเติบโตมากับคําตา่ งๆ 161 8 แสดงวิถชี วี ติ กับการเปรยี บเทียบการเหน็ คุณค่าในตนเอง 218 9 แสดงการเหน็ คุณคา่ ในตนเองกับพฤตกิ รรมความสาํ เรจ็ 284 10 แสดงการฝกึ เจริญสมาธแิ บบเมตตา 302 11 แสดงส่งิ ทชี่ อบในตนเองและสิ่งท่ไี ม่ชอบในตนเอง 384 12 แสดงการเปรียบเทียบการคิดทางบวกกบั การคดิ ทางลบ 503 13 แสดงเสน้ ประสาทสมองของมนษุ ย์ 14 แสดงการตอบสนองของอวัยวะทถี่ ูกกระตุ้นโดยซมิ พาเตคิตและพาราซิมพาเตคติ 545 15 แสดงเปรยี บเทยี บเพศและ E.Q.กบั I.Q. 550 16 แสดงการเปรียบเทยี บทฤษฎีแรงจงู ใจเก่ยี วกบั ความตอ้ งการของมนษุ ย์ 17 แสดงความสัมพันธข์ ององคป์ ระกอบ และตวั ชี้วดั ในแตล่ ะองค์ประกอบของจิตสาธารณะ 18 แสดงผลกระทบจากการที่บุคคลขาดจติ สาธารณะในระดบั ตา่ งๆ



(26) หน้า สารบญั แผนผัง 185 261 แผนผงั ที่ 278 330 1 แสดงการเกดิ ของการคิด 379 2 แสดงหน้าท่ีของระบบประสาท 380 3 แสดงสว่ นประกอบของสมอง 381 4 แสดงกระบวนการความจาํ 382 5 แสดงทฤษฎอี ารมณ์ของเจมส์ แลง 493 6 แสดงทฤษฎีอารมณข์ องแคนนอน – บาร์ด 519 7 แสดงทฤษฎีอารมณ์ของแซตเตอร์ ซิงเกอร์ 519 8 แสดงทฤษฎอี ารมณ์ของเจมส์ แลง แคนนอน – บาร์ดแซตเตอร์ ซิงเกอร์ 530 9 แสดงองค์ประกอบและผลของการสรา้ งมนุษยสัมพนั ธ์ 552 10 แสดงองค์ประกอบของการติดตอ่ ส่อื สาร 11 แสดงข้ันตอนการตดิ ต่อสอื่ สาร 12 แสดงรูปแบบการรบั มือกับคําตชิ ม 13 แสดงกระบวนการเรยี นร้ขู องบคุ คล



(28) แผนบริหารการสอนประจาํ วิชา รหัสวชิ า GE 20007 ชอ่ื รายวชิ า จติ วิทยาพัฒนาตนในสงั คมยคุ ใหม่ Psychology for Self-development in modern society หน่วยกิต ผสู้ อน 3(1-2-3) ผชู้ ่วยศาสตราจายธ์ นญั ญา ธีระอกนษิ ฐ์ คาํ อธบิ ายรายวชิ า การตระหนกั รูใ้ นตนเอง การเข้าใจผ้อู ่นื การคดิ อยา่ งมีสติ การฝึกสมอง การจดั การอารมณ์ และความเครยี ด การวางตัวเพือ่ ความเหมาะสม การสรา้ งสัมพนั ธภาพระหว่างบุคคล จิตสาธารณะ เพื่อการปรบั ตัวในโลกยคุ ใหม่ จดุ ประสงคท์ วั่ ไป ในการเรียนการสอนวิชาจิตวิทยาพัฒนาตนในสงั คมยุคใหม่ 1. มีความรคู้ วามเข้าใจเกยี่ วกับความรู้พ้ืนฐานเกีย่ วกบั จติ วิทยา การตระหนักรู้ในตนเอง และการเขา้ ใจผู้อืน่ 2. สามารถนําการคดิ อย่างมีสติ การฝกึ สมอง การจัดการอารมณ์และความเครียด บุคลิกภาพและการวางตัวเพื่อความเหมาะสม มาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวันได้ 3. สามารถปฏิบตั กิ ิจกรรมเพ่อื เรียนร้เู กย่ี วกบั การสรา้ งสัมพนั ธภาพระหว่างบคุ คลและ จิตสาธารณะได้ 4. มเี จตคติที่ดีตอ่ การใชจ้ ิตวิทยาพัฒนาตนในสงั คมยุคใหม่เพ่อื การดํารงชีวติ อยา่ งมคี วามสขุ เนื้อหา วิธกี ารจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน มีรายละเอยี ดดงั นี้

(29) จาํ นวนชว่ั โมง 3 ช่วั โมง เน้ือหา บทที่ 1 ความรู้พน้ื ฐานเกี่ยวกับจติ วทิ ยา 6 ช่วั โมง ความหมายของจติ วิทยา ความหมายของพฤตกิ รรมมนุษย์ ประเภทของพฤตกิ รรมมนุษย์ ตํานานทางจิตวทิ ยา ความสําคญั ของการศึกษาจติ วทิ ยา ประวัติความเป็นมาของจิตวิทยา กลุ่มแนวคดิ ทางจติ วิทยา วธิ ีการศึกษาทางจิตวทิ ยา ศลี ธรรมทางจติ วทิ ยา สาขาตา่ งๆของจิตวิทยา บทท่ี 2 การตระหนักรใู้ นตนเองและเขา้ ใจผอู้ ื่น ความหมายของการสร้างความเข้าใจในตนเอง ความสําคัญของการร้จู กั ตนเอง รูปแบบของการรู้จักตนเอง ปจั จยั สง่ เสริมการร้จู กั ตนเอง มโนมติพนื้ ฐานในการร้จู ักตนเอง ทฤษฎกี ารรู้จกั ตนเอง การพฒั นาการรูจ้ กั ตนเอง การตระหนักรใู้ นตนเอง การพฒั นาตนเอง การเหน็ คณุ คา่ ในตนเอง การเข้าใจผู้อน่ื

(30) จํานวนชัว่ โมง 6 ช่ัวโมง เน้อื หา บทที่ 3 การคดิ อย่างมสี ติ ความหมายของการคิด ความสําคญั ของการคิด การเกิดของการคดิ กระบวนการของการคิด กรอบการคิด ทกั ษะการคิด ลกั ษณะการคดิ แบบต่างๆ ประเภทของการคิด การคิดอยา่ งมีสติ การคิดแบบอภปิ ญั ญาหรอื การรู้คิด การคิดแบบญาณปญั ญาหรอื แบบหย่งั เห็น การคดิ บวก การคิดแกป้ ญั หา การตัดสินใจ การคดิ อยา่ งมีวจิ ารญาณ ความคิดสรา้ งสรรค์ อุปสรรคของการคดิ การปอ้ งกนั และแกไ้ ขขอ้ บกพร่องในการคดิ

(31) จาํ นวนชั่วโมง 9 ชั่วโมง เนือ้ หา บทที่ 4 การฝกึ สมอง ระบบประสาท ระบบประสาทสว่ นกลาง ระบบประสาทอิสระ การฝกึ สมอง ยุคของความหลากหลายทางสมอง หน้าทีข่ องสมอง หน้าท่ีของสมองซีกซ้ายกบั สมองซกี ขวา การใช้สมองทงั้ สองซีก คลื่นสมอง การปิดและเปดิ ของการทาํ งานของสมอง การพัฒนาสมอง Brain Gym การบริหารสมอง Brain Activation สมองกบั ความจาํ สมองกบั ความฉลาดและความคิด สมองกับนํา้ สมองกับการหายใจ สมองกับดนตรี สมองกับการผอ่ นคลาย สมองกับสารอาหาร สมองกบั กจิ กรรมในแตล่ ะชว่ งเวลา

(32) จํานวนชั่วโมง 6 ชวั่ โมง เน้อื หา บทท่ี 5 การจดั การอารมณแ์ ละความเครยี ด ความหมายของอารมณ์ หน้าท่ีของอารมณ์ องค์ประกอบของอารมณ์ การจาํ แนกของอารมณ์ ปจั จัยทม่ี ีสว่ นสัมพนั ธก์ บั อารมณ์ ลักษณะของอารมณ์ ประเภทของอารมณ์ การเกดิ อารมณ์ การเปล่ยี นแปลงทางรา่ งกายเมอ่ื เกิดอารมณ์ พัฒนาการทางอารมณ์ ทฤษฎีของอารมณ์ ความฉลาดทางอารมณ์ การวัดอารมณ์ ความเครียด ภาวะทเ่ี กดิ จากความเครยี ด การจัดการกับอารมณ์ การควบคมุ อารมณ์ เทคนคิ ในการรจู้ ักและเขา้ ใจอารมณข์ องผู้อน่ื

(33) จาํ นวนชวั่ โมง 6 ช่ัวโมง เนอ้ื หา บทที่ 6 บุคลกิ ภาพและการวางตัวเพอื่ ความเหมาะสม 6 ชว่ั โมง ความหมายของบุคลกิ ภาพ ความสาํ คญั ของบคุ ลิกภาพ องค์ประกอบของบคุ ลิกภาพ บุคลกิ ภาพกบั ความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล ทฤษฎบี ุคลกิ ภาพ วิธีการประเมินและการวดั บคุ ลกิ ภาพ การวางตัวเพ่ือความเหมาะสม บทที่ 7 การสรา้ งสัมพนั ธภาพระหวา่ งบุคคล ความสมั พันธ์ระหว่างบคุ คล การเกดิ ความสมั พนั ธร์ ะหว่างบคุ คล สาเหตุโดยทวั่ ไปของการเกิดความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งบคุ คล ข้ันตอนของการเกดิ ความสมั พันธ์ คุณคา่ ของสมั พนั ธภาพระหว่างบคุ คล คณุ ลกั ษณะสาํ คัญในการสมั พันธภาพระหวา่ งบุคคล ทกั ษะการสร้างสมั พนั ธภาพที่ดีระหวา่ งบุคคล ความหมายของมนษุ ยสัมพนั ธ์ ลักษณะของมนุษยสมั พนั ธ์ องค์ประกอบของมนษุ ยสมั พันธ์ ทฤษฎที ่เี ก่ยี วขอ้ งกบั มนษุ ยสมั พนั ธ์ อทิ ธิพลของมนษุ ยสัมพันธต์ อ่ บุคคล วธิ ีการสร้างมนษุ ยสมั พนั ธ์ การติดต่อสื่อสาร การเพิ่มประสทิ ธภิ าพของการติดต่อสือ่ สาร

(34) จาํ นวนชัว่ โมง 6 ช่ัวโมง เน้อื หา บทท่ี 8 จติ สาธารณะ ความหมายของจิตสาธารณะ ความสาํ คัญของจิตสาธารณะ การก่อรูปของจติ สาธารณะ ปัจจยั ที่กอ่ ให้เกิดจิตสาธารณะ องค์ประกอบของจติ สาธารณะ ลักษณะของบุคคลทม่ี จี ติ สาธารณะ กลยุทธ์ในการปลกู ฝงั จติ สาธารณะ แนวคิดและทฤษฎีทใี่ ช้ในการพัฒนาจิตสาธารณะ กระบวนการเรียนรเู้ พอื่ พฒั นาจิตสาธารณะ เคร่ืองมือวดั จติ สาธารณะ การสรา้ งเสรมิ จิตสาธารณะตอ่ สว่ นรวม ประโยชน์ของการมจี ิตสาธารณะ

(35) วธิ ีการสอนและกิจกรรม 1. จดั การเรยี นการสอนด้วยกระบวนการเรยี นรู้จากประสบการณ์ (Experiential Learning) จัดการเรียนรูแ้ บบใช้ปญั หาเป็นฐาน (Problem-Based Learning) การจดั การเรยี นรูโ้ ดยใชเ้ ทคนิค จิก๊ ซอล (Jigsaw) 2. อธิบายทฤษฎีและแนวทางฝึกด้วย Microsoft Power Point หนงั สนั้ วดี ทิ ัศน์ คลปิ วดิ โี อ กรณศี กึ ษา บทความ สารคดี ข่าวประจําวัน 3. อภิปราย ซักถาม และร่วมกันสรุปในเนอื้ หาสาระที่สาํ คญั 4. ศึกษาคน้ ควา้ เพ่ิมเติมจากเน้ือหา และนําเสนอหนา้ ชนั้ เรียน 5. ทาํ แบบทดสอบ คําถามทา้ ยบทเป็นรายบุคคล 6. การระดมความคดิ 7. ฝกึ ปฏิบัตกิ ิจกรรมกลมุ่ กลุ่มสัมพันธ์ บทบาทสมมติ 8. เน้ือหาสาระสาํ คญั สรุปเปน็ แผนภูมิความคดิ (Mind map) 9. รว่ มกนั สรุปกจิ กรรมและเสนอแนวทางในการปรบั ใช้ในชวี ติ ประจาํ วัน 10. จัดโครงการท่เี กยี่ วกับจิตวิทยา ส่ือการเรียนการสอน 1. Microsoft Power Point 2. หนงั สน้ั วดี ทิ ัศน์ คลปิ วดิ โี อ กรณศี ึกษา บทความ สารคดี ข่าวประจาํ วัน 3. เอกสารคําสอนวิชาจติ วิทยาพัฒนาตนในสังคมยุคใหม่ 4. งานวจิ ัยเกีย่ วข้องจติ วิทยา 5. หนังสอื ตาํ ราจติ วิทยา แหล่งการเรียนรู้ 1. แหล่งการเรียนรูท้ างอนิ เตอร์เนต็ เกย่ี วกบั จิตวทิ ยา 2. สาํ นักวทิ ยบริการมหาวทิ ยาลัยราชภัฏอดุ รธานี 3. สถานท่ีให้ความรู้ เช่น ห้องสมุดประชาชน 4. เฟสบุก๊ เพจ ของสมาคม มลู นธิ ิ เกยี่ วกับจิตวทิ ยา

(36) การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ กิจกรรมที่ วธิ ีการประเมนิ สปั ดาหท์ ่ี สดั ส่วนของ ประเมนิ การประเมนิ ผล 1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 8 20% 16 30% 2 การทาํ งานเด่ยี ว /กลุ่ม ตลอดภาค 40% การนาํ เสนอรายงาน การศึกษา การส่งงานตามที่มอบหมาย 10% การทําคาํ ถามทา้ ยบท ตลอดภาค การฝึกปฏบิ ตั ิกจิ กรรม/โครงการ การศกึ ษา 3 การเข้าชน้ั เรยี น การมสี ว่ นรว่ มในช้นั เรียน การแตง่ กายสุภาพและเหมาะสม การประเมินผล (เกณฑ์การใหค้ ะแนน) การประเมินผล กําหนดเกณฑ์การใหร้ ะดับผลการเรยี น ดงั นี้ คะแนนรวมร้อยละ 80 ขน้ึ ไป ระดบั ผลการเรียน A คะแนนรวมร้อยละ 75-79 ระดบั ผลการเรียน B+ คะแนนรวมรอ้ ยละ 70-74 ระดับผลการเรียน B คะแนนรวมรอ้ ยละ 65-69 ระดับผลการเรียน C+ คะแนนรวมร้อยละ 60-64 ระดับผลการเรียน C คะแนนรวมรอ้ ยละ 55-59 ระดับผลการเรียน D+ คะแนนรวมรอ้ ยละ 50-54 ระดบั ผลการเรียน D คะแนนรวมร้อยละตํา่ กวา่ 50 ระดับผลการเรยี น F ขาดสอบปลายภาค ระดบั ผลการเรยี น I

(37) หนงั สอื อ้างอิงประจํารายวชิ า กรรยา พรรณนา. (2559). จติ สาธารณะสรา้ งได้ง่ายนดิ เดยี ว. กรุงเทพฯ : สํานักพมิ พ์จฬุ าลงกรณ์ มหาวทิ ยาลัย. พรี พล เทพประสิทธ์.ิ (2549). จิตวิทยาทว่ั ไป. กรุงเทพฯ : ทริปเพิ้ล กรุป๊ . ศรีวรรณ จันทรวงศ.์ (2551). จติ วทิ ยาสาํ หรบั ครู. มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อุดรธานี. ศรีเรอื น แกว้ กงั วาล.(2547).จติ วทิ ยาทัว่ ไป. กรงุ เทพฯ : พิมพ์ครั้งท่ี 4 มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร.์ ศันสนยี ์ ตันตวิ ิท. (2547). จิตวทิ ยาทวั่ ไป. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พธ์ รรมศาสตร.์ วิไลวรรณ ศรสี งคราม. (2549). จติ วทิ ยาทว่ั ไป. กรุงเทพฯ : พิมพค์ รง้ั ท่ี 1 ทริปเพิ้ล. สมพร สุทัศนีย์. (2551). มนุษยสมั พันธ์. กรุงเทพฯ : จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั . สุชญั ญา รัตนสญั ญา. (2549). จติ วทิ ยาทว่ั ไป. กรุงเทพฯ : ทริปเพ้ลิ กรปุ๊ . โรจนร์ วี พจน์พฒั นพล. (2549). จิตวทิ ยาทว่ั ไป. กรุงเทพฯ : ทริปเพล้ิ กรปุ๊ .

1 แผนบริหารการสอนประจาํ บทท่ี 1 ความรู้พื้นฐานเกย่ี วกับจติ วทิ ยา เวลาเรยี น 3 ชวั่ โมง วตั ถุประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม หลังจากไดศ้ ึกษาบทเรียนนแ้ี ล้ว นักศกึ ษาควรมีพฤติกรรม ดงั นี้ 1. อธิบายความหมายของจติ วทิ ยา, ความหมายของพฤตกิ รรมมนษุ ย์, ประเภทของ พฤติกรรมมนษุ ย์, ประวัติความเป็นมาของจติ วทิ ยา, ความสาํ คัญของการศกึ ษาจิตวิทยา, ความหมายของจติ วทิ ยา, สาขาต่างๆของจิตวิทยาได้ 2. อภปิ รายเกี่ยวกับความสาํ คญั ของการศกึ ษาจิตวิทยา, ตํานานทางจิตวิทยา, กลมุ่ แนวคิด ทางจติ วิทยาได้ 3. ปฏิบัตวิ ิธีการศกึ ษาทางจติ วทิ ยาและศีลธรรมทางจติ วิทยาประยกุ ต์ใช้ในชีวติ ประจําวันได้ เนอื้ หา 1. ความหมายของจิตวทิ ยา 2. ความหมายของพฤตกิ รรมมนษุ ย์ 3. ประเภทของพฤติกรรมมนษุ ย์ 4. ความสาํ คัญของการศกึ ษาจติ วทิ ยา 5. ตาํ นานทางจิตวิทยา 6. ประวตั คิ วามเปน็ มาของจติ วิทยา 7. กลุ่มแนวคิดทางจิตวทิ ยา 8. วิธีการศกึ ษาทางจติ วทิ ยา 9. ศีลธรรมทางจติ วทิ ยา 10. สาขาตา่ งๆของจิตวิทยา

2 กจิ กรรมการเรียนการสอน 1. สาํ รวจความคาดหวังของนกั ศึกษาที่มตี อ่ เน้อื หาวชิ าจติ วิทยาฯ รปู แบบการจัดการเรยี น การสอน และคุณลกั ษณะการเรียนร้ขู องผเู้ รียน 2. ช้แี จงแผนบริหารการสอนโดยภาพรวมเกี่ยวกบั เนื้อหา รปู แบบการสอน กจิ กรรม โครงการ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน 3. สรา้ งขอ้ ตกลงรว่ มกนั ในการศึกษาในรายวิชาจิตวิทยาฯ 4. เล่าเร่ืองราวตํานานทางจติ วทิ ยา เร่ืองคิวปดิ 5. อภิปรายเน้ือหา และสรุปเนอ้ื หาสาระสําคัญประกอบการนําเสนอด้วย Microsoft Power Point ในหัวขอ้ ความหมายของจิตวทิ ยา, ความหมายของพฤตกิ รรมมนษุ ย์,ประเภทของ พฤตกิ รรมมนษุ ย์, ประวัตคิ วามเปน็ มาของจิตวิทยา, ความสําคัญของการศึกษาจิตวิทยา, ความหมาย ของจติ วทิ ยา, สาขาต่างๆของจิตวทิ ยา 6. นักศกึ ษาร่วมกนั อภปิ ราย ซกั ถามและร่วมกนั สรุป 7. แบง่ กลมุ่ นักศกึ ษาเปน็ 6 กลมุ่ ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมแสดงความคิดเหน็ เก่ียวกับแนวคิด นกั จิตวิทยาแตล่ ะกลุ่ม แต่ละกลุม่ ร่วมกันอภปิ รายหน้าชน้ั เรยี น 8. ทําคาํ ถามท้ายบทท่ี 1 และเฉลยในสัปดาหต์ ่อไป สือ่ การเรียนการสอน 1. เอกสารคาํ สอน 2. หนงั สือ ตําราทเ่ี กี่ยวขอ้ งจติ วทิ ยา 3. กิจกรรมกลมุ่ 4. Microsoft Power Point ทจ่ี ัดทําในหวั ขอ้ ต่างๆ 5. คําถามทา้ ยบท

3 การวดั ผลและประเมนิ ผล จดุ ประสงค์ เครอื่ งมอื /วิธีการ การประเมนิ ผล 1. อธิบายความหมายของจิตวทิ ยา, 1. ซักถาม แลกเปล่ียน 1. นกั ศึกษาตอบคาํ ถาม ถกู ตอ้ งได้รอ้ ยละ 80 ความหมายของพฤตกิ รรมมนษุ ย์, สนทนาพดู คยุ ตอบคาํ ถาม 2. สังเกตพฤติกรรมใน การเข้ารว่ มกิจกรรมกลมุ่ / ประเภทของพฤตกิ รรมมนุษย,์ 2. การสงั เกตพฤตกิ รรม ความสนใจ/ความรว่ มมืออยู่ ในระดับดี ประวัตคิ วามเปน็ มาของจิตวิทยา, การรว่ มกจิ กรรม 3. การนาํ เสนอหนา้ ชน้ั เรียน อย่ใู นระดับดี ความสําคัญของการศึกษาจิตวทิ ยา, 3. สังเกตการณ์นาํ เสนอหนา้ 4. นกั ศกึ ษาทําคําถาม ท้ายบทถูกตอ้ งร้อยละ 80 ความหมายของจิตวทิ ยา, สาขาตา่ งๆ ชั้นเรียน ของจิตวทิ ยาได้ 4. การมอบหมายงานคาํ ถาม 2. อภิปรายเก่ียวกบั ความสําคัญของ ท้ายบท การศกึ ษาจิตวทิ ยา,ตํานานทาง จติ วิทยา, กลุ่มแนวคดิ ทางจิตวิทยได้ 3. ปฏบิ ตั วิ ิธกี ารศึกษาทางจิตวทิ ยา และศีลธรรมทางจิตวิทยาประยกุ ตใ์ ช้ ในชีวิตประจาํ วันได้

4

5 บทท่ี 1 ความรพู้ ้ืนฐานเก่ยี วกับจิตวิทยา จิตวทิ ยาการพัฒนาตน ไดเ้ ข้ามามบี ทบาทในการทจ่ี ะเขา้ ใจสภาวะตา่ งๆ ท่ีเกีย่ วกบั มนษุ ย์ ในการดําเนินชีวติ ของมนุษย์ ซ่ึงมคี วามพยายามที่จะค้นหาคําอธิบายเร่ืองพฤตกิ รรมมนษุ ย์ และในโลก ปัจจบุ นั มคี วามกา้ วหน้าของการศึกษาดา้ นวิทยาศาสตร์ เพอ่ื ศึกษาหาคําตอบในพฤตกิ รรมมนุษย์ โดย รปู แบบทางวทิ ยาศาสตร์ เพ่อื ใหผ้ ูอ้ ่านไดม้ คี วามเข้าใจความรเู้ บ้ืองต้นเก่ียวกบั จิตวิทยาการพัฒนาตน ผ้เู ขยี นขอกลา่ วถึงความหมายของจิตวิทยา ความหมายของพฤติกรรมมนุษย์ ประเภทของพฤติกรรม มนุษย์ ตํานานทางจิตวิทยา ความสําคญั ของการศึกษาจติ วิทยา ประวตั คิ วามเป็นมาของจิตวทิ ยา กลุ่มแนวคดิ ทางจิตวิทยา วิธีการศึกษาทางจติ วทิ ยา ศีลธรรมทางจติ วิทยาและสาขาตา่ งๆของจติ วทิ ยา มีรายละเอยี ดดงั ตอ่ ไปนี้ 1. ความหมายของจิตวทิ ยา ศรวี รรณ จนั ทรวงศ์ (2547 : 1) จติ วทิ ยา (Psychology) มาจากภาษากรกี 2 คํา คือ Psyche แปลว่า จิต หรือ วิญญาณ Logos แปลวา่ การศกึ ษา จิตวทิ ยา แปลว่า การศกึ ษาจติ หรอื วิญญาณ มผี ใู้ หค้ วามหมายของคําว่าจิตวทิ ยา (วไิ ลวรรณ ศรีสงคราม,2549 : 1-2 ) คือ บุญสริ ิ สวุ รรณเพช็ ร (2538 : 407) ได้ให้ความหมายของจิตวทิ ยาวา่ เป็นวชิ าท่วี า่ ด้วย การศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์และสัตว์ เป็นสาขาของวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ ซ่ึงศึกษาเก่ียวกับ ปรากฏการณ์ของการกอ่ เกดิ พัฒนาการ และสิง่ ท่ปี รากฏออกมาของสภาพจิตใจและพฤติกรรม ลนิ ดา (Linda 1987 : 12) ไดใ้ ห้ความหมายของจิตวิทยาว่าเปน็ ศาสตร์ของพฤตกิ รรม และกระบวนการทางจิต คาํ ว่า “Psychology” มาจากภาษากรกี หมายถึง การศกึ ษาจติ หรอื วญิ ญาณ สจ๊วต (Stuart 1989 : 354) จติ วทิ ยาเปน็ การศกึ ษาถงึ พฤตกิ รรม และจติ ใจของมนษุ ย์ และสัตวอ์ ย่างเปน็ ระบบ จติ วทิ ยามหี ลายสาขาดว้ ยกัน และทกุ สาขาให้คณุ คา่ แกว่ ิธีการทางวิทยาศาสตร์ โดยใชเ้ หตผุ ลของทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์และการทดสอบมาอธบิ ายพฤตกิ รรมของมนษุ ย์ เบนจามิน (Benjamin 1989 : 269) ไดใ้ ห้ความหมายของจิตวทิ ยาว่าเปน็ ศาสตร์ เกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์และสัตว์ พฤติกรรมเป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการท้ังหมดในชีวิต กระบวนการของชวี ิต จะหมายถงึ กระบวนการเมตาโบลซึ มึ การเจริญเติบโต ความเสอื่ มถอย ระบบ

6 การย่อยอาหาร การกาํ จัดของเสยี และการหมนุ เวยี นกลับมาใช้ ตลอดจนกระบวนการทางร่างกายที่ เก่ยี วขอ้ งกับระบบประสาท และระบบต่อมทม่ี ีผลตอ่ รปู แบบของพฤติกรรมภายนอก หรือพฤตกิ รรม ภายใน ศรวี รรณ จันทรวงศ์ (2547 : 2) ไดใ้ หค้ วามหมายของจิตวิทยาเปน็ ศาสตร์ซงึ่ ศึกษา เกี่ยวกับพฤติกรรมของมนษุ ยแ์ ละสัตว์ นัน่ กค็ อื วิทยาศาสตรท์ มี่ ุ่งศึกษาเรอื่ งราวทัง้ หมดเก่ียวกับพฤตกิ รรม ของมนษุ ย์ เพอื่ จะไดเ้ ขา้ ใจสาเหตุแห่งพฤติกรรมต่างๆ สําหรับเป็นแนวทางที่ชว่ ยแกไ้ ขอปุ สรรคปญั หาท่ี เกดิ ขนึ้ อกี ทั้งยังเปน็ แนวทางในการชว่ ยพัฒนาทรพั ยากรมนุษย์ วิไลวรรณ ศรสี งคราม (2549 : 1-2) ได้ใหค้ วามหมายของจติ วทิ ยาเป็นวิทยาศาสตร์ ทศ่ี กึ ษาพฤติกรรมและกระบวนทางจิต คือ ศาสตร์ (Science) กระบวนการทางจิต (Mental processes) ศาสตร์ (Science) คือ วิธีการรวบรวมความรู้อย่างมีแบบแผน มีหลักเกณฑ์ เป็นวิธีของการให้ เหตุผลที่สามารถตรวจสอบไดอ้ ยา่ งเที่ยงตรง และก่อให้เกดิ ขอ้ มูลท่ีเกย่ี วขอ้ งและเชอื่ มโยงกันได้ กระบวนการทางจติ (Mental processes) เปน็ พฤติกรรมท่เี ปน็ รูปแบบของการรู้คดิ (Cognition) การรับรู้ (Perception) การใส่ใจ (Atteding) การจาํ (Remembering) การใช้ เหตุผล (Reasoning) การแก้ปญั หา (Solving problems)การฝนั (Dreaming) การใช้จนิ ตนาการ (Fantasizing) ความหวงั (Hoping) การคาดหวงั (Anticipating) ซึ่งจดั ไดวา่ เปน็ พฤติกรรมภายใน ดังนน้ั จึงสรุปไดว้ า่ จิตวทิ ยา หมายถึง การศกึ ษาพฤตกิ รรมมนุษย์ ทอี่ าศัยกระบวนการ ทางวทิ ยาศาสตร์ช่วยในการรวบรวมข้อมูล จัดให้เปน็ ระบบระเบียบและสามารถตรวจสอบไดอ้ ยา่ งมี เหตมุ ีผล จากความหมายของจติ วทิ ยา ซง่ึ เปน็ การศกึ ษาพฤติกรรมมนษุ ย์ ผู้เขยี นจึงขอเสนอ ความหมายของพฤตกิ รรมมนษุ ย์ ประเภทของพฤติกรรมมนษุ ย์ โดยมรี ายละเอียดดงั น้ี 2. ความหมายของพฤตกิ รรมมนุษย์ มผี ใู้ หค้ วามหมายของคําวา่ พฤติกรรมมนุษย์ คือ (http://www.novabizz.com/NovaAce/Behavior/ 23 พฤษภาคม 2555) ซมื บาร์ โดและเกอรร์ กิ (Zimbardo and Gerrig 1999 : 3) อธบิ ายว่า พฤตกิ รรม เป็นการกระทําของบุคคลเพ่ือปรับตัวต่อสิ่งแวดล้อม ซ่งึ เป็นพฤตกิ รรมทสี่ ังเกตได้ ลาเฮย์ (Lahey 2001 : 5) กลา่ วว่า พฤติกรรมคอื การกระทาํ ของบุคคลในทุกลักษณะ ทั้งทเ่ี ป็นโดยธรรมชาติทางสรีระและทจี่ งใจกระทาํ ซึ่งอาจจะรตู้ วั หรือไม่รู้ตัวและเปน็ การกระทําท่ี สงั เกตได้โดยอาจใช้ประสาทสัมผสั ธรรมดาหรือใช้เครื่องมือชว่ ยการสงั เกต

7 ศรวี รรณ จันทรวงศ์ (2547: 2) พฤตกิ รรม (Behavior)หมายถงึ กจิ กรรมหรือปฏิกิรยิ า ต่างๆ ของสิ่งท่มี ชี ีวิต ซึง่ อาจจะรูไ้ ด้โดย การสงั เกตหรือการใช้เครื่องมือช่วยวัดพฤติกรรมรวมไปถงึ การตอบสนองทางกล้ามเนอ้ื และการทาํ งานของตอ่ มต่างๆ ในร่างกายอีกดว้ ย พฤติกรรม (Behavior) หมายถึง กริยาอาการที่แสดงออกหรือปฏิกิริยาโต้ตอบเมื่อ เผชิญกับส่ิงเร้า (Stimulus) หรือสถานการณ์ต่างๆ อาการแสดงออกต่างๆ เหล่าน้ัน อาจเป็น การเคล่ือนไหวท่ีสังเกตได้หรือวัดได้ เช่น การเดิน การพูด การเขียน การคิด การเต้นของหัวใจ เป็นต้น ส่วนสง่ิ เรา้ ทมี่ ากระทบแลว้ กอ่ ให้เกดิ พฤติกรรมกอ็ าจจะเปน็ ส่งิ เรา้ ภายใน (Internal Stimulus) และสิ่งเร้าภายนอก (External Stimulus) ภาพท่ี 1 แสดงภาพการคดิ การพูด และการอ่าน (ที่มา https://www.google.co.th/search 27 พฤษภาคม 2559)

8 ภาพที่ 2 แสดงภาพการกระทําของมนษุ ย์ (ทม่ี า https://www.google.co.th/search 27 พฤษภาคม 2559) ดงั นน้ั จงึ สรุปได้ว่า พฤตกิ รรม หมายถึง การกระทํา อาการทแ่ี สดงออกของมนุษย์ ปฏิกิริยาโต้ตอบต่อส่ิงเร้าท่ีอยู่รอบตัว โดยจาการสังเกตหรือการใช้เครื่องมือช่วยวัดพฤติกรรม ซ่ึงสง่ ผลตอ่ กระบวนการทางร่างกาย 3. ประเภทของพฤติกรรมมนษุ ย์ ประเภทของพฤติกรรมมนษุ ย์ อาการแสดงออกของมนษุ ยม์ ี 2 ลกั ษณะ มรี ายละเอียด ดังตอ่ ไปน้ี (ปราณี รามสตู และคณะ,2545 :2-3) 3.1 พฤติกรรมภายนอก (Overt behavior) เป็นพฤตกิ รรมทสี่ งั เกตได้โดยชัดเจน แบ่งเปน็ 2 ประเภทคือ 3.1.1 พฤตกิ รรมโมลาร์ (Molar behavior) เปน็ พฤติกรรมท่สี ังเกตไดโ้ ดยไมต่ ้อง ใชเ้ คร่ืองมอื ช่วย เช่น การพูด การหัวเราะ การรอ้ งไห้ การเคลอื่ นไหวของรา่ งกาย หรือแมแ้ ตก่ ารเต้น ของหัวใจ ซง่ึ ผอู้ ืน่ สงั เกตไดโ้ ดยอาศัยประสาทสมั ผสั

9 ภาพท่ี 3 แสดงภาพเดก็ หัวเราะ (ท่มี า https://www.google.co.th/search 27 พฤษภาคม 2559) ภาพที่ 4 แสดงภาพเดก็ รอ้ งไห้ (ท่มี า https://www.google.co.th/search 27 พฤษภาคม 2559) 3.1.2 พฤตกิ รรมโมเลกลุ (Molecular behavior) เป็นพฤติกรรมภายนอกที่ต้อง อาศยั เครอื่ งมือหรอื การวเิ คราะห์ทางวิทยาศาสตร์ เพื่อชว่ ยในการสังเกต เช่น การเปล่ยี นแปลงของ สารเคมีหรือปริมาณน้าํ ตาลในกระแสเลือด การทาํ งานของกระเพาะอาหารและลําไส้ หรือคล่ืน สมอง (Electroencephalogram = EEG) ซงึ่ เราไมส่ ามารถจะเหน็ ได้ด้วยตาเปลา่ จะต้องนาํ เอาเขม็ นาํ ไฟฟ้าท่ีเรียกว่า Microelec trode สัมผัสกับผนังศีรษะเพ่ือเป็นตัวนํากระแสไฟฟ้าผ่าน

10 Amplifier ให้ขยายขดี เปน็ เส้นคลืน่ ใหเ้ ราสังเกตดว้ ยตาเปลา่ ไดห้ รือการเปลีย่ นแปลงปรมิ าณน้าํ ตาล ในโลหิตก็ต้องใช้เครื่องมือวัด ยกตัวอย่าง การเปล่ียนแปลงปริมาณน้าํ ตาล และการทาํ งานของ กระเพาะอาหาร ภาพที่ 5 แสดงภาพความเขม้ ขน้ ของนาํ้ ตาลในเลอื ด หรือ ระดับกลูโคสในเลอื ด (ท่มี า th.wikipedia.org/wiki/ 27 พฤษภาคม 2559) 3.1.2.1 ปริมาณนํ้าตาลในกระแสเลือด ความเข้มข้นของน้ําตาลในเลือด หรือระดับกลูโคสในเลือด คือ จํานวนกลูโคส (นํ้าตาล) ที่มีอยู่ในเลือดของมนุษย์หรือสัตว์ โดยปกติในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ร่างกายจะควบคุมระดับกลูโคสในเลือดให้อยู่ที่ 3.6 - 5.8 mM (mmol/L, เช่น millimoles/liter) หรือ 64.8 - 104.4 mg/dL. โดยธรรมชาติแล้วร่างกายมนุษย์จะควบคุมระดับน้ําตาลในเลือดอย่าง เข้มงวดซึ่งเปน็ ส่วนหนึ่งของการรักษาสมดลุ ของร่างกาย (homeostasis) กลูโคสเป็นแหล่งพลังงานแห่งแรกสําหรับเซลล์ของร่างกาย สว่ นไขมันในเลือดในรูปของไขมันและนาํ้ มนั เปน็ แหลง่ สะสมพลังงานของรา่ งกาย กลูโคสจะถูกลําเลียง จากลําไส้หรือตับไปยังเซลล์ของร่างกายโดยกระแสเลือดและจะถูกทําให้เหมาะสมสําหรับการดูดซึม ของเซลลโ์ ดยฮอรโ์ มนอนิ ซลู นิ ซึ่งถกู ผลติ ขน้ึ ทีต่ ับอ่อน

11 ค่าเฉล่ียของระดับกลูโคสปกติในเลือดมนุษย์อยู่ที่ประมาณ 4 mM (4 mmol/L หรือ 72 mg/dL, เช่น milligrams/deciliter) อย่างไรก็ตาม ค่านี้จะมีความผัน ผวนตลอดท้ังวัน ระดับกลูโคสจะมีระดับต่ํามากในช่วงเช้า ก่อนการรับประทานอาหารมื้อแรก (เรยี กวา่ “the fasting level”) และจะเพ่ิมขนึ้ หลังจากรับประทานอาหาร ระดับน้ําตาลในเลือดท่ีอยู่น่าช่วงค่าปกติอาจเป็นตัวบ่งชี้ทาง การแพทย์ ระดับที่สูงอย่างเร้ือรังบ่งบอกว่าอยู่ในภาวะระดับน้ําตาลในเลือดสูง (hyperglycemia) และระดบั ตํ่าบ่งบอกว่าอยู่ในภาวะระดับนํ้าตาลในเลือดต่ํา (hypoglycemia) โรคเบาหวานจะมีระดับ นํ้าตาลในเลือดสูงอย่างเร้ือรังซ่ึงเกิดได้จากหลายสาเหตุและเป็นโรคที่เป็นที่รู้จักมากที่สุดที่เกี่ยวข้อง กับการสูญเสียการควบคุมระดับน้ําตาลในเลือด การเพ่ิมข้ึนของระดับนํ้าตาลในเลือดอย่างช่ัวคราว อาจเกิดจากภาวะเครียดสูง เช่น trauma, โรคหลอดเลือดสมอง, กล้ามเนื้อหัวใจตายเหตขุ าดเลือด, ผ่าตัด หรือป่วย การดื่มแอลกอฮอล์จะทําให้ระดับน้ําตาลในเลือดเพิ่มข้ึนและจะลดลงหลังจากนั้น นอกจากนี้ ยาบางชนิดก็มผี ลตอ่ การเพมิ่ ขน้ึ หรือลดลงของระดบั กลโู คสด้วย ภาพที่ 6 แสดงภาพการทาํ งานของกระเพาะอาหาร (ทมี่ า th.wikipedia.org/wiki/ 27 พฤษภาคม 2559) 3.1.2.2 การทาํ งานของกระเพาะอาหาร กระเพาะอาหาร (Stomach) (th.wikipedia.org/wiki/ 27 พฤษภาคม 2558) เป็นอวัยวะของทางเดินอาหารที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการย่อยอาหารท่ีผ่านการ เคี้ยวภายในช่องปากมาแล้ว กระเพาะอาหารยังเป็นอวัยวะที่มีสภาพแวดล้อมเป็นกรด โดยมักจะมีค่า พเี อชอยูท่ ่ปี ระมาณ 1-4 โดยขนึ้ กบั อาหารท่ีรบั ประทานและปจั จัยอน่ื ๆ นอกจากน้ีในกระเพาะอาหาร

12 ยังมีการสร้างเอนไซม์เพ่ือช่วยในการย่อยอาหารอีกด้วย ในศัพท์ทางการแพทย์จะเรียกโครงสร้างที่ เกี่ยวกับกระเพาะอาหารโดยข้ึนต้นด้วยคําว่า gastro – และ gastric ซึ่งเป็นคําในภาษาละตินที่ หมายถึงกระเพาะอาหาร หน้าท่ีหลักของกระเพาะอาหารคือการย่อยสลายสารอาหาร โมเลกุลใหญ่ให้เล็กลงโดยอาศัยการทํางานของกรดเกลือ (hydrochloric acid) เพ่ือให้ง่ายต่อการดูด ซึมท่ีลําไส้เล็ก นอกจากนี้กระเพาะอาหารยังมีหน้าที่ผลิตเอนไซม์ท่ีใช้ในการย่อยโปรตีนคือเอนไซม์ เพพซิน (pepsin) โดยในช่วงแรก เอนไซม์น้ีจะถูกผลิตออกมาในรูปของเพพซิโนเจน (pepsinogen) ท่ียังไม่สามารถทํางานได้ แต่จะถูกเปลี่ยนเป็นเพพซินเมื่ออยู่ในสภาวะที่เป็นกรดภายในกระเพาะ อาหาร นอกจากน้แี ล้ว กระเพาะอาหารยังทําหน้าทีใ่ นการดูดซึมนํ้า ไอออนต่าง ๆ รวมทั้งแอลกอฮอล์ แอสไพริน และคาเฟอีนอีกดว้ ย อย่างไรก็ตาม หน้าท่ีของกระเพาะอาหารท่ีจําเป็นต่อการดํารงชีวิตคือ การผลิตสารท่ีเรียกว่า อินทรินซิค แฟคเตอร์ (intrinsic factor) ซึ่งเป็นสารที่จําเป็นในการดูดซึม วิตามิน บ1ี 2 3.2 พฤติกรรมภายใน พฤติกรรมภายใน (Covert behavior) เปน็ พฤตกิ รรมที่เจา้ ตวั เทา่ นั้นรับรู้ ถา้ ไม่ บอกใครไม่แสดงออกก็ไม่มใี ครร้ไู ดด้ ี เช่น การจาํ การรบั รู้ การเข้าใจ การได้กลิน่ การได้ยนิ การฝนั การหวิ การโกรธ ความคิด การตดั สินใจ เจตคติ จินตนาการ พฤติกรรมเหล่าน้อี าจมีผลทําให้เกิด การเปลีย่ นแปลงทางกาย เช่น ขณะใช้ความคดิ คลน่ื สมองทาํ งานมาก หรือขณะโกรธปริมาณนํ้าตาลใน กระแสเลอื ดมมี าก ซ่ึงวดั ได้โดยเคร่อื งมือ แต่ก็ไม่มใี ครรลู้ ะเอยี ดลงไปได้ว่าเขาคดิ อะไร หรือเขารู้สกึ อยา่ งไร คนร้ลู ะเอยี ดคอื เจ้าของพฤติกรรมนน้ั ซึง่ พฤติกรรมทีถ่ อื ว่าเป็นความในใจ มีหลายอยา่ ง เช่น


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook