Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore tripitaka_87

tripitaka_87

Published by sadudees, 2017-01-10 01:15:49

Description: tripitaka_87

Search

Read the Text Version

พระอภิธรรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๓ - หนา ท่ี 389 [๑๓๙๙] ๓. อัปปมาณธรรม เจือกับอัปปมาณธรรม เกดิ ขนึ้เพราะนอธปิ ติปจ จัย คือ อธิปตธิ รรมที่เปนอปั ปมาณธรรม เจือกับขันธทัง้ หลายท่ีเปนอปั ปมาณธรรม. ๓. นปเุ รชาตปจัย [๑๔๐๐] ๑. ปริตตธรรม เจือกบั ปริตตธรรมเกดิ ข้ึน เพราะนปเุ รชาตปจ จัย คือ ในอรปู ภมู ิ ฯลฯ เจอื กับขนั ธ ๑ ทเ่ี ปนปรติ ตธรรม. ในปฏสิ นธขิ ณะ ฯลฯ [๑๔๐๑] ๒. มหคั คตธรรม เจอื กับมหัคคตธรรม เกิดขน้ึเพราะนปุเรชาตปจ จัย คือ ในอรูปภมู ิ ขันธ ๓ เจอื กบั ขันธ ๑ ท่เี ปน มหัคคตธรรม ฯลฯ. ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ [๑๔๐๒] ๓. อปั ปมาณธรรม เจอื กับอัปปมาณธรรม เกิดขึ้นเพราะนปเุ รชาตปจ จยั คือ ในอรูปภมู ิ ขันธ ๓ เจอื กับขันธ ๑ ที่เปน อัปปมาณธรรม ฯลฯ

พระอภิธรรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๓ - หนาท่ี 390 ๔. นปจฉาชาตปจ จัย ๕. นอาเสวนปจ จยั [๑๔๐๓] ๑. ปริตตธรรม เจอื กบั ปริตตธรรม เกดิ ข้ึน เพราะนปจฉาชาตปจจัย, เพราะนอาเสวนปจ จยั คอื ขนั ธ ๓ เจือกับขันธ ๑ ท่ีเปนปรติ ตธรรม ฯลฯ. ในปฏสิ นธขิ ณะ ฯลฯ [๑๔๐๔] ๒. มหัคคตธรรม เจอื กับมหัคคตธรรม เกิดข้นึเพราะนอาเสวนปจ จยั คือ ฯลฯ เจอื กับขนั ธ ๑ ท่เี ปนมหคั คตธรรม ซึ่งเปนวิบาก ฯลฯ. ในปฏสิ นธิขณะ ฯลฯ [๑๔๐๕] ๕. อัปปมาณธรรม เจือกบั อัปปมาณธรรม เกิดขน้ึเพราะนอาเสวนปจ จัย คอื ฯลฯ เจอื กับขันธ ๑ ทเ่ี ปนอัปปมาณธรรม ซงึ่ เปน วิบาก ฯลฯ. ๖. นกมั มปจจัย [๑๔๐๖] ๑. ปริตตธรรม เจือกบั ปริตตธรรม เกิดขนึ้ เพราะนกมั มปจ จยั คอื เจตนาทีเ่ ปนปริตตธรรม เจือกับขนั ธท ั้งหลายท่ีเปนปริตตธรรม.

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๓ - หนาท่ี 391 [๑๔๐๗] ๒. มหัคคตธรรม เจือกบั มหัคคตธรรม เกดิ ขนึ้เพราะนกมั มปจ จยั คอื เจตนาทเี่ ปน มหคั คตธรรม เจอื กับขนั ธท ง้ั หลายที่เปน มหคั คต-ธรรม. [๑๔๐๘] ๓. อปั ปมาณธรรม เจือกบั อัปปมาณธรรม เกิดขนึ้เพราะนกัมมปจจยั คอื เจตนาที่เปน อัปปมาณธรรม เจอื กบั ขันธทัง้ หลายทเี่ ปน อัปปมาณ-ธรรม ทีเ่ ปน กุศล. ๗. นวปิ ากปจ จัย [๑๔๑๐] ๑. ปรติ ตธรรม เจอื กับปริตตธรรม เกดิ ข้ึน เพราะนวปิ ากปจ จัย คอื ขนั ธ ๓ เจือกบั ขนั ธ ๑ ทเี่ ปน ปรติ ตธรรม ฯลฯ. [๑๔๐๑] ๒. มหคั คตธรรม เจือกับมหคั คตธรรม เกดิ ข้นึเพราะวปิ ากปจ จยั คอื ขันธ ๓ เจอื กบั ขันธ ๑ ทเ่ี ปน มหคั คตธรรม ฯลฯ. [๑๔๑๑] ๓. อปั ปมาณธรรม เจือกบั อปั ปมาณธรรม เกิดขึน้เพราะนวิปากปจ จยั คอื ขนั ธ ๓ เจือกบั ขันธ ๑ ทเ่ี ปนอัปปมาณธรรม ฯลฯ.

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๓ - หนา ท่ี 392 ๘. นฌานปจจัย ฯลฯ ๑๐. นวปิ ปยตุ ตปจจยั [๑๔๑๒] ๑. ปริตตธรรม เจอื กบั ปรติ ตธรรม เกดิ ขึ้น เพราะนฌานปจ จัย เพราะนมคั คปจ จยั (มี ๑ วาระ) เพราะนวิปปยุตตปจ จัย คอื ในอรูปภูมิ ขันธ ๑ ท่เี ปนปริตตธรรม ฯลฯ. [๑๔๑๓] ๒. มหคั คตธรรม เจือกบั มหัคคตธรรม เกิดขน้ึเพราะนวปิ ปยตุ ตปจจยั คือ ในอรปู ภมู ิ ฯลฯ ขันธ ๑ ทเี่ ปนมหัคคตธรรม ฯลฯ. [๑๔๑๔] ๓. อปั ปมาณธรรม เจือกบั อปั ปมาณธรรม เกิดขน้ึเพราะนวปิ ปยตุ ตปจจัย คอื ในอรูปภูมิ ฯลฯ ขันธ ๑ ที่เปนอปั ปาณธรรม ฯลฯ. การนับจํานวนวาระในปจจนยี ะ [๑๘๑๕] ในนเหตปุ จ จยั มี ๑ วาระ ในนอธิตปิ จ จยั มี ๓ วาระในนปุเรชาตปจจยั มี ๓ วาระ ในนปจฉาชาตปจจัย มี ๓ วาระ ในนอาเสวน-ปจ จยั มี ๓ วาระ ในนกมั มปจ จัย มี ๓ วาระ ในนวปิ ากปจ จัย มี ๓ วาระในนฌานปจจัย มี ๑ วาระ ในนมัคคปจจยั มี ๑ วาระ ในนวปิ ปยตุ ตปจ จยัมี ๓ วาระ. พงึ นบั อยางน.ี้ ปจจนียนัย จบ

พระอภธิ รรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๓ - หนาท่ี 393 อนุโลมปจจนยี นัย การนับจํานวนวาระในอนุโลมปจ จนยี ะ [๑๔๑๖] เพราะเหตปุ จจัย ในนอธปิ ตปิ จจยั มี ๓ วาระ...ในนปเุ ร-ชาตปจ จยั มี ๓ วาระ ในนปจฉาปจจัย มี ๓ วาระ ในนอาเสวนปจ จยัมี ๓ วาระ ในนกัมมปจ จยั มี ๓ วาระ ในนวิปากปจ จยั มี ๓ วาระ ในน-วปิ ปยุตตปจ จยั มี ๓ วาระ. พงึ นับอยา งน.ี้ อนุโลมปจจนียนยั จบ ปจ จนียานุโลมนยั การนับจํานวนวาระในปจ จนียานุโลม [๑๔๑๗] เพราะนเหตุปจ จัย ในอารัมมณปจ จัย มี ๑ วาระ... ในอนนั ตรปจจัย มี ๑ วาระ ฯลฯ ในอวคิ ตปจ จยั มี ๑ วาระ พึงนับอยางน้ี. ปจ จนยี านุโลมนัย จบ สัมปยุตตวาระ เหมอื นกับ สงั สัฏฐวาระ.

พระอภิธรรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๓ - หนาที่ 394 ปญหาวาระ อนุโลมนัย ๑. เหตุปจจยั [๑๔๑๘] ๑. ปรติ ตธรรม เปนปจ จัยแกป ริตตธรรม ดวยอํานาจของเหตุปจ จยั คอื เหตุท้งั หลายทเ่ี ปน ปริตตธรรม เปนปจจัยแกสัมปยุตตขนั ธ และจติ ตสมฏุ ฐานรปู ท้งั หลาย ดว ยอํานาจของเหตปุ จจยั . ในปฏสิ นธิขณะ ฯลฯ [๑๔๑๙] ๒. มหคั คตธรรม เปน ปจ จัยแกมหัคคตธรรม ดว ยอํานาจของเหตุปจจยั . มี ๓ วาระ (วาระ ๒-๓-๔) พึงกระทาํ ทงั้ ปวตั ติและปฏิสนธิ. [๑๔๒๐] ๕. อัปปมาณธรรม เปน ปจ จัยแกอปั ปมาณธรรมดว ยอํานาจของเหตุปจ จัย มี ๓ วาระ (วาระที่ ๕-๖-๗) ๒. อารัมมณปจจัย [๑๔๒๑] ๑. ปรติ ตธรรม เปน ปจ จยั แกป ริตตธรรม ดวยอํานาจของอารัมมณปจ จัย

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๓ - หนา ท่ี 395 คอื บุคคลใหทาน สมาทานศลี การทําอุโบสถกรรมแลว พจิ ารณากศุ ลกรรมน้ัน. พิจารณากุศลกรรมทั้งหลายทเ่ี คยส่งั สมไวแ ลว ในกาลกอน. พระอรยิ ะท้ังหลายพจิ ารณาโคตรภู, พิจารณาโวทาน, พิจารณากิเลสท่ีละแลว, พิจารณากเิ ลสท่ีขมแลว, รูซึง่ กเิ ลสทั้งหลายท่เี คยเกิดขน้ึ แลวในกาลกอน. พจิ ารณาเหน็ จักษุ ฯลฯ หทยวตั ถุ ขันธท ั้งหลายท่เี ปน ปรติ ตธรรมโดยความเปนของไมเ ที่ยง ฯลฯ ยอมยินดี ยอมเพลิดเพลินยิง่ เพราะปรารภจกั ษุเปน ตนนน้ั ราคะ ยอมเกิดข้นึ ฯลฯ โทมนสั ยอมเกดิ ข้นึ . รปู ายตนะ เปนปจจัยแก จักขวุ ญิ ญาณ ฯลฯ โผฏฐพั พายตนะ เปนปจจัยแกกายวิญญาณ ดวยอารมั มณปจจัย. [๑๔๒๒] ๒. ปรติ ตธรรม เปน ปจ จัยแกมหัคคตธรรม ดว ยอํานาจของอารมั มณปจ จัย. คอื บุคคลเหน็ รูปดวยทิพยจักษ,ุ ฟง สยี งดวยทิพโสตธาต.ุ บคุ คลรูจติ ของบุคคลผูพ รอมเพรยี งดว ยจติ ทีเ่ ปนปริตตธรรม ดวยเจโตปรยิ ญาณ. ขันธทัง้ หลายทเ่ี ปน ปริตตธรรม เปนปจ จัยแกอ ิทธิวิธญาณ แกเ จโต-ปรยิ ญาณ แกป ุพเพนวิ าสานุสสตญิ าณ แกยถากมั มปู คญาณ แกอนาคตงั สญาณดว ยอาํ นาจของอารัมมณปจ จัย.

พระอภิธรรมปฎ ก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๓ - หนา ท่ี 396 [๑๔๒๓] ๓. มหัคคตธรรม เปน ปจจัยแกม หคั คตธรรม ดวยอํานาจของอารัมมณปจ จยั คือ อากาสานญั จายตนะ เปน ปจจัยแกว ญิ ญาณญั จายตนะ, อากญิ -จัญญายตนะ เปน ปจ จยั แกเ นวสัญญานาสัญญายตนะ ดวยอาํ นาจของอารัมมณ-ปจจยั . บุคคลรูจิตตของบคุ คลผูพรอมเพรยี งดวยจิตที่เปน มหัคคตธรรม ดวยเจโตปรยิ ญาณ. ขนั ธทัง้ หลายทเ่ี ปนมหคั คตธรรม เปนปจจัยแกอทิ ธิวิธญาณ แกเ จโตปรยิ ญาณ แกปพุ เพนิวาสานุสสติญาณ แกย ถากัมมปู คญาณ แกอ นาคตงั สญาณดวยอาํ นาจของอารัมมณปจ จยั . [๑๔๒๔] ๔. มหัคคตธรรม เปน ปจ จยั แกป รติ ตธรรม ดวยอาํ นาจของอารัมมณปจจัย คอื บคุ คลพจิ ารณาปฐมฌาน ฯลฯ พจิ ารณาเนาสัญญานาสญั ญายตนะ.พจิ ารณาทพิ ยจักษุ ทพิ โสตธาตุ ฯลฯ พิจารณาอิทธวิ ิธญาณ เจโตปรยิ ญาณฯลฯ ปพุ เพนิวาสานสุ สตญิ าณ ฯลฯ ยถากมั มูปคญาณ ฯลฯ พิจารณาอนาคตตงั -สญาณ. บุคคลพิจารณาเห็นขนั ธท ง้ั หลายทีเ่ ปน มหคั คตธรรม โดยความเปนของไมเท่ยี ง ฯลฯ ยอมยินดี ยอมเพลดิ เพลนิ ยง่ิ เพราะปรารภขนั ธน น้ั ราคะยอ มเกดิ ข้นึ ทฏิ ฐิ ยอมเกดิ ขนึ้ . [๑๔๒๕] ๕. อัปปมาณธรรม เปนปจ จยั แกอปั ปมาณธรรมดว ยอํานาจของอารมั มณปจจัย

พระอภธิ รรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๓ - หนาท่ี 397 คอื นพิ พาน เปน ปจ จยั แกม รรค แกผล ดว ยอาํ นาจของอารมั มณ-ปจจัย [๑๔๒๖] ๖. อัปปมาณธรรม เปนปจจัยแกป รติ ตธรรม ดวยอาํ นาจของอารัมมณปจ จัย คอื พระอริยะท้ังหลายออกจากมรรค พจิ ารณามรรค, พิจารณาผล,พิจารณานิพพาน. นพิ พานเปนปจ จัยแกโ คตรภู แกโวทาน แกอาวัชชนะ ดว ยอํานาจของอารัมมณปจจัย. [๑๔๒๗] ๗. อัปปมาณธรรม เปนปจจยั แกม หคั คตธรรมดวยอาํ นาจของอารมั มณปจจยั . คือ พระอริยะทง้ั หลายรปู จติ ของบคุ คลผพู รอ มเพรยี งดวยจติ ทเ่ี ปนอปั ป-มาณธรรม ดว ยเจโตปรยิ ญาณ ขันธท ้งั หลายทเ่ี ปนอัปปมาณธรรม เปนปจ จัยแกเ จโตปรยิ ญาณ แกปพุ เพนิวาสานสุ สติญาณ แกอ นาคตงั สญาณ ดว ยอาํ นาจของอารัมมณปจจัย. ๓. อธิปติปจจัย [๑๔๒๘] ๑. ปริตตธรรม เปนปจจัยแกป ริตตธรรม ดวยอาํ นาจของอธปิ ติปจ จัย

พระอภธิ รรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๓ - หนา ที่ 398 มี ๒ อยา ง คอื ท่ีเปน อารมั มณาธปิ ติ และ สหชาตาธปิ ติ ท่ีเปน อารมั มณาธปิ ติ ไดแก บคุ คลใหท าน สมาทานศีล กระทาํ อโุ บสถกรรมแลว กระทาํ กศุ ลกรรมน้ัน ใหเปนอารมณอยา งหนักแนนแลว พิจารณา. บคุ คลกระทาํ กุศลกรรมทั้งหลายท่เี คยสัง่ สมไวแ ลว ในกาลกอน ใหเ ปนอารมณอยา งหนกั แนน แลว พจิ ารณา. พระเสกบุคคลท้ังหลายกระทําโคตรภใู หเ ปน อารมณอ ยางหนักแนนฯลฯ กระทําโวทานใหเ ปนอารมณอยางหนักแนนแลว พิจารณา. บุคคลยอมยินดี ยอ มเพลดิ เพลินยิ่ง เพราะกระทําจักษุ ฯลฯ หทย-วตั ถุ ขันธทั้งหลายท่ีเปนปรติ ตธรรมใหเปน อารมณอ ยางหนักแนน ครน้ักระทาํ จกั ษเุ ปน ตนน้ันใหเ ปน อารมณอยางหนักแนน แลว ราคะ ยอมเกิดขน้ึทฏิ ฐิ ยอ มเกดิ ข้นึ . ทีเ่ ปน สหชาตาธิปติ ไดแ ก อธิปตธิ รรมท่ีเปน ปริธรรม เปน ปจจยั แกส มั ปยุตตขันธ และจติ ต-สมฏุ ฐานรูปทง้ั หลาย ดวยอาํ นาจของอธิปติปจ จยั . [๑๔๒๙] ๒. มหัคคตธรรม เปนปจ จยั แกมหคั คตธรรม ดว ยอาํ นาจของอธปิ ตปิ จ จยั มีอยา งเดยี ว คือที่เปน สหชาตาธิปติ ไดแ ก อธปิ ตธิ รรมท่ีเปน มหคั คตธรรม เปนปจ จยั แกสัมปยุตตขันธท ัง้ หลายดว ยอํานาจของอธิปตปิ จจยั .

พระอภิธรรมปฎก ปฏ ฐาน เลม ๗ ภาค ๓ - หนาที่ 399 [๑๔๓๐] ๗. มหคั คตธรรม เปนปจจยั แกปรติ ตธรรม ดว ยอํานาจของอธิปติปจ จยั มี ๒ อยา ง คอื ทีเ่ ปน อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ ทเี่ ปน อารมั มณาธปิ ติ ไดแก บุคคลกระทาํ ปฐมฌานใหเปนอารมณอยา งหนกั แนน ฯลฯ เนวสญั ญานาสญั ญายตนะ ฯลฯ ทิพยจกั ษุ ฯลฯ กระทําอนาคตังสญาณใหเ ปน อารมณอยางหนกั แนน แลว พจิ ารณา. บคุ คลยอ มยินดี ยอ มเพลดิ เพลินยิ่ง เพราะกระทําขันธทัง้ หลายท่ีเปนมหคั คตธรรมใหเ ปนอารมณอ ยา งหนกั แนน คร้นั กระทาํ ขันธน้ันใหเปนอารมณอยางหนกั แนนแลว ราคะ ยอ มเกิดขึ้น ทิฏฐิ ยอ มเกิดขน้ึ . ที่เปน สหชาตาธปิ ติ ไดแก อธปิ ติธรรมท่ีเปนมหัคคตธรรม เปน ปจ จยั แกจ ติ ตสมุฏฐานรูปท้งั หลายดวยอาํ นาจของอธิปตปิ จ จยั . [๑๔๓๑] ๔. มหคั คตธรรม เปน ปจจยั แกป ริตตธรรม และมหัคคตธรรม ดวยอาํ นาจของอธปิ ติปจจัย. มีอยางเดียว คือทเ่ี ปน สหชาตาธิปติ ไดแก อธิปตธิ รรมทเี่ ปน มหคั คตธรรมเปนปจจัยแกสัมปยุตตขันธ และจติ ตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ดว ยอํานาจของอธิปติปจจยั .

พระอภิธรรมปฎก ปฏฐาน เลม ๗ ภาค ๓ - หนาท่ี 400 [๑๔๓๒] ๕. อปั ปมาณธรรม เปน ปจจยั แกอปั ปมาณธรรมดวยอาํ นาจของอธิปตปิ จ จัย มี ๒ อยา ง คอื ท่เี ปน อารัมมณาธปิ ติ และ สหชาตาธปิ ติ ทเ่ี ปน อารัมมณาธปิ ติ ไดแ ก นิพพาน เปน ปจจัยแกมรรค แกผล ดวยอํานาจของอธปิ ปจจัย. ทเี่ ปน สหชาตาธิปติ ไดแ ก อธติ ธิ รรมทเ่ี ปนอัปปมาณธรรม เปน ปจ จัยแกส ัมปยุตตขนั ธทงั้ หลายดวยอํานาจของอธิปติปจจยั . [๑๔๓๓] ๖. อัปปมาณธรรม เปน ปจจัยแกป รติ ตธรรม ดวยอาํ นาจของอธิปตปิ จ จัย มี ๒ อยาง คอื ท่เี ปน อารัมมณาธปิ ติ และ สหชาตาธปิ ติ ท่เี ปน อารัมมณาธปิ ติ ไดแก พระอริยะทัง้ หลายออกจากมรรคการทาํ มรรคใหเ ปนอารมณอ ยางหนกัแนนแลว พิจารณา, กระทําผลใหเ ปนอารมณอ ยา งหนักแนน ฯลฯ กระทาํนิพพานใหเ ปน อารมณอ ยา งหนกั แนน ฯลฯ นิพพานเปน ปจ จยั แกโ คตรภู, แกโวทาน ดว ยอํานาจของอธปิ ตปิ จ จัย. ทเี่ ปน สหชาตาธิปติ ไดแ ก อธิปติธรรมทีเ่ ปนอัปปมาณธรรม เปน ปจจัยแกจ ิตตสมุฏฐานรูปทง้ั หลาย ดวยอํานาจของอธปิ ตปิ จจัย.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook