บวรเทียมพระบรมมหาราชวัง ขุนนางวังหน้าวางแผนใช้อุบายเพ่ือ เอาชนะฝา่ ยวงั หลวงในการแขง่ เรอื และทส่ี �ำ คญั คอื การขอพระราชทาน เงนิ บ�ำ รงุ วงั หนา้ เพม่ิ เตมิ แตไ่ มส่ �ำ เรจ็ ) ใน พ.ศ. 2329 (1796) มคี วาม กลวั กนั วา่ พระมหาอปุ ราชและทหารของพระองคจ์ ะกอ่ การกบฏ แต่ รชั กาลท่ี 1 ทรงมพี ระบญั ชาใหก้ องทหารเขา้ ลอ้ มพระบวรราชวังไว้ การยตุ ปิ ัญหาวงั หน้าไดน้ น้ั กเ็ พราะพระเจา้ พี่นางเธอ (*กรมสมเดจ็ พระเทพสดุ าวดี (สา) และ กรมสมเดจ็ พระศรีสุดารกั ษ์ (แกว้ )) ได้ เขา้ มาเจรจาใหท้ งั้ สองฝา่ ยประนปี ระนอมกนั เมอื่ สมเดจ็ กรมพระราช วังบวรฯ ถึงแก่พิราลัยใน พ.ศ. 2346 (1803) พระโอรสทั้งสองพระ องค์ (*พระองคเ์ จา้ ล�ำ ดวน และ พระองคเ์ จา้ อนิ ทปตั ) และขนุ นางใน วังหน้าได้วางแผนการท่ีจะแย่งชิงราชสมบัติจากรัชกาลที่ 1 แต่ แผนการรั่วไหลและถูกส่ังตัดหัวประหารชีวิต ดังนั้น ตลอดเวลาที่ เหลือในรัชสมัยรัชกาลท่ี 1 จึงทรงปล่อยให้ตำ�แหน่งวังหน้าว่างลง (*แตใ่ นปลายรชั กาล ใน พ.ศ. 2348 ทรงแตง่ ตง้ั พระราชโอรส สมเดจ็ พระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทรเป็นพระมหาอุปราช แตท่ รงประทบั อยทู่ ี่พระราชวังกรุงธนบุรี) และเมอ่ื รชั กาลที่ 1 เสด็จ สวรรคตในวนั ที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2352 (1809) พระมหาอปุ ราชก็ เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบตั ิได้สบื ทอดราชบัลลงั กต์ อ่ มา ผลงานทปี่ ระสบความส�ำ เรจ็ ของพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอด ฟ้าจุฬาโลกมีมากมายทีเดียว และผลงานเหล่าน้ันทั้งหมดยากท่ีจะ ประเมนิ ได้ เนอ่ื งจากมขี อบเขตทกี่ วา้ งขวาง ซง่ึ ดเู หมอื นวา่ รชั กาลที่ 1 ทรงได้ร่วมกันแบ่งสรรอำ�นาจของพระองค์กับกลุ่มคนท่ีใกล้ชิด พระองค์ ทงั้ พระองคแ์ ละกลมุ่ คนทใี่ กลช้ ดิ ไดร้ ว่ มกนั สรา้ งราชอาณาจกั ร ใหมข่ น้ึ มา ทมี่ อี �ำ นาจมากกวา่ ยดื หยนุ่ มากกวา่ และมคี วามสลบั ซบั ซอ้ นมากกวา่ ทกี่ รงุ ศรอี ยธุ ยาเคยเปน็ วกิ ฤตการณท์ พี่ ระองคแ์ ละคน รุ่นเดียวกันได้เผชิญและผ่านพ้นมาแล้ว บางทีอาจทำ�ให้คนเหล่าน้ี 262 ประวัตศิ าสตร์ไทยฉบับสงั เขป
ตระหนกั ถงึ ความจ�ำ เปน็ ในการท�ำ งานรว่ มกนั เพอื่ บรรลจุ ดุ มงุ่ หมาย รว่ มกนั และผลส�ำ เรจ็ ของพวกเขามาจากการไดเ้ ผชญิ หนา้ กบั ความ ทุกข์ยากอันใหญ่หลวง และยังทำ�ให้พวกเขามีความรู้สึกม่ันใจใน ตนเองท่ีจะให้ผู้สืบมรดกต่อๆ มายึดมั่นในส่วนท่ีเป็นผลประโยชน์ ของราชอาณาจักร ชว่ งสงบทา่ มกลางวิกฤต : รัชกาลที่ 2 พ.ศ. 2352-2367 (1809-1824) ดูออกจะไมถ่ ูกต้องนัก หากจะละเลยไม่กล่าวถึงสมัยรัชกาล ท่ี 2 ซึ่งเป็นช่วงเวลาเหมือนเพลงบรรเลงสลับฉากที่เงียบเหงาใน ประวตั ศิ าสตรไ์ ทย ในความเป็นจรงิ กค็ อื เปน็ รัชสมัยที่ไมม่ วี กิ ฤตที่ รา้ ยแรง หรอื สงครามใหญๆ่ และยงั เปน็ ทรี่ จู้ กั จดจ�ำ กนั ของผคู้ นสว่ น ใหญว่ า่ เปน็ รชั สมยั ทพี่ ระเจา้ แผน่ ดนิ และขา้ ราชสำ�นกั ไดส้ รา้ งผลงาน วรรณคดชี น้ิ เอก (*ยคุ ทองแหง่ ศลิ ปะ) อยา่ งไรกต็ าม พฒั นาการส�ำ คญั ๆ ทเ่ี กดิ ในสมยั รชั กาลที่ 2 จะมผี ลอยา่ งยงิ่ ตอ่ เหตกุ ารณส์ ว่ นใหญต่ ลอด ทง้ั ศตวรรษนี้ และกส็ มควรทจ่ี ะพจิ ารณาพฒั นาการเหลา่ นโ้ี ดยสงั เขป ประการแรก การที่สมเดจ็ เจา้ ฟา้ กรมหลวงอิศรสนุ ทรเสดจ็ ขึ้นครองราชสมบัติ ทรงพระนามว่า พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศ หลา้ นภาลยั (รชั กาลท่ี 2) (*ผคู้ นสมยั นนั้ มกั เรยี ก แผน่ ดนิ กลาง) ได้ อยา่ งสงบสุขน้ันนบั เปน็ เสน้ ตัดแบง่ ทสี่ �ำ คญั เพราะเปน็ สญั ญาณบง่ ชี้ถึงการเริม่ ต้นมีราชวงศข์ องกษัตริย์ ซึง่ ตรงกันขา้ มกับการมีเพยี ง รชั กาลเดยี ว ทสี่ �ำ คญั เหตกุ ารณน์ แี้ สดงนยั ถงึ การมอี ยขู่ องกระบวนการ ก่อรา่ งสรา้ งองคก์ รทจี่ ะกลายเป็นหน่วยงานของราชอาณาจักร และ แบบแผนของการบริหารจัดการ ซ่ึงได้ก่อต้ังข้ึนในสมัยรัชกาลที่ 1 ส�ำ หรบั ในประเดน็ ทางการเมอื งนนั้ ครอบครวั ชนชนั้ สงู ทไี่ ดส้ ถาปนา 6 | กรุงรตั นโกสินทรต์ อนตน้ 263
ขนึ้ หรือทีไ่ ดก้ ารรบั รองในสมัยรัชกาลที่ 1 กม็ อี ำ�นาจมน่ั คงมากยง่ิ ขน้ึ แต่กด็ เู หมือนจะเปน็ ภยั ต่อพระราชอำ�นาจด้วย รัชกาลท่ี 2 ทรงพระราชสมภพเม่ือ พ.ศ. 2311 (1768) และ เมอ่ื เสดจ็ ขน้ึ ครองราชสมบตั ิ มพี ระชนมายุ 41 พรรษา เมอ่ื ไดร้ บั การ สถาปนาเปน็ เจา้ นายทรงกรม (*เปน็ กรมพระราชวงั บวรสถานมงคล หรอื วงั หนา้ ) ใน พ.ศ. 2328 (1785) นนั้ ไดป้ ระทบั อยู่ ณ พระราชวงั เดมิ ของพระเจา้ ตากสนิ ฝงั่ ธนบรุ ี และทรงมบี ทบาทอยใู่ นคณะเสนาบดี ของสมเดจ็ พระราชบดิ า ฉะนน้ั เมอื่ ถงึ พ.ศ. 2352 (1809 *ทเ่ี สดจ็ ขน้ึ ครองราชย์) จึงทรงมปี ระสบการณ์ในเร่อื งราชการเปน็ อย่างดี ทว่า การปกครองบ้านเมืองให้มีประสิทธิภาพนั้นจะต้องทรงมีฐานกำ�ลัง สนบั สนนุ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ การดงึ คนมาท�ำ งานในต�ำ แหนง่ ตา่ งๆ ซง่ึ คนคนนน้ั จะตอ้ งมคี วามจงรกั ภกั ดตี อ่ พระเจา้ แผน่ ดนิ โดยปราศจาก ขอ้ สงสยั ตามธรรมเนยี มการปฏิบตั ิ และโดยธรรมชาติแล้ว บรรดา กษตั รยิ จ์ ะหนั ไปพง่ึ พงิ คนในครอบครวั ของพระราชชนนกี บั พระมเหสี สมเดจ็ กรมพระอมรินทรามาตย์ (*พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าฯ ได้เฉลิมพระนามาภิไธย เป็น สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี) ผู้ เปน็ พระราชชนนี ทรงมคี วามสมั พนั ธอ์ นั แนน่ แฟน้ กบั ตระกลู บนุ นาค ทส่ี ืบเชอ้ื สายมาจากเปอรเ์ ซยี โดยพระกนิษฐภคนี (*หมายถึง น้อง สาว คือ เจ้าคุณนวล หรือ เจา้ คณุ พระราชพนั ธน์ุ วล)) เป็นมารดา (*ข้อมูลจากประวัติสกุลบุนนาคระบุว่า เป็นภริยา) ของเจ้าพระยา มหาเสนา (บนุ นาค) สมุหกลาโหมในสมยั รชั กาลที่ 1 (*แลว้ ได้เลื่อน เปน็ เจา้ พระยาอรรคมหาเสนา) กบั เจา้ พระยายมราช (บญุ มา) เสนาบดี กรมเมือง (*ข้อมูลที่ถูกต้อง เจ้าพระยามหาเสนาเคยรับตำ�แหน่ง เจา้ พระยายมราชในสมยั รชั กาลที่ 1 สว่ นเจา้ พระยายมราช (บญุ มา) ไมใ่ ช่คนในตระกูลบนุ นาค) พระอคั รมเหสีของรชั กาลท่ี 2 (*เจา้ ฟา้ บญุ รอด) ซง่ึ เปน็ พระชายามาตงั้ แต ่ พ.ศ. 2333 (1790) กท็ �ำ ใหร้ ชั กาล 264 ประวตั ิศาสตรไ์ ทยฉบับสงั เขป
ท่ี 2 ทรงมเี ครอื ขา่ ยความสมั พนั ธท์ เ่ี ปน็ ประโยชน์ เนอ่ื งจากทรงเปน็ พระธิดาของ (*พระเจ้าพน่ี างเธอ กรมสมเด็จพระศรีสุดารักษ์) พระ พีน่ าง (*พระองคร์ อง) ในรัชกาลท่ี 1 กบั (*เจ้าขรวั เงนิ ) “พระสวามี ชาวจนี ผ้มู ง่ั คง่ั ”12 และทรงมคี วามสมั พนั ธอ์ นั ใกล้ชดิ กับตระกูลสงิ ห เสนี ที่เปน็ พราหมณ์ ซงึ่ รวมถึง เจ้าพระยามหาเสนา (ป่นิ ) ผูเ้ ป็น สมุหกลาโหมอีกคนหนง่ึ ในสมัยรัชกาลที่ 1 ด้วยเช่นกนั ในทนั ทที ร่ี ชั กาลที่ 2 เสดจ็ ขน้ึ ครองราชสมบตั ิ เครอื ขา่ ยความ สมั พนั ธน์ ก้ี ป็ รากฏความส�ำ คญั อยา่ งชดั เจน รชั กาลท่ี 2 ทรงสบั เปลย่ี น ตำ�แหน่งเสนาบดใี นสมัยสมเดจ็ พระราชบดิ าเกอื บทั้งหมด โดยทรง แต่งต้ังให้เจ้าพระยามหาเสนา (ป่ิน) ไปดำ�รงตำ�แหน่ง “ผู้กำ�กับ ราชการ” ของพระบวรราชวงั สว่ นตำ�แหนง่ สมหุ นายก ดแู ลมหาดไทย (จักรี) ในรชั สมยั ของพระองค์ คอื เจ้าพระยารัตนาธิเบศร์ (กนุ รตั น กลุ ) ผมู้ เี ชอ้ื สายจนี (มาจากภมู ลิ �ำ เนาเดยี วกบั สมเดจ็ พระอมรนิ ทรา มาตย)์ เคยท�ำ หนา้ ทพี่ ระคลงั ในตอนปลายรชั กาลท่ี 1 ประเดน็ ส�ำ คญั ก็คือ รัชกาลท่ี 2 ไม่เพียงแต่เร่ิมต้นรัชสมัยของพระองค์ด้วยปูน ตำ�แหน่งสูงๆ ให้กับตระกูลผู้นำ�เก่าแก่เท่าน้ัน หากยังทรงเลือกที่ จะเลื่อนตำ�แหน่งพิเศษให้แก่พระญาติทั้งทางฝ่ายพระราชชนนีและ พระอัครมเหสีด้วย เท่ากับว่าทรงรับรองอำ�นาจของขุนนางเหล่าน้ี ท�ำ ใหก้ ลมุ่ ขนุ นางทรี่ ชั กาลที่ 1 ทรงยอมรบั มคี วามแขง็ แกรง่ และเตบิ โต ย่ิงขึ้นอกี ด้วย รัชกาลที่ 2 อาจทรงอดึ อัดกับการเตบิ โตของกล่มุ ขนุ นางผมู้ ี อ�ำ นาจอยบู่ า้ ง เมอ่ื ตน้ รชั กาล จงึ ทรงรเิ รม่ิ แนวทางการปฏบิ ตั ริ าชการ ใหม่ โดยโปรดฯ ให้เจ้านายเข้าไปกำ�กับราชการในกรมกองในส่วน กลางรวม 8 ต�ำ แหน่ง และอาจมีมากกวา่ น้ัน รัชกาลที่ 2 ไดอ้ ปุ ราชา ภิเษกให้กรมหม่ืนเสนานุรักษ์ สมเด็จพระราชอนุชาร่วมครรโภทร สมเด็จกรมพระอมรินทรามาตย์ เป็น กรมพระราชวงั บวรมหาเสนา 6 | กรุงรตั นโกสินทร์ตอนต้น 265
นุรักษ์ พระมหาอุปราช แล้วโปรดฯ ให้ไปทรงดูแลมหาดไทยกับ กลาโหม เม่ือสมเด็จกรมพระราชวังบวรฯ สิ้นพระชนม์ไปใน พ.ศ. 2362 (1819) จึงทรงแบ่งความรับผิดชอบน้ีให้แก่อนุชาท้ังสองของ พระอัครมเหสี (*เจา้ ฟา้ กรมหม่ืนพิทกั ษม์ นตรี และ เจา้ ฟ้ากรมหม่ืน อศิ รานรุ กั ษ)์ กบั พระราชอนชุ า (*กรมหมนื่ ศกั ดพิ ลเสพ) ทพี่ ระมารดา (*เจา้ จอมมารดาน้ยุ ใหญ)่ เป็นธิดาของเจ้าพระยานคร (พัฒน)์ ให้ รว่ มกนั ดแู ลงานกลาโหม (ดนิ แดนในความดแู ล ซงึ่ รวมนครศรธี รรมราช ดว้ ย) ในท้ายท่ีสุด กรมหมืน่ เจษฎาบดินทร์ พระราชโอรสองคใ์ หญ่ ในขณะนนั้ ทป่ี ระสตู แิ ตพ่ ระสนมเอก (*เจา้ คณุ จอมมารดาเรยี ม) ทรง ได้รบั มอบหมายให้ดูแลงานพระคลัง สมเด็จฯ กรมพระยาดำ�รงราชานุภาพทรงกล่าวว่า การ แตง่ ตง้ั เหล่านมี้ ีเหตผุ ล 2 ประการ13 ประการแรก เพราะการจดั การ เรอ่ื งการศกึ กบั พมา่ เมอื่ พ.ศ. 2353 (1810) ผดิ พลาด อาจท�ำ ใหม้ พี ระ ราชประสงคท์ จี่ ะควบคมุ กจิ กรรมตา่ งๆ ของบรรดาเสนาบดอี ยา่ งใกล้ ชดิ ขน้ึ ประการทส่ี อง ในตอนนน้ั บรรดาพระราชวงศไ์ ดเ้ พมิ่ ขน้ึ อยา่ ง รวดเรว็ นอกจากพระบรมวงศฝ์ า่ ยหนา้ และฝา่ ยในจ�ำ นวน 19 พระองค์ ซง่ึ เปน็ คนรนุ่ เดยี วกบั รชั กาลท่ี 1 แลว้ รชั กาลที่ 1 ทรงมพี ระราชโอรส ธดิ าทงั้ สนิ้ 42 พระองค์ สมเดจ็ กรมพระราชวงั บวรฯ ทรงมพี ระโอรส ธดิ า 43 พระองค์ และรชั กาลท่ี 2 ทรงมพี ระราชโอรสธดิ า 73 พระองค์ เม่ือพระเจ้าแผ่นดินทรงมีเจ้านายที่มีความสามารถอยู่รอบๆ ก็อาจ ไม่มีพระราชประสงค์ให้ความสามารถเหล่าน้ันเปล่าประโยชน์ไป เหตผุ ลประการทส่ี าม ทเี่ หน็ นยั จากเหตผุ ลแรกกค็ อื รชั กาลท่ี 2 อาจ ไม่ได้ทรงเช่ือถือพวกขุนนางอย่างเต็มท่ี และมีพระราชประสงค์ให้ พระญาตใิ กลช้ ดิ อยใู่ นต�ำ แหนง่ ตา่ งพระเนตรพระกรรณ ในทกุ เหตกุ ารณ์ ดูเหมือนว่าบรรดาเจ้านายจะทรงมีหน้าท่ีเป็นท่ีปรึกษาของเหล่า เสนาบดี และอย่างน้อยท่ีสุด เจ้านายพระองค์หน่ึงทรงได้รับ 266 ประวตั ิศาสตร์ไทยฉบบั สังเขป
ประสบการณ์ที่มีคุณค่า รวมท้ังเครือข่ายความสัมพันธ์ท่ีจะเป็น ประโยชน์ตอ่ พระองคใ์ นวนั ขา้ งหนา้ สยามในสมัยรัชกาลที่ 2 ยังคงคิดว่าพม่าเป็นข้าศึกศัตรูที่ สำ�คัญ แต่ว่านอกเหนือจากสงครามเล็กๆ ในคาบสมุทรเมื่อ พ.ศ. 2353 แลว้ ชายแดนดา้ นตะวนั ตกกเ็ งยี บเชยี บเกอื บจะตลอดรชั สมยั น้ี อยา่ งไรกต็ าม รชั กาลท่ี 2 ทรงวติ กกงั วลกบั เขตแดนทางดา้ นตะวนั ออกมากยง่ิ ขึ้น กัมพูชากลายเป็นสนามรบไปอย่างรวดเร็ว เม่ือเกิดความ ขดั แยง้ เรอื่ งผลประโยชนร์ ะหวา่ งสยามกบั เวยี ดนาม เปน็ เพราะมหา อ�ำ นาจทั้งสองกลบั สู่อ�ำ นาจอยา่ งมน่ั คงแลว้ ในตอนนัน้ ปีสุดท้ายใน รชั กาลที่ 2 พระอไุ ทยราชา (พระองคจ์ นั ทท์ ่ี 2) ไมล่ งรอยกบั กรงุ เทพฯ แลว้ และดเู หมือนวา่ พระอไุ ทยราชาจะรู้สึกเจ็บแค้นใจ เพราะทนั ที ทรี่ ชั กาลที่ 2 ขนึ้ ครองบลั ลงั ก์ ทรงโปรดฯ ใหห้ ลานชายของเจา้ พระยา อภยั ภเู บศร์ (แบน) (*คอื พระยาอภยั ภเู บศร ซง่ึ พระราชพงศาวดาร รัชกาลท่ี 2 ระบุว่า เป็นบุตรของเจ้าพระยาอภัยภูเบศร มิใช่เป็น หลาน) เปน็ ผปู้ กครองพระตะบอง เสยี มราฐ เปน็ การแบง่ แยกกมั พชู า ฝ่ายตะวันตกออกจากอำ�นาจปกครองของพระอุไทยราชาไปอย่าง สน้ิ เชงิ พระอไุ ทยราชาไดแ้ สดงความรสู้ กึ ไมพ่ อใจออกมาใหเ้ หน็ อยา่ ง ชดั เจน โดยปฏเิ สธทจี่ ะเขา้ มาถวายบงั คมพระบรมศพรชั กาลท่ี 1 ใน พ.ศ. 2353 (*ตามธรรมเนียม โดยอา้ งว่าป่วย) แต่สง่ พระองคส์ งวน พระราชอนุชา และพระอนุชาอีกสองพระองค์ คือ พระองค์อ่ิมกับ พระองคด์ ว้ ง เข้ามาแทน (*พระราชพงศาวดารรัชกาลท่ี 2 ระบุวา่ รัชกาลท่ี 2 ไดท้ รงแตง่ ต้งั พระองค์สงวนเปน็ พระไชยเจษฎามหาอุป โยราชฝ่ายหลัง และให้พระองค์อิ่มเป็นพระศรีไชยเชษฐาพระมหา อุปราชฝ่ายหนา้ ซงึ่ ท�ำ ใหพ้ ระอุไทยราชาไมพ่ อพระทยั ) เมอื่ บรรดา พระอนุชากลับไปถึงเมืองอุดงมีชัย พร้อมกับคำ�ส่ังของกรุงเทพฯ 6 | กรงุ รัตนโกสนิ ทรต์ อนตน้ 267
เรียกเกณฑ์กองทัพเขมรให้มาช่วยรักษาเมืองจากการรุกรานของ พมา่ พระอไุ ทยราชาทรงเพกิ เฉย ทง้ั ยงั มคี �ำ สง่ั ใหป้ ระหารขนุ นางอกี 2 นาย ท่ีเชื่อฟังคำ�ส่ังของสยาม (*พระราชพงศาวดารรัชกาลท่ี 2 ระบวุ า่ เปน็ ขนุ นางสยามทโ่ี ปรดฯ ใหต้ ามพระองคส์ งวนกลบั มา ไดแ้ ก่ พระยาจกั รี (แบน) กบั พระยากลาโหม) จากนน้ั พระอไุ ทยราชาทรง สง่ พระราชสาสน์ ขอความคมุ้ ครองจากผมู้ อี �ำ นาจในเวยี ดนาม (*องตา๋ กุน) ทไี่ ซง่ อ่ น ขณะเดยี วกัน ก็แจ้งไปทางสยามว่า ทรงสั่งประหาร ขุนนางสองคนทป่ี ฏิเสธการเรยี กเกณฑก์ องทพั เวียดนามได้สง่ กอง เรือรบขนาดเล็กมาทอดสมออยู่นอกชายฝง่ั เมืองอดุ งมชี ยั ขณะที่มี การเจรจาทางการทูตระหว่างกรุงเทพฯ กับเวียดนาม เร่ืองราวก็ ด�ำ เนนิ มาถงึ จดุ สงู สดุ ในตน้ ป ี พ.ศ. 2354 (*มกราคม 1812) เมอื่ เรอื รบ เวียดนามถอนสมอออกไป พระองค์สงวนหนีออกจากเมืองหลวง (*อุดงมชี ัย) ไปยังเมอื งโพธสิ ตั ว์ และไม่นานนัก ก็เดินทางกลับไป ยังเมืองอุดงมีชัยด้วยความช่วยเหลือของกองทัพสยาม พระอุไทย ราชาหนไี ปไซ่งอ่ น ขณะที่พระองคอ์ ิ่มกับพระองคด์ ว้ งเขา้ ไปร่วมกบั พระองคส์ งวนทเ่ี มอื งอดุ งมชี ยั พระองคส์ งวนประทบั อยทู่ น่ี น่ั อกี เกอื บ ปี แตก่ ไ็ ม่ค่อยได้รับความสนับสนุนมากนกั จากหวั เมอื งรอบนอก ในระหว่างน้ัน สยามรู้สึกว่าสถานการณ์ในกองทัพของตน ค่อนข้างจะออ่ นแอ และเกรงจะเกิดการปะทะครัง้ ใหญก่ ับเวยี ดนาม ใน (ช่วงฤดฝู น) ป ี พ.ศ. 2356 (กลางปี 1813) สยามจึงถอนทพั ออก จากกัมพูชา หลังจากท่ีร้ือทำ�ลายฐานที่มั่นในเมืองอุดงมีชัยและ พนมเปญจนหมดสน้ิ และน�ำ บรรดาเจา้ นายเขมรทไ่ี มล่ งรอยกบั พระ อุไทยราชา กับทั้งชาวเขมรนับพันไปตั้งถ่ินฐานในพระตะบองและ สยาม ต่อมาพระอุไทยราชาเดินทางกลับมายังกัมพูชา พร้อมกับ กองทพั ใหญข่ องเวยี ดนาม และขนุ นางสยามกลมุ่ เลก็ ๆ และทรงยา้ ย เมืองหลวงไปอยู่ที่พนมเปญ ซ่ึงเป็นบริเวณท่ีพวกเวียดนามจะเข้า 268 ประวัติศาสตรไ์ ทยฉบับสงั เขป
มาและชว่ ยเหลอื พระองคไ์ ดโ้ ดยงา่ ย ตอนนหี้ มากบนกระดานเปลย่ี น ไปแลว้ เวยี ดนามมอี ทิ ธพิ ลโดดเดน่ ในกมั พชู าอยนู่ านหลายสบิ ปหี ลงั จาก พ.ศ. 2356 เป็นต้นมา โดยมีอำ�นาจบังคับบัญชาทหารประจำ� การนบั หมน่ื สยามปลอบขวญั ตนเองโดยการเขา้ ควบคมุ พน้ื ทใี่ หมท่ ี่ กว้างขวางข้ึนในโพธสิ ตั ว์ สตึงเตรง็ และก�ำ ปงสวาย ในส่วนของเจ้า นายที่มคี วามเห็นขัดแยง้ เช่ือว่าถ้ารชั กาลที่ 2 ทรงยึดถอื ทางเลือก ทชี่ อบธรรมของพระอไุ ทยราชาในฐานะกษตั รยิ ก์ มั พชู า กจ็ ะไมส่ รา้ ง ความปน่ั ปว่ นตอ่ ดลุ อ�ำ นาจทางชายแดนดา้ นตะวนั ออกของสยามจน น่าอนั ตรายเช่นนี้ เหตุการณ์ทำ�นองเดียวกันในรัชกาลที่ 2 เกิดข้ึนที่จำ�ปาสัก หัวเมืองประเทศราช (*ในดินแดนลาว) ซึ่งอยู่ทางตอนเหนือของ กมั พชู า เมอื่ เจา้ วไิ ชยราช (พระวไิ ชยราชขตั ตยิ วงศา ครองราชยเ์ มอ่ื พ.ศ. 2334 ?-2354 (1791?-1811) ) สนิ้ พระชนมใ์ น พ.ศ. 2354 สยาม ใชเ้ วลาถงึ 2 ปีในการหาตวั ผ้สู ืบต่อราชสมบัติท่ีเหมาะสม เจ้านาย พระองคน์ น้ั คอื เจา้ หมานอ้ ย ซง่ึ ไมใ่ ชผ่ ทู้ เี่ ขม้ แขง็ หรอื มปี ระสทิ ธภิ าพ นกั สยามเข้าแทรกแซงในกจิ การต่างๆ ของจ�ำ ปาสักอยูบ่ ่อยคร้ังใน ช่วงสิบปีต่อมา เร่ิมต้นจากการไกล่เกล่ียข้อพิพาทระหว่างเจ้าหมา น้อยกบั อปุ ฮาด และต่อมาใน พ.ศ. 2362 (1819) กเ็ ข้าไประงบั ความ ไมส่ งบภายในทเี่ กดิ ขนึ้ อยา่ งรนุ แรง เพราะในปนี น้ั พวกลาวสงู (*ขา่ ) ทอี่ ยบู่ นภเู ขาทางดา้ นทศิ ตะวนั ออกไดก้ อ่ การกบฏ น�ำ โดยพระภกิ ษุ ทรยศชอ่ื สา (*อา้ ยสาเกยี ดโงง้ ) ผอู้ า้ งตนวา่ มอี �ำ นาจวเิ ศษ ชาวบา้ น จงึ สนบั สนนุ จนสามารถยดึ ครองจ�ำ ปาสกั ได้ เจา้ หมานอ้ ยและบรรดา ท้าวเพ้ียได้หนีไปยังเมืองอุบล กองทพั สยามยกเข้าไปในเมอื งจ�ำ ปา สกั จัดการบ้านเมืองใหอ้ ยู่ในสภาพปกติ แต่ก็ตอ้ งเผชญิ ปญั หาการ แตง่ ตง้ั ผดู้ �ำ รงต�ำ แหนง่ ผคู้ รองนครจ�ำ ปาสกั แทนเจา้ หมานอ้ ยทถ่ี งึ แก่ พิราลัยในกรงุ เทพฯ 6 | กรงุ รตั นโกสินทรต์ อนตน้ 269
สยามจ�ำ เปน็ ตอ้ งฟนื้ ฟอู �ำ นาจการควบคมุ จ�ำ ปาสกั ใหแ้ ขง็ แกรง่ โดยดว่ น เจา้ ราชบตุ รโย้ พระโอรสของเจา้ อนวุ งศ์ กษตั รยิ แ์ หง่ เวยี งจนั เป็นผู้จัดการปราบกบฏอ้ายสาเกียดโง้งสำ�เร็จ จึงผลักดันให้สยาม ต้องแต่งตั้งเจ้าราชบุตรโย้เป็นผู้ครองเมืองจำ�ปาสัก สมเด็จเจ้าฟ้า กรมหมน่ื พทิ กั ษม์ นตรี เจา้ นายชน้ั ผใู้ หญผ่ ทู้ รงเปน็ ทป่ี รกึ ษาราชการ แผน่ ดินไม่ทรงเห็นดว้ ย ทรงโตแ้ ยง้ วา่ การแตง่ ตัง้ เจ้าราชบุตรโยจ้ ะ ทำ�ให้เวียงจันขยายอิทธิพลลงมาทางตอนใต้ และทำ�ให้เจ้าอนุวงศ์ กลายเป็นเจ้าประเทศราชทอ่ี ันตราย แตพ่ ระเจา้ ลกู ยาเธอ กรมหมื่น เจษฎาบดินทร์ทรงให้เหตุผลว่า จำ�เป็นจะต้องทำ�ให้ลาวตอนใต้ แข็งแกรง่ ข้ึน มเิ ชน่ นนั้ เวียดนามอาจบกุ ล่วงล้ำ�เข้ามายงั ดนิ แดนนน้ั ได้เช่นเดียวกบั ทีไ่ ด้เกดิ ขึ้นแล้วในกัมพูชา และทรงสนับสนุนใหแ้ ต่ง ตั้งเจา้ ราชบุตรโย้ แมว้ า่ ดจู ะเผชญิ กับภยั สองดา้ น แต่การมเี วียงจัน และจ�ำ ปาสกั ทเ่ี ขม้ แขง็ นา่ จะดกี วา่ การมจี �ำ ปาสกั ทอ่ี อ่ นแอ และมภี ยั คกุ คามจากเวยี ดนามทีเ่ ขม้ แขง็ ยิง่ กวา่ ดรู าวกบั วา่ ความวติ กกงั วลเหลา่ นยี้ งั ไมห่ มดเทา่ น้ี ในปสี ดุ ทา้ ย ของรชั สมยั รชั กาลที่ 2 แรงกดดนั จากมหาอ�ำ นาจตะวนั ตกเรม่ิ ถาโถม สสู่ ยามเปน็ ครง้ั แรก ในรอบหนงึ่ ศตวรรษหลงั จากรชั สมยั พระนารายณ์ เป็นต้นมา ท่ีจริงแล้ว ชาวตะวันตกก็ไม่เคยห่างหายไปจากสยาม อยา่ งสน้ิ เชงิ แตก่ ไ็ มเ่ คยใชอ้ ทิ ธพิ ลกดดนั สยาม ชาวฮอลนั ดาตง้ั คลงั สนิ คา้ อยใู่ นอยธุ ยาจนถงึ พ.ศ. 2303 (1760) และหลงั จากนนั้ กส็ ง่ เรอื มาค้าขายจากปัตตาเวีย (จาการ์ตา) – บรรทุกปืนใหญ่มาขายให้ พระเจ้าตากสิน ใน พ.ศ. 2313 (1770) นับเปน็ เวลานานแลว้ ที่บรษิ ัท อินเดียตะวันออกของอังกฤษต้องพึ่งพาพ่อค้าเอกชนจากประเทศ ตา่ งๆ ในเอเชีย เพ่ือดำ�เนนิ การค้าขายกับสยามท่ีมอี ยู่บ้างเล็กน้อย จ�ำ นวนหมอสอนศาสนาครสิ ตน์ กิ ายโรมนั คาทอลกิ ชาวโปรตเุ กสและ ฝรงั่ เศสกม็ เี พยี งจ�ำ นวนหนงึ่ ทย่ี งั คงไดร้ บั อนญุ าตใหต้ งั้ ชนุ ชนเลก็ ๆ 270 ประวตั ิศาสตร์ไทยฉบับสังเขป
ของชาวครสิ ตใ์ นสยาม แต่แลว้ สถานการณก์ ็เร่ิมเปล่ยี นไป แม้วา่ จะ เป็นคร้ังแรกและยงั ไมเ่ หน็ ผลอะไรนกั เมอื่ อังกฤษได้เชา่ เกาะหมาก ใน พ.ศ. 2328 (1785) เป็นฐานที่ม่ัน ทำ�ให้อังกฤษสามารถขยาย อิทธิพลในวงกว้างจนครอบครองดินแดนฝั่งตรงข้ามเกาะหมาก (จังหวัดเวลเลสล่ยี ์) ได้ใน พ.ศ. 2343 (1800) อย่างไรกต็ าม ในเวลา ต่อมา มหาอ�ำ นาจในยโุ รปไดเ้ ขา้ ไปพัวพนั อยกู่ ับสงครามนโปเลยี น และสนใจท่ีจะท�ำ การค้าขายกบั จนี จงึ ยังไม่คอ่ ยสนใจสยามมากนกั มีปัจจัยส�ำ คญั 2 ประการเกิดขึ้นทที่ �ำ ให้สถานการณ์เปลย่ี น ไป ประการแรก หลังจากสงครามนโปเลียนสงบลง ได้มีการฟ้ืนฟู การคา้ ตา่ งประเทศขนึ้ มาใหม่ และการแขง่ ขนั ทางการคา้ ทางทะเลใน เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตร้ ะหวา่ งองั กฤษกบั ฮอลนั ดากส็ น้ิ สดุ ลง ดว้ ย สนธสิ ญั ญาแองโกล-ดตั ช์ (*หรอื สนธสิ ญั ญาลอนดอน ลงนามระหวา่ ง องั กฤษ-ฮอลนั ดา เมอ่ื วนั ท่ี 17 มนี าคม พ.ศ. 2367 (1824) สาระสว่ น ทเ่ี กยี่ วกบั เรอ่ื งนคี้ อื องั กฤษยกเบนคเู ลน (Bencoolen หรอื Bengkalu) ให้ฮอลันดา ฮอลันดายกมะละกาให้อังกฤษ)) ต่อมาบริษัทอินเดีย ตะวันออกของอังกฤษ ได้ก่อต้ังสิงคโปร์ให้เป็นเมืองท่าปลอดภาษี ใน พ.ศ. 2362 (1819) แตว่ า่ อนาคตทางการพาณชิ ยข์ องสงิ คโปรน์ น้ั สว่ นหนง่ึ กต็ อ้ งขน้ึ อยกู่ บั พฒั นาการทางการคา้ ทม่ี กี บั คาบสมทุ รมลายู และสยาม ในสายตาของชาวยโุ รปนน้ั การคา้ ตา่ งประเทศของสยาม ยังเป็นการค้าแบบผูกขาดที่ต่อต้านระบบการแสวงหาผลกำ�ไรของ พอ่ คา้ และมวี ธิ กี ารโบราณลา้ หลงั เหมอื นสมยั กลาง อยา่ งทเ่ี ซอรโ์ ทมสั สแตมฟอรด์ แรฟเฟิล ได้ระบุไว้ใน พ.ศ. 2362 (1819) วา่ : เมอ่ื พจิ ารณาแลว้ เหน็ วา่ สยามไดข้ ยายอทิ ธพิ ล เข้าไปในคาบสมุทรมลายูเกือบท้ังหมด ยกเว้นเมือง ยะโฮร์ และแมแ้ ตช่ มุ ชนของเราทป่ี นี งั ซงึ่ เปน็ เพยี งเกาะ 6 | กรงุ รตั นโกสินทรต์ อนต้น 271
เลก็ ๆ กเ็ ปน็ หนงึ่ ในการอารกั ขาของสยาม อทิ ธพิ ลของ สยามเหนือหัวเมืองมลายูเช่นน้ี ทำ�ให้การติดต่อของ เรากบั รฐั เหลา่ นจี้ �ำ เป็นตอ้ งยืดหยุน่ การไดป้ ระโยชน์ จะเกิดข้ึน ถ้าเราสร้างความเข้าใจอันดีกับราชสำ�นัก สยาม14 ประการที่สอง ใน พ.ศ. 2364 (1821) ความสมั พนั ธ์ระหว่าง สยามกบั ไทรบรุ ตี อ้ งแตกหกั กนั ไป สาเหตเุ นอื่ งมาจากเหตกุ ารณเ์ มอ่ื 3 ปที ผ่ี า่ นมา เมอื่ พมา่ ไดส้ ง่ กองทพั มาบกุ โจมตหี วั เมอื งในคาบสมทุ ร ฝ่ังตะวนั ตก สุลตา่ นอาหมัด (*เจ้าพระยาไทรบรุ ี ปะแงรนั ) ไดเ้ ขา้ ร่วมกับพม่า (แม้ไม่อาจระบุได้ชัดเจน) ราชสำ�นักได้บัญชาการให้ เจ้าเมืองนครศรีธรรมราชนำ�กองกำ�ลังไปขับไล่พม่า โดยขอให้ เจ้าพระยาไทรบุรีส่งเสบียงและกองกำ�ลังทางเรือมาช่วยรบ แต่ เจา้ พระยาไทรบุรกี ลบั เพกิ เฉย ใน พ.ศ. 2363 (1820) ขนุ นางสยาม ยึดใบบอกของพม่าท่ีมีมาถึงเจ้าพระยาไทรบุรีได้ท่ีภูเก็ต ส่ังการให้ เจ้าพระยาไทรบุรีก่อกบฏต่อสยาม ขณะที่พมา่ นำ�ทัพใหญ่เข้าโจมตี สยาม ตอ่ มาในปีเดียวกนั น้ัน คูแ่ ข่งคนหนง่ึ ของเจา้ พระยาไทรบุรไี ด้ เดินทางเข้าไปยังราชสำ�นักสยามเพ่ือทูลเกล้าถวายรายงานว่า (ปะแงรนั ) ปกครองอยา่ งไมเ่ ปน็ ธรรม และมใี จออกหา่ งสยาม พระบาท สมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยจึงทรงมีพระบัญชาให้ยกทัพไปตี เมืองไทรบุรใี น พ.ศ. 2364 (1821) เจา้ พระยาไทรบรุ สี ไู้ มไ่ ดก้ ห็ นีไป เกาะหมาก (ปีนงั ) และพยายามทวงสัญญากับบริษัทอินเดยี ตะวัน ออกของอังกฤษเพื่อให้ความคุ้มครอง และช่วยเหลือตนให้กลับไป ครองบัลลงั กไ์ ทรบุรอี ีกครั้ง เม่ือเหตุการณ์จราจลวุ่นวายในไทรบุรีไม่ปกติ สถานการณ์ การคา้ ในเกาะหมาก (ปนี ัง) กเ็ กดิ ความยงุ่ ยากตามไปดว้ ย บรรดา 272 ประวัตศิ าสตรไ์ ทยฉบบั สงั เขป
เจา้ หนา้ ทข่ี ององั กฤษในสงิ คโปรผ์ ลกั ดนั ใหม้ กี ารเจรญิ สมั พนั ธไมตรี ทางการทูต และเจรจาจาคา้ ขายกับสยาม ใน พ.ศ. 2364 (ปลายปี 1821) (*มาร์ควสิ เฮสติงส์) ผูส้ ำ�เรจ็ ราชการองั กฤษประจำ�อนิ เดยี จงึ ไดส้ ง่ จอหน์ ครอวเ์ ฟริ ด์ เปน็ ทตู เขา้ เจรญิ ทางพระราชไมตรแี ละเจรจา การค้ากับสยาม แต่ราชสำ�นักสยามไม่โอนอ่อนตามความต้องการ ขององั กฤษ ในขณะนนั้ บรรดาเจา้ นายและขนุ นางสยามก�ำ ลงั ไมพ่ อใจ องั กฤษทเ่ี ขา้ ไปยงุ่ เกย่ี วในไทรบรุ ี และยงั คงพงึ พอใจกบั ผลประโยชน์ ของตนที่มีอยู่ในระบบการค้าของสยามแบบที่ปรากฏอยู่ และไม่มี ความโน้มเอียงทีจ่ ะทำ�ใหพ้ ่อคา้ อังกฤษเขา้ มาคา้ ขายได้งา่ ยขนึ้ เม่ือ ครอว์เฟิร์ดออกไปจากกรุงเทพฯ เขาจัดการได้เพียงแค่ทำ�ให้สยาม ยอมรับอำ�นาจของอังกฤษในการเช่าเกาะหมาก (ปีนัง) ทั้งๆ ที่ใน ความเปน็ จรงิ ไดค้ รอบครองมาเกอื บจะ 40 ปแี ลว้ อกี หลายประเดน็ ทไี่ มอ่ าจตกลงกนั ไดน้ น้ั ถกู ทงิ้ ไวใ้ หพ้ ระเจา้ แผน่ ดนิ พระองคใ์ หมต่ อ้ ง เขา้ มาแก้ไขในอีก 2-3 ปีหลังครองราชย์ หากจะพิจารณาถึงรชั กาลที่ 2 โดยภาพรวม บางคนอาจจะ มองเหน็ ภาพวา่ ภาวะการเปน็ ผนู้ �ำ ของราชอาณาจกั รชา่ งไมแ่ นน่ อน และดูจะลังเลรรี อ น่เี ป็นช่วงสมยั ที่ไม่มีท้ังพระเจ้าแผน่ ดินที่ทรงเปน็ ผนู้ �ำ ทเ่ี ขม้ แขง็ เดด็ เดย่ี ว หรอื แรงขบั เคลอ่ื นทท่ี รงพลงั ของเหลา่ เสนาบดี น่ีเป็นช่วงเวลาที่ไม่มีใครเป็นผู้รับผิดชอบจริงๆ หรือเป็นเพราะการ ผนึกกำ�ลังร่วมมือกันระหว่างเจ้านายกับขุนนางยังไม่เกิดขน้ึ อย่างมี ประสิทธิภาพ หรอื ยงั ลังเลใจกันอยู่ บางทอี าจจะมีความส�ำ คญั ท่ีจะ จดจำ�กันว่า พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้าฯ ทรงเป็นหน่ึงในกวี เอกของสยาม ในรัชกาลน้ีไม่มีเจ้านายและขุนนางคนใดได้รับการ กล่าวขานเท่าใดนัก ดังน้ัน รัชสมัยรัชกาลที่ 2 จึงถือว่าเป็นเพลง บรรเลงสลบั ฉากระหวา่ งรชั กาลที่ 1 กบั รชั กาลที่ 3 เปน็ ชว่ งแหง่ ความ สงบสุขทา่ มกลางห้วงแห่งวกิ ฤต 6 | กรุงรตั นโกสนิ ทรต์ อนต้น 273
รัชกาลท่ี 3 : นกั อนุรกั ษห์ รือนกั ปฏิรูป เมอ่ื (*วนั องั คารเดอื น 8 ขนึ้ 11 ค�่ำ ตรงกบั ) วนั ที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2367 (1824) พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั ทรงเรยี ก ประชุมบรรดาพระราชวงศานุวงศ์ และแจง้ วา่ สมเดจ็ พระเจ้าลกู ยา เธอ เจา้ ฟา้ มงกฎุ (*สมมตุ เิ ทวาวงศ)์ มพี ระชนมค์ วรจะอปุ สมบทเปน็ พระภกิ ษใุ นพุทธศาสนา ทรงมีพระราชด�ำ รัสวา่ “เปนคราวเคราะห์ รา้ ย ช้างสำ�คัญของศรบี ้านศรีเมือง (*พระยาเศวตรคชลกั ษณ์ ช้าง เผอื กคู่พระบารมี) เปนเหตลุ งอยา่ งนี้ (*ลม้ ) ใหจ้ ดั การโดยควร อยา่ ให้เสียปีเสียเดือนเลย”15 เจ้าฟ้ามงกุฎทรงผนวชในวันรุ่งขึ้นโดยมี พิธีการต่างๆ เพียงเล็กน้อย (*เสด็จทรงเสล่ียงตามธรรมเนียม มี กระบวนชา้ งมา้ พลเดนิ เทา้ ธนเู กาทณั ฑส์ รรพอาวธุ เครอื่ งสงู ชมุ สาย กลองชนะแตรสังข์ประโคมนำ�เสด็จมาพระอุโบสถวัดพระ ศรีรตั นศาสดาราม ทรงโปรยเงนิ เปลีอ้ งเครื่อง แล้วอุปสมบท ตอ่ จากนนั้ เสดจ็ ไปประทบั ทวี่ ดั มหาธาต)ุ หลงั จากนน้ั เพยี งหนงึ่ สปั ดาห์ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั ทรงพระประชวรหนกั จนไม่ อาจตรสั สิ่งใด จนกระทง่ั เสดจ็ สวรรคตใน (*วันพธุ เดอื น 8 แรม 11 คำ่� ตรงกับ) วันที่ 21 กรกฎาคม ทรงมีพระชนม์ 56 พรรษา (*พงศาวดารรชั กาลที่ 2 ระบวุ า่ พระชนมไ์ ด้ 58 พรรษา) ไมก่ ช่ี วั่ โมง ตอ่ มาบรรดาพระบรมวงศานวุ งศแ์ ละขนุ นางชน้ั ผใู้ หญ่ และคณะสงฆ์ ทนี่ �ำ โดยสมเดจ็ พระสงั ฆราชกไ็ ดพ้ ากนั เขา้ มาภายในก�ำ แพงพระบรม มหาราชวงั มาประชุมพร้อมเพรียงกนั และเห็นพอ้ งต้องกนั ในทันที (*หรือเรยี กวา่ เอนกนกิ รสโมสรสมมติ) ให้กราบบงั คมทลู กรมหมนื่ เจษฎาบดินทร์ ผู้เป็นพระราชโอรสองค์ใหญใ่ นเวลาน้ัน ให้ขน้ึ ครอง ราชสมบตั ิ ทรงพระนาม พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจา้ อยู่หัว แต่ ผู้คนนิยมเรียกขานว่า รชั กาลท่ี 3 274 ประวัตศิ าสตร์ไทยฉบับสังเขป
ภาพเมืองในกรุงเทพฯ ร้านขายของชำ�ของชาวจีน (ร้านขายเสื้อผ้า ร้านอาหาร และรา้ นตดั ผม) ภาพวิถชี วี ิตชาวสยาม ภาพจติ รกรรมฝาผนงั ใน ชว่ งตน้ ศตวรรษท่ี 19 วัดทองธรรมชาติ เกรยี งไกร ไวยากิจ ถา่ ยภาพโดยได้ รับความอนุเคราะห์จากคณะสงฆ์วัดทองธรรมชาติ) 6 | กรุงรตั นโกสนิ ทร์ตอนตน้ 275
การข้นึ ครองราชยข์ องพระบาทสมเดจ็ พระน่ังเกลา้ เจา้ อย่หู ัว มกี ารถกเถยี งกนั ถงึ ความเหมาะสมโดยมกี ารเปรยี บเทยี บกนั ระหวา่ ง กรมหม่ืนเจษฎาบดินทร์กับเจ้าฟ้ามงกุฎ ด้วยว่า กรมหม่ืนเจษฎา บดนิ ทรเ์ ปน็ พระราชโอรสทมี่ พี ระชนั ษาสงู กวา่ มาก ประสตู เิ มอ่ื พ.ศ. 2331 (1788) จากพระสนมเอก (*เจ้าจอมมารดาเรียม ต่อมาทรง สถาปนาเปน็ กรมสมเดจ็ พระศรสี ลุ าไลย) ซงึ่ เปน็ ธดิ าเจา้ เมอื งนนทบรุ ี (*พระยานนทบรุ ศี รีอุทยาน) กรมหม่ืนเจษฎาบดินทร์ทรงมบี ทบาท สำ�คัญในการบริหารราชการมาเปน็ เวลานาน ทรงเปน็ องคป์ ระธาน ในการไตส่ วนกลมุ่ คดิ กอ่ กบฏตอ่ สมเดจ็ พระราชบดิ าเมอ่ื พ.ศ. 2352 (1809) (*คือกบฏเจ้าฟ้าเหม็น หรือเจ้าฟ้าธรรมาธิเบศร์ กรมขุน กษตั รานชุ ติ พระราชโอรสของพระเจา้ ตากสนิ กบั เจา้ ฟา้ ฉมิ ใหญ่ พระ ราชธดิ าของเจา้ พระยาจกั รี (หรอื ต่อมาคือรัชกาลท่ี 1)) และตลอด รชั สมยั ของสมเดจ็ พระราชบดิ าทรงก�ำ กบั ราชการในกรมพระคลงั มี ความเกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิดกับงานราชการในหัวเมือง มีอำ�นาจใน การควบคมุ พระคลงั ขา้ งทแ่ี ละพระคลงั มหาสมบตั ิ และมคี วามสมั พนั ธ์ กบั ชมุ ชนผอู้ พยพ (*ชาวจนี ) และบา้ นเมอื งตา่ งชาติ ตรงกนั ขา้ มกบั เจา้ ฟ้ามงกุฎ ประสูตเิ ม่อื พ.ศ. 2347 (1804) จากพระราชมารดาท่ี ไม่ใช่พระสนมแต่เป็นพระอัครมเหสี ที่เป็นเช้ือพระวงศ์ (*เจ้าฟ้า บญุ รอด) ซง่ึ เปน็ พระราชธดิ าของพระพน่ี างพระองคร์ องของพระบาท สมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลก นกั วชิ าการตะวนั ตกรว่ มสมยั มคี วาม เหน็ ว่ารชั กาลท่ี 3 เป็นพระราชโอรสจากพระสนมของรชั กาลท่ี 2 ท่ี ไม่มีสทิ ธธิ รรมในการขน้ึ ครองบลั ลังก์ กระทั่งนกั วชิ าการบางคนถึง กบั ถือวา่ รัชกาลที่ 3 ทรงเป็นผแู้ ยง่ ชิงบลั ลังก์ เร่อื งนีไ้ มอ่ าจจะเรียก งา่ ยๆ เชน่ น้นั ได้ แมว้ า่ เวลาจะผา่ นมาหลายรอ้ ยปแี ล้ว ท่ีชาวสยาม สว่ นใหญย่ อมรบั วา่ พระราชโอรสทปี่ ระสตู แิ ตพ่ ระมเหสมี สี ถานภาพ สูงกว่าพระราชโอรสที่เกิดแต่พระสนม โดยเฉพาะอย่างย่ิง พระ 276 ประวัติศาสตรไ์ ทยฉบับสังเขป
ราชโอรสทป่ี ระสตู แิ ตพ่ ระมเหสที เ่ี ปน็ พระราชวงศ์ แตใ่ นทางกฎหมาย และธรรมเนยี มปฏบิ ตั ิน้ัน บรรดาพระราชโอรสทุกพระองคม์ ีสิทธใิ น ราชบลั ลงั ก์ แตก่ ข็ น้ึ อยกู่ บั ความเหน็ พอ้ งตอ้ งกนั ของเหลา่ พระราชวงศ์ ชนั้ สงู และเสนาบดที มี่ าประชมุ รว่ มกนั เมอื่ กษตั รยิ พ์ ระองคก์ อ่ นเสดจ็ สวรรคตแล้วว่า ท่ีประชุมจะเลือกเจ้านายองค์ใดเป็นผู้สืบทอดราช บลั ลังก์ตอ่ ไป เมอ่ื อา่ นขอ้ มลู เกย่ี วกบั การสวรรคตของรชั กาลท่ี 2 ดงั ทกี่ ลา่ ว มาแลว้ ขา้ งตน้ กด็ สู มเหตสุ มผลทจี่ ะตคี วามการเอย่ อา้ งถงึ พระเศวตร คชลกั ษณล์ ม้ วา่ เปน็ สญั ลกั ษณ์ : พระเศวตรฯ ลม้ ในวนั ที่ 19 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2367 เกือบสามสัปดาห์ก่อนที่เจ้าฟ้ามงกุฎทรงออกผนวช ดู เหมอื นว่ารัชกาลที่ 2 ทรงตระหนกั ดวี ่า จะเสด็จสวรรคตในเวลาไม่ ช้าไมน่ าน และทรงแนพ่ ระทยั ว่า ท่ปี ระชมุ คณะพระราชวงศานวุ งศ์ และเสนาบดีอาจจะเลือกกรมหมื่นเจษฎาบดินทร์เป็นผู้สืบทอดราช บลั ลงั ก์ จงึ ทรงมพี ระราชประสงคท์ จ่ี ะปกปอ้ งเจา้ ฟา้ มงกฎุ ใหพ้ น้ จาก ราชภยั ทางการเมือง และบางทที รงเผอ่ื วา่ อาจจะมกี ารขดั แย้งตอ่ สู้ กันถงึ ขนั้ สงครามในราชอาณาจกั ร จากฝ่ายทตี่ ้องการสถาปนาพระ โอรสจากพระสนมองค์อ่ืนๆ ข้ึนสู่บลั ลังก์ หากมีสงครามแย่งชิงราช สมบัตเิ กดิ ขึ้น กรมหม่นื เจษฎาบดนิ ทรจ์ ะมีชัยชนะ เพราะได้รบั การ สนบั สนนุ จากขนุ นางตระกลู บนุ นาค ซงึ่ มบี คุ คลทสี่ �ำ คญั ในตระกลู คอื ดศิ บนุ นาค ผไู้ ดร้ บั ยศและต�ำ แหนง่ เจา้ พระยาพระคลงั ใน พ.ศ. 2365 (1822) และยังรับราชการใกล้ชิดกับกรมหม่ืนเจษฎาบดินทร์ตลอด สองปีสุดท้ายในรัชกาลที่ 2 ดังนั้น แม้ว่าเจ้าฟ้ามงกุฎจะยังมีพระ ชนั ษาเยาวว์ ยั ส�ำ หรบั การผนวช และเสดจ็ ออกผนวชโดยไมไ่ ดเ้ ตรยี ม พระราชพิธีอันย่ิงใหญ่ตามโบราณราชประเพณี แต่ก็ทำ�ให้ทรงได้ เขา้ ไปอยใู่ นวดั และอาศยั ผา้ กาสาวพสั ตรป์ กปอ้ งพระองคใ์ หพ้ น้ จาก กระแสของการลอบทำ�รา้ ยได้ 6 | กรงุ รัตนโกสนิ ทรต์ อนต้น 277
พระราชกรณียกิจแรกๆ ของพระบาทสมเดจ็ พระนั่งเกลา้ เจ้า อย่หู ัวคือ การจัดการบรหิ ารแผ่นดนิ ใหม่ ส�ำ หรบั ต�ำ แหน่งพระมหา อุปราชน้ัน ที่น่าสนใจก็คือ มิได้ทรงเลือกพระราชอนุชาหรือพระ ราชโอรส หากแต่เป็นพระราชปิตุลา (อา) กรมหมื่นศักดิพลเสพ (พ.ศ. 2328-2375 (1785-1832)) (*ได้รับการอุปราชาภิเษกเป็น สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาศักดพิ ลเสพ) พระราชโอรสในพระบาท สมเดจ็ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกกับ (*เจา้ จอมมารดานยุ้ ใหญ่) พระ ธดิ าของเจ้าพระยานคร (พัฒน์) พระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกลา้ เจา้ อยู่ หวั ทรงแตง่ ตงั้ พระราชวงศช์ นั้ ผใู้ หญใ่ หก้ ำ�กบั ดแู ลราชการกรมตา่ งๆ เหมอื นสมยั สมเดจ็ พระราชบดิ า เจา้ นายคนส�ำ คญั ทสี่ ดุ คอื พระบรม วงศ์เธอ พระองค์เจ้าฉัตร กรมหมืน่ สรุ ินทรรกั ษ์ (พ.ศ. 2333-2373 (1790-1830) *ตน้ ราชสกลุ ฉตั รกลุ ) พระราชโอรสในพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลก ผซู้ ง่ึ พระมารดา (*เจา้ จอมมารดาตานี ธดิ า เจ้าพระยาอรรคมหาเสนา (บุนนาค)) กับพระชายาต่างก็มาจาก ตระกลู บุนนาค ทรงกำ�กบั ดูแลกรมพระคลัง (ซ่ึงมีดศิ บนุ นาค เปน็ เสนาบดี) พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าไกรสร กรมหลวงรักษ รณเรศ (พ.ศ. 2334-2391 (1791-1848) *ตน้ ราชสกลุ พง่ึ บญุ ) ผเู้ ปน็ พระอนุชาในกรมหม่นื สรุ ินทรรักษ์ ทรงกำ�กบั ดแู ลกรมกลาโหมและ กรมวงั และพระสมั พนั ธวงศเ์ ธอ เจา้ ฟา้ เกศ กรมขนุ อศิ รานรุ กั ษ์ (พ.ศ. 2316-2373 (1773-1830) *ต้นราชสกุล อิศรางกูร) พระโอรสใน พระเจ้าพน่ี าง (*พระองคร์ อง คือ เจา้ ฟ้ากรมพระศรีสุดารักษ์) ของ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลก ทรงก�ำ กบั ดแู ลกรมมหาดไทย อยา่ งไรกด็ ี ส�ำ หรบั กรมขนุ อศิ รานรุ กั ษน์ นั้ กลา่ วกนั วา่ “เมอ่ื (รชั กาล ท่ี 3) ขน้ึ ครองราชสมบตั ิ ไดถ้ วายบงั คมทลู ลาออกจากงานทกุ ต�ำ แหนง่ ดว้ ยเหตผุ ลวา่ ชราภาพ กลา่ วกนั วา่ ไมพ่ อพระทยั กบั การขน้ึ ครองราช สมบัตคิ รั้งนี้”16 278 ประวตั ศิ าสตรไ์ ทยฉบับสงั เขป
พระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงคงใช้เสนาบดีชุด เดิมของสมเดจ็ พระราชบิดาเกือบทั้งหมด ทรงแต่งตั้งเสนาบดเี พยี ง ตำ�แหน่งเดียวในต้นรัชกาล เม่ือสมุหกลาโหมถึงแก่อสัญกรรมจึง โปรดเกล้าฯ ให้เล่ือนเจ้าพระยายมราช (น้อย ศรีสุริยะพาหะ) ขึ้น เปน็ เจา้ พระยาอคั รมหาเสนา ทส่ี มหุ กลาโหม และแตง่ ตงั้ ฉมิ ซง่ึ เปน็ บตุ รของเจา้ พระยาพระคลงั (หน) ในสมยั รชั กาลที่ 1 ใหเ้ ปน็ เจา้ พระยา ยมราช ส�ำ หรบั สมหุ นายก (มหาดไทย) เจา้ พระยาพระคลงั เจา้ พระยา พลเทพ (ดูแลกรมนา) เจา้ พระยาธรรมา (ดูแลกรมวงั ) ในรัชกาล ก่อนยังคงปฏิบตั หิ น้าทีส่ บื ไป พระราชกรณยี กิจท่ีสำ�คัญเร่งด่วนท่ีสุดในช่วงต้นรัชกาลที่ 3 คอื ดา้ นการตา่ งประเทศและการทหาร ในเดอื นพฤษภาคม พ.ศ. 2367 (1824) องั กฤษไดท้ �ำ สงครามกบั พมา่ และพมา่ ไดบ้ กุ ไปถงึ ชายแดน ของอนิ เดยี ซงึ่ อยใู่ นการปกครองขององั กฤษ ในปนี น้ั เอง สยามกต็ อ้ ง ตนื่ ตระหนกกับข่าวลอื ต่างๆ ทีว่ ่า องั กฤษกำ�ลังเตรียมการคร้งั ใหญ่ เพอ่ื เข้ายึดครองเมอื งไทรบุรี และหลงั จากนนั้ อาจข้นึ มาโจมตีสยาม สยามรสู้ กึ หวาดกงั วล จงึ ตง้ั รบั ดว้ ยการปอ้ งกนั ปากแมน่ �้ำ เจา้ พระยา ให้แข็งแกร่ง โดยระดมช่างตีเหล็กในบริเวณน้ันให้มาช่วยกันทำ�โซ่ เหลก็ ขนาดใหญข่ งึ กนั้ สองฝง่ั แมน่ �้ำ ยง่ิ ไปกวา่ นน้ั ความขดั แยง้ ในหวั เมอื งบนคาบสมทุ รมลายกู ม็ เี พม่ิ มากขนึ้ ซงึ่ มอี งั กฤษเขา้ มาเกยี่ วขอ้ ง ด้วย เมื่อกองทัพสยามบุกโจมตีไทรบุรีใน พ.ศ. 2364 (1821) และ ขยายอ�ำ นาจความเปน็ เจา้ เหนอื หวั ไปถงึ เปรคั ใน พ.ศ. 2367 (1824) เปรัคได้ขอความช่วยเหลือจากสยามเพื่อต่อต้านกองทัพของเมือง สลังงอร์ พระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้เจ้า พระยานครฯ (นอ้ ย) เตรยี มไพรพ่ ลยกลงไปทางใต้ มาตงั้ ฐานทไ่ี ทรบรุ ี เพ่อื รุกเข้าไปยงั เปรคั และสลงั งอร์ เมอื่ (*เดอื น 11 ปรี ะกา หรอื ประมาณเดอื นตลุ าคม) พ.ศ. 2368 6 | กรุงรตั นโกสนิ ทรต์ อนตน้ 279
(ปลายปี 1825) รฐั บาลองั กฤษทอ่ี นิ เดยี (*เจา้ เมอื งเบงกอล) ไดม้ อบ หมายใหร้ อ้ ยเอกเฮนรี เบอรน์ ี เปน็ ทตู เขา้ มายงั สยาม เพอื่ เจรจาเรอื่ ง นี้ และเรื่องอืน่ ๆ ทเ่ี กย่ี วข้อง ขณะนั้นอังกฤษท�ำ สงครามอยกู่ บั พม่า สถานการณไ์ ม่สดู้ ีนกั จึงตอ้ งการให้สยามสนบั สนุนเรอื่ งเสบียงกรัง เป็นอย่างน้อย และหากสยามไม่ได้ส่งกองทัพมาช่วยก็ขอให้เป็นก ลาง (*พงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์รัชกาลที่ 3 กล่าวว่า สยามยก กองทัพไปช่วยอังกฤษ) อังกฤษได้กลายเป็นเพ่ือนบ้านของสยาม เมอ่ื อังกฤษยดึ ครองดนิ แดนทางตะวันออกเฉยี งใตข้ องพมา่ ได้ (*ยะ ไข่ มะละแหม่ง ทวาย มะริด ตะนาวศรี) จึงไม่ต้องการให้มีความ ขดั แยง้ หรอื ความเขา้ ใจผดิ กนั เกย่ี วกบั เขตแดนใหม่ ในสว่ นทเี่ กยี่ วขอ้ ง กับหัวเมืองในคาบสมุทรมลายู อังกฤษอยากให้สยามเลิกกดดัน เปรัคและสลังงอร์ และหากเป็นไปได้ ก็อยากให้สุลต่านอาหมัด (*พระยาไทรบรุ )ี ไดก้ ลบั คนื สอู่ �ำ นาจอกี ครงั้ และในทา้ ยทส่ี ดุ องั กฤษ ต้องการให้สยามยุติธรรมเนียมการค้าท่ีมีข้อจำ�กัดกว้างขวางและ กดี กนั ชาวตะวนั ตกใหค้ า้ ขายไดอ้ ยา่ งจ�ำ กดั อยา่ งมากในสยาม เบอร์ นีเดินทางเข้ามาถึงกรุงเทพฯ ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2368 (1825) โดยคาดวา่ จะสามารถเจรจาความได้ส�ำ เรจ็ ตามทหี่ วงั เอาไว้ ในเบ้ืองตน้ ราชส�ำ นักสยามมคี วามเห็นตา่ งกันเป็นสองฝ่าย วา่ จะตอบรบั ขอ้ เสนอและขอ้ เรยี กรอ้ งของเบอรน์ อี ยา่ งไรจงึ จะเหมาะ สม ฝ่ายเจ้าพระยาพระคลัง และบรรดาญาติพีน่ อ้ งท่ีมีผลประโยชน์ ลกึ ล้�ำ ในระบบการคา้ ทดี่ ำ�เนินอยใู่ นขณะนน้ั ไมต่ ้องการท่จี ะล้มเลิก ระบบเดมิ สว่ นสมหุ กลาโหม เจา้ พระยานคร (นอ้ ย) และสมเดจ็ พระ บวรราชเจ้า มีความสนใจท่ีจะขยายดินแดนของสยามเข้าไปใน คาบสมทุ รมลายู จงึ ระวังทีจ่ ะไม่ยงุ่ เก่ยี วในสงครามกับพมา่ ในตอน แรกดเู หมอื นเบอรน์ ียงั ไมค่ บื หนา้ โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ เม่อื มีขา่ ววา่ องั กฤษลม้ เหลวในพมา่ แตเ่ มอื่ ตน้ เดอื นกมุ ภาพนั ธ ์ พ.ศ. 2369 (1826) 280 ประวตั ิศาสตรไ์ ทยฉบบั สังเขป
มีข่าวมาถึงว่าอังกฤษชนะ พม่าพ่ายแพ้อย่างส้ินเชิง ท่าทีของราช ส�ำ นกั สยามจงึ เปลยี่ นไปอยา่ งรวดเรว็ ในเบอ้ื งตน้ รชั กาลที่ 3 ไมท่ รง โปรดท่ีจะทำ�หนังสือสัญญาใดๆ แต่ทุกคนที่เสียผลประโยชน์มาก ทส่ี ดุ ไดแ้ ก่ สมเดจ็ พระบวรราชเจา้ กรมหมนื่ สรุ นิ ทรรกั ษ์ เจา้ พระยา พระคลัง (ดิศ) และเจา้ พระยานคร (นอ้ ย) พากันโน้มนา้ วใหเ้ ปล่ยี น พระทัย เหล่าเสนาบดกี ลมุ่ น้ีให้เหตุผลวา่ อังกฤษเคยถกู บอกปดั มา กอ่ นแลว้ หากปฏเิ สธอกี ครง้ั ในคราวน้ี อาจยวั่ ยใุ หก้ ลายเปน็ ปฏปิ กั ษ์ กนั ได้ และในอนาคตอาจจะเกดิ ความขดั แยง้ ทแ่ี นวชายแดนใหมข่ อง สยาม-พม่าไดโ้ ดยงา่ ย หากไม่มกี ารท�ำ หนังสือสัญญาทางพระราช ไมตรใี นทนั ที และแลว้ การเจรจาตอ่ รองจงึ เรมิ่ ตน้ อยา่ งจรงิ จงั ทงั้ สอง ฝ่ายไดล้ งนามในสนธสิ ญั ญาและขอ้ ตกลงทางการคา้ ใน (*วันท่ี 20) เดอื นมถิ นุ ายน พ.ศ. 2369 (1826) (*เรียกกนั ว่า สนธิสญั ญาเบอรน์ )ี ในสนธสิ ญั ญาทข่ี อ้ ความสว่ นใหญเ่ ปน็ เรอ่ื งการเมอื งนน้ั สยาม ตอ้ งยอมออ่ นขอ้ ใหเ้ ลก็ นอ้ ย ไดม้ กี ารรา่ งขอ้ ตกลงเรอ่ื งเขตแดนระหวา่ ง สยามกบั พมา่ ขององั กฤษ และเพอ่ื วธิ กี ารปฏบิ ตั ทิ างการคา้ โดยทวั่ ไป ตลอดจนเพอ่ื ยตุ คิ วามขดั แยง้ ระหวา่ งกนั องั กฤษยอมรบั อ�ำ นาจของ สยามในไทรบุรี กลันตนั ตรงั กานู และปตั ตานี เช่นเดียวกับท่สี ยาม ยอมรบั ความเปน็ รฐั อสิ ระของเปรคั และสลงั งอร์ สว่ นขอ้ ตกลงทางการ คา้ นน้ั สยามจ�ำ ตอ้ งยอมเสยี สละอยา่ งมากชนดิ ทไี่ มอ่ าจหลกี เลย่ี งได้ ภาษีการค้าที่เรือแต่ละลำ�เคยต้องจ่ายค่าธรรมเนียม ภาษี และค่า ตอบแทนพิเศษจำ�นวนมหาศาล ได้ลดลงไปเหลือเพียงการเก็บค่า ธรรมเนียมอย่างเดียว โดยวัดตามความกว้างของปากเรือ หรือค่า ปากเรอื อย่างเดียว (เรือท่นี �ำ สนิ ค้าเข้ามาขายในสยาม ต้องเสยี ภาษี ค่าปากเรือในอัตราวาละ 1,700 บาท หากไม่มีสินค้าเข้ามาเสียใน อัตราวาละ 1,500 บาท) และราชสำ�นกั ได้ผูกขาดภาษสี นิ คา้ จำ�นวน มาก หากมองในระยะสนั้ ดูเหมือนสยามจะเชื่อวา่ พวกเขาทนแบก 6 | กรงุ รัตนโกสินทร์ตอนต้น 281
รับการสงั เวยทางเศรษฐกจิ เพ่อื ความมน่ั คงทางการเมืองได้ ถ้าดูใน ระยะยาวแล้ว สยามคงคดิ ว่าจะสามารถเกบ็ ภาษีใหมๆ่ เพื่อชดเชย ความสญู เสียจากภาษศี ุลกากรได้ ข้อสรุปของสนธิสัญญาเบอร์นีมีความสำ�คัญในหลายทาง ประการแรกที่สุด สนธิสัญญานี้ได้วางแบบแผนโครงสร้างให้สยาม ปฏิบัติในเร่ืองความสัมพันธ์กับชาติตะวันตก โดยมีลักษณะเด่นที่ การประนปี ระนอม และการวนิ จิ ฉยั อยา่ งไตรต่ รองแลว้ ของราชส�ำ นกั สยาม ว่าสิง่ ใดเป็นผลประโยชนห์ ลกั และสงิ่ ใดเป็นผลประโยชน์รอง (*ของบ้านเมือง) สนธิสัญญานี้เพียงแค่ทำ�ให้สยามมีความเช่ือม่ัน มากขน้ึ วา่ ตนสามารถทจี่ ะเจรจา (*ความเมอื ง) ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ และเปน็ ไปในทางสรา้ งสรรค์ ในสภาพแวดลอ้ มระดบั นานาชาตทิ น่ี า่ อนั ตรายยงิ่ ขนึ้ เรอ่ื ยๆ ในทา้ ยทส่ี ดุ สนธสิ ญั ญานที้ �ำ ใหป้ รมิ าณการคา้ กบั ตา่ งประเทศของสยามมเี พมิ่ มากขน้ึ ในชว่ งทศวรรษ 1840 (พ.ศ. 2383-2392) เรือกำ�ปนั่ สินค้าของตะวันตกเขา้ เทียบทา่ ท่กี รุงเทพฯ มากกว่า 50 ลำ�ในแต่ละปี และมูลค่าทางการค้าระหว่างสยามกับ สงิ คโปร์เพียงแห่งเดียวเพิ่มขนึ้ อยา่ งคร่าวๆ ราวร้อยละ 50 ภายใน เวลาไม่ก่ีปี การค้าท่ีเฟื่องฟูขึ้นเช่นนี้ทำ�ให้สยามยิ่งต้องติดต่อกับ ตะวันตกมากขึ้น ซึ่งในท้ายที่สุดแล้วย่อมส่งผลต่อราชอาณาจักรน้ี อย่างล้�ำ ลึก อย่างไรก็ตาม ในขณะนน้ั รชั กาลท่ี 3 และราชส�ำ นักตอ้ งใส่ใจ กับเร่ืองท่ีดูจะธรรมดาๆ มากย่ิงกว่า โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หัวเมือง ประเทศราชดา้ นทศิ ตะวันออก ปญั หารา้ ยแรงทสี่ ดุ ท่เี กิดขนึ้ น้นั เป็น ผลมาจากความทะเยอทะยานของเจา้ อนวุ งศแ์ หง่ เวยี งจนั อยา่ งทเ่ี รา ไดเ้ ห็นแล้ววา่ เจา้ อนวุ งศ์แผข่ ยายอำ�นาจในลาวไดม้ ากขึน้ เมอื่ เจ้า ราชบตุ รโย้ได้รับการแต่งต้ังให้เปน็ เจา้ เมอื งจำ�ปาสัก ใน พ.ศ. 2362 (1819) ท้งั คู่เริ่มผนกึ กำ�ลงั เสรมิ สร้างความแข็งแกรง่ ใหแ้ กอ่ าณาเขต 282 ประวตั ิศาสตรไ์ ทยฉบับสงั เขป
ของตน และเจา้ อนวุ งศพ์ ยายามทจี่ ะเปน็ พนั ธมติ รกบั เจา้ มนั ธาตรุ าช กษัตริย์แห่งหลวงพระบาง เจ้ามันธาตุราชคงรู้ระแคะระคายแล้วว่า กำ�ลังจะเกิดอะไรข้ึน เพราะเมื่อเสด็จเข้ามากรุงเทพฯ พร้อมกับเจ้า อนวุ งศใ์ นการพระบรมศพรชั กาลท่ี 2 ใน พ.ศ. 2368 (1825) นน้ั เจา้ มันธาตรุ าชพำ�นักอยใู่ นกรุงเทพฯ เปน็ แรมปี เพงิ่ เสดจ็ กลบั ไปหลวง พระบางก็เมื่อปลายปี พ.ศ. 2369 (1826) เพราะเกิดโรคระบาดใน เมืองหลวงพระบาง ส่วนเจ้าอนุวงศ์กระวนกระวายใจอยากกลับ เวยี งจัน เพราะรสู้ กึ ว่าถูกรชั กาลที่ 3 ดหู ม่ินเหยยี ดหยาม และรสู้ ึก วา่ ไมไ่ ดร้ บั การปฏบิ ตั ทิ เี่ หมาะสมกบั ฐานะเจา้ เมอื งประเทศราชอยา่ ง ทเี่ ขา้ ใจวา่ ทรงเปน็ ไมเ่ หน็ วา่ ทรงไดร้ บั การโปรดปรานอยา่ งทเ่ี จา้ มนั ธาตุราชพึงพอใจ เจ้าอนุวงศ์ได้ยินข่าวลือว่า อังกฤษจะเข้ารุกราน สยาม และได้สังเกตการณ์การเตรียมการป้องกันตนเองของสยาม แลว้ เจา้ อนวุ งศจ์ งึ กลบั ไปเวยี งจนั และเตรยี มแผนกอ่ กบฏ เจา้ อนวุ งศ์ วางแผนวา่ จะน�ำ กองทพั ขา้ มทรี่ าบสงู โคราชเขา้ ยดึ กรงุ เทพฯ จากนน้ั จะถอนทพั กลับไปพร้อมกับกวาดต้อนผคู้ นและทรพั ย์สนิ เพ่ือเสรมิ ความแข็งแกรง่ ให้แก่อาณาจกั รของพระองค์ ในเดอื นมกราคม พ.ศ. 2369 (1827) กองทพั ลาวเรมิ่ การรกุ ราน จากเวียงจันและจำ�ปาสัก กองทพั ลาวเขา้ ยึดเมอื งนครราชสมี า และ ออกอบุ ายลวงกรมการเมอื งตา่ งๆ วา่ ไดร้ บั ค�ำ สง่ั จากกรงุ เทพฯ ใหล้ ง มาช่วยกรุงเทพฯ ทำ�ศึกกับอังกฤษ และในปลายเดือนกุมภาพันธ์ ทพั ลาวกล็ งไปถงึ เมอื งสระบรุ ี ซงึ่ เขา้ ใกลก้ รงุ เทพฯ เพยี งชวั่ ระยะการ เดินทพั เพยี งสามวัน หลังจากราชสำ�นักสยามต่นื ตระหนกอย่ชู ัว่ ครู่ ก็ตอบโต้อย่างแขง็ ขัน เมอ่ื ตน้ เดือนมีนาคม สมเด็จพระบวรราชเจา้ ทรงยกกองทัพไปหยุดย้ังการรุกคืบของทัพลาวทางใต้ของสระบุรี (*ท่าเรอื พระพทุ ธบาท) ในระหวา่ งทีเ่ รียกเกณท์ทพั หลกั เมื่อถงึ ต้น เดอื นเมษายน กองทัพสยามสามทพั เรมิ่ เคล่ือนพล (*ทพั หลวง ทพั 6 | กรงุ รัตนโกสินทร์ตอนต้น 283
หน้าที่ 1 และท่ี 2 ข้นึ มาทางดงพระยาไฟ) กองก�ำ ลังเลก็ ๆ (*ทพั หวั เมอื ง) ยกขน้ึ มาตามลมุ่ แมน่ �้ำ ปา่ สกั เพอ่ื ปอ้ งกนั เมอื งเพชรบรู ณแ์ ละ หล่มสัก กองทัพที่ 2 ซง่ึ เป็นทพั ใหญ่กว่า นำ�โดยพระยาราชสภุ าวดี (ตอ่ มาไดเ้ ลอื่ นยศเปน็ เจา้ พระยาบดนิ ทรเดชา สงิ ห์ สงิ หเสน)ี ไดย้ ดึ เอาพน้ื ทตี่ อนกลางและตอนใตข้ องทร่ี าบสงู โคราชกลบั คนื มาได้ รวม ทั้งเมืองจำ�ปาสัก แล้วจับตัวเจ้าราชบุตรโย้เอาไว้ได้ ในระหว่างน้ัน กองทัพหลวงนำ�โดยสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาศักดิพลเสพได้มุ่ง หน้าไปยังเวียงจัน แล้วปะทะกับทัพหลวงของลาวท่ีตั้งค่ายอยู่ที่ หนองบวั ล�ำ ภู ทางใตข้ องกรงุ เวยี งจนั ราว 50 ไมล์ และไดร้ บกนั ตงั้ แต่ วนั ที่ 1-4 เดอื นพฤษภาคม จงึ เอาชนะได้ เจา้ อนวุ งศ์จึงกลับไปยัง กรงุ เวียงจนั เก็บข้าวของและหลบหนไี ปยงั เวียดนาม กองทัพสยาม กย็ ดึ กรงุ เวยี งจันได้สำ�เร็จในอกี ไมก่ วี่ นั ต่อมา หลังจากท่ีได้รวบรวมเชลยศึก ปล้นสะดมเมือง และทำ�ลาย ก�ำ แพงเมืองเคร่อื งป้องกนั ตนเองแล้ว ทัพหลวงของสยามก็ได้ถอน ออกไป ปลอ่ ยใหพ้ ระยาราชสภุ าวดีที่เพิ่งได้เลื่อนขึ้นเป็นเจา้ พระยา ราชสุภาวดี (*ท่ีสมุหนายก) จัดการบ้านเมืองนั้นให้เรียบร้อย เจ้า พระยาฯ ไดร้ บั คำ�ส่ังใหจ้ ดั การท�ำ ลายล้างเวยี งจนั ใหส้ ิ้นซาก และส่งั สอนลาวกบั หัวเมอื งประเทศราชอืน่ ๆ ให้ร้วู า่ ตอ้ งสูญเสยี อะไร หาก กอ่ กบฏ อยา่ งไรกต็ าม หลงั จากนนั้ ไมก่ เ่ี ดอื น เจา้ พระยาราชสภุ าวดี คิดว่าลาวได้ทนทุกข์ทรมานมาเพียงพอแล้ว จึงถอนทัพกลับเม่ือ เดอื นกุมภาพนั ธ ์ พ.ศ. 2370 (1828) โดยแบง่ คนไว้อยเู่ ป็นพลเมอื ง พอสมควร ใหข้ นุ นางลาว (*เพย้ี เมอื งจนั ) เปน็ กรมการอยรู่ กั ษาเมอื ง เวียงจนั ตอ่ ไป โดยมกี องกำ�ลงั สยามรกั ษาการณ์อยู่ รชั กาลท่ี 3 ยงั ไมพ่ อพระราชหฤทยั (*มพี ระราชโองการด�ำ รสั วา่ อา้ ยอนกุ ย็ งั จบั ไมไ่ ด้ จะกลบั มาตง้ั บา้ นเรอื นอกี ประการใดกย็ งั ไม่ แจง้ เมอื งเวยี งจนั นเ้ี ปน็ กบฏมา 2 ครง้ั แลว้ ไมค่ วรจะเอาไวเ้ ปน็ บา้ น 284 ประวตั ศิ าสตร์ไทยฉบบั สังเขป
เมืองให้อยู่สืบไป ให้กลับข้ึนไปทำ�ลายล้างเสียให้ส้ิน อย่าให้ต้ังติด อยไู่ ด)้ มพี ระราชประสงคใ์ หท้ �ำ ลายเวยี งจนั ใหส้ น้ิ ซาก ยง่ิ ไปกวา่ นนั้ ทรงวิตกว่าเวียดนามอาจถือโอกาสบุกเข้ามา ไม่เฉพาะท่ีเขตแดน เวยี งจันเทา่ นั้น แต่รวมถงึ เมอื งไตดำ� และเชียงขวาง (*เมืองพวน) เจา้ พระยาราชสภุ าวดีรวบรวมกองกำ�ลงั อีกครงั้ แล้วมงุ่ หนา้ กลบั ไป เวียงจัน แต่เม่ือไปถึงเวียงจันตอนต้นเดือนสิงหาคม ก็พบว่าเจ้า อนุวงศ์กลับมาจากเวียดนามพร้อมกองกำ�ลังชาวเวียดกับชาวลาว และยดึ เมอื งเวยี งจนั กลบั คนื ไปไดแ้ ลว้ เจา้ พระยาราชสภุ าวดมี ไี พรพ่ ล เพียงเล็กน้อยจึงยกทัพกลับไปยโสธร เจ้าอนุวงศ์ยกทัพไล่ติดตาม กองทัพเจ้าพระยาราชสุภาวดี แต่ถูกตีพ่ายยับเยินในกลางเดือน ตลุ าคม แลว้ หนไี ปทางทศิ ตะวนั ออกอกี ครง้ั คราวนท้ี า่ นแมท่ พั จดั การ งานทไี่ ดร้ บั มอบหมายเมอื่ ปกี อ่ นจนส�ำ เรจ็ ลลุ ว่ ง เจา้ อนวุ งศถ์ กู จบั ตวั ได้และถูกส่งไปยังกรุงเทพฯ เม่ือต้องโทษ (*ด้วยการจับขังใส่กรง เหลก็ ) ประจานในทส่ี าธารณะ (*ทอ้ งสนามชยั ) ไดไ้ มก่ ว่ี นั เจา้ อนวุ งศ์ กส็ น้ิ พระชนมล์ งเมอ่ื พ.ศ. 2372 (ตน้ ปี 1829) สยามไดท้ �ำ ลายอาคาร บ้านเรือนทั้งหมดในเขตรอบเมืองเวียงจัน เว้นไว้ก็แต่วัดเท่าน้ัน แลว้ กวาดตอ้ นผคู้ นในเขตนนั้ ทงั้ หมดมาตงั้ ถนิ่ ฐานใหมท่ ลี่ พบรุ ี สระบรุ ี สพุ รรณบรุ ี และนครชัยศรี แม้เมอ่ื คณะส�ำ รวจชาวฝรง่ั เศสเดินทาง ไปถงึ เวยี งจันในอกี สสี่ บิ ปตี อ่ มา พวกเขาก็ไม่พบอะไรนอกจากซาก ปรักหกั พงั และป่าไมป้ กคลมุ อีกหลายสิบปีหลังจากกบฏเจ้าอนุวงศ์ สยามได้จัดการแบ่ง กล่มุ หัวเมืองลาวทางตะวันออกของตนเสยี ใหม่ เพราะกังวลวา่ ต้อง พยายามป้องกันหัวเมืองที่ไกลกว่านั้น ซึ่งอยู่อีกฝ่ังของแม่น้ำ�โขง พวกเขาจงึ เรม่ิ โยกยา้ ยครวั ลาวครง้ั ใหญใ่ หไ้ ปตง้ั ถนิ่ ฐานในทแ่ี หง่ ใหม่ ให้ข้ามแม่น้ำ�โขงมาอยู่ในที่ราบสูงโคราช โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ลาว ตอนกลางทอ่ี ยรู่ ะหวา่ งแมน่ �ำ้ เซบง้ั เหยี งกบั แมน่ �ำ้ กะดง่ิ ซง่ึ ถกู กวาดตอ้ น 6 | กรงุ รตั นโกสินทร์ตอนต้น 285
มาเปน็ ระลอกในชว่ งทศวรรษ 1830 (พ.ศ. 2373-2382) และทศวรรษ 1840 (พ.ศ. 2383-2392) ผ้คู นเหลา่ น้ไี ด้ตง้ั รกรากใหม่บรเิ วณตอน กลางทางด้านตะวันออกของที่ราบสงู อสี าน เมอื่ พวกเวียดนามย้าย เขา้ มาในเชยี งขวางในตน้ ทศวรรษ 1830 สยามยึดบรเิ วณน้นั ได้อีก ครงั้ เมอ่ื พ.ศ. 2377 (1834) โดยไดร้ บั ความรว่ มมอื จากหลวงพระบาง จากนนั้ ไดเ้ คลอื่ นยา้ ยราษฎรจ�ำ นวนมากไปทางใตแ้ ละตะวนั ตก การ แสดงแสนยานภุ าพของกองทัพสยามเชน่ นี้ สนบั สนนุ ใหเ้ มืองไตด�ำ ทเี่ คยถกู เวยี ดนามกดดนั ใหเ้ อาใจออกหา่ งกลบั มาสวามภิ กั ดติ์ อ่ สยาม อกี ครั้ง และนบั แต่นน้ั เป็นตน้ มา ภมู ภิ าคท่ีอยู่ทางดา้ นเหนือสุดน้กี ็ แสดงความจงรกั ภกั ดตี อ่ บรรดากษตั รยิ ส์ ยามผา่ นทางหลวงพระบาง กจิ กรรมทงั้ หมดทเ่ี กดิ ขนึ้ ในหวั เมอื งดา้ นตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ในรชั สมยั รชั กาลที่ 3 ท�ำ ใหส้ ยามมอี ทิ ธพิ ลในบรเิ วณนน้ั มากขน้ึ อยา่ ง ชดั เจน ในช่วงระยะเวลาน้ี มีเมืองใหม่เกดิ ขึน้ ราวๆ 40 เมอื ง บา้ งก็ เปน็ เมอื งขนึ้ กรงุ เทพฯ โดยตรง ขณะทบี่ างเมอื งอยใู่ ตก้ ารก�ำ กบั ดแู ล ของเมอื งอน่ื ๆ ยกตวั อยา่ งเชน่ จ�ำ ปาสกั กาฬสนิ ธุ์ เขมราฐ หนองคาย นครพนม และสกลนคร เมอื งเหลา่ นบี้ างเมอื งเพง่ิ สรา้ งใหม่ เปน็ เมอื ง ที่เกิดจากการอพยพชุมชนท้ังหมดข้ามฝั่งโขงเข้ามา พร้อมทั้งเจ้า เมอื งและครอบครวั บางเมอื งเปน็ หมบู่ ้านทต่ี ง้ั มานานแลว้ แตม่ คี รวั ลาวย้ายเข้ามา จึงมีประชากรเพิ่มมากข้ึนในทันที ตอนนี้บริเวณท่ี เคยเปน็ ปา่ ทบึ และมปี ระชากรเบาบางเรม่ิ มผี คู้ นมาตง้ั บา้ นเรอื นมาก ข้ึน ขณะที่จำ�นวนประชากรทางฝ่ังตะวันออกของแม่นำ้�โขงลดลง อยา่ งกะทนั หนั เมอื งประเทศราชทสี่ �ำ คญั ในอดตี 2 แหง่ คอื เวยี งจนั กบั จ�ำ ปาสกั ถกู ท�ำ ลายไป หรอื มขี นาดเลก็ ลง มเี พยี งแตส่ ยามเทา่ นน้ั ทไ่ี ด้ประโยชน์จากการนี้ ในชว่ งทศวรรษ 1830 (พ.ศ. 2373-2382) ขณะทก่ี รมมหาดไทย ซงึ่ มหี นา้ ทก่ี �ำ กบั ดแู ลหวั เมอื งฝา่ ยเหนอื มวั แตว่ นุ่ วายอยกู่ บั ภาคอสี าน 286 ประวตั ิศาสตร์ไทยฉบับสงั เขป
น้ัน กรมกลาโหมซง่ึ มีหนา้ ทรี่ ับผิดชอบก�ำ กบั ดูแลหวั เมอื งฝ่ายใตใ้ น คาบสมุทรมลายู ต้องทำ�ศึกและส่งกำ�ลังกองทัพลงไปจัดการความ วนุ่ วายบอ่ ยครงั้ ไมย่ ง่ิ หยอ่ นไปกวา่ ทห่ี วั เมอื งลาว ปญั หาทเ่ี กดิ ขนึ้ กบั หัวเมืองประเทศราชทางใต้ไม่ใช่เรื่องใหม่ ก็อย่างที่เราเห็นในกรณี ของไทรบุรี อีกท้ังสมุหกลาโหมคนใหม่ ที่โปรดเกล้าฯ แต่งต้ังเมื่อ พ.ศ. 2373 (1830) กไ็ มใ่ ชค่ นแปลกหน้าสำ�หรบั ภูมภิ าคนี้ หากเปน็ เจ้าพระยาพระคลัง ดิศ บนุ นาค ผู้ได้รับโปรดเกล้าฯ ใหเ้ ป็นท่ีสมุห กลาโหมด้วยในคราวเดียวกัน เขาจึงกลายเป็นเพียงบุรุษคนที่สอง ในประวตั ศิ าสตรไ์ ทยกอ่ นสมยั ใหม่ ทไี่ ดค้ มุ กรมส�ำ คญั ของบา้ นเมอื ง 2 กรมควบพรอ้ มกนั (*เจา้ พระยาอคั รมหาเสนา (นอ้ ย) สมหุ กลาโหม ถงึ แกอ่ สญั กรรมเมอ่ื พ.ศ. 2373 จงึ่ รบั สงั่ จะใหต้ ง้ั เจา้ พระยาพระคลงั เป็นท่ีสมุหพระกลาโหม เจ้าพระยาพระคลงั ไมย่ อม กราบทูลว่า ที่ สมหุ พระกลาโหมนัน้ ไม่ย่งั ยนื ขอใหต้ ้ังผ้อู น่ื จึ่งด�ำ รัสวา่ ไมเ่ หน็ ผู้ใด จะเป็นได้ ให้เจ้าพระยาพระคลังว่าท่ีสมุหพระกลาโหมไปก่อนเถิด ตงั้ แตน่ น้ั มา จะกราบทลู และลงชอ่ื ในหนงั สอื กว็ า่ เจา้ พระยาพระคลงั วา่ ท่สี มุหพระกลาโหม ได้ถอื ตรา 2 ดวง) ปญั หาส�ำ คญั ของสยามปะทขุ น้ึ ครง้ั แรกทไ่ี ทรบรุ ี ใน พ.ศ. 2374 (1831) เม่อื (*ตนกุเดน่ หลานพระยาไทรบรุ )ี พวกพอ้ งของสุลต่าน อาหมดั (พระยาไทรบรุ )ี ทถ่ี กู เนรเทศ ไดก้ อ่ การจลาจล (*ตเี อาเมอื ง คนื ไปได)้ แล้วขับไลข่ า้ ราชการสยามออกไปจากไทรบรุ ี เจ้าพระยา นคร (น้อย) เจ้าเมอื งนครศรธี รรมราชจึงเรม่ิ เกณฑ์ไพร่พลเข้าร่วม กองทพั และขอใหส้ งขลากบั ปตั ตานดี �ำ เนนิ การเชน่ เดยี วกนั (*เจา้ พระยา นครจ่ึงให้พระสุรินทรข้าหลวงในกรมพระราชวังบวรถือหนังสือไป เกณฑ์กองทัพเมอื งสงขลา พระยาสงขลาจ่ึงใหพ้ ระสุรินทรขา้ หลวง เกณฑก์ องทัพหัวเมอื งแขก) สงขลาขัดขนื (*แขกบิดเบือนไป) และ ปัตตานกี อ่ การกบฏ (*แขกกเ็ ปน็ กบฏขึ้นทุกเมอื ง) ปัตตานีถูกแบง่ 6 | กรงุ รตั นโกสนิ ทร์ตอนตน้ 287
แยกเปน็ 7 หัวเมอื งย่อย อยใู่ นก�ำ กับดูแลของสงขลามาตง้ั แต ่ พ.ศ. 2360 (1817) หวั เมอื งเหลา่ นต้ี า่ งรวมก�ำ ลงั กนั เพราะคดิ วา่ เปน็ โอกาส ทจี่ ะยตุ กิ ารครอบง�ำ ควบคมุ ของสยาม เมอ่ื หวั เมอื งแขกบกุ เขา้ โจมตี สงขลา เจ้าเมืองสงขลาจึงมีใบบอกส่งไปขอความช่วยเหลือจาก กรงุ เทพฯ และแม้กรงุ เทพฯ จะสง่ กองทัพไปชว่ ยถึง 4 ทพั ก็ไม่อาจ ต้านทานแขกตานีท่ีได้รับการสนับสนุนจากกลันตันและตรังกานูได้ มีการสง่ กองก�ำ ลงั เพิม่ มาในพน้ื ท่ีนัน้ และเมื่อต้นปี (เดือนเมษายน) พ.ศ. 2375 (1832) เจา้ พระยานครศรธี รรมราชไดย้ กกองทพั เขา้ มา ผนึกกำ�ลังตีเอาเมืองไทรบุรีกลับคืนมาได้ และสถาปนาอำ�นาจของ สยามปกครองไทรบรุ อี กี ครงั้ หนงึ่ เมอื่ ถงึ กลางปี เมอื งปตั ตานที งั้ เจด็ กแ็ พพ้ า่ ย โปรดฯ ใหแ้ ตง่ ตง้ั เจา้ เมอื งคนใหมไ่ ปปกครองเปน็ สว่ นใหญ่ รวมทง้ั เมอื งปตั ตานแี ละเมอื งยะหรงิ่ สลุ ตา่ นแหง่ กลนั ตนั ไดก้ ลบั เขา้ มาอยู่ในแถวอย่างรวดเร็ว เพราะหวาดเกรงภัยจากกองทัพขนาด ใหญ่ของสยามทางเหนือของตน จึงเสนอจ่ายเงินก้อนใหญ่เป็นค่า สินไหมทดแทน และคืนตัวเจา้ เมอื งปัตตานที ีห่ นมี าหลบภยั ให้ เพื่อ แลกกับการทีต่ นจะได้เปน็ สุลต่าน (เจา้ เมือง) สบื ตอ่ ไปอีก มเี พียง ตรังกานูเท่านั้นท่ียังคงแข็งเมือง สุลต่านผู้ถือดีไม่เต็มใจจะขอโทษ ดังน้ัน สยามจงึ บบี ให้ (พระยาตรังกานู) ออกจากตำ�แหนง่ แลว้ ตงั้ (*ตนกูอุมา) ซึ่งเป็นวงศ์ญาติกันข้ึนเป็นเจ้าเมืองแทน เมื่อภารกิจ สำ�เร็จเรียบร้อย กองทัพสยามก็ถอนกลับไป พร้อมกับเชลยศึกอีก หลายพันคน และข้าวของท่ีปล้นสะดมมาได้ในระหว่างสงครามอีก จำ�นวนหน่ึง เหตุการณ์ในทำ�นองเดียวกันได้เกิดข้ึนอีกครั้งหลังจากน้ัน เพียงไม่ถงึ 10 ปี (*ตนกมู ัดสอดั หลานตนกปู ะแงรนั กบั ตนกูมัดอา เก็บ) พวกกบฏท่ีสนับสนุนสุลต่านอาหมัดได้ยึดเมืองไทรบุรี และ กำ�ลังคืบหน้าเขา้ ยึดเมืองสงขลากับปัตตานีอกี ครง้ั หนงึ่ พวกเขาได้ 288 ประวตั ศิ าสตร์ไทยฉบับสังเขป
รบั การสนบั สนนุ จากหวั เมอื งทงั้ เจด็ เชน่ เคย อกี ไมก่ เี่ ดอื นตอ่ มา เมอื่ พ.ศ. 2381 (ต้นปี 1839) สยามได้ตีโต้มาจากนครศรีธรรมราชและ สงขลา และเม่ือถึงปลายเดอื นมีนาคม (พ.ศ. 2381 (ค.ศ. 1839) ) ก็ ยดึ เมอื งไทรบรุ กี ลบั คนื มาได้ ในเวลาเดยี วกนั ไดเ้ กดิ สงครามกลางเมอื ง ในกลนั ตัน สยามเพียงส่งก�ำ ลงั ทหารเข้าไปแทรกแซงเท่านั้น ท�ำ ให้ ฝ่ายทีก่ ำ�ลงั ต่อสกู้ นั อยกู่ ็ยุติความขัดแย้งได้ หลงั จากทมี่ คี วามไมส่ งบในคาบสมทุ รเรอ้ื รงั อยนู่ านหลายสบิ ปี กถ็ งึ เวลาทตี่ อ้ งใชว้ ธิ กี ารแบบใหมใ่ นการปกครองภมู ภิ าคนี้ ประการ แรก อาณาเขตของไทรบรุ มี ขี นาดเลก็ ลง เนอื่ งจากมกี ารสรา้ งรฐั ใหมๆ่ จำ�นวนมาก รวมทง้ั ปะลศิ และสตูล สยามยกเลกิ นโยบายท่ีจะส่งเจ้า เมอื งของตนไปปกครองในภมู ภิ าคนแ้ี ลว้ ปลอ่ ยใหร้ ายามลายปู กครอง รฐั เหลา่ นี้ ใน พ.ศ. 2384 (1841) สยามถึงกบั ยอมใหส้ ุลตา่ นอาหมดั กลับมาปกครองไทรบรุ ีไดอ้ ีก ความไมส่ งบในกลันตนั ยตุ ลิ งได้ เมอ่ื เนรเทศคปู่ รับของสลุ ตา่ นออกไปใน พ.ศ. 2385 (1842) ในท้ายทส่ี ุด เมอื่ เจา้ พระยานครฯ (นอ้ ย) ถงึ แกอ่ นจิ กรรมลงใน พ.ศ. 2382 (1839) แมว้ า่ บตุ รชายจะไดส้ บื ทอดต�ำ แหนง่ เจา้ เมอื ง แตก่ เ็ หน็ ไดช้ ดั วา่ ตระกลู นม้ี อี ทิ ธพิ ลในบรเิ วณดงั กลา่ วนอ้ ยลง และอ�ำ นาจกบั ความรบั ผดิ ชอบ ของสงขลากับนครศรีธรรมราชก็เท่าเทียมเสมอภาคกันย่ิงข้ึน เม่ือ พิจารณาในภาพรวมแล้ว กล่าวได้ว่า ในช่วงแรกของทศวรรษ 1840 (พ.ศ. 2383-2392) ฐานะของสยามในตอนกลางของคาบสมทุ รมลายู ดขี ้ึนอย่างเหน็ ไดช้ ัด หลังจากที่ได้ต่อสู้มานานหลายสิบปี สยามได้ จดั การใหเ้ กดิ ระเบยี บและความมน่ั คงในภมู ภิ าคนขี้ น้ึ บา้ งพอควร ซง่ึ ทำ�ให้กรุงเทพฯ เป็นกังวลกับภูมิภาคน้ีเพียงเล็กน้อย ไปอีกเกือบ ตลอดระยะเวลาที่เหลือในศตวรรษนี้ ในสมยั รชั กาลที่ 3 แมส้ ยามจะมกี ารศกึ รา้ ยแรงทง้ั ในหวั เมอื ง ภาคอสี านและภาคใต้ แตไ่ มม่ สี ง่ิ ใดนา่ วติ กไดเ้ ทา่ กบั การศกึ ในกมั พชู า 6 | กรงุ รตั นโกสนิ ทร์ตอนตน้ 289
ซง่ึ มจี ดุ เรมิ่ ตน้ จากการแขง่ ขนั กนั ขยายอทิ ธพิ ลในราชสำ�นกั พนมเปญ ของสยามกบั เวยี ดนาม รวมทงั้ การชงิ ดชี งิ เดน่ กนั อยา่ งขมขนื่ ระหวา่ ง พระอุไทยราชา (พระบาทองค์จันท์ที่ 2) กบั บรรดาพระอนชุ าท่ีไม่ ลงรอยกนั คอื พระองคอ์ มิ่ กบั พระองคด์ ว้ ง (พระองคส์ งวน สน้ิ พระชนม์ ในกรงุ เทพฯ เมอื่ พ.ศ. 2367 (ตน้ ค.ศ. 1824) เวยี ดนามเขา้ แทรกแซง กจิ การของกมั พูชามานานกวา่ 20 ปแี ลว้ ประเด็นลา่ สุด คือ การ เรยี กเกณฑแ์ รงงานชาวกมั พชู า เม่ือ พ.ศ. 2372 (1829) ดเู หมอื นวา่ พระบาทองคจ์ นั ทท์ ี่ 2 จะรสู้ กึ ระคายเคอื งทต่ี อ้ งอยใู่ ตแ้ อกของเวยี ดนาม (ไมพ่ อใจเวยี ดนาม) แตย่ งั อยใู่ นสายตาขององตา๋ กนุ เลแวนโดย (Le van Duyet) อุปราชของเวียดนามท่ีไซ่ง่อน เมื่อองต๋ากุนถึงแก่ อนิจกรรมลงใน พ.ศ. 2375 (1832) รฐั บาลทกี่ รุงเว้รีบรุดไปควบคมุ ดินแดนทางตอนใต้ของเวียดนามอย่างเข้มงวด ทั้งท่ีองต๋ากุนเคย จดั การใหป้ กครองกนั เอง และเมอื่ ถงึ พ.ศ. 2376 (1833) จงึ เกดิ จลาจล ขึ้นในดินแดนนี้ รัชกาลท่ี 3 ทรงไดร้ ับรู้ข้อมลู เปน็ อย่างดีว่า กมั พชู ามคี วาม ขุ่นเคืองใจท่ีอยู่ใต้การควบคุมของเวียดนาม จึงตัดสินพระทัยเข้า แทรกแซง กองทพั สยามจากกรงุ เทพฯ และกองทพั ลาวจากจ�ำ ปาสกั บกุ เขา้ ตีกรงุ กัมพูชา ขณะทีก่ องทพั เรอื โอบล้อมชายฝง่ั เพ่อื เขา้ ร่วม กบั พวกกบฏทไี่ ซง่ อ่ น สยามมชี ยั ชนะในเบอื้ งตน้ แตเ่ มอื่ พ.ศ. 2376- 2377 (1833-34) (*เปน็ ปีเรม่ิ ต้นสงครามทีร่ จู้ กั กันว่า อันนัมสยาม ยทุ ธ ซง่ึ ยดื เยือ้ ถึง 14 ปี ตงั้ แต ่ พ.ศ. 2376-2390) กองทพั สยามเร่ิม เข้าสหู่ ายนะ เมอ่ื พ่ายตอ่ กองทัพเวยี ดนามทางตะวนั ตก และขณะที่ กองทัพสยาม ซึ่งมีทั้งเชลยศึกจำ�นวนมาก กับทั้งทรัพย์สินที่ปล้น สะดมได้ จึงเรม่ิ ถอยอยา่ งเชอื่ งช้า ก็ถกู กลุ่มกองโจรกมั พชู ากอ่ กวน อกี ทอดหนึ่ง เม่อื พระอไุ ทยราชา (พระบาทองค์จันท์ท่ี 2) ที่หนีไป เวียดนาม ไดก้ ลับมายังพนมเปญ กถ็ กู เวียดนามควบคมุ มากเสียย่ิง 290 ประวัตศิ าสตร์ไทยฉบับสังเขป
กว่าก่อน เมื่อพระอุไทยราชาส้ินพระชนม์ใน พ.ศ. 2377 (1834) เวยี ดนามได้ดำ�เนินมาตรการเสริมสร้างความมั่นคงอย่างที่ไม่มผี ใู้ ด คาดคดิ มากอ่ น โดยการยกฐานะพระองคม์ ี (เมญ็ ) พระราชธดิ า (ของ พระบาทองค์จันท์ที่ 2) ขึ้นเป็นพระราชินีปกครองกัมพูชา (ครอง ราชย ์ พ.ศ. 2378-2384 (ค.ศ. 1835-41) ) ตอ่ จากนน้ั ไดเ้ รมิ่ นโยบาย ทำ� (กัมพูชา) ใหเ้ ปน็ เวียดนามอยา่ งสมบรู ณด์ ้วยการเปลยี่ นเคร่ือง แตง่ กายของขา้ ราชส�ำ นกั และเรยี กรอ้ งใหพ้ ดู ภาษาเวยี ดนาม ขนุ นาง กัมพูชาส่วนใหญ่ปฏิบัติตามนโยบายนี้ ถึงกับมีช่ือเรียกเมืองต่างๆ ของกมั พูชาจ�ำ นวน 32 เมอื งเป็นภาษาเวยี ดนาม ความกดดันปะทุข้ึนตลอดช่วงทศวรรษ 1840 (พ.ศ. 2383- 2392) เมื่อเวียดนามทำ�กลลวงกับทั้งพระองค์อิ่มและพระองค์ด้วง โดยแกล้งหลอกให้พระองคอ์ ม่ิ เดนิ ทางกลับไปพนมเปญ แล้วจับตวั ไว้และพาไปคมุ ขังทเี่ มอื งเว้ ตอ่ มา ใน พ.ศ. 2392 (1840) เวียดนาม เริ่มควบคุมกัมพูชาอย่างเข้มงวดมากข้ึน โดยการออกกฎระเบียบ เพิ่มอัตราภาษี บ่ันทอนเอกลักษณ์และสถานะของบรรดาชนช้ันผู้ ปกครองกัมพูชา ตลอดจนลดฐานะและขับพระราชินี (พระองค์มี) ออกจากต�ำ แหนง่ ชาวกมั พชู าจงึ ลกุ ฮอื กอ่ กบฏตอ่ ตา้ นชาวเวยี ดนาม ขนึ้ ดงั ความปรากฏในพงศาวดารกมั พชู าวา่ “ทง้ั เหลา่ ขนุ นางเสนาบดี กรมการต่างๆ เจ้าหน้าที่ข้าราชการท้องถิ่นและประชาชนท่ัวไป พรอ้ มใจกนั ขบั ไลแ่ ละเขน่ ฆา่ พวกชาวเวยี ดนาม”17 กองทพั เวยี ดนาม ตอ้ งถอนก�ำ ลงั ออกไปทางเวยี ดนามตอนใต้ เพอื่ ระงบั การกอ่ กบฏใน กัมพูชา และรัชกาลที่ 3 โปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยาบดินทรเดชา (สงิ ห)์ กลับไปยงั กมั พชู า ทรงมคี วามเห็นว่าเพอื่ “ปกปอ้ งรกั ษา” พระพุทธศาสนาและสถาบันต่างๆ ในกัมพูชาท่ีถูกชาวเวียดนาม ขม่ เหงรงั แก หลงั จากการรณรงคอ์ ยา่ งตรากตร�ำ ในทา้ ยทส่ี ดุ เจา้ พระยา บดินทรเดชาก็อารักขาพระองค์ด้วงกลับไปยังเมืองอุดงมีชัยได้เม่ือ 6 | กรุงรัตนโกสนิ ทรต์ อนตน้ 291
กลางป ี พ.ศ. 2384 (1841) และพยายามสนบั สนนุ ขนุ นางกมั พชู าและ ราษฎรท่ัวไป ให้รวมใจกันเห็นว่าพระองค์ด้วงสมควรเป็นกษัตริย์ กมั พชู า พระองคด์ ้วงไปถึงพนมเปญในตอนปลายปี สงครามยังคง ยดื เยอื้ ตอ่ ไปอกี 3 ปี และฝา่ ยสยามเขา้ ไปยงุ่ เกย่ี วโดยบงั เอญิ ในเรอื่ ง ของหลายหัวเมืองในราชอาณาจักรท่ีทนทุกข์กับการสูญเสียอย่าง หนัก จนท้ายท่ีสุด ในปี พ.ศ. 2388-2389 (1845-46) สยามกับ เวยี ดนามจงึ เจรจาท�ำ ขอ้ ตกลงกนั (*เปน็ การยตุ สิ งครามอนั นมั สยาม ยทุ ธ) โดยมเี งอื่ นไขใหส้ ยามเปน็ ผปู้ ระกอบพธิ บี รมราชาภเิ ษกพระองค์ ด้วงใหเ้ ป็นกษัตริย์ของกมั พชู า ใน พ.ศ. 2391 (1849) (ทรงพระนาม ว่า พระหริรักษ์รามาธิบดี) ตอ่ จากนั้น พระหรริ ักษฯ์ (พระบาทองค์ ด้วง) ได้ส่งบรรณาการไปยังเมืองเว้สามปีครั้ง และส่งบรรณาการ มายังกรุงเทพฯ ทุกปี นับว่าเป็นอีกคร้ังหน่ึงท่ีสยามมีอิทธิพลเหนือ กัมพชู าเช่นเดยี วกบั ในสมัยรัชกาลท่ี 1 หลายคนมคี วามเห็นว่าสำ�หรับสยามแล้ว การศกึ กบั กมั พชู า ช่างลึกลำ้�และไม่ยุติโดยง่าย หลังจากท่ีสยามต้องเป็นกังวลเร่ือง ชายแดนด้านตะวันตกกับพม่าอยู่นานหลายศตวรรษ ตอนนี้สยาม ตอ้ งเปน็ กงั วลกบั ชายแดนดา้ นตะวนั ออกแทน และมคี แู่ ขง่ ใหมท่ แี่ ตก ตา่ งกนั อย่างมากในหลายดา้ น ดูเหมอื นว่ารชั กาลท่ี 3 กับราชสำ�นัก ของพระองค์ต้องตอบโต้กับความขัดแย้งนี้ในหนทางต่างๆ ที่ส่อให้ เห็นว่า เอกลักษณ์ของตนอยู่ในความเสี่ยง การเผชิญหน้ากับชาว เวียดนามท่ีไม่ได้นับถือศาสนาพุทธ เพราะสถาบันต่างๆ ได้แบบ อยา่ งมาจาก (*ลทั ธขิ งจ๊อื ของ) จนี ท�ำ ให้แนวคดิ ของสยามในเร่อื ง คุณภาพอารยธรรมของตนเองมีความเข้มแข็งขึ้น แข็งแกร่งเสียย่ิง กวา่ ตอนท่สี ยามต้องตอ่ สกู้ บั ลาวและมลายเู สียอกี สยามตอ้ งเผชญิ หน้ากับขอ้ จำ�กดั เรื่องอำ�นาจของตน สยามจำ�ตอ้ งประเมนิ ภาพการ ใช้อิทธิพลของตนผ่านทางผู้ปกครองชาวพ้ืนเมือง มากกว่าทาง 292 ประวัติศาสตร์ไทยฉบบั สังเขป
ข้าราชการหรอื สถาบนั การปกครองของสยามเอง โดยทัว่ ไปแล้ว รชั กาลที่ 3 และรัชสมัยรชั กาลที่ 3 ได้รับการ พจิ ารณาวา่ มคี วามเปน็ อนรุ กั ษนยิ ม แทบจะเรยี กไดว้ า่ เปน็ พวกฝา่ ย ขวา (พวกปฏกิ ิริยา) บ้างก็วา่ กษตั รยิ ์กบั ราชส�ำ นักแสดงทา่ ทีขดั ขนื การเปลีย่ นแปลงอยา่ งไร้เหตผุ ล และแสดงท่าทปี กปอ้ งวิถีชีวิตแบบ ขนบอย่างดื้อดึง เช่นเดียวกับการลงความเหน็ ส่วนใหญ่ สิ่งเหล่านี้ ไมเ่ ป็นความจรงิ และไมย่ ตุ ธิ รรมเลย ไมต่ ้องสงสยั เลยวา่ รชั กาลท่ี 3 ทรงเปน็ ผูป้ กป้องค่านิยมโบราณหลายประการอย่างแข็งขนั และใน เรอ่ื งนโยบายเกย่ี วกบั กมั พชู านน้ั ทรงมที ศั นคตทิ จี่ รงิ ใจอยา่ งแทจ้ รงิ ว่าพระองค์คือผู้พิทักษ์พุทธศาสนา ขณะเดียวกัน ทรงสนพระทัย เร่ืองศิลปกรรมโดยท่ัวไป และวรรณคดีประโลมโลกเพียงเล็กน้อย เหตุที่ไมท่ รงสนับสนุนวรรณคดีน้ัน (ตวั อยา่ งหนึ่งเห็นไดจ้ ากการท่ี ไม่ทรงสนับสนนุ สุนทรภู่ มหากวใี นรัชสมัยของพระองค)์ มคี วาม เปน็ ไปได้ว่า แสดงถึงการตอ่ ตา้ นรชั กาลท่ี 2 ผเู้ ปน็ สมเดจ็ พระราช บิดา ซงึ่ อาจทรงคดิ วา่ (รัชกาลท่ี 2) ได้ทรงใช้เวลาและทรัพยากร ตา่ งๆ หมดไปกบั กวนี พิ นธม์ ากจนเกนิ ไป อยา่ งไรกต็ าม รชั กาลที่ 3 กท็ รงตระหนกั ถงึ คณุ คา่ และทรงใหค้ วามส�ำ คญั กบั มรดกทางวฒั นธรรม ของสยาม ผลงานท่ีสำ�คัญอย่างยิ่งประการหน่ึงในรัชสมัยนี้ก็คือ การ บูรณปฏิสังขรณ์วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) ท่ีอยู่ใน กรุงเทพฯ ทรงโปรดเกล้าฯ ให้จารึกข้อความและเขียนภาพนับร้อย (*บนแผน่ ศลิ าประดบั ตามฝาผนงั และเสารอบวดั ) ใหส้ าธารณชนได้ มองเห็น งานเขียนนัน้ มที กุ แขนงวิชาทสี่ ามารถจะเขา้ ใจได้ รวมท้งั กวีนิพนธ์ ตำ�รายา ตำ�ราพิชัยสงคราม ตำ�รานวด (แผนโบราณ) โหราศาสตร์ พฤกษศาสตร์ ประวัติศาสตร์และศาสนา ตลอดจน ท�ำ เนยี บสมณศกั ดิ์ รายชอื่ เมอื งตา่ งๆ ในราชอาณาจกั ร และชาวตา่ ง 6 | กรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น 293
ชาติ พระองค์ก�ำ ลงั ทรงท�ำ อะไรอยูแ่ ละเหตุใดจึงทรงทำ�เช่นน้นั หรอื เหน็ ไดช้ ดั เจนวา่ รชั กาลท่ี 3 ทรงตระหนกั อยา่ งมไี หวพรบิ ดวี า่ บา้ น เมอื งของพระองคก์ �ำ ลงั เผชญิ กบั การเปลยี่ นแปลงอยา่ งรวดเรว็ และ วัฒนธรรมดั้งเดิมจะต้องสูญหาย หากไม่มีมาตรการบางอย่างมา อนุรักษ์ไว้ ดูเหมือนว่าจะไม่ทรงโปรดหรือเห็นพ้องกับทิศทางของ การเปล่ียนแปลง แต่ในขณะเดียวกันก็ไม่ทรงทำ�อะไรสิ่งใดท่ีอาจ กีดขวาง (การเปลี่ยนแปลงน้ัน) ส่ิงท่ีควรจะทรงทำ�นั้นมีมากมาย อยา่ งเช่น คนทอ่ี าจจะทรงลงโทษหรือไล่ออก วธิ ีการปฏิบัติท่ีควรจะ ตอ้ งควบคุม การเปลี่ยนแปลงทค่ี วรจะตอ่ ต้าน แตแ่ ทนทีจ่ ะทรงทำ� เช่นน้ัน กลับมีพระบรมราชานุญาตให้คนอ่ืนๆ ทำ�ตามท่ีปรารถนา ขณะท่ีพระองค์เองทรงยึดมั่นกับวิถีทางแบบเก่า ทรงเป็นพวก อนรุ กั ษนยิ ม ไม่ใช่พวกปฏิกิรยิ า การท่ที รงปกปอ้ งค่านยิ มและคุณ งามความดแี บบเกา่ อยา่ งพอประมาณนเี้ อง ทท่ี �ำ ใหท้ รงถนอมรกั ษา สิง่ เหล่าน้ันไว้ได้มากยง่ิ กว่าการใชน้ โยบายที่รุนแรงกวา่ นน้ั ในบรรดาผู้ท่ีทดลองหาประสบการณ์ใหม่ๆ เกี่ยวกับการ เปล่ียนแปลงในสมัยรัชกาลท่ี 3 ไม่มีใครโดดเด่นยิ่งไปกว่าสมเด็จ พระอนุชา เจ้าฟ้ามงกุฎฯ ท่ีนับแต่ต้นรัชกาลได้ทรงผนวชเป็นพระ ภกิ ษุ ทรงจำ�พรรษาอย่ใู นวัด (*มหาธาตุ 3 วัน เพือ่ ท�ำ อุปัชฌายวัตร จากนนั้ เสดจ็ ไปทรงจ�ำ พรรษาทวี่ ดั สมอราย หรอื วดั ราชาธวิ าสวหิ าร) ทอ่ี ยไู่ มไ่ กลจากพระบรมมหาราชวงั นกั แมว้ า่ พระภกิ ษเุ จา้ ฟา้ มงกฎุ (*ไดร้ ับพระนามฉายาวา่ วชริ ญาโณ หรือ วชิรญาณภิกขุ) อาจเคย มแี นวโน้มไปในทางตรงขา้ ม (*กับการบวช) แต่มิได้ทรงมที างเลือก อนื่ นอกจากจะศกึ ษาพทุ ธศาสนาอยา่ งจรงิ จงั เพราะการละทงิ้ สมณ เพศ อาจจะผลกั ใหพ้ ระองคเ์ ขา้ ไปสกู่ ารเมอื งในราชวงศท์ สี่ บั สนวนุ่ วาย และเป็นอันตราย พระวชิรญาณภิกขุสนพระทัยไต่สวนเรื่องต่างๆ อย่างไม่ลดละ และในเบื้องต้นทรงเป็นกังวลกับพุทธศาสนาที่ทรง 294 ประวัตศิ าสตร์ไทยฉบับสงั เขป
พบเห็นในวัดนับร้อยในกรุงเทพฯ ทรงศึกษาเรื่องการทำ�สมาธิเพ่ือ ยกระดบั อำ�นาจจิต และการเพ่งดูตนเอง (*ศกึ ษาดา้ นวปิ สั สนาธรุ ะ) แตก่ ย็ งั ไมท่ รงพอพระทยั จงึ ทรงยา้ ยกลบั เขา้ ไปยงั วดั (*พระศรมี หาธาตุ ราชวรมหาวหิ าร จนถงึ พ.ศ. 2439 วดั นจ้ี งึ เปลย่ี นนามเปน็ วดั มหาธาตุ ยุวราชรังสฤษฎิ์ฯ ) ท่ีเน้นการศึกษาพุทธศาสนา (*ด้านพระปริยัติ ธรรม) ท่ีอยู่ในเขตเมืองชั้นใน และทรงเริ่มศึกษาภาษาบาลีอย่าง จรงิ จงั เพอื่ ทจ่ี ะไดท้ รงอา่ นคมั ภรี ท์ างพทุ ธศาสนา (พระไตรปฎิ ก) ที่ เขยี นในภาษา “ต้นฉบบั ” เมอ่ื รชั กาลท่ี 3 ทรงสนับสนนุ ให้พระวชิร ญาณภกิ ขุทรงเข้าสอบแปลพระปรยิ ัตธิ รรมภาษาบาลปี ากเปล่า (ณ ทอ้ งสนามหลวง) ใน พ.ศ. 2369 (1826) อันเป็นหนทางปกตทิ จี่ ะได้ รับพระราชทานสมณศักดิ์ พระวชิรญาณภิกขุทรงแปลพระปริยัติ ธรรมภาษาบาลไี ดด้ อี ยา่ งนา่ อศั จรรยถ์ วายหนา้ พระทน่ี งั่ ทที่ รงโปรด ให้บรรดาพระสงฆ์ระดับพระราชาคณะผู้ใหญ่รวมถึงพระบรมวงศา นุวงศ์และขุนนางเข้าร่วมฟังด้วย แม้จะเพิ่งทรงผนวชมาเพียงไม่กี่ พรรษา ทรงแจกแจงใหป้ รากฏวา่ ทรงแตกฉานทงั้ เรอ่ื งเกยี่ วกบั ภาษา (หลกั ไวยากรณ)์ และความรดู้ า้ นพระธรรมวนิ ยั ทถี่ ามกนั ในปนี นั้ แต่ เนอ่ื งจากมเี จา้ นายบางพระองคท์ วี่ างตวั เปน็ ศตั รกู บั พระองค์ ซบุ ซบิ ว่าผู้ทำ�การสอบให้แก่พระวชิรญาณภิกขุน้ันเห็นแก่สถานะอันสูงส่ง ของพระองค์ ฉะน้ัน จึงไม่ทรงเข้าสอบในวันท่ี 3 อย่างไรก็ตาม พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงประทบั ใจในความรคู้ วามสามารถ ของพระวชิรญาณภิกขุมากพอที่จะพระราชทานพัดยศเปรียญเอก เป็นเกยี รติ แสดงให้เห็นวา่ ทรงสอบผา่ นในระดับสูงสดุ ภกิ ษหุ นมุ่ ทรงวา้ วนุ่ ใจนกั เมอื่ มกี ารตง้ั ค�ำ ถามกนั ถงึ แรงจงู ใจ ของพระองค์ว่า ทรงตัดสินพระทัยจะผนวชเพ่ือมุ่งสู่ตำ�แหน่งพระ สงั ฆราช ซึ่งไมใ่ ชว่ ถิ ที างของพระองคห์ รือไม่ แม้วา่ จะมเี จา้ นายบาง พระองคท์ อี่ อกผนวชแลว้ มสี มณศกั ดสิ์ งู และกา้ วสตู่ �ำ แหนง่ นนั้ ได้ พระ 6 | กรงุ รัตนโกสนิ ทรต์ อนตน้ 295
วชิรญาณภิกขุทรงอุทิศตนมุ่งสู่การศึกษาเน้ือหาของพระไตรปิฎก และยง่ิ ไดศ้ กึ ษาลงลกึ เขา้ ไปถงึ แกน่ ของค�ำ สอนทางพทุ ธศาสนา และ วัตรปฏิบัติตามแบบอย่างดั้งเดิมทางพุทธศาสนามากข้ึนเท่าใด ยิ่ง ทรงไมพ่ อพระทยั กบั สถานะในปจั จบุ นั ของพทุ ธศาสนาในสยามมาก ข้ึนเท่านัน้ ทรงตระหนักไดใ้ นตอนนั้นว่า ท้งั พระภิกษแุ ละฆราวาส ต่างก็เหมือนกันท่ีนับถือพุทธศาสนาตามแบบอย่างของพ่อแม่ปู่ย่า ตายายอย่างไร้ข้อกังขา โดยไม่ได้ศึกษาให้ได้ความรู้เก่ียวกับหลัก ธรรมและคำ�สอนที่มีอยู่ในพระไตรปิฎกโดยตลอดเลย เมื่อพระวชิร ญาณภิกขุไดท้ รงศึกษาข้อความทีค่ รอบคลุมเรอื่ งการบวช ก็ทรงไม่ สบายพระทัยที่พบว่า การบวชของชาวสยามอาจจะไม่ถูกต้องตาม พทุ ธบญั ญัติ ตอ่ มาทรงไดม้ ีโอกาสพบกบั พระเถระชาวมอญรูปหน่ึง (*ซา่ ย พุทธวํโส) ในรามญั นกิ ายในสยาม (*บวชจากเมืองมอญและ มาจ�ำ พรรษาอยทู่ วี่ ดั เจดยี ท์ อง ปทมุ ธาน)ี และไดส้ นทนากบั พระเถระ รปู นน้ั หลายครง้ั จนท�ำ ใหท้ รงเชอื่ มนั่ วา่ ขอ้ ปฏบิ ตั อิ ยา่ งเครง่ ครดั แบบ มอญนัน้ ถกู ตอ้ งแมน่ ย�ำ หลังจากท่ีได้ทรงศึกษาและพิจารณาอย่างพินิจพิเคราะห์มา ชวั่ ระยะเวลาหนง่ึ พระวชริ ญาณภกิ ขจุ งึ ทรงยา้ ยไปประทบั ทว่ี ดั สมอ ราย ทอี่ ยทู่ างตอนเหนอื ของพระนคร พรอ้ มกบั พระสานศุ ษิ ยจ์ �ำ นวน หนึ่ง และเม่ือประมาณปี พ.ศ. 2376 (1833) ทั้งหมดก็ได้ทำ�พิธี อุปสมบทใหม่ตามแบบแผนพิธีกรรมท่ีเข้มงวด (ปฏิบัติตามแนวท่ี เห็นวา่ ถูกตอ้ งตามหลกั พทุ ธบัญญตั ิ) แล้วหม่ จวี รแบบมอญ คือหม่ คลุมไหล่ทั้งสองข้าง แทนท่จี ะคลมุ ไหลข่ า้ งเดยี ว เม่อื ได้ปฏิรปู วัตร ปฏิบตั ิประจำ�วัน พิธกี รรม การสวดมนต์ และแมก้ ระทงั่ วิธีการออก เสียงภาษาบาลีแล้ว (*ทรงต้ังธรรมยุติกนิกายขึ้นท่ีวัดสมอราย ใน พ.ศ. 2376) เม่อื ช่วงปลายทศวรรษ 1830 (*ใน พ.ศ. 2379) พระเจ้า แผน่ ดินจงึ อาราธนาให้พระวชริ ญาณภิกขุและคณะ ไปประทับทวี่ ัด 296 ประวัติศาสตร์ไทยฉบับสังเขป
บวรนเิ วศฯ ทรงเปน็ เจา้ อาวาสและหวั หนา้ คณะสงฆอ์ กี นกิ ายหนง่ึ ใน สยาม (ทปี่ ฏบิ ตั วิ นิ ยั ทต่ี า่ งจากสงฆอ์ น่ื ทว่ั ไป) พระวชริ ญาณภกิ ขทุ รง เรียกชอื่ วา่ ธรรมยตุ กิ นกิ าย แปลวา่ “นกิ ายทย่ี ึดมนั่ ในธรรมะ” คือ คำ�สั่งสอนของพระพุทธเจ้า ซึง่ ต่างจากนกิ ายเดิม มหานิกาย ทีพ่ ระ วชิรญาณภกิ ขุทรงเอ่ยถึงอย่างต�ำ หนวิ า่ เป็น “นิกายแหง่ การปฏิบตั ิ กนั มายาวนานจนเปน็ นิสัย” ตอนนเี้ มอื่ อยทู่ ว่ี ดั ในเมอื ง ซงึ่ หา่ งจากศนู ยก์ ลางการปกครอง เพยี งไมถ่ งึ 1 กโิ ลเมตร พระวชริ ญาณภกิ ขทุ รงสนพระทยั อยา่ งจรงิ จงั ในเรื่องการศึกษาพุทธศาสนา และกับการเผยแผ่พระพุทธศาสนา และใฝพ่ ระทยั ใหพ้ ระสงฆม์ ที ง้ั การศกึ ษาพระวนิ ยั และอบรมพระสงฆ์ ที่ต้องทำ�หน้าท่ีผู้นำ�ในการเผยแผ่พระธรรมวินัย วัดบวรนิเวศฯ ได้ กลายเป็นศูนย์กลางหนึ่งที่สำ�คัญในการศึกษาวิทยาการของตะวัน ตกดว้ ย ความเปน็ ศนู ยก์ ลางนพี้ ฒั นามาจากความสมั พนั ธส์ ว่ นพระองค์ ของพระวชิรญาณภิกขุ ท่ีทรงมีกับหมอสอนศาสนาชาวตะวันตกที่ เข้ามาในสยามตง้ั แตต่ น้ ทศวรรษ 1830 (พ.ศ. 2373-2382) จำ�เปน็ จะตอ้ งเนน้ ยำ้�ใหท้ ราบกอ่ นวา่ พระวชริ ญาณภิกขทุ รง มพี ระปรีชาสามารถอย่างรอบด้านกอ่ นทจี่ ะไดท้ รงแลกเปลี่ยนเรยี น รกู้ บั หมอสอนศาสนาชาวอเมรกิ นั และฝรงั่ เศส ทรงเรยี นรมู้ ากอ่ นแลว้ ในเรื่องวิธีการไต่สวน และวิธีการสนทนาอย่างผู้มีเหตุและผล ทรง ปรารถนาทจ่ี ะเขา้ ถงึ ความจรงิ ไดด้ ว้ ยอ�ำ นาจทผี่ ดุ ขน้ึ ในใจของพระองค์ เอง จงึ หนั กลบั ไปยงั หลกั การแรกๆ แลว้ ยอมรบั หรอื ปฏเิ สธหลกั การ เหลา่ นนั้ โดยใชห้ ลกั ของเหตผุ ล ภายใตก้ รอบความคดิ ของพระองค์ ในขณะนน้ั วธิ กี ารดงั กลา่ วเปน็ “แบบวทิ ยาศาสตร”์ นนั่ คอื มเี หตผุ ล ในทกุ เรอื่ ง มคี �ำ อธบิ ายทเ่ี ปน็ เหตเุ ปน็ ผลส�ำ หรบั ทกุ สง่ิ ดว้ ยพระปรชี า สามารถอันหลักแหลม กระตือรือร้น และความสนพระทัยในเรื่อง ต่างๆ อย่างรอบด้าน จึงไม่น่าประหลาดใจแต่อย่างใดที่พระองค์จะ 6 | กรงุ รตั นโกสนิ ทรต์ อนตน้ 297
โปรดการพบปะสนทนากบั บรรดาหมอสอนศาสนานกิ ายโปรเตสแตนท์ และท่านบิชอปคาทอลิกชาวฝร่ังเศส มุขนายกมิสซัง ฌอง บ๊ับติส ปัลเลอกัวซ์ (Jean–Baptise Pallegoix) พระวชิรญาณภิกขุทรง ศกึ ษาภาษาละตนิ กบั ภาษาองั กฤษ และวทิ ยาศาสตรก์ บั คณติ ศาสตร์ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ดาราศาสตร์ นอกจากนนั้ ยงั ทรงสรา้ งสายสมั พนั ธ์ กบั คณะสงฆใ์ นศรลี งั กาอยา่ งจรงิ จงั เหน็ ไดจ้ ากพระลขิ ติ (จดหมาย) โต้ตอบสนทนาธรรมที่ปรากฏในช่วงทศวรรษ 1840 (พ.ศ. 2383- 2392) พระวชิรญาณภิกขุไม่ใช่คนเดียวท่ีแผ่ขยายโลกทัศน์ของ พระองคไ์ ปไกลกวา่ คนรนุ่ กอ่ น ทรงเปน็ คนหนง่ึ ในกลมุ่ ชนชนั้ สงู ชาว สยามท่ีสนใจความรู้ของชาวตะวันตก ขณะที่หมอสอนศาสนาชาว คริสตใ์ นดินแดนอน่ื ของเอเชยี ในเวลานน้ั สามารถเผยแผ่ศาสนาได้ โดยการเขา้ ถงึ ชนชนั้ ทต่ี �่ำ กวา่ ในสงั คม หรอื ชนกลมุ่ นอ้ ย แตใ่ นสยาม พวกเขาสามารถเข้าถึงกลุ่มชนช้ันนำ�รุ่นหนุ่มได้ บุคคลเหล่าน้ีรวม ถึงบรรดาบตุ รหลานของเจา้ พระยาพระคลงั (ดศิ บนุ นาค) ผู้เปน็ ที่ สมุหกลาโหม ในเวลาเดยี วกัน เจา้ ฟ้าจฑุ ามณี ผู้เป็นพระราชอนชุ า และ (พระองค์เจ้านวม) กรมหม่ืนวงษาสนิท (*ตอ่ มา ในรชั กาลท่ี 4 โปรดฯ ใหเ้ ล่อื นขึ้นเป็นกรมหลวงวงษาธริ าชสนทิ ) ผูเ้ ป็นพระอนชุ า ในพระวชิรญาณภิกขุ ตลอดจนบุตรหลานของตระกูลชั้นนำ�ต่างๆ แตล่ ะคนตา่ งสนใจศกึ ษาเรอื่ งตา่ งๆ กนั ขน้ึ อยกู่ บั การงานหนา้ ทท่ี ร่ี บั ผดิ ชอบของแตล่ ะบคุ คล ชว่ ง บนุ นาค ทช่ี ว่ ยงานเจา้ พระยาพระคลงั ผเู้ ป็นบิดา สนใจเรอื่ งการต่อเรอื เปน็ อยา่ งมาก และเรม่ิ ตอ่ เรือก�ำ ปน่ั แบบฝรง่ั ในสยาม ซงึ่ ในตอนปลายรชั กาล กรมพระคลงั ไดใ้ ชเ้ รอื ก�ำ ปนั่ แบบน้ี ขนสง่ สนิ คา้ ไปค้าขายยงั ต่างประเทศ แทนเรือพ้นื เมอื งและ เรือสำ�เภาจีน เจ้าฟ้าจุฑามณีทรงกลายเป็นผู้เช่ียวชาญเร่ืองภาษา อังกฤษ และเน่ืองจากทรงรับผิดชอบด้านการทหาร จึงทรงเริ่มต้ัง 298 ประวตั ศิ าสตรไ์ ทยฉบับสังเขป
กองทหารและฝึกทหารตามแบบอย่างยุโรป ส่วนกรมหมื่นวงษา ธิราชสนิทซ่ึงกำ�กับดูแลกรมหมอหลวงและศึกษาการแพทย์แบบ ตะวันตกอย่างจริงจัง จนได้รับใบประกาศนียบัตรการเรียนทาง ไปรษณียจ์ ากโรงเรียนแพทยใ์ นรัฐฟลิ าเดเฟยี (*สหรฐั อเมริกา) ดเู หมอื นวา่ คนรนุ่ หนมุ่ เหลา่ นจ้ี ะไมไ่ ดต้ ระหนกั ถงึ บทบาทของ ตนในการศกึ ษาเรอื่ งเหลา่ น้ี รวมทงั้ นวตั กรรมตา่ งๆ ทเี่ กดิ ขนึ้ ตอ่ จาก พวกเขา เชน่ เดยี วกบั ทรี่ ชั กาลที่ 1 ไดท้ รงเคยหนั กลบั ไปศกึ ษาเอกสาร อินเดียและแปลผลงานต่างๆ ของเอเชีย พวกเขามีความเช่ือม่ันใน อ�ำ นาจทางจติ ใจของเขาในการจดั การกบั โลกทก่ี �ำ ลงั เปลย่ี นแปลงอยู่ รอบๆ ตวั เขา โดยการใชเ้ ครอ่ื งมอื และเทคนคิ วธิ ใี ดๆ กต็ ามทเ่ี หมาะ สมกบั ความต้องการของเขา ไมว่ า่ จะมาจากแหล่งใดก็ตาม เม่ือถึง กลางศตวรรษ บุคคลเหล่านี้ซึ่งอยู่ในวัย 40 และ 50 จึงเป็นผู้นำ� สำ�คัญสำ�หรบั คนร่นุ เขาในสยาม ดเู หมอื นวา่ รชั กาลที่ 3 จะไมท่ รงปลอดโปรง่ พระทยั เสยี ทเี ดยี ว นกั ในการขน้ึ ครองราชสมบตั ิ ทรงแสดงพระองคป์ ระหนงึ่ วา่ ทรงคดิ วา่ เจา้ ฟา้ มงกฎุ ควรจะไดข้ นึ้ เปน็ กษตั รยิ เ์ มอ่ื พ.ศ. 2367 (1824) และ หากมไิ ดเ้ ปน็ เพราะวา่ ทรงพระเยาวก์ วา่ และยงั ขาดประสบการณ์ (*ใน การบรหิ ารราชการแผ่นดิน เจา้ ฟ้ามงกุฎ) กค็ งไดจ้ ะไดเ้ ป็นพระเจา้ แผ่นดินแล้ว มีนัยที่น่าสนใจหลายประการเกี่ยวกับเร่ืองนี้ ประการ แรก เมื่อสมเด็จพระบวรราชเจา้ ฯ พระมหาอุปราช ผู้เป็นรัชทายาท ของรชั กาลท่ี 3 ส้ินพระชนม์ใน พ.ศ. 2375 (1832) กม็ ิไดท้ รงได้ผู้ใด ขึ้นมาดำ�รงตำ�แหนง่ น้ี ประการท่ีสอง อย่างทีเ่ ราได้เหน็ ว่าเมอื่ พ.ศ. 2379 (1836) รัชกาลท่ี 3 ทรงอาราธนาให้พระวชิรญาณภิกขุทรง ยา้ ย (*จากวัดสมอราย) มาประทบั ท่วี ัด (*บวรนเิ วศฯ ) และเป็นเจ้า อาวาสวัดน้ี ซ่ึงวดั น้ีอยใู่ กลพ้ ระบรมมหาราชวังมากยง่ิ ขึ้น แล้วทรง ต้ังชือ่ วดั นัน้ ใหม่ (*เดมิ ชือ่ วัดใหม่ เพราะสรา้ งข้นึ ใหมต่ ดิ กับวดั รงั ษี 6 | กรงุ รัตนโกสินทรต์ อนตน้ 299
สทุ ธาวาส และสมเด็จพระบวรราชเจา้ มหาศกั ดิพลเสพ ไดร้ วมเป็น วดั เดยี วกนั ) เปน็ วดั บวรนเิ วศวหิ าร (*ผคู้ นในสมยั นน้ั นยิ มเรยี กสนั้ ๆ ว่า วัดบน) ซ่ึงเป็นชื่อท่ีเรียกเลียนพระราชวังบวรซ่ึงที่ประทับของ พระมหาอุปราช ในทา้ ยทสี่ ุด เมื่อสรา้ งตำ�หนักทีป่ ระทบั (ของพระ วชิรญาณภิกขุ) ในวัดบวรนิเวศฯ เสร็จเรียบร้อยแล้ว (*เรียกกันว่า ต�ำ หนกั ป้ันหยา สรา้ งเปน็ ตึกฝรงั่ 3 ชัน้ ก่ออิฐถอื ปนู หน้าจั่วประดบั กระเบอ้ื งเคลอื บ) รชั กาลท่ี 3 กท็ รงโปรดใหเ้ ลอื กสงิ่ ของเครอื่ งใชจ้ าก พระราชวังบวรที่ว่างอยู่น้ัน เอามาใช้ในตำ�หนักพระองค์ใหม่หลัง นน้ั พระราชโอรสในพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงอา้ ง เหตุผลในเวลาต่อมาว่า การกระทำ�เหล่านี้เป็นความตั้งใจเพื่อชี้ให้ เห็นวา่ รัชกาลที่ 3 ทรงพิจารณาสถานะของพระวชริ ญาณภกิ ขุวา่ เทยี บเทา่ กบั ต�ำ แหนง่ พระมหาอปุ ราช หรอื ผทู้ จี่ ะเปน็ รชั ทายาทของ พระองค1์ 8 ในราชส�ำ นกั นั้น กลุ่มท่ีไมพ่ อใจกับการทีร่ ชั กาลท่ี 3 ไม่ทรง แต่งตงั้ กรมพระราชวังบวรพระองค์ใหม่ กค็ อื กรมหลวงรกั ษรณเรศ เจา้ นายซงึ่ ดูหมิ่นพระวชริ ญาณภิกขุ เม่อื คราวสอบบาลีสนามหลวง ใน พ.ศ. 2369 (1826) เม่ือปลายปี พ.ศ. 2391 (1848) รัชกาลที่ 3 ทรงไดร้ บั การรอ้ งเรยี นกลา่ วโทษกรมหลวงรกั ษรณเรศเรอ่ื งความไม่ ยตุ ธิ รรมในการตดั สนิ คดี การไตส่ วนอยา่ งเปน็ ทางการไดเ้ ปดิ เผยให้ ทราบวา่ มไิ ดท้ รงมคี วามผดิ เฉพาะการพจิ ารณาทไี่ มเ่ ปน็ ธรรม ทจุ รติ ตอ่ หนา้ ที่ รบั สนิ บน เปลี่ยนค�ำ ตดั สิน ยกั ยอกเงนิ หลวงเทา่ นัน้ หาก แต่โปรดที่จะอยู่ในแวดวงล้อมของพวกละครที่เป็นชาย ราวกับว่า เปน็ เหลา่ นางสนมของพระองค์ ทงั้ ยงั มกี ารยนื ยนั อกี วา่ ไดท้ รงเกลยี้ กลอ่ มเจา้ นายขนุ นางเปน็ พวก คงเพอื่ อา้ งสทิ ธใิ นราชสมบตั หิ ลงั จาก ท่ีรัชกาลที่ 3 เสด็จสวรรคต ซึ่งในสายตาของราชสำ�นักถือได้ว่า เปน็ การกอ่ กบฏ เนอ่ื งจากขณะนนั้ กรมหลวงรกั ษรณเรศทรงเปน็ เจา้ 300 ประวตั ิศาสตรไ์ ทยฉบบั สงั เขป
นายทอี่ ยใู่ นฐานะสงู สดุ พระเจา้ แผน่ ดนิ จงึ โปรดใหล้ งพระราชอาชญา สูงสุด (*จ่ึงโปรดถอดออกเสียจากที่กรมหลวง ให้เรียกว่าหม่อม ไกรสร) ให้ไปสำ�เร็จโทษด้วยท่อนจันทน์ (*ที่วัดปทุมคงคา) เม่ือ เดือนธันวาคม พ.ศ. 2391 (1848) (*เป็นเจ้านายพระองค์สุดท้ายที่ ถกู ส�ำ เร็จโทษด้วยท่อนจนั ทน)์ เมื่อถึงปี พ.ศ. 2393 (1850) ก็เห็นได้ชัดว่า รัชกาลนี้คงไม่ ยืนยาวต่อไปอีกนานนัก ตอนนี้รัชกาลที่ 3 ทรงมีพระชนมายุ 62 พรรษา และมีพระพลานามัยไม่สู้ดี หลายคน ก็เช่นเดียวกับกรม หลวงรกั ษรณเรศ ตา่ งไมแ่ นใ่ จวา่ ผใู้ ดจะไดค้ รองราชสมบตั ิ และตอน นี้ไม่มีเวลาที่จะดำ�เนินการใดๆ ทางการเมืองเพ่ือประนีประนอมกับ กลุ่มต่างๆ ในเมืองหลวง โชคร้ายที่ตอนนี้บรรดามหาอำ�นาจตะวัน ตกไดเ้ รมิ่ ทจ่ี ะผลกั ดนั ใหร้ าชส�ำ นกั สยามตอ้ งเปลยี่ นนโยบายดา้ นตา่ ง ประเทศและการคา้ อยา่ งถงึ รากถงึ โคน ความกา้ วรา้ วของมหาอ�ำ นาจ ตะวนั ตกมมี ากขนึ้ เมอื่ เกดิ สงครามฝนิ่ ในจนี (พ.ศ. 2382-2385 (ค.ศ. 1839-42) ) และมหาอ�ำ นาจตะวนั ตกมีความตัง้ ใจนอ้ ยกวา่ เม่อื 10 หรือ 20 ปกี ่อนทีจ่ ะปฏิบตั ติ ามแบบแผนของเอเชียในการติดตอ่ กบั รัฐต่างๆ ในเอเชีย สนธิสัญญาเบอร์นีย์และสนธิสัญญาที่คล้ายคลึง กนั ทีล่ งนามกับสหรฐั อเมริกาเม่ือ พ.ศ. 2376 (1833) ไมน่ ่าพงึ พอใจ อกี ตอ่ ไปแลว้ ตอนนช้ี าวตะวนั ตกเรียกรอ้ งใหส้ ยามยกเลกิ ข้อกดี กนั ทางการคา้ สถาปนาความสมั พนั ธท์ างการทตู อยา่ งเปน็ ทางการ และ ให้ตั้งศาลกงสุลเพื่อชำ�ระคดีให้แก่คนในบังคับต่างประเทศ (เช่น สทิ ธสิ ภาพนอกอาณาเขต) เมอ่ื พ.ศ. 2392-2393 (1850) มคี ณะทตู 2 คณะเดนิ ทางเขา้ มายงั กรงุ เทพฯ เพอื่ ด�ำ เนนิ การตามวตั ถปุ ระสงค์ นี้ ไดแ้ ก่ โจเซฟ บาเลสตเิ อร์ (Joseph Balestier) กระท�ำ การในนาม ของสหรัฐอเมรกิ า เมอ่ื เดอื นมนี าคม พ.ศ. 2392 และเมษายน พ.ศ. 2393 กบั เซอรเ์ จมส์ บรคุ๊ (Sir James Brooke) ตวั แทนขององั กฤษ 6 | กรุงรตั นโกสินทร์ตอนตน้ 301
เม่ือเดอื นสงิ หาคมและกนั ยายน แตท่ ัง้ สองถูกบอกปัดกลับไปอย่าง มือเปล่า และท้ังคู่ต่างก็ออกจากกรุงเทพฯ ไปด้วยความโกรธเคือง กับสิ่งท่ีพวกเขาเห็นว่าเป็นความหย่ิงยะโสและดื้อดึง (ไม่ยอมอ่อน ขอ้ ) ของราชส�ำ นักสยาม ท่ีไม่ยอมเจรจาในประเดน็ ใดๆ เลย เหตผุ ลทส่ี ยามไมเ่ ตม็ ใจทจี่ ะเจรจากบั มหาอ�ำ นาจตะวนั ตกใน พ.ศ. 2393 นน้ั กเ็ พราะเกรงเรอื่ งของการแขง่ ขนั ในราชสมบตั ทิ ก่ี �ำ ลงั ใกลเ้ ขา้ มา ผมู้ หี นา้ ทหี่ ลกั ในการเจรจาตอ่ รองกบั บาเลสตเิ อรแ์ ละบรคุ๊ ไดแ้ ก่ เจ้าพระยาพระคลงั (ดิศ) กบั น้องชายของเขา คอื พระยาศรี พิพัฒน์ (ทัด บนุ นาค) ผทู้ ี่มาจากฐานอำ�นาจของกรมพระคลงั และ กรมกลาโหม จนท�ำ ใหท้ งั้ คมู่ ที ง้ั ไพรพ่ ลและความมงั่ คงั่ จงึ ไดร้ บั การ คาดหมายว่าน่าจะมีบทบาทสำ�คัญในการกำ�หนดว่า ใครควรจะได้ เป็นกษตั รยิ ์องค์ต่อไป พวกเขาใกล้ชิดสนทิ สนมกบั เจ้าฟา้ มงกุฎอยู่ กอ่ นแลว้ ในสายตาของคนทวั่ ไปทหี่ วั โบราณนนั้ เจา้ ฟา้ มงกฎุ เกย่ี วขอ้ ง กบั พทุ ธศาสนาทขี่ ดั แยง้ กบั จารตี เดมิ (*เพราะทรงรเิ รม่ิ นกิ ายใหมค่ อื ธรรมยตุ กิ นิกาย) และนยิ มชาวต่างชาติ หากพวกบุนนาคสนับสนนุ สนธสิ ญั ญาฉบบั ใหมก่ บั ตะวนั ตก พวกเขาอาจท�ำ ใหค้ แู่ ขง่ ทอี่ นรุ กั ษนยิ ม มากกว่า (และเป็นพวกฝ่ายขวา หรือหวาดกลัวชาวต่างชาติ) มี ประเดน็ ทจี่ ะตอ่ ตา้ นพวกเขาได้ ดงั นน้ั พวกเขาจงึ ขดั ขวางสนธสิ ญั ญา ใหม่ ขณะเดยี วกนั กส็ ง่ จดหมายสว่ นตวั ไปถงึ บรรดาเพอ่ื นฝงู ในตา่ ง ประเทศ บอกวา่ พวกเขาตอ้ งรอเวลาไปกอ่ น เจา้ ฟา้ มงกฎุ และเจา้ ฟา้ จฑุ ามณีกท็ รงท�ำ คล้ายๆ กนั ในเวลาน้ัน คือ หยุดตอ้ นรบั ผมู้ าเยือน ที่เปน็ ชาวตะวนั ตก รชั กาลท่ี 3 ทรงพระประชวรหนกั ขน้ึ เรอ่ื ยๆ ในเดอื นกนั ยายน พ.ศ. 2393 (1850) และทรงมพี ระอาการทรดุ หนกั ลงในเดอื นมกราคม ระยะเวลาการประชวรที่ย่ิงยืดออกไปยาวนาน มีแต่จะสร้างความ กดดันมากย่ิงขึ้นว่า ใครควรจะได้สืบราชสมบัติต่อไป หลังจากท่ีมี 302 ประวัตศิ าสตร์ไทยฉบับสังเขป
การปรกึ ษาหารอื กนั เปน็ เวลานานหลายเดอื นวา่ ผใู้ ดอยใู่ นฐานะทจี่ ะ สบื ราชสมบตั ไิ ดบ้ า้ ง และเกรงกนั วา่ การเลอื กสรรนน้ั อาจปะทขุ นึ้ เปน็ สงครามกลางเมอื งได้ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั โปรดใหข้ นุ นาง ท่ที รงใช้สอยสนิท (*คอื พระยาราชสุภาวดี กบั พระยาพพิ ฒั น์ (บญุ ศรี)) เข้าเฝ้าเมอื่ วนั ท่ี 10 มีนาคม พ.ศ. 2393 (1851) (*พงศาวดาร รชั กาลที่ 3 ระบวุ า่ เปน็ วนั อาทติ ย์ เดอื น 3 ขนึ้ 8 ค�ำ่ ปจี อ โทศก ตรง กบั วนั ท่ี 9 กมุ ภาพนั ธ์ 2393 และตอ่ มาในวนั ท่ี 10 ไดม้ พี ระราชกระแส พระราชโองการพระราชทานมาส่งแก่เสนาบดี) และตรัสว่า จะไม่ ทรงมอบราชสมบัติให้แก่ผู้ใด พระองค์ขอให้พวกเขาเรียกประชุม ใหญบ่ รรดาพระบรมวงศานวุ งศแ์ ละขนุ นาง ให้ตัดสนิ ใจเลอื กผทู้ ีจ่ ะ สืบราชสมบัติต่อ บรรดาเสนาบดีของพระองค์ลังเลที่จะดำ�เนินการ ดงั กลา่ ว ในขณะท่ีพระเจ้าแผน่ ดนิ ยังทรงมีพระชนมอ์ ยู่ ดงั นั้น อกี สองวันต่อมา จึงทรงเรียกให้ขุนนางเข้าเฝ้าอีกคร้ังข้างพระแท่นที่ บรรทม มีพระราชดำ�รัสโดยจำ�เพาะกับพระยาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บนุ นาค (จางวางมหาดเลก็ )) บตุ รชายเจา้ พระยาพระคลงั ทรงปรกึ ษา เรอื่ งผทู้ ส่ี ามารถจะปกครองบา้ นเมอื งได้ แลว้ ทรงประกาศวา่ เจา้ ฟา้ มงกุฎเป็นเจ้านายเพียงพระองค์เดียวที่มีสติปัญญาพอจะปกครอง บ้านเมือง อยา่ งไรก็ตาม ทรงกล่าวต่อไปว่าที่เจา้ ฟ้ามงกฎุ ทรงไม่ได้ รับการเชอื่ ถอื เพราะผูค้ นเกรงวา่ จะใหพ้ ระสงฆ์ห่มผ้าแบบมอญทงั้ แผน่ ดนิ บางที นี่อาจจะตีความหมายได้วา่ เจา้ ฟ้ามงกฎุ ทรงถกู มอง วา่ นิยมต่างชาติมากจนเกินไป ดว้ ยเหตผุ ลน้ี ทรงกล่าวว่าทำ�ให้ทรง ลงั เลท่จี ะระบพุ ระนามเจ้าฟ้ามงกุฎให้ข้นึ เป็นกษัตรยิ ์ ในเวลาต่อมา พระวชริ ญาณภกิ ขทุ รงมพี ระลขิ ติ ถวายรชั กาลท่ี 3 เพอ่ื ท�ำ ใหท้ รงมน่ั พระทัยในเรื่องนี้ และมีรับส่ังให้บรรดาพระธรรมยุติกนิกายกลับมา หม่ จวี รแบบเดิม ต่อมาในคนื วนั ที่ 15 มีนาคม เจ้านายและขนุ นาง สำ�คัญทั้งหมดได้มาชุมนุมกันในพระบรมมหาราชวัง ในเวลาต่อมา 6 | กรุงรตั นโกสินทรต์ อนตน้ 303
พระวชริ ญาณภกิ ขทุ รงใหข้ อ้ มลู การมาพบปะชมุ นมุ นนั้ กบั หมอบรดั เลย์ (Dan Beach Bradley) หมอสอนศาสนาชาวอเมริกนั ผูไ้ ดน้ ำ� ข่าวสารน้ันส่งต่อไปให้หนังสือพิมพ์ที่สิงคโปร์ เจ้าพระยาพระคลัง (ดศิ บนุ นาค) ไดย้ นื ขน้ึ ตอ่ หนา้ ทป่ี ระชมุ และประกาศอยา่ งกลา้ หาญ ชัดเจนว่า ไม่เห็นผู้ใดในพระราชอาณาจักรจะคู่ควรกับราชสมบัติ เท่ากับท่านฟ้าใหญ่ เจา้ ฟา้ มงกุฎ กบั พระราชอนชุ า เจ้าฟา้ กรมขนุ อิศเรศ (เจ้าฟ้าจุฑามณี) และได้พิจารณาแล้วว่า จะใช้อำ�นาจและ อิทธิพลท่ีมีอยู่เพ่ือปกป้องสิทธิในราชบัลลังก์ของเจ้าฟ้าทั้งสองพระ องคท์ มี่ คี วามชอบธรรมทจี่ ะสบื ทอดราชสมบตั ิ เนอ่ื งจากทรงเปน็ พระ ราชโอรสทมี่ ฐี านะสงู สดุ ในพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั พระองคก์ อ่ น และพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั พระองคป์ จั จบุ นั กไ็ มม่ พี ระราชโอรส ทปี่ ระสูตแิ ต่พระมเหสี และเนือ่ งจากเจา้ ฟ้าทัง้ สองพระองค์ทรงยอม ให้สมเดจ็ พระเจา้ อย่หู ัวพระองคป์ ัจจุบันไดค้ รอบครองราชสมบตั ไิ ป ก่อน แต่บัลลังกน์ ้นั มิใชส่ มบตั สิ ่วนพระองค์โดยถาวร ทา่ นเสนาบดี ได้ร้องขอให้ท่ีประชุมท้ังหมดอยู่ในความสงบในระหว่างท่ีพระเจ้า แผ่นดินยังมีพระชนม์อยู่ พร้อมกับกล่าวว่า หากมีการรบรากันอัน เน่ืองจากการเลอื กผ้สู ืบทอดราชสมบัติหลังจากท่ีเสดจ็ สวรรคตแล้ว ก็ขอให้มารบกับตัวเจ้าพระยาเอง มิใช่เจ้าฟ้าทั้งสองพระองค์ที่ เจา้ พระยาเปน็ ผสู้ นบั สนนุ 19 ต่อจากนั้น เจ้าพระยาพระคลงั ได้ส่งกองก�ำ ลังจกุ ล้อมคุม้ กัน วดั บวรนเิ วศ และต�ำ หนกั ของเจา้ ฟา้ จฑุ ามณอี ยา่ งหนาแนน่ หลงั จาก น้ันอีก 3 สัปดาห์ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เสด็จ สวรรคต ในเชา้ ตรขู่ องวันที่ 3 เมษายน (*พงศาวดารระบวุ า่ เป็น วนั พุธ เดอื น 5 ข้นึ 1 คำ่� ตรงกับวนั ที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2394) เจ้าฟ้า มงกฎุ กบั เจา้ ฟา้ จฑุ ามณจี งึ ไดร้ บั อญั เชญิ อยา่ งเปน็ ทางการใหข้ น้ึ ครอง ราชสมบตั ิ เป็นพระเจ้าแผน่ ดนิ องคท์ ี่ 1 และพระเจ้าแผน่ ดนิ องคท์ ่ี 2 304 ประวัตศิ าสตร์ไทยฉบับสงั เขป
ของสยาม ผู้สังเกตการณ์ชาวตะวันตกมองว่ากลุ่มก้าวหน้านี้ คือ ตระกลู บนุ นาค เจา้ ฟา้ มงกฎุ และเจา้ ฟา้ จฑุ ามณเี ปน็ ผปู้ ระสบชยั ชนะ ในครัง้ นี้ รัชกาลท่ี 3 ได้มอบราชอาณาจักรอันยิ่งใหญ่ และมีอำ�นาจ มากยง่ิ กว่าสมัยใดใหแ้ ก่ผู้สบื ทอดราชสมบัติ ราชอาณาจักรนที้ ำ�ให้ เพื่อนบ้านในอุษาคเนย์ทั้งหมดดูเล็กกระจ้อยร่อย เพราะถูกเฉือน ขนาดลง และเปน็ ตัวอยา่ งใหป้ ระเทศเพื่อนบา้ นไดใ้ ช้ความสามารถ ของตนตอ่ สอู้ ยา่ งสรา้ งสรรคแ์ ละเตม็ ก�ำ ลงั ความสามารถในโลกทแ่ี สน จะอนั ตราย ความกระตอื รอื รน้ อยา่ งไมห่ ยดุ นง่ิ และความสามารถใน การเปลี่ยนแปลงและปฏิรูปของสยามนี้ แน่นอนว่าได้มาจากส่ิงที่ รชั กาลท่ี 1 ไดท้ รงวางรากฐานใหแ้ ก่ราชอาณาจกั รของพระองคเ์ มอ่ื ครง่ึ ศตวรรษกอ่ น แมว้ า่ สยามจะเขม้ แขง็ อยา่ งมาก แตอ่ ยา่ งไรกต็ าม สยามต้องเผชิญหน้ากับความท้าทายที่น่าเกรงขามของบรรดา มหาอำ�นาจตะวันตก และแม้แต่พระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจ้าอยู่ หวั ผทู้ รงมแี นวคดิ แบบอนรุ กั ษนยิ มกท็ รงตระหนกั ไดเ้ ปน็ อยา่ งดถี งึ ความยากลำ�บากมากยิ่งขึ้นที่รอคอยอยู่ภายหน้า ดังท่ีได้มีกระแส พระราชดำ�รสั กบั พระยาศรสี รุ ิยวงศ์ (ช่วง) ก่อนจะเสด็จสวรรคตว่า การศกึ สงครามขา้ งญวนขา้ งพมา่ กเ็ หน็ จะไมม่ ี แล้ว จะมีอยู่ก็แต่พวกข้างฝร่ัง ให้ระวังให้ดี อย่าให้ เสียทีแก่เขาได้ การงานส่ิงใดของเขา ท่ีคิดควรจะ ร�่ำ เรยี นเอาไว้ กใ็ หเ้ อาอยา่ งเขา แตอ่ ยา่ ใหน้ บั ถอื เลอ่ื มใส ไปทเี ดียว20 6 | กรุงรัตนโกสินทรต์ อนตน้ 305
เชิงอรรถ 1. Sarasin Viraphol, Tribute and Profit: Sino-Siamese Trade, 1652-1853 (Cambridge, Mass.,1977), p. 144, citing a writing by King Mongkut, dated 1853, from Thai National Library. 2. Francois Henri Turpin, History of the kingdom of Siam, trans. B.O. Cartwright (Bangkok, 1908), pp. 178-79; original French ed., 1771. 3. Letter from the king Mongkut to Sir John Bowring, n.d., printed in Sir John Bowring, The Kingdom and People of Siam (London, 1875; reprint, Kuala Lumpur, 1969), 1: 65-66. 4. “M. Coude to the Directors of the Foreign Missions Seminary, 1780,” in Adrien Launay, Histoire de la Mission de Siam, 1662-1811; Documents historiques, vol.2 (Paris, 1920), p.301. 5. Craig J. Reynolds, “The Buddhist Monkhood in Nineteenth Century Thailand,” Ph.D. diss., Cornell University, 1972, p.33. 6. Journal of M. Descourvieres, [Thonburi], 21 Dec., 1782; in Luanay, Historie, p. 309. 7. Kotmai tra sam duang [Three Seals Laws], 5 vols. (Bangkok, 1962-63), 1:5. 8. Latthithamniam tangtang [Customs and practices], 2 vols. (Bangkok, 1961-62), 1: 495- 96. 9. Kotmai tra sam duang 1 : 5 10. Chaophraya Thiphakorawong (Kham Bunnag) and Prince Damrong Rajanubhab, Phraratchaphongsawadan Krung Rattanakosin ratchakan thi 1… ratchakan thi 2 [ Royal chronicles of the First and Second Reigns of the Rattanakosin era] (Bangkok, 1962), p.222. 11. David Porter Chandler, “Cambodia before the French: Politics in a Tributary Kingdom, 1794-1848,” Ph.D. diss., University of 306 ประวตั ิศาสตรไ์ ทยฉบบั สังเขป
Michigan, 1973, p.76. 12. Prince Chula Chakrabongse, Lord of Life: The Paternal Monarchy of Bangkok, 1782-1932 (New York, 1960), p.118. 13. Thiphakorawong and Damrong, Phraratchaphongsawadan Krung Rattanakosin ratchakan, pp 432-36. 14. Sir Thomas Stamford Raffles, Substance of a Memoir on the Administration of the Eastern islands (n.p.,1819), p.5. 15. Sir Thomas Stamford Raffles, Substance of a Memoir on the Administration of the Eastern Islands (n.p., 1819), p.5. 16. “Diary of Capt. Henry Burney, Jan.5, 1826,” in the Burney Papers, 4 vols. (Bangkok, 1910-14; reprint, Farnborough, Hants., 1971), 1 : 87-88. 17. Quoted in Chandler, “Cambodia before the French”, p. 150. 18. Prince Wachirayanwarorot, Tamnan Wat Bowonniwetsawihan [History of Wat Bowonniwet] (Bangkok, 1922), p.18. 19. Letter of D.B. Bradley, 28 March 1851, in Straits Times (Singapore), 8 July 1851; quoted in William L. Bradley, “The Accession of King Mongkut,” JSS 57, pt. 1 (Jan.1969): 156. 20. Chaophraya Thiphakorawong, Pharatchaphongsawadan Krung Rattanakosin ratchakan thi 3… ratchakan thi 4 [Royal chronicles of the Third and Fourth Reigns of the Rattanakosin era] (Bangkok, 1963), p.366. 6 | กรงุ รตั นโกสินทร์ตอนต้น 307
บทท่ี 7 พพพรร.ศะะ.บบ 2าา3ทท9สส4มม-เเ2ดด4จจ็็ 5พพ3รระะ(จจ18ุอล5มจ1อเ-กม1ลเ9ก้า1เลจ0า้ า้)ฯฯ และ ครง่ึ หลงั ของครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี 19 เปน็ ชว่ งเวลาทอี่ นั ตรายเหลอื เกิน ใน พ.ศ. 2394 (1851) คนไท-ไตส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในราช อาณาจกั รสยาม และเริ่มตน้ สร้างสายสัมพนั ธ์กับคนไท-ไตกล่มุ อืน่ ท่ีอยู่ห่างไกล เม่ือถึงต้นคริสต์ศตวรรษท่ี 20 คนไท-ไตหลายกลุ่ม ตกเป็นอาณานคิ มของมหาอ�ำ นาจตะวนั ตก เช่น ไตใหญ่ (รฐั ฉาน) อยู่ใต้อังกฤษในพม่า และลาวกับไท-ไตตอนบนอยู่ภายใต้ฝร่ังเศส ในอนิ โดจีน การทมี่ หาอ�ำ นาจตะวนั ตกเข้ายึดครองดนิ แดนเหลา่ นั้น เปน็ อาณานคิ ม ท�ำ ใหส้ ยามตอ้ งยตุ คิ วามทะเยอทะยานทจ่ี ะเปน็ ผนู้ �ำ ของกลุ่มคนไท-ไต อยา่ งไรก็ตาม ในขณะเดียวกนั สยามกส็ ามารถ ประสมกลมกลืนคนหลายกลุ่มท่ีอยู่ภายในสยามให้เป็นเสมือนกับ อาณานิคมของสยาม ท้ังกลุ่มที่พูดภาษาไท-ไตและภาษาอ่ืนๆ ซึ่ง เมื่อก่อนเคยมีความสัมพันธ์เพียงเล็กน้อยกับราชอาณาจักรสยาม และสามารถหลบหลกี จากการตกเปน็ อาณานคิ มโดยตรงของมหาอ�ำ นาจ
ตะวันตกไดส้ ำ�เรจ็ ในเวลานนั้ ราชอาณาจกั รสยามตอ้ งเผชญิ กบั ปญั หา 3 ประการ ได้แก่ การสร้างความเป็นอันหน่ึงอันเดียวกันภายในประเทศ การ สูญเสียสิทธิสภาพนอกอาณาเขต และการดิ้นรนต่อสู้เพื่อให้สยาม เป็นประเทศอิสระ ผลงานท่ีโดดเดน่ ก็คือ พัฒนาการดา้ นการเมืองที่ มศี นู ยก์ ลาง ณ ราชสำ�นกั ทก่ี รงุ เทพฯ ทกุ สงิ่ ทกุ อยา่ งขน้ึ อยกู่ บั พระเจา้ แผ่นดินสยาม 2 พระองค์ ในช่วง พ.ศ. 2394-2453 (1851-1910) ได้แก่ พระบาทสมเด็จจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับพระราชโอรส คือ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าเจ้าอย่หู วั ทั้งสองพระองคท์ รงตอ้ ง แบกรับภาระหนัก และต้องตัดสินใจในปัญหายากๆ ทั้งหลาย ครั้ง หน่ึงเคยมีคนกล่าวถึงพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ ว่า ทรงเป็น กษตั รยิ ส์ ยามพระองคส์ ดุ ทา้ ยทท่ี รงพระเกษมส�ำ ราญในฐานะพระเจา้ แผน่ ดนิ แตก่ ย็ ากทจ่ี ะจนิ ตนาการไดว้ า่ พระองคห์ รอื วา่ พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าฯ กันแน่ที่จะสามารถทรงพระเกษมสำ�ราญได้ใน ทา่ มกลางหว้ งเวลาแหง่ อุปสรรคที่ทรงต้องฟันฝ่า การปฏิรปู อยา่ งระมัดระวัง ของพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจา้ อยู่หัว (รชั กาลท่ี 4) เสด็จ ขึ้นครองราชสมบตั ิ เมือ่ พ.ศ. 2394 (1851) ขณะทม่ี พี ระชนมายุ 47 พรรษา และทรงผนวชเปน็ พระภิกษุในบวรพทุ ธศาสนามาแล้วนาน ถึง 27 ปี ชวี ิตในบวรพทุ ธศาสนาของพระองคไ์ ม่ได้อยูแ่ ตเ่ พยี งใน วดั อนั ทจ่ี รงิ ประสบการณข์ ณะทยี่ งั ทรงผนวชเปน็ การเตรยี มพระองค์ ใหข้ ึน้ ครองราชบัลลงั ก์ได้เป็นอยา่ งดี เพราะทรงมโี อกาสที่จะศกึ ษา และอา่ นหนงั สอื อยา่ งกวา้ งขวาง เชน่ เดยี วกบั ทไ่ี ดเ้ สดจ็ ออกธดุ งคไ์ ป 7 | พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าฯ และพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ ฯ 309
ตามหวั เมอื งตา่ งๆ ไดท้ รงคนุ้ เคยกบั อาณาประชาราษฎร์ แตท่ รงไมม่ ี ฐานอ�ำ นาจทางการเมือง ไมว่ า่ ไพรพ่ ลหรือขา้ ราชบริพารทถ่ี วายตวั ท้งั ยังทรงตกอยูใ่ นภาวะอนั ตรายจากแรงกดดันและอำ�นาจของกลุ่ม เจา้ นายกบั ขนุ นางผสู้ นบั สนนุ ใหข้ นึ้ ครองราชย์ การทที่ รงยกยอ่ งเจา้ ฟ้าจุฑามณใี หป้ กครองบา้ นเมอื งร่วมกับพระองค์ ในฐานะพระบาท สมเดจ็ พระปนิ่ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั พระเจา้ แผน่ ดนิ องคท์ ส่ี องนน้ั ดเู หมอื น จะเปน็ กลยุทธ์ของพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ ฯ ทที่ รงตัง้ พระทยั จะเกลี่ยอำ�นาจของพระอนุชา ผู้ทรงมีกองทัพเล็กๆ โดยการเปิด โอกาสใหพ้ ระอนชุ าไดท้ รงมอี ำ�นาจอย่างเปดิ เผย และมีโอกาสทจี่ ะ สบื ราชสมบัติ หากมพี ระชนมย์ นื ยาวกวา่ พระองค์ พระราชกิจเร่งด่วนของพระเจา้ แผน่ ดนิ คือ การปูนบำ�เหนจ็ ให้แก่บรรดาผ้สู นับสนุนพระองค์ และการทำ�ใหพ้ ระราชอำ�นาจของ พระองค์ม่ันคงยิ่งขึ้น ส่ิงน้ีหมายถึงการยืนยันอิทธิพลของขุนนาง ตระกลู บุนนาค เจ้าพระยาพระคลงั (ดศิ ) ผดู้ แู ลกรมท่า และเปน็ ท่ี สมหุ กลาโหมต่อเนอ่ื งยาวนานมากว่า 20 ปี ได้รับการปนู บ�ำ เหนจ็ อย่างยกย่องให้เป็นเจ้าพระยาอัครมหาอุดมบรมวงศาเสนาบดี มีหน้าที่สำ�เร็จราชการแผ่นดิน (*ต่อมาในปีเดียวกัน ได้เล่ือนเป็น สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยุรวงศ์ นับเป็นสมเด็จเจ้าพระยา พระองคแ์ รกแหง่ กรงุ รตั นโกสนิ ทร)์ และใหบ้ ตุ รทงั้ สองปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี ของเขาแทน คือ เจ้าพระยาศรสี รุ ยิ วงศ์ (ช่วง) เปน็ ทสี่ มุหกลาโหม และเจ้าพระยารววิ งศ์ (ทิพากรวงศ)์ (ขำ�) เป็นพระคลัง มหาดเลก็ ในพระองคก์ ล็ ว้ นมาจากคนรนุ่ หนมุ่ ในตระกลู บนุ นาค การตง้ั ต�ำ แหนง่ ต่างๆ ในชว่ งเริม่ รัชกาลเช่นน้ี ทำ�ให้ตระกูลบนุ นาคเปน็ เพยี งตระกูล เดยี วทมี่ อี �ำ นาจยงิ่ กวา่ ตระกลู ใดๆ ในศนู ยก์ ลางการบรหิ าร และค�้ำ จนุ พระราชอ�ำ นาจในทนั ทใี หพ้ ้นจากการแขง่ ขนั ท่เี กิดขนึ้ ในราชสำ�นัก พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าฯ ยังคงตอ้ งเผชญิ กับสงคราม 310 ประวัตศิ าสตร์ไทยฉบบั สงั เขป
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 517
- 518
- 519
- 520
- 521
- 522
- 523
- 524
- 525
- 526
- 527
- 528
- 529
- 530
- 531
- 532
- 533
- 534
- 535
- 536
- 537
- 538
- 539
- 540
- 541
- 542
- 543
- 544
- 545
- 546
- 547
- 548
- 549
- 550
- 551
- 552
- 553
- 554
- 555
- 556
- 557
- 558
- 559
- 560
- 561
- 562
- 563
- 564
- 565
- 566
- 567
- 568
- 569
- 570
- 571
- 572
- 573
- 574
- 575
- 576
- 577
- 578
- 579
- 580
- 581
- 582
- 583
- 584
- 585
- 586
- 587
- 588
- 589
- 590
- 591
- 592
- 593
- 594
- 595
- 596
- 597
- 598
- 599
- 600
- 601
- 602
- 603
- 604
- 605
- 606
- 607
- 608
- 609
- 610
- 611
- 612
- 613
- 614
- 615
- 616
- 617
- 618
- 619
- 620
- 621
- 622
- 623
- 624
- 625
- 626
- 627
- 628
- 629
- 630
- 631
- 632
- 633
- 634
- 635
- 636
- 637
- 638
- 639
- 640
- 641
- 642
- 643
- 644
- 645
- 646
- 647
- 648
- 649
- 650
- 651
- 652
- 653
- 654
- 655
- 656
- 657
- 658
- 659
- 660
- 661
- 662
- 663
- 664
- 665
- 666
- 667
- 668
- 669
- 670
- 671
- 672
- 673
- 674
- 675
- 676
- 677
- 678
- 679
- 680
- 681
- 682
- 683
- 684
- 685
- 686
- 687
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 550
- 551 - 600
- 601 - 650
- 651 - 687
Pages: