ภายในทคี่ ้างคามาแต่รัชกาลก่อน ในเชียงรงุ่ รฐั ไตลื้อทางตอนเหนือ (*ซึ่งเป็นเมืองขึ้นของเชียงตุง) กองทพั ของรชั กาลท่ี 3 ไดเ้ ข้าโจมตี เชียงตุงเป็นช่วงสั้นๆ เมื่อ พ.ศ. 2393 (1850) ก่อนจะถูกเรียกกลับ เม่อื ไดข้ า่ ววา่ พระเจ้าแผน่ ดินเสด็จสวรรคต เมอื่ พ.ศ. 2394 (1851) เจา้ เมอื งเชยี งรงุ่ คนใหมไ่ ดส้ ง่ เครอื่ งบรรณาการมายงั กรงุ เทพฯ พรอ้ ม กบั รอ้ งขอความคมุ้ ครองใหพ้ น้ จากการแผอ่ ทิ ธพิ ลของพมา่ ผา่ นทาง เชยี งตงุ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ ฯ จงึ ทรงมอบหมายใหพ้ ระเจา้ นอ้ งยาเธอ กรมหลวงวงษาธิราชสนทิ เป็นแม่ทพั แตก่ ำ�ลังพลเกอื บ ทง้ั หมดมาจากลา้ นนาและนา่ น การยกทพั ไปทง้ั สองครง้ั ดงั กลา่ วไม่ อาจยึดครองเชียงตงุ ได้ เพราะกองทัพขาดแคลนเสบียงอาหาร ท้งั ยงั ขาดขวญั และกำ�ลงั ใจที่จะต่อสู้ สยามจึงยตุ ิความทะเยอทะยานท่ี จะโจมตีเชียงตุงไปตลอดท้งั รชั สมัย รฐั บาลในพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ ฯ ตระหนกั ไดท้ นั ทถี งึ ความสมั พนั ธก์ บั ชาตติ ะวนั ตก นบั จากทา่ ทโี กรธเคอื งจนแทบอยาก จะบกุ สยามของเซอรเ์ จมส์ บรกุ๊ ทต่ี อ้ งจากกรงุ เทพฯ ไปอยา่ งมอื เปลา่ (*เพราะเจรจาขอแกไ้ ขสนธสิ ญั ญาเบอรน์ ไี มส่ �ำ เรจ็ ) เมอ่ื ปลายป ี พ.ศ. 2393 (1850) ทัง้ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจา้ อย่หู ัว และเจ้าพระยาศรี สรุ ยิ วงศ์ ตา่ งมหี นงั สอื ไปถงึ ผมู้ อี �ำ นาจขององั กฤษในสงิ คโปร์ รอ้ งขอ ใหพ้ วกเขาอดใจรอ ตอ่ จากน้ัน พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ ทรง มพี ระราชหตั ถเลขาไปถงึ เซอรจ์ อหน์ เบาวร์ งิ ขา้ หลวงองั กฤษปกครอง ฮ่องกงคนใหม่ กว่าราชสำ�นักจะรู้สึกมั่นคงพอที่จะเส่ียงติดต่อกับ รฐั บาลองั กฤษโดยตรงกน็ านหลายปี และกอ่ นทลี่ อนดอนจะพจิ ารณา ส่งคณะทูตชุดใหม่เข้ามายังสยามเม่ือต้น พ.ศ. 2398 (1855) เซอร์ จอหน์ เบาวร์ งิ ไดร้ บั แตง่ ตง้ั เปน็ ราชทตู องั กฤษ ทเ่ี ปน็ ตวั แทนกระทรวง การตา่ งประเทศขององั กฤษ ไมใ่ ชต่ วั แทนของรฐั บาลองั กฤษทอ่ี นิ เดยี 7 | พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจา้ ฯ และพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าฯ 311
หรอื ทส่ี เตรต็ เซต็ เทลิ เมนตท์ มี่ กั จะตอ่ ตา้ นสยาม เพราะใชม้ มุ มองจาก ผลประโยชนข์ ององั กฤษในทอ้ งถน่ิ ขณะทก่ี ระทรวงการตา่ งประเทศ จะมมี มุ มองทก่ี วา้ งไกลระดบั โลก จงึ สนใจเฉพาะขอ้ ปฏบิ ตั แิ ละความ มน่ั คงทางการคา้ ขององั กฤษกบั พอ่ คา้ องั กฤษ องั กฤษกเ็ ชน่ เดยี วกบั สยามทปี่ รารถนาจะหลกี เลยี่ งสถานการณซ์ �ำ้ ๆ ซง่ึ ท�ำ ใหเ้ กดิ สงคราม ระหว่างอังกฤษกบั พมา่ คร้งั ท่ี 2 เมอื่ พ.ศ. 2395 (1852) ข้ออ้างของ สงครามจะเกี่ยวพันถึงฐานะทางกฎหมายของพ่อค้าอังกฤษ และ เงอ่ื นไขตา่ งๆ ทางการค้า เบาว์ริงมาถึงกรุงเทพฯ โดยแฝงท่าทีการคุกคามด้วยกำ�ลัง พระราชหตั ถเลขาทเี่ ขาน�ำ มาทลู เกลา้ ฯถวายพระบาทสมเดจ็ พระจอม เกล้าฯ ปรากฏเนื้อหาอยา่ งชดั เจนว่า องั กฤษตอ้ งการแผอ่ ทิ ธพิ ลไป ให้ไกลเพียงใด และเขาอาจใช้กำ�ลังอาวธุ เพือ่ ปกป้องการคา้ และผล ประโยชนข์ ององั กฤษไดห้ ากวา่ จ�ำ เปน็ ตอนนนั้ พระบาทสมเดจ็ พระ จอมเกล้าเจ้าฯ และเจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ ต่างรับรองดูแลราชทูต พรอ้ มทง้ั คณะอยา่ งอบอ่นุ แสดงความจรงิ ใจโดยปราศจากพธิ ีรตี อง อย่างท่คี ณะทูตเองกค็ าดไม่ถึง พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ ฯ ทรง รบั รองเบาวร์ งิ ในพระราชฐานทปี่ ระทบั สว่ นพระองค์ และทรงยน่ื ซกิ าร์ กบั ไวนใ์ ห้เขาด้วยพระองคเ์ อง เมอื่ เจา้ พระยาศรสี รุ ิยวงศไ์ ด้สนทนา กับเบาว์ริง แล้วเขากล่าวโจมตีความอยุติธรรม กับความไม่มี ประสทิ ธภิ าพในการบรหิ ารราชการของสยาม เจา้ พระยาศรสี รุ ยิ วงศ์ กเ็ พยี งแตก่ ลา่ วโตต้ อบอยา่ งระมดั ระวงั โดยใชข้ อ้ ความทไี่ ดฝ้ กึ ซอ้ ม ไวล้ ว่ งหนา้ แลว้ กบั หมอสอนศาสนาชาวอเมรกิ นั 1 ขอ้ ตกลงทสี่ อดคลอ้ ง กบั เงอ่ื นไขหลกั ของลอนดอนจงึ ปรากฏขน้ึ ภายในสองสปั ดาห์ ท�ำ ให้ สยามเปดิ ตวั สกู่ ารค้าเสรรี ะหวา่ งประเทศ โดยมีเงื่อนไขจ�ำ กัดอัตรา ภาษีสนิ คา้ ขาเขา้ ไว้ที่ร้อยละ 3 และภาษสี ินค้าขาออกอยทู่ ีป่ ระมาณ รอ้ ยละ 5 คนในบังคบั องั กฤษไดร้ บั อนุญาตให้พำ�นักอาศัยและเป็น 312 ประวัตศิ าสตรไ์ ทยฉบบั สังเขป
เจา้ ของท่ดี นิ ในสยามได้ (*ภายในอาณาเขต 4 ไมล์ หรือ 200 เส้น แตไ่ มเ่ กนิ ก�ำ ลงั เรอื แจวทอ่ี อกจากก�ำ แพงพระนครในระยะ 24 ชวั่ โมง) และไดร้ บั สทิ ธสิ ภาพนอกอาณาเขตอนั เปน็ การคมุ้ ครองผเู้ ขา้ มาอาศยั ทเี่ ปน็ ตวั แทนรฐั บาลของสมเดจ็ พระบรมราชนิ นี าถ (วกิ ตอเรยี ) ภาษี ทจ่ี ัดเก็บจากทด่ี นิ (*สมยั นั้นเรยี ก อากรค่านา) และการทำ�กิจกรรม ต่างๆ ในท่ีดินถูกกำ�หนดไว้ในอัตราท่ีต่ำ� ได้มีการยกเลิกพระคลัง สินค้าของหลวง และการผูกขาดการค้าที่เคยอยู่ในระบบเศรษฐกิจ ของสยามมาเป็นเวลานานไปจนหมดส้ิน เว้นแต่เพียง ฝิ่น ซ่ึงยัง เปน็ การผกู ขาดของรฐั เชน่ เดยี วกบั ทส่ี งิ คโปรแ์ ละฮอ่ งกง เพยี งตวดั ปากกาลงนามในสนธิสัญญาเบาว์ริงครั้งนี้ พวกสยามเก่าก็จำ�ต้อง เผชญิ กบั พลงั อ�ำ นาจทางการเมอื งและเศรษฐกจิ ทถ่ี าโถมเขา้ มาทลี ะ ระลอกๆ โดยทพ่ี วกเขาไมไ่ ดเ้ ตรยี มพรอ้ มทจี่ ะยนิ ดหี รอื จะแขง่ ขนั กบั พลังอำ�นาจนนั้ พวกสยามเก่ายินดีจะทำ�ให้เกิดสถานการณ์ที่ดีท่ีสุด โดยไม่ ต้องเปล่ียนแปลงใดๆ อำ�นาจการปกครองของพระเจ้าแผ่นดินและ คณะเสนาบดีข้ึนอยู่กับความร่วมมือกันของไพร่กับมูลนาย พร้อม กับผลประโยชน์ท่ีเกิดจากโครงสร้างทางการเมืองและเศรษฐกิจท่ี กำ�ลังเป็นอยู่ ราชสำ�นักต้องจัดการกับการเปล่ียนแปลงใดๆ ท่ีเกิด ขนึ้ ในระบบนน้ั อยา่ งระมดั ระวงั การใหส้ มั ปทานทางการคา้ แกอ่ งั กฤษ ไดค้ กุ คามขอบเขตอ�ำ นาจและความผาสกุ ของเจา้ นายกบั ขนุ นางเกอื บ ทง้ั หมดทคี่ มุ ผลประโยชนท์ างการคา้ และการผกู ขาดการคา้ รวมทง้ั ความสลบั ซบั ซ้อนของระบบการจัดเกบ็ ภาษอี ากรภายในประเทศที่ สนธิสัญญานไ้ี ด้ยกเลิกไปด้วย ผูท้ ี่ต้องสญู เสยี จากการเปล่ียนแปลง นอ้ี ยา่ งมากทส่ี ดุ คอื เจา้ พระยาศรสี รุ ยิ วงศก์ บั เจา้ พระยาทพิ ากรวงศ์ ตลอดจนพรรคพวก เพราะการผกู ขาดสว่ นมากอยใู่ ตก้ ารควบคมุ ของ พวกเขา พวกเขาจึงต้องให้คำ�มนั่ วา่ จะจัดหารายไดอ้ ่นื มาชดเชยให้ 7 | พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจ้าฯ และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าฯ 313
แก่รัฐ เป็นการทดแทนรายได้ท่ีจำ�ต้องสละไปเพื่อความม่ันคงของ บา้ นเมอื ง เพยี งไมก่ ปี่ หี ลงั จากทมี่ ขี อ้ ตกลงในสนธสิ ญั ญา พบวา่ ราย ได้แผ่นดินต่ำ�ลงเล็กน้อยเพียงปีเดียวเท่าน้ัน และต่อมาก็กลับเข้าสู่ ระดับเดิมเหมือนก่อนปีที่ลงนาม ส่วนต่างท่ีเข้ามาชดเชยส่วนใหญ่ เป็นการเพิ่มอากรสรรพสามิต รัฐผูกขาดการค้าฝ่ิน บ่อนเบ้ีย สุรา และหวย ซงึ่ ไมอ่ ยใู่ นขอบเขตบงั คบั ของสนธสิ ญั ญา ผลกระทบหนกั ๆ ไมไ่ ดอ้ ยู่ทชี่ าวสยาม แตต่ กอยกู่ ับชาวจนี ซึ่งเปน็ คนส่วนน้อยในราช อาณาจกั ร แมว้ า่ ชว่ งหัวเล้ียวหวั ต่อทางการเงนิ น้ดี จู ะเป็นการเสย่ี ง แต่ก็เห็นได้ชัดว่าเป็นความเส่ียงที่ควรค่าแก่การยอมรับ เนื่องจาก พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ กับเจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ ได้อ่าน หนงั สอื พมิ พข์ องสงิ คโปรแ์ ละฮอ่ งกง จงึ ทราบถงึ ลกั ษณะของอ�ำ นาจ (*ของมหาอ�ำ นาจตะวนั ตก) ทคี่ กุ คามราชอาณาจกั รไดด้ ยี ง่ิ กวา่ ใครๆ ในบ้านเมือง และพระเจ้าแผ่นดินสยามทรงรู้จักวิธีท่ีจะโค่นล้มหรือ หยุดยั้งอ�ำ นาจเหลา่ นน้ั นอกจากการปรับปรงุ ระบบการจัดเกบ็ ภาษีอากรแล้ว สยาม ได้หันไปใช้อีกกลยุทธ์หน่ึงเพ่ือลดขนาดอันตรายที่จะเกิดขึ้นใน สถานการณ์ใหม่ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ กับเจ้าพระยาศรี สุริยวงศ์ได้แสดงให้ปรากฏอย่างรวดเร็วว่าจะต้อนรับคณะทูตชาติ ตะวนั ตกอนื่ ๆ ดว้ ย และภายในเวลาหนง่ึ ทศวรรษ กไ็ ดล้ งนามในสนธิ สญั ญาท�ำ นองเดยี วกบั สนธสิ ญั ญาเบาวร์ งิ กบั สหรฐั อเมรกิ า ฝรง่ั เศส และนานาประเทศอกี 12 ประเทศ การเริ่มความรว่ มมือบนเสน้ ทาง แบบพหุภาคีน้ีเป็นเพราะสยามหวังจะหลีกเล่ียงความสัมพันธ์แบบ ทวภิ าคอี ยา่ งใกลช้ ดิ และนา่ อดึ อดั เหมอื นอยา่ งองั กฤษกบั อนิ เดยี และ พม่า หรอื อย่างฝรงั่ เศสกับเวยี ดนาม ซึ่งในทศวรรษ 1860 (2403- 2412) ไดน้ �ำ ไปสกู่ ารตกลงแบง่ ผลประโยชนใ์ นอษุ าคเนยอ์ ยา่ งรวดเรว็ ระหวา่ งมหาอำ�นาจเจา้ อาณานิคม สำ�หรับพระบาทสมเด็จพระจอม 314 ประวตั ศิ าสตร์ไทยฉบับสังเขป
เกลา้ ฯ แลว้ ศลิ ปะในการปกครองไมส่ �ำ คญั มากเทา่ กบั การทส่ี ามารถ โออ้ วดไดว้ า่ ทรงไดร้ บั การยอมรบั ฉนั พน่ี อ้ งจากพระเจา้ แผน่ ดนิ องค์ อน่ื ๆ ในโลก และทรงเปน็ กษตั รยิ ท์ สี่ ามารถสอื่ สารโดยตรงกบั รฐั บาล ในเมอื งหลวงของประเทศในยโุ รปได้ ดงั นนั้ จงึ ทรงหลกี เลยี่ งกบั การ ต้องยอมรับเจ้าหน้าที่ของอาณานิคมในประเทศเพื่อนบ้าน อย่างท่ี ผู้นำ�พื้นเมืองในพม่าและโลกมลายูต้องประสบ สยามใช้ประโยชน์ จากคแู่ ขง่ ขนั ไดอ้ ยา่ งเฉลยี วฉลาด ทง้ั ในหมมู่ หาอ�ำ นาจจกั รวรรดนิ ยิ ม และภายในชว่ งชน้ั แหง่ อ�ำ นาจนนั้ ดว้ ย ยกตวั อยา่ ง ในกรณขี ององั กฤษ สยามถว่ งดลุ อ�ำ นาจระหวา่ งกระทรวงการตา่ งประเทศ รฐั บาลทอ่ี นิ เดยี และรฐั บาลของอาณานคิ มในคาบสมุทรมลายูได้ เพราะแตล่ ะกลุม่ มี ผลประโยชนต์ า่ งกนั ในสยาม ในกรณขี องฝรงั่ เศส สยามไดพ้ ยายาม ตดิ ตอ่ และใช้อิทธิพลของเกดอรเ์ ซย์ (*กระทรวงการตา่ งประเทศ ที่ ต้ังอยู่ทางฝ่ังซ้ายของแม่น้ำ�แซน ริมถนนท่าเรือแห่งออร์เซย์) เพ่ือ ตอ่ ตา้ นรปู แบบอันแข็งกร้าวของรัฐบาลอาณานคิ มทีไ่ ซ่ง่อน (ตั้งแต่ พ.ศ. 2401 (1858)) นโยบายตา่ งประเทศดงั กลา่ วของพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าฯ ดำ�เนินไปได้เป็นอย่างดี ภายใต้ความอดทนอย่าง สงบ จนทรงถกู กลา่ วหาอยบู่ อ่ ยครง้ั การด�ำ เนนิ การเพอื่ ถว่ งดลุ หลาย ด้านเช่นน้ี จำ�ต้องกระทำ�อย่างระมัดระวังและลุ่มลึก เพราะสยาม เผชญิ หนา้ กบั ภยนั ตรายแสนสาหัสทเ่ี พ่มิ มากขึน้ เรอ่ื ยๆ หลกั ส�ำ คัญ ในนโยบายของสยามกค็ ือ การประนีประนอมกบั อังกฤษ เนอ่ื งจาก องั กฤษมอี �ำ นาจ และความกระตอื รอื รน้ มากยง่ิ กวา่ ชาตอิ นื่ ๆ จงึ หวงั กันว่าความกรุณาของลอนดอนคงทำ�ให้แผนการของประเทศอ่ืนๆ ที่มีต่อสยามดจู ะท่ือเกินไป การด�ำ เนนิ นโยบายเชน่ นใ้ี ชว่ า่ จะราบเรยี บเสมอไป ในชว่ งตน้ ทศวรรษ 1860 (2403-2412) เกดิ เหตกุ ารณส์ �ำ คญั ทท่ี �ำ ใหส้ ยามรสู้ กึ ไม่สบายใจ 2 เหตุการณ์ ในเหตุการณ์แรก พระเจ้าแผ่นดินกับ 7 | พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจ้าฯ และพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าฯ 315
เจา้ พระยากลาโหมไดแ้ สดงใหเ้ หน็ เปน็ ทเ่ี ขา้ ใจวา่ สยามมสี ทิ ธอิ �ำ นาจ เหนอื หวั เมอื งประเทศราช เชน่ กลนั ตนั ตรงั กานู แลว้ เขา้ ไปเกยี่ วขอ้ ง กบั ขอ้ ววิ าทเรอื่ งการสบื ทอดอ�ำ นาจ ซงึ่ มวี ธิ กี ารยงุ่ ยากในปาหงั ทอ่ี ยู่ ไกลออกไปอีกทางใต้ เมือ่ เรอื รบสยามน�ำ ผอู้ ้างสิทธิในบลั ลงั กป์ าหงั ไปถงึ ตรงั กานูใน พ.ศ. 2405 (1862) เรอื รบองั กฤษกเ็ ขา้ คุ้มครองกัว ลาตรงั กานู (*เมอื งหลวงของตรงั กาน)ู ในทนั ที เพอื่ เกลย้ี กลอ่ มสยาม ใหห้ ยดุ การกระท�ำ ทีจ่ ะแทรกแซงมากไปกวา่ น้ี เหตกุ ารณท์ สี่ องซงึ่ รา้ ยแรงยงิ่ กวา่ กค็ อื สถานการณใ์ นกมั พชู า ที่เปลี่ยนแปลงไป เม่ือพระองค์ด้วง (*พระหริรักษ์รามาธิบดี) สิ้นพระชนม์ใน พ.ศ. 2403 (1860) และฝรั่งเศสสถาปนาอำ�นาจยึด ครองดินแดนในเวียดนามตอนใต้เป็นอาณานิคมเกือบจะในเวลา เดียวกนั ผสู้ ืบทอดราชสมบัติตอ่ จากพระองค์ด้วงก็คอื พระนโรดม พระราชโอรสผทู้ รงพระเยาว์ ซงึ่ ในทนั ทที ขี่ น้ึ ครองราชยก์ ต็ อ้ งเผชญิ หนา้ กบั ทงั้ กบฏภายใน พรอ้ มๆ กบั แรงกดดนั จากสยามทดี่ �ำ เนนิ อยู่ ต่อไป รวมท้ังข้อเสนอจากฝรั่งเศส (*ให้เป็นดินแดนในอารักขา) ฝรั่งเศสอยากกอบโกยความม่ังคั่งที่เห็นได้ชัดเจนในกัมพูชา และ มองเห็นความเป็นไปได้ท่ีจะใช้แม่น้ำ�โขงซ่ึงเป็นเส้นทางสำ�คัญดุจ ทองค�ำ น�ำ ไปสคู่ วามมง่ั คงั่ ทซี่ อ่ นเรน้ อยภู่ ายในอษุ าคเนยแ์ ละจนี เมอื่ (*วันท่ี 11 สงิ หาคม) พ.ศ. 2406 (1863) พระนโรดมทรงยินยอมลง นามให้กัมพูชาเป็นดินแดนในอารักขาของฝร่ังเศส และปีเดียวกัน นัน้ เอง (*วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2406) ก็ลงนามในสนธิสัญญาลบั ยอมรับอ�ำ นาจของสยามในฐานะเจ้าเมอื งประเทศราช เพราะสยาม ไดป้ ระกอบพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษกแดพ่ ระราชบดิ าของพระองค์ ในปีต่อมาเมื่อพระนโรดมเสด็จไปกรุงเทพฯ เพื่อประกอบพระราช พธิ บี รมราชาภเิ ษก ฝรงั่ เศสไดช้ กั ธงชาตขิ องตนขน้ึ เหนอื พระราชวงั ของพระองค์ จึงทรงต้องรีบเสด็จกลับมายงั กรงุ พนมเปญ พระบาท 316 ประวตั ศิ าสตรไ์ ทยฉบับสงั เขป
“ผ้ดู ชี าวสยามก�ำ ลงั บอกจดหนงั สือราชการ” 7 | พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ ฯ และพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ ฯ 317
สมเดจ็ พระจอมเกลา้ ฯ ทรงรสู้ กึ อปั ยศอดสแู ละขดั เคอื งพระทยั อยา่ ง ยิ่งท่ีพระนโรดมแสดงความอกตัญญูต่อพระมหากรุณาธิคุณที่ทรง เคยได้รับในอดีต และไม่มีความซ่ือสัตย์ต่อสยาม ซ่ึงตามประเพณี แบบชาวพุทธถอื วา่ เปน็ การทรยศ ทั้งสองเหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้นในเวลาไล่เล่ียกันน้ี ทำ�ให้รัฐบาล กลาง (*ทกี่ รงุ เทพฯ) ขนุ่ เคอื งใจ แตล่ ะเหตกุ ารณเ์ ปน็ การแขง็ ขอ้ ของ ผมู้ อี �ำ นาจในทอ้ งถนิ่ โดยทรี่ ฐั บาลกลางไมไ่ ดร้ บั ทราบ อยา่ งไรกต็ าม เมอ่ื ผมู้ ีอำ�นาจจากส่วนกลางไดร้ บั ทราบข้อเท็จจรงิ ในทงั้ สองกรณีน้ี แลว้ ตา่ งกส็ นบั สนนุ ขนุ นางฝา่ ยของตน สยามแทบทำ�อะไรไมไ่ ดเ้ ลย เพ่ือไม่ให้วิตกกังวลว่าจะเกิดอะไรข้ึนท่ีไหนต่อไป สยามจึงต้องใช้ ความพยายามเพิ่มข้ึนอีกเป็นทวีคูณ เพื่อให้แน่ใจได้ว่าหัวเมือง ประเทศราชของตนจะอยใู่ ตก้ ารควบคมุ อยา่ งใกลช้ ดิ เทา่ ทจี่ ะเปน็ ไป ได้ แม้ว่าเราอาจคาดหวังให้มีการเปลี่ยนแปลงภายในท่ีสำ�คัญ เทา่ เทยี มกบั การเคลอื่ นไหวอยา่ งรนุ แรงในเรอ่ื งนโยบายดา้ นการเงนิ และการตา่ งประเทศ แตก่ ารปฏริ ปู ขนั้ พนื้ ฐานภายในเกดิ ขน้ึ นอ้ ยมาก การเปลี่ยนแปลงอย่างยิ่งใหญ่ที่เกิดข้ึนหลังการเปิดประเทศ ในรัช สมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ คอื การค้าต่างประเทศทข่ี ยาย ตวั อยา่ งกวา้ งขวาง การคา้ ขายเปลย่ี นไปอยา่ งรวดเรว็ จากเรอื ส�ำ เภา ไปเปน็ เรอื กลไฟ เรอื สมยั ใหมท่ ม่ี าเยอื นกรงุ เทพฯ จากสงิ คโปรเ์ พยี ง แห่งเดียว มีจ�ำ นวนพุ่งพรวดจาก 146 ล�ำ ใน พ.ศ. 2393 (1850) มา เป็น 302 ลำ� ใน พ.ศ. 2405 (1862) และปรมิ าณการคา้ โดยรวมทั้ง ปเี ปลย่ี นไปจากจ�ำ นวนประมาณ 5.6 ลา้ นบาท ใน พ.ศ. 2393 (1850) สงู ขนึ้ ไปถงึ ประมาณ 10 ลา้ นบาท ใน พ.ศ. 2411 (1868) ปรมิ าณการ ค้าท่ีสูงสุดอย่างมากน้ันมาจากการส่งออกข้าว2 การค้าข้าวท่ีขยาย ตัวมากข้ึนทำ�ให้บริเวณริมแม่น้ำ�และย่านการค้าในกรุงเทพฯ 318 ประวัตศิ าสตรไ์ ทยฉบับสังเขป
เปลี่ยนแปลงรูปโฉมไป มีการสร้างท่าเรือกับโรงเก็บสินค้าขึ้นใหม่ โรงสกี บั โรงเล่ือยท่ีใชเ้ ครือ่ งจกั รไอน้�ำ และตกึ แถวกอ่ ดว้ ยอิฐ ทว่ี าง ขายสนิ คา้ น�ำ เขา้ จากตา่ งประเทศ ขณะเดียวกนั กม็ ีถนนตัดใหม่ให้ รถม้าพาบรรดาพ่อค้าแลน่ เข้ามาในยา่ นจอแจของเมือง แตด่ า้ นการบรหิ ารแทบไมม่ อี ะไรเปลย่ี นแปลง นอกเหนอื จาก การเปล่ียนมาเปน็ สนิ ค้าบรโิ ภคแลว้ ยงั มกี ารผกู ขาดสินคา้ ประเภท ฝ่นิ บ่อนเบยี้ หวย และสุรา การบริหารงานราชการยังคงท�ำ อยู่ ณ บ้านเรือนของขุนนาง เหมือนที่เคยเป็นมาเมื่อหลายศตวรรษแล้ว และชาวยุโรปก็มองว่าเป็นการบริหารท่ีไร้ประสิทธิภาพและไม่มี มนษุ ยธรรม มีการฉอ้ ราษฎร์บังหลวง งานดา้ นยตุ ิธรรมยงั คงขนึ้ อยู่ กับตัวบุคคล และเปล่ียนแปลงไปตามแรงกดดันทางเศรษฐกิจและ สงั คมจนสามารถเปลยี่ นแปลงไดห้ ากปจั เจกชนเขา้ ไปเกย่ี วขอ้ งดว้ ย การบริหารกิจการของเมืองถูกมองว่าเต็มไปด้วยการเล่นพรรคเล่น พวก ส่วนใหญ่แล้วเจ้าหน้าที่ได้รับค่าตอบแทนจากการชักส่วนค่า ธรรมเนียมในการดำ�เนินกิจการต่างๆ หน่วยงานรัฐบาลแต่ละแห่ง พยายามควบคุมก�ำ ลงั คน เนื่องจากสิทธใิ นการใชก้ �ำ ลังคนเปน็ ที่มา ของรายไดห้ ลกั และความเขม้ แขง็ ทางการเมอื งของบคุ คลใน 3 กรม ใหญ่ ได้แก่ มหาดไทย ผู้ปกครองหัวเมืองฝ่ายเหนือ กลาโหม ผู้ ปกครองหัวเมอื งฝ่ายใต้ และพระคลงั ผูป้ กครองหวั เมอื งชายทะเล ใกล้ๆ กับกรุงเทพฯ ทั้งสามกรมมีอำ�นาจหน้าท่ีหลายอย่าง ได้แก่ ปกครองหวั เมอื ง จดั เกบ็ ภาษี จดั การเรอ่ื งงานโยธา จดั หากองทหาร และตดั สนิ คดีความ ในระบบการบริหารทั้งหมด ตัง้ แต่กรมใหญใ่ น กรงุ เทพฯ ไปจนถงึ ในเมืองท่ีเล็กที่สุด และอย่หู า่ งไกลทส่ี ุดนน้ั พบ ไดว้ า่ ผมู้ อี �ำ นาจในทอ้ งถน่ิ และครอบครวั ตา่ งพยายามอยา่ งสดุ ความ สามารถทจ่ี ะสบื ทอดอ�ำ นาจและอภสิ ทิ ธข์ิ องพวกตน จากคนรนุ่ หนงึ่ ไปยังร่นุ ตอ่ ไป และด้วยความหวงแหนอำ�นาจ จึงระวังป้องกันไมใ่ ห้ 7 | พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจ้าฯ และพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าฯ 319
คนภายนอกเขา้ มามีอทิ ธพิ ลได้ สิทธิสภาพนอกอาณาเขตเป็นส่ิงท่ีชาวตะวันตกขานรับต่อ กระบวนการยุติธรรมของสยาม การจำ�กัดภาษีสินค้าขาเข้าและขา ออก รวมทงั้ ภาษอี นื่ ๆ กเ็ ปน็ การขานรบั ตอ่ ความรสู้ กึ ทวี่ า่ เปน็ รายได้ จากการบรหิ ารที่ไม่แน่นอนและไมเ่ ป็นระเบยี บ การทตี่ ะวนั ตกข่มขู่ ดว้ ยก�ำ ลงั ทหารยังคงเปน็ จริง และอาจเกิดการเผชญิ หนา้ กันขน้ึ แน่ ละว่ายังไม่ต้องพูดถึงทหารอาชีพในสยามท่ียังไม่มี การปฏิรูปเป็น สิง่ ส�ำ คญั และจำ�เปน็ เพื่อปกป้องผลประโยชนข์ องสยามเพยี งอยา่ ง เดยี วเทา่ นนั้ และหลกั ศลี ธรรมทางพทุ ธศาสนากไ็ มต่ า่ งจากมาตรฐาน ตะวันตกแบบโบราณที่ต้องการให้เกิดการเปล่ียนแปลงข้ันพ้ืนฐาน ในเร่อื งการบรหิ าร ระบบกฎหมาย ระบบทาส และความผกู พันใน หนส้ี ิน กับบริการทางเศรษฐกจิ และสงั คม ทำ�ไมการปฏิรูปขั้นพ้ืนฐานในลักษณะเช่นนี้จึงไม่ได้ริเริ่มขึ้น ในรัชสมยั พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าฯ พระเจ้าแผ่นดินผู้ตรัสเอง ว่าราชอาณาจักรของพระองค์น้ันล้าหลัง และต้องการการปฏิรูป พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ ทรงคิดว่ามีเวลามากเพียงพอท่ีจะ ท�ำ ใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงอยา่ งชา้ ๆ และเพอื่ ไมใ่ หเ้ กดิ ความแตกหกั กบั ระเบยี บตา่ งๆ ทกี่ �ำ ลงั ปฏบิ ตั กิ นั อยอู่ ยา่ งรนุ แรงและรวดเรว็ จนเกนิ ไป ทรงคดิ วา่ ความรา้ ยแรงทส่ี ดุ อนั เกดิ จากการกดดนั ของจกั รวรรดนิ ยิ ม ไดผ้ า่ นพน้ ไปแลว้ แตเ่ หตผุ ลส�ำ คญั ยง่ิ กวา่ ทที่ �ำ ใหต้ อ้ งเลอ่ื นการปฏริ ปู กจิ การภายในออกไปกค็ อื เงอ่ื นไขทางสงั คมและการเมอื งทพ่ี ระบาท สมเด็จพระจอมเกล้าฯ ทรงสรา้ งข้ึนดว้ ยความเหน่อื ยยาก บางทบี รรดากรมกองตา่ งๆ ในระบบราชการ อาจข้ึนตรงตอ่ พระเจ้าแผ่นดินน้อยกว่าที่เคยเป็นมาเม่ือคร่ึงศตวรรษก่อนหน้านี้ เมอ่ื ครง้ั พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ ฯ ทรงสรา้ งอ�ำ นาจในระบบ ราชการซ่ึงเสมือนเป็นจุดเริ่มต้นการแข่งขันระหว่างพระเจ้าแผ่นดิน 320 ประวตั ศิ าสตร์ไทยฉบับสงั เขป
กับขุนนาง ต่อมาตำ�แหน่งกลาโหมและพระคลังก็ตกอยู่ในความ ควบคมุ ของคนตระกลู เดยี วมานานเกอื บสองชว่ั อายคุ น และมคี นใน สังกัดเป็นข้าและไพร่ที่มีความจงรักภักดีและมีข้อผูกพันส่วนตัวกับ ผู้บังคบั บัญชาและมูลนายของตน ความผกู พันทค่ี ล้ายคลงึ กนั เชน่ นี้ ของมูลนายกับไพร่แผ่กระจายอยู่ในการบริหารราชการส่วนกลาง เชน่ เดยี วกบั ในสว่ นทอ้ งถนิ่ ทส่ี ว่ นใหญอ่ ยใู่ ตก้ ารควบคมุ ของเจา้ เมอื ง ผู้สืบทอดอำ�นาจจากพ่อถึงลูก โดยมีพระบรมราชโองการแต่งตั้ง เปน็ การรบั รองการสบื ทอดอ�ำ นาจเทา่ นนั้ การโจมตกี ารใชอ้ �ำ นาจใน ทางที่ผิดใดๆ ที่มีอยู่จะนำ�ไปสู่การเผชิญหน้ากับตระกูลใดตระกูล หนึง่ คณะใดคณะหน่ึง หรือก๊กใดก๊กหนึ่ง อย่างไม่อาจจะหลีกเลย่ี ง ได้ จงึ ท�ำ ใหม้ กี ารเกาะกลมุ่ กันอย่างมากในสังคมสยาม ไม่วา่ จะเกิด อะไรขึน้ กต็ าม ในชว่ งกลางครสิ ต์ศตวรรษท่ี 19 มลู นายต้องหาเศษ หาเลยจากต�ำ แหนง่ หนา้ ทร่ี าชการ เพอ่ื ใชใ้ นการปกปอ้ งคมุ้ ครองและ ปนู บ�ำ เหนจ็ รางวลั กบั ไพรข่ องตน ในทางกลบั กนั ไพรเ่ องกต็ อ้ งพง่ึ พา มลู นายของตนเพ่อื ขอความคมุ้ ครอง (*ทางกฎหมาย) และขอให้มี ต�ำ แหนง่ แหง่ ทใ่ี นสงั คม เพอื่ บง่ บอกความมตี วั ตนของพวกเขา ความ สมั พนั ธท์ างสงั คมทงั้ หมดเปน็ โครงสรา้ งในแนวดง่ิ ซง่ึ เกดิ จากความ ผกู พนั ระหวา่ งบคุ คลทมี่ สี ถานะแตกตา่ งกนั แสดงใหเ้ หน็ ไดจ้ ากการ ใช้ภาษา การตั้งตำ�แหน่งทางบริหาร รวมทั้งบรรดาศักดิ์ หรือ ราชทินนาม เม่ือมองความเป็นปึกแผ่นทางสังคมในระดับแนวราบ จะพบความรู้สึกเท่าเทียมกันน้อยมาก ภาษาของสยามเองก็แทบ ไมม่ ีแนวคิดเร่ืองความสมั พันธท์ เี่ ทา่ เทยี ม พระบาทสมเด็จพระจอม เกล้าฯ ทรงรเู้ รื่องน้ีดี และตระหนักไดถ้ ึงพระราชอ�ำ นาจทม่ี ีอยอู่ ย่าง จำ�กัด จึงทรงนำ�พาราชอาณาจักรไปอย่างระมัดระวังและค่อยเป็น คอ่ ยไป โดยไมอ่ าจจะผลกั ดนั อยา่ งแรงได้ เหนอื สง่ิ อน่ื ใด ทรงตอ้ งการ ความร่วมมืออย่างกว้างขวางท่ีสุดเท่าท่ีจะเป็นไปได้ เพื่อท่ีจะสร้าง 7 | พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจา้ ฯ และพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าฯ 321
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประทับบนพระเสล่ียงเสด็จ พระราชดำ�เนินสู่วดั พระเชตพุ นฯ (วดั โพธิ์) พ.ศ. 2408 (1865) 322 ประวตั ิศาสตร์ไทยฉบับสงั เขป
ความมนั่ คงบนพื้นฐานทจี่ ะท�ำ ให้เกิดการปฏิรปู ได้ในทา้ ยท่สี ุด พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ ฯ ทรงด�ำ เนนิ การปฏริ ปู ไปอยา่ ง ชา้ ๆ ทรงเรมิ่ ตน้ ดว้ ยการพมิ พห์ นงั สอื ของทางราชการ (*หนงั สอื ราช กจิ จานเุ บกษา) และทรงอนญุ าตใหพ้ มิ พป์ ระกาศและกฎหมายตา่ งๆ ของราชอาณาจกั ร เพอ่ื ใหร้ าษฎรรบั ทราบขอ้ มลู ไดด้ ขี นึ้ ทรงทดลอง ใหม้ กี ารเลอื กตงั้ ผพู้ พิ ากษา (และตอ่ มากย็ กเลกิ การปฏบิ ตั นิ น้ั ) ทรง ยกเลกิ ธรรมเนียมโบราณ โดยอนุญาตใหร้ าษฎรท่เี ฝา้ แหนระหว่าง ทางท่ีเสด็จพระราชดำ�เนินเงยหน้าข้ึนมองพระพักตร์ได้ และทรง อนุญาตให้ราษฎรถวายฎีกาได้เพ่ือบรรเทาความรู้สึกทุกข์ยาก แม้ จะมคี วามส�ำ เรจ็ เพยี งนอ้ ยนดิ กท็ รงพยายามปรบั ปรงุ เงอ่ื นไขทเ่ี กย่ี ว กับทาส และอนุญาตให้ผหู้ ญงิ มที างเลอื กท่จี ะแต่งงานได้ นอกจาก นี้ ยงั ทรงจา้ งทปี่ รกึ ษาชาวตา่ งชาตจิ �ำ นวนหยบิ มอื หนง่ึ เทา่ นน้ั (เมอ่ื ถึง พ.ศ. 2413 (1870/ตน้ รชั กาลท่ี 5) มจี ำ�นวน 14 คน) เพื่อท�ำ งาน ช�ำ นาญพเิ ศษหรอื งานเทคนคิ ทไี่ มเ่ กย่ี วขอ้ งกบั ผลประโยชนใ์ นตอน นนั้ บางคนเปน็ ลา่ มและเลขานกุ ารในการด�ำ เนนิ งานดา้ นตา่ งประเทศ บา้ งกเ็ ปน็ ครูฝึกในกองทหารกง่ึ ส่วนพระองค์ (อยา่ งเช่น กองทหาร ของพระบาทสมเดจ็ พระปนิ่ เกล้า, พระเจา้ แผ่นดินองค์ที่สอง) เปน็ ช่างพิมพ์ หัวหน้าวงดุริยางค์ และเจ้าหน้าที่ผู้ชำ�นาญการอื่นๆ ใน การบริหารท่าเรือและกิจการตำ�รวจ ทั้งสองหน่วยงานน้ีให้บริการ โดยตรงแก่ชมุ ชนชาวยุโรปทีก่ ำ�ลงั เตบิ โตข้ึนในกรุงเทพฯ เหลา่ นแ้ี มจ้ ะเปน็ เพยี งขน้ั ตน้ แตก่ เ็ ปน็ พน้ื ฐานส�ำ คญั ทพี่ ระบาท สมเดจ็ พระจอมเกลา้ ฯ ทรงคาดหวงั จะรอคอยไปถงึ วนั ขา้ งหนา้ เมอ่ื พระองคห์ รอื ผสู้ บื ทอดราชสมบตั ขิ องพระองคจ์ ะสามารถสรา้ งประเทศ สยามท่ี “ศิวิไลซ”์ อยา่ งแทจ้ รงิ แทนท่ีจะเปน็ ประเทศ “ก่ึงศวิ ไิ ลซ์ โดยให้ (ราษฎร) มปี ระมวลกฎหมายใช้ และไดป้ รบั ปรงุ ขนบธรรมเนยี ม ประเพณใี ห้ดงี าม”3 7 | พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจ้าฯ และพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ ฯ 323
พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั และสมเดจ็ เจา้ ฟา้ จฬุ าลงกรณ์ พระราชโอรส พ.ศ. 2408 (1865) 324 ประวตั ศิ าสตร์ไทยฉบับสังเขป
พระเจ้าแผน่ ดนิ องคใ์ หม่ปะทะกับพวก “หวั โบราณ” พระราชโอรสในพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ ฯ ทปี่ ระสตู กิ อ่ น ที่จะทรงลี้ราชภัยไปผนวชต่างก็สิ้นพระชนม์ไปก่อนปี พ.ศ. 2411 (1868) และเมอื่ พระบาทสมเดจ็ พระปน่ิ เกลา้ ฯ เสดจ็ สวรรคต ใน พ.ศ. 2409 (1866) ประกอบกบั พระเจา้ แผ่นดินทรงมีพระชนมายมุ ากยงิ่ ข้นึ จึงเกดิ ปญั หาเรอ่ื งผสู้ บื ทอดราชสมบัติ สมเดจ็ พระเจ้าลูกยาเธอ เจา้ ฟ้าจฬุ าลงกรณ์ (ประสูตเิ มื่อ พ.ศ. 2396 (1853)) พระราชโอรส องคใ์ หญ่ ทป่ี ระสตู แิ ตพ่ ระมเหสกี ย็ งั ทรงพระเยาว์ แตต่ อ่ มาทรงเปน็ ท่ีรู้จักมากขึ้นในฐานะรัชทายาทท่ีเหมาะสมกับราชบัลลังก์ เป็นที่ ปรากฏชัดเจนว่าพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ ทรงหวังว่าพระ ราชโอรสจะสืบทอดราชสมบัติต่อจากพระองค์ และเพื่อเตรียมพระ ราชโอรสให้มีความพร้อมสำ�หรับราชบัลลังก์ ในทศวรรษ 1860 (2403-2412) จงึ ทรงจดั การใหส้ มเดจ็ ฯเจา้ ฟา้ จฬุ าลงกรณ์ ไดร้ บั การ ศกึ ษาทปี่ ระสมประสานกนั ระหวา่ งความรขู้ องสยามกบั ความรทู้ ท่ี นั สมยั ของตะวนั ตก สมเดจ็ ฯเจา้ ฟา้ จฬุ าลงกรณท์ รงเปน็ เปา้ หมายหลกั ในงานสอนของ นางแอนนา เลยี วโนเวนส์ และในเวลาเดียวกนั ก็ ทรงได้รับประโยชน์จากการเรียนการสอนแบบจารีตของสยามไป พรอ้ มกบั การฝกึ งานกบั สมเดจ็ พระราชบดิ า โดยการประทบั อยใู่ นท่ี ทรงออกขนุ นางเวลาวา่ ราชการ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ ฯ ทรง คาดหวังว่าจะมอบราชสมบัติให้แก่พระราชโอรสได้เมื่อทรงบรรลุ นติ ภิ าวะใน พ.ศ. 2416 (1873) แตท่ ง้ั สองพระองคก์ ท็ รงพระประชวร ด้วยโรคมาลาเรีย เมื่อเสด็จไปทอดพระเนตรการเกิดสุริยุปราคาใน ภาคใต้ (*ทห่ี วา้ กอ จงั หวดั ประจวบครี ขี นั ธ)์ ใน (*วนั ท่ี 18 สงิ หาคม) พ.ศ. 2411 (1868) พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ ฯ เสดจ็ สวรรคต หลงั จากท่ีเสด็จพระราชดำ�เนินกลับมายังพระนคร เม่ือวันที่ 1 ตุลาคม 7 | พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจา้ ฯ และพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าฯ 325
สมเดจ็ เจา้ พระยาบรมหาศรสี รุ ยิ วงศ์ (ชว่ ง บนุ นาค) พ.ศ. 2408 (1865) 326 ประวตั ศิ าสตร์ไทยฉบับสงั เขป
พ.ศ. 2411 (1868) โดยละท้งิ ผ้จู ะสืบราชสมบัติ พระชนม์ 15 พรรษา ซงึ่ มพี ระพลานามัยแสนจะเปราะบางไปในที่สุด กอ่ นท่พี ระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ ฯ จะเสด็จสวรรคตเพยี ง ไมก่ ว่ี ัน เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง) ไดก้ ราบบังคมทลู ฯ ถามเรื่อง ผู้สืบราชสมบัติ ทรงปฏิเสธท่ีจะประกาศแต่งตั้งผู้ใด โดยไม่ทรงให้ เหตุผลใดๆ แมจ้ ะทูลถามว่า สมเด็จฯ เจ้าฟา้ จฬุ าลงกรณค์ วรจะได้ รบั เลอื กจากทปี่ ระชมุ ผคู้ ดั เลอื กผสู้ บื ตอ่ ราชสมบตั หิ รอื ไม่ กท็ รงปฏเิ สธ ทจี่ ะตอบ เจา้ พระยาศรสี รุ ยิ วงศต์ กลงรบั ท�ำ หนา้ ทผี่ สู้ �ำ เรจ็ ราชการไป จนกวา่ จะทรงบรรลนุ ติ ภิ าวะ เมอ่ื มกี ารประชมุ กนั เจา้ พระยาศรสี รุ ยิ วงศไ์ ดเ้ สนอใหส้ มเดจ็ ฯ เจา้ ฟา้ จฬุ าลงกรณท์ รงสบื ตอ่ ราชสมบตั ิ โดย ใชเ้ หตผุ ลจากแนวคดิ แคบๆ อยา่ งทช่ี าวตะวนั ตกเขา้ ใจ เกยี่ วกบั สทิ ธิ ธรรมในราชบัลลังก์ (คล้ายกบั กรณีของรัชกาลท่ี 3) และความคาด หวังของชาวตะวันตก ท่ีคิดว่าสมเด็จฯ เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์คงจะได้ ข้ึนครองบัลลังก์ เม่ือพิจารณาในมุมมองด้านความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศของสยาม การเลือกสมเด็จฯ เจา้ ฟา้ จฬุ าลงกรณ์เป็นกรณที ่ี ปลอดภยั กวา่ ไมม่ ใี ครกลา้ โตแ้ ยง้ ขอ้ เสนอน้ี สมเดจ็ ฯ เจา้ ฟา้ จฬุ าลงกรณ์ จึงทรงเป็นผู้สืบราชสมบัติต่อจากสมเด็จพระราชบิดาโดยเอกฉันท์ และเจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ได้รับเลือกเป็นผู้สำ�เร็จราชการให้แก่ยุว กษัตริย์ จนกระทั่งทรงบรรลุนิติภาวะใน พ.ศ. 2416 (1873) ต่อมา เจา้ พระยาศรสี รุ ยิ วงศไ์ ดก้ ระท�ำ การทไ่ี มเ่ คยมแี บบอยา่ งมากอ่ น โดย ประกาศให้กรมหมื่นบวรวิไชยชาญ (พระราชบิดาทรงนิยมชาว อเมริกนั จึงตงั้ พระนามใหว้ ่า “ยอร์ช วอชงิ ตนั ”) พระราชโอรสใน พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าฯ พระเจ้าแผ่นดินองค์ที่สอง ผู้เสด็จ สวรรคตไปแลว้ ใหด้ �ำ รงต�ำ แหนง่ กรมพระราชวงั บวรสถานมงคล (วงั หน้า) ซึง่ ตามโบราณราชประเพณแี ลว้ พระเจ้าแผน่ ดินองค์ใหมจ่ ะ ทรงเลือกผู้ดำ�รงตำ�แหน่งนี้ด้วยพระองค์เอง เจ้านายพระองค์หน่ึง 7 | พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจา้ ฯ และพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าฯ 327
(*พระองค์เจ้าปราโมช กรมขุนวรจักรธรานุภาพ) ทรงกล้าลุกขึ้น คัดค้านการเคลื่อนไหวท่ีไม่เคยมีขึ้นมาก่อนเช่นนี้ แต่ทรงไม่ได้รับ เสียงสนับสนุนจากท่ีประชุม ซึ่งเกรงอำ�นาจของเจ้าพระยาศรีสุริย วงศ์ และการผลักดันให้แต่งต้ังกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญก็เป็น ผลสำ�เร็จได้ในท่สี ุด ยงั ไมเ่ ปน็ ทแี่ นช่ ดั วา่ เจา้ พระยาศรสี รุ ยิ วงศใ์ ชเ้ ลห่ ใ์ นการด�ำ เนนิ การเรื่องนี้ได้อย่างไร แต่โดยทั่วไปแล้ว การกระทำ�ต่างๆ ของเขา มกั จะถกู ตคี วามวา่ เปน็ ความพยายามทจ่ี ะรกั ษาต�ำ แหนง่ และอทิ ธพิ ล ของเขาในราชอาณาจักร มีผู้คิดกันว่าเจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์เชื่อว่า สมเดจ็ ฯ เจา้ ฟา้ จฬุ าลงกรณจ์ ะไมท่ รงฟนื้ จากพระอาการประชวร และ นนั่ จะท�ำ ใหก้ รมพระราชวงั บวรวไิ ชยชาญไดข้ น้ึ ครองราชบลั ลงั กท์ มี่ ี เจา้ พระยาศรสี รุ ยิ วงศค์ �ำ้ จนุ ไวใ้ ห้ อยา่ งไรกต็ าม ในระยะสนั้ แลว้ ฐานะ ของตระกลู ของเขา (*บุนนาค) ยังคงไดร้ บั การส่งเสรมิ ต่อไป เม่อื มี การแต่งต้ังเสนาบดีใหม่ๆ ในเวลาต่อมา เม่ือเจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ ได้เป็นผู้สำ�เร็จราชการ ก็ได้รับพระราชทานบรรดาศักด์ิเทียบเท่า พระบรมวงศานวุ งศ์ เปน็ สมเดจ็ เจา้ พระยาบรมมหาศรสี ุรยิ วงศ์ ซ่งึ ไมเ่ คยเกดิ ขน้ึ มากอ่ น เจา้ พระยาสรุ วงศไ์ วยวฒั น์ (วอน) บตุ รคนหนงึ่ ไดด้ �ำ รงต�ำ แหนง่ เปน็ สมหุ พระกลาโหมสบื ตอ่ จากเขา เจา้ พระยาภาณุ วงศม์ หาโกษาธบิ ดี (ทว้ ม) นอ้ งชายคนหนง่ึ ด�ำ รงต�ำ แหนง่ พระคลัง และหลานชายของเขาได้ดำ�รงตำ�แหน่งเสนาบดีกรมนา (เกษตราธิ การ) ดูแลเร่ืองที่นา ซึ่งมีรายได้จากอากรค่านา (รายได้จำ�นวน มหาศาลน้ีส่วนหนึ่งถูกส่งต่อไปยังผู้สำ�เร็จราชการอีกทีหน่ึง) สมเดจ็ เจา้ พระยาบรมมหาศรสี รุ ยิ วงศเ์ ปน็ ผบู้ รหิ ารราชการตวั จรงิ ใน สมยั ทกี่ ษตั รยิ ต์ อ้ งมผี สู้ �ำ เรจ็ ราชการ เชน่ เดยี วกบั ทเ่ี ขาไดเ้ คยมอี ทิ ธพิ ล มากอ่ นหนา้ นี้ และยงั คงเปน็ เชน่ นน้ั ตราบจนกระทง่ั ถงึ แกอ่ สญั กรรม ใน พ.ศ. 2426 (1883) 328 ประวัตศิ าสตร์ไทยฉบับสงั เขป
พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ไมไ่ ดท้ รงอยใู่ นฐานะ ทจ่ี ะท้าทายอำ�นาจของผสู้ ำ�เร็จราชการโดยทนั ที แมจ้ ะมีการโตแ้ ย้ง กันบ่อยครั้งในเร่ืองเงินๆ ทองๆ เนื่องจากยุวกษัตริย์ไม่ทรงมีสมัคร พรรคพวกทางการเมอื งของพระองคเ์ อง ทงั้ ยงั ไมท่ รงมพี ระญาตฝิ า่ ย พระราชมารดาท่ที รงดำ�รงต�ำ แหน่งสงู หรือมเี จ้านายทีท่ รงมอี ำ�นาจ โดยอสิ ระคอยสนบั สนนุ พระองคอ์ ยู่ จงึ ตอ้ งทรงอยไู่ ดด้ ว้ ยความเมตตา ของผสู้ �ำ เรจ็ ราชการ เคยมตี วั อยา่ งสถานการณเ์ ชน่ นใี้ นประวตั ศิ าสตร์ (*สมัยอยุธยา) ซึ่งเจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์เป็นผู้สำ�เร็จราชการให้แก่ ยุวกษัตริย์ (*พระเชษฐาธิราช) เม่ือ พ.ศ. 2172 (1629) ได้ชิงราช สมบัติ แล้วปราบดาภิเษกขึ้นเป็นพระเจ้าปราสาททอง แต่ สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ปฏิบัติตนเป็นอย่างดี รับผิด ชอบตอ่ หนา้ ทที่ มี่ ตี อ่ ยวุ กษตั รยิ แ์ ละราชอาณาจกั ร โดยดแู ลใหพ้ ระบาท สมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ ฯทรงไดร้ บั การศกึ ษา แลว้ อนญุ าตใหเ้ สดจ็ ประพาสอาณานิคมของฮอลันดาและอังกฤษ ในชวา มลายู พม่า และอินเดยี ใน พ.ศ. 2413-2414 (*นับศักราชแบบเก่า 1871-1872) เพ่ือให้พระองค์ทรงคุ้นเคยกับธรรมเนียมปฏิบัติในการบริหารบ้าน เมอื งแบบสมยั ใหม่ พระราชจริยวัตรของกษัตริย์พระองค์ใหม่เพิ่งปรากฏต่อ สาธารณะอยา่ งชดั เจนใน พ.ศ. 2416 (1873) ชว่ งเดอื นกอ่ นหนา้ และ หลังจากพระราชพิธีบรมราชาภเิ ษกคร้ังท่สี อง ในฐานะพระเจ้าแผน่ ดินผู้มศี กั ดแิ์ ละสิทธิ์ (พฤศจกิ ายน 2416 (1873)) พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ ฯ ทรงเรม่ิ การปฏริ ปู อยา่ งตอ่ เนอื่ งเปน็ ชดุ ๆ ทแ่ี สดง ให้เห็นความตั้งใจและความรู้สึกอันทันสมัยของพระองค์ พระราช บัญญัติแตง่ ตง้ั ศาลพเิ ศษ เพอื่ ชำ�ระคดีความทค่ี ่งั ค้างอยู่ในศาลของ กรมต่างๆ ในพระนคร และการประกาศใช้ระเบียบวิธีการพิจารณา อย่างชัดเจน ซึ่งเป็นการเคี่ยวเข็ญการทำ�งานโดยตรงต่อบรรดาผู้ 7 | พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจ้าฯ และพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าฯ 329
พิพากษาในระบบเก่า พระราชบัญญัติที่รวมศูนย์อำ�นาจเข้าสู่ส่วน กลาง ทงั้ เรอื่ งการจดั ท�ำ งบประมาณ และการใหส้ มั ปทานผกู ขาดการ คา้ ฝน่ิ กบั บอ่ นเบยี้ ซง่ึ ทา้ ทายการฉอ้ ราษฎรบ์ งั หลวงทแี่ พรห่ ลายอยู่ ในพระนคร การตงั้ สภาทป่ี รกึ ษาในพระองค์ และสภาทปี่ รกึ ษาราชการ แผน่ ดนิ (ทม่ี ชี อ่ื เรยี กตรงกบั ภาษาองั กฤษวา่ ปรวี เี คานซ์ ลิ และ เคาน์ ซลิ ออฟสเต็ท) ซ่งึ มีอ�ำ นาจในการออกกฎหมาย ตรวจสอบ และให้ ค�ำ ปรกึ ษา โดยมสี มาชกิ สว่ นใหญเ่ ปน็ คนรนุ่ หนมุ่ ทงั้ ทเี่ ปน็ พระอนชุ า พระสหาย และบรรดาคู่แข่งของตระกูลบุนนาค ซึ่งบ่งบอกให้เห็น อยา่ งชดั เจนวา่ จะมกี ารแขง่ ขนั ทางการเมอื ง ในทส่ี ดุ กค็ อื บรรดาพระ ราชบญั ญตั ทิ ป่ี ระกาศให้ค่อยๆ ลดการมที าส และการวางเงอื่ นไขท่ี กวดขันแน่นหนาย่ิงขึ้นในเร่ืองสถานะของการเป็นทาสสินไถ่ และ การทำ�ให้ทาสไถ่ตัวได้ง่ายข้ึน ก็เป็นการทำ�ลายระบบการเกณฑ์ แรงงาน และจากน้ันก็ท�ำ ลายฐานะทางเศรษฐกจิ ของชนชนั้ ขนุ นาง พระเจ้าแผ่นดินทรงมีแรงจูงใจหลายประการที่ผสมผสานกัน ในการดำ�เนินการปฏิรูปอันยากลำ�บาก ซ่ึงทั้งหมดนี้ ในทางหน่ึง เป็นการโจมตีรากเหง้าของระบบเก่า ทั้งหมดน้ีจะโดยตรงหรือโดย ออ้ มกท็ �ำ ใหฐ้ านะทางการเมอื งของพระเจา้ แผน่ ดนิ เขม้ แขง็ ขน้ึ นอกจาก นน้ั ทง้ั หมดยงั ไดร้ บั การยกยอ่ งวา่ อยบู่ นพนื้ ฐานทางศลี ธรรมทผ่ี คู้ น โตแ้ ยง้ ได้นอ้ ยมาก ในขณะเดียวกนั ส่วนผปู้ กครองรุ่นเกา่ ทพ่ี ระเจ้า แผ่นดินทรงเรยี กว่าพวก “หัวโบราณ” อาจจะตอ่ ว่าการปฏริ ปู เหลา่ นว้ี า่ เปน็ สงิ่ แปลกใหมท่ ไ่ี ดแ้ รงบนั ดาลใจจากตะวนั ตก แตเ่ ปน็ ทป่ี รากฏ โดยทว่ั ไปวา่ สง่ิ เหลา่ นสี้ มเหตสุ มผลอยา่ งยง่ิ กบั หลกั ทางศลี ธรรมของ พทุ ธศาสนา ความรสู้ กึ ของพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ ฯ ทที่ รง แสดงใหป้ รากฏอยา่ งแจม่ ชดั ในพระราชหตั ถเลขาทท่ี รงเขยี นในชว่ ง เวลานี้ ท�ำ ใหไ้ มม่ เี หตผุ ลอนั ใดทจ่ี ะสงสยั ในความจรงิ ใจของพระองค์ ไดเ้ ลย การแสดงออกใหเ้ หน็ ไดอ้ ยา่ งดที สี่ ดุ นา่ จะเปน็ พระราชบญั ญตั ิ 330 ประวัตศิ าสตรไ์ ทยฉบบั สังเขป
ยกเลิกการหมอบคลานในการเขา้ เฝา้ ทีป่ ระกาศในพระราชพธิ บี รม ราชาภเิ ษกครงั้ ท่ี 2 ทท่ี รงเหน็ วา่ เปน็ การลดคณุ คา่ ศกั ดศ์ิ รคี วามเปน็ มนุษย์ ในบรรดาพระราชบัญญัติเหล่านี้ ยุวกษัตริย์ทรงเร่ิมเผยให้ เหน็ วสิ ยั ทศั นข์ องสยามในอนาคตวา่ เปน็ รฐั ทแี่ สดงอดุ มคตสิ งู สดุ ทาง ดา้ นศลี ธรรมของพทุ ธศาสนา แตข่ ณะเดยี วกนั กย็ งั อยบู่ นความคาด หวงั และมาตรฐานของตะวนั ตกได้ อยา่ งไรกต็ าม ตอ่ มาพระเจา้ แผน่ ดนิ ทรงสำ�เหนียกไดถ้ ึงความขัดแย้งที่ส�ำ คญั ในวิสยั ทัศนน์ ้ี เพียงไมก่ เี่ ดอื น การปฏิรูปในช่วง พ.ศ. 2416-17 (1873-74) กเ็ ร่งให้เกิดการต่อต้านและการขัดขนื ในปลายปี พ.ศ. 2417 (1874) พวกหวั รนุ แรงบางคนทส่ี นบั สนนุ พระเจา้ อยหู่ วั ในปรวี เี คานซ์ ลิ กเ็ รม่ิ โจมตกี รมพระราชวงั บวรวไิ ชยชาญ โดยตง้ั ขอ้ เรยี กรอ้ งอนั เปน็ ผลให้ ตอ้ งกลับมาพิจารณาถึงสทิ ธิธรรมของพระเจ้าแผ่นดิน ในการเลอื ก วังหน้าด้วยพระองค์เอง กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญทรงรู้สึกว่า ถูกข่มเหง และทรงเห็นแล้วว่าการปฏิรูปเหล่าน้ีทำ�ให้พระเจ้าแผ่น ดนิ หนมุ่ ทรงมอี �ำ นาจกลา้ แขง็ ขน้ึ จงึ ทรงเรมิ่ เรยี กระดมพลกองทหาร ของพระองค์ และเรยี กฝกึ กองทพั ทส่ี นามวงั หน้าช่วงกลางดึก เมอื่ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ ฯ ทรงทราบ ดงั นน้ั จงึ ทรงสงั่ ใหเ้ พม่ิ กำ�ลังทหารรักษาพระราชวังอย่างแน่นหนายิ่งข้ึน ต่อมาในคืนวันท่ี 28-29 ธนั วาคม พ.ศ. 2417 (1874) เกดิ ไฟไหมใ้ กลก้ บั โรงเกบ็ ดนิ ปนื และโรงแก๊สในวังหลวง แลว้ กองทหารของกรมพระราชวงั บวรวิไชย ชาญที่ติดอาวุธอย่างเต็มท่ีก็มาถึงประตูวังหลวง ร้องขออนุญาตให้ เขา้ ไปในวงั หลวงเพอื่ ชว่ ยดบั ไฟ แตก่ ไ็ มไ่ ดร้ บั อนญุ าตใหเ้ ขา้ ไป เพลงิ ถูกระงับไปได้ และทั้งสองฝ่ายเผชิญหน้ากันอย่างเคร่งเครียด รอ คอยการเคล่อื นไหวตอ่ ไป เม่ือเร่ิมปรากฏชัดเจนว่าฝ่ายของพระเจ้าแผ่นดินกำ�ลังจะใช้ กรณที ีเ่ กดิ ข้ึนนีเ้ พ่ือลดสทิ ธิพเิ ศษของพระองค์ กรมพระราชวงั บวร 7 | พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจา้ ฯ และพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ ฯ 331
วไิ ชยชาญจงึ ทรงหนอี อกจากวงั หนา้ เมอื่ วนั ท่ี 2 มกราคม 2417 และ ไปขออาศัยหลบภัยในสถานกงสุลอังกฤษ ตอนน้ันแทบจะเกิด สงครามกลางเมืองขึ้นในประเทศน้ี เพราะว่าวังหน้าทรงได้รับการ สนบั สนนุ อยมู่ ากจากบรรดาชนชนั้ สงู ในพระนครทข่ี นุ่ เคอื งใจบรรดา พระสหายหวั รนุ แรงของพระเจ้าแผน่ ดิน เม่อื เวลาผ่านไประยะหนงึ่ กรมพระราชวังบวรวไิ ชยชาญทรงไดร้ ับค�ำ แนะนำ�ว่า ควรเสด็จกลับ ไปยงั วงั หนา้ เมอ่ื ไดท้ �ำ ขอ้ ตกลงกบั พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ ฯ โดยไดร้ บั ค�ำ รบั รองจากกงสลุ องั กฤษกบั กงสลุ ฝรง่ั เศส แตร่ าชส�ำ นกั ไม่อาจยอมรับการจัดการท่ีต้ังใจจะลดคุณค่าความเป็นองค์อธิปัตย์ ของพระเจ้าแผ่นดินลงได้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าฯ ทรง ระดมสง่ คำ�รอ้ งเรยี นใสท่ ง้ั ปารสี และลอนดอน ขอใหช้ าวยโุ รปวางตวั เป็นกลาง และทรงดำ�เนนิ การอยา่ งหนกั เพ่ือให้บรรดาเสนาบดแี ละ คนรุ่นเก่าในราชสำ�นักหันกลับมาสนับสนุนพระองค์อีกครั้งหนึ่ง กระทรวงการต่างประเทศของอังกฤษเลือกที่จะพิจารณากรณีดัง กล่าวว่าเป็นการวิวาทภายในอย่างแท้จริง เห็นได้จากข้อความท่ี ขา้ หลวงผปู้ กครองสงิ คโปรไ์ ดส้ ง่ ถงึ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ ฯ เป็นการส่วนตัว เมื่อปราศจากการสนับสนุนท่ีเป็นไปได้จากต่าง ประเทศ ในท้ายท่ีสุด กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญจึงไม่ทรงมีทาง เลือกอ่ืนนอกจากเสด็จกลับวัง และยอมรับข้อจำ�กัดต่างๆ ที่มีต่อ สถานะของพระองค์ กรณีวงั หน้า เมื่อ พ.ศ. 2417 (*นบั ศักราชแบบเก่า 1874-75) มคี วามส�ำ คญั อยา่ งมากในทนั ที เพราะกรณนี ที้ �ำ ใหเ้ หน็ ไดช้ ดั เจนถงึ อันตรายท้ังปวง และสภาพแวดล้อมทางการเมืองท่ียากเกินกว่าจะ จัดการได้ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ ฯ จะต้องทรงดำ�เนนิ การ พระองคท์ รงเรียนร้อู ยา่ งรวดเร็วว่าบรรดาพระสหายหวั รุนแรง 332 ประวตั ศิ าสตร์ไทยฉบบั สงั เขป
เหลา่ นี้ อาจเรง่ ใหเ้ กดิ ปญั หาส�ำ คญั อนั ยงิ่ ใหญไ่ ด้ และทรงเรยี นรดู้ ว้ ย ว่าพวกเขามีกำ�ลังจะสนับสนุนพระองค์ได้เพียงเล็กน้อยเท่านั้น ทั้ง ยงั ทรงพบเชน่ เดยี วกนั วา่ บรรดาเสาหลกั ของบา้ นเมอื ง ไดแ้ ก่ บรรดา เสนาบดแี ละขนุ นาง ในรชั สมยั ของสมเดจ็ พระราชบดิ ายงั คงมอี ทิ ธพิ ล และอำ�นาจ หากปราศจากเสาหลกั เหล่าน้แี ล้ว พระองค์ก็ไมอ่ าจจะ ทรงตา้ นทานทง้ั ภยั คกุ คามจากภายนอกและการทา้ ทายจากภายใน ได้ วกิ ฤตการณน์ เี้ กอื บท�ำ ใหต้ อ้ งทรงเสยี ราชสมบตั ิ และสยามเกอื บ ต้องเสียอำ�นาจอธิปไตย สิ่งท่ีทรงต้องจ่ายเพื่อแก้ไขปัญหาวิกฤตนี้ คือ การละทิ้งการปฏิรูปในหลายเรื่องท่ีได้ดำ�เนินมาแล้วตลอด 18 เดอื นกอ่ นหนา้ น้ี สภาทป่ี รกึ ษาทง้ั สองยตุ กิ ารประชมุ การปฏริ ปู ดา้ น การเงนิ หลายประการถกู ลมื เลอื น หรอื ไมม่ ผี ลบงั คบั ใช้ ระบบบรหิ าร ดา้ นการศาลกลับส่รู ูปแบบเดมิ อยา่ งทเ่ี คยเป็นใน พ.ศ. 2411 (1868) บรรดาพระสหายวัยเยาว์ได้รับการตักเตือนให้แสดงความเคารพผู้ สงู วยั กวา่ ใหม้ ากขนึ้ และใหเ้ ลกิ สมาคมสยามหนมุ่ รวมทงั้ หนงั สอื พมิ พ์ ของพวกเขาทีส่ นบั สนนุ แนวคดิ เชิงปฏริ ูป ตอนน้ีเหน็ ไดช้ ดั เจนแลว้ วา่ ระบบเกา่ มอี �ำ นาจเหนอื กวา่ หากพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ ฯ ทรงยนื กรานจะด�ำ เนนิ การปฏริ ปู ทรี่ ากเหงา้ นน้ั ตอ่ ไป สง่ิ ทจี่ ะทรงสญู เสยี ย่อมมีมากกว่าเวลา ในยามลอ่ แหลมเชน่ น้ี ความเปน็ นำ�้ หนง่ึ ใจ เดียวกันของคนในราชอาณาจักร แม้เพียงเล็กน้อยก็มีความสำ�คัญ ยิง่ ต่อความอยูร่ อดของรัฐ และเพื่อความอยรู่ อดน้ีเอง ทที่ ำ�ให้ความ หวังสูงสุดในการปฏิรูปต้องหยุดพักไปก่อน ตอนนี้พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าฯ ต้องรอคอยเวลาของพระองค์ โดยค่อยๆ สร้าง ความเข้มแข็งและการสนับสนุนที่จะทำ�ให้การปฏิรูปนั้นเป็นจริงได้ ในทา้ ยท่สี ดุ ความสัมพันธ์ท่ีพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าฯ ทรงมีกับ ชาตติ ะวนั ตก ในทศวรรษ 1870 (2413-2422) ไมค่ อ่ ยจะดนี กั แมจ้ ะ 7 | พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจ้าฯ และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ ฯ 333
ทรงประสบความส�ำ เรจ็ ในขอ้ เรยี กรอ้ งทม่ี ตี อ่ ลอนดอนและปารสี เมอ่ื พ.ศ. 2418 (1875) โดยเฉพาะอย่างย่ิง ปัญหาตอ่ เนอื่ งยาวนานเร่ือง ความสัมพันธ์ระหว่างอังกฤษกับสยามที่กำ�หนดได้ชัดเจนอย่างเร็ว ท่สี ดุ ก็เมอ่ื ทศวรรษ 1820 (2363-2372) ปญั หาน้ที วคี วามสำ�คญั ขนึ้ เร่ือยๆ เม่ืออังกฤษทำ�กิจกรรมแสวงหาประโยชน์อย่างไม่เป็นธรรม จากปา่ ไมส้ กั ในเขตพมา่ ตอนลา่ ง ไดเ้ คลอ่ื นยา้ ยเขา้ มาทางตอนเหนอื ของสยาม ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ ผลประโยชน์ ขององั กฤษและการเขา้ ไปเกยี่ วขอ้ งในพน้ื ทดี่ งั กลา่ วท�ำ ใหก้ รงุ เทพฯ เรมิ่ วิตกกังวล พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าฯ ทรงเกรงวา่ การท่ี เจา้ เมอื งประเทศราชเชยี งใหมท่ �ำ ผดิ โดยยอมใหอ้ งั กฤษเขา้ ไปท�ำ การ ปา่ ไม้ อาจทำ�ใหก้ รุงเทพฯ เสยี การควบคุมเชียงใหม่ได้ ทรงวติ กอกี เช่นกันว่า พระเจ้าเชียงใหม่อาจเข้าไปเก่ียวข้องกับการดำ�เนินงาน ของกองทพั หรอื ไปมขี อ้ ววิ าทกบั รฐั บาลองั กฤษทพี่ มา่ จนท�ำ ใหท้ าง กรงุ เทพฯ ต้องลำ�บากใจ และอาจท�ำ ให้เกดิ การปะทะกนั กบั อังกฤษ ได้ ดังนัน้ จงึ ทรงริเรม่ิ ทีจ่ ะใชน้ โยบายใหม่กบั เชยี งใหม่และหัวเมือง เหนอื ตา่ งๆ ในทศวรรษ 1870 (2413-2422) อันเปน็ จุดเรม่ิ ต้นของ การท�ำ ใหด้ ินแดนนนั้ เปน็ สว่ นหนึ่งของราชอาณาจกั รอยา่ งมน่ั คงยิ่ง ข้นึ กรงุ เทพฯ ไดร้ บั โอกาสนนั้ ใน พ.ศ. 2413 (1870) เมอ่ื พระเจา้ กาวิโลรสสุริยวงศ์ (ครองราชย์เม่ือ พ.ศ. 2399-2413 (1856-70)) ส้ินพระชนม์ ผู้สำ�เร็จราชการและบรรดาเสนาบดีในพระนครไม่ได้ แตง่ ตงั้ ใหเ้ จา้ อปุ ราชผเู้ ปน็ รชั ทายาททถ่ี กู ตอ้ งขนึ้ เปน็ พระเจา้ เชยี งใหม่ แตก่ ลบั เลอื กพระเจา้ อนิ ทวชิ ยานนท์ (ครองราชยเ์ มอื่ พ.ศ. 2413-40 (1870-97)) ซึ่งขุนนางเหล่าน้ีคาดไว้อย่างถูกต้องว่าน่าจะเป็นผู้ท่ี เห็นพ้องกับนโยบายของกรุงเทพฯ มากกว่าขึ้นดำ�รงตำ�แหน่งแทน หลังจากทขี่ อ้ ตกลงอังกฤษ-สยามเมอื่ พ.ศ. 2417 (1874) ไดว้ างพ้ืน 334 ประวัตศิ าสตรไ์ ทยฉบบั สงั เขป
ฐานระบบการตดั สนิ คดคี วามแบบใหม่ โดยมคี ณะผพู้ พิ ากษาทง้ั สอง ชาติเข้าจัดการกรณีพิพาทระหว่างคนในบังคับของท้ังสองประเทศ สยามได้ส่งข้าหลวงต่างพระองค์ไปที่เชียงใหม่ เพ่ือเร่ิมดำ�เนินการ จ�ำ กดั สทิ ธพิ เิ ศษของพระเจา้ เชยี งใหมล่ งทลี ะนอ้ ย และจดั การปกครอง หัวเมืองทางเหนือให้อยู่ภายใต้การควบคุมของกรุงเทพฯ ได้อย่าง สอดคลอ้ งกบั การบรหิ ารราชการสว่ นกลาง มกี ารปรบั เปลย่ี นวธิ กี าร ปฏิบตั ิ และกลยุทธต์ า่ งๆ เพ่อื จัดการรวมราชอาณาจกั ร โดยเฉพาะ อยา่ งยง่ิ ในทศวรรษ 1880 (2423-2432) เม่ือกรมหมน่ื พชิ ติ ปรีชา กร กับกรมหม่นื พิทยลาภพฤฒธิ าดา พระอนชุ าในพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว ทรงดำ�รงตำ�แหน่งเป็นข้าหลวงต่างพระองค์ ทำ�ให้ สามารถขยายวิธกี ารและกลยทุ ธไ์ ปใช้ได้ผลส�ำ เร็จ ในหวั เมืองต่างๆ ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนอื และภาคใต้ แตไ่ มส่ ู้จะประสบผลนกั ในหวั เมืองประเทศราชของลาว เช่นท่หี ลวงพระบางกบั จ�ำ ปาสัก เร่ืองราวต่างๆ ไม่สู้จะบีบรัดนักในหัวเมืองมลายูทางตอนใต้ ซ่งึ สยามยงั คงมอี ำ�นาจอย่เู หนอื ไทรบรุ ี ปะลิส กลนั ตนั และตรงั กานู แม้อังกฤษจะมีบทบาทแข็งขันในรัฐต่างๆ ทางชายฝั่งด้านตะวันตก ของคาบสมทุ รนบั ตง้ั แต ่ พ.ศ. 2416 (1873) อยา่ งไรกต็ าม แรงกดดนั ที่ทำ�ให้อังกฤษใช้นโยบายแบบก้าวหน้า ในหัวเมืองมลายูที่อยู่ใต้ อ�ำ นาจของสยามไดเ้ พม่ิ ขนึ้ อยา่ งเหน็ ไดช้ ดั เมอ่ื เวลาผา่ นไปชวั่ ระยะ หนึ่งแล้ว ส่ิงเดียวท่ีสยามจะสามารถระงับความมักใหญ่ใฝ่สูงของ รฐั บาลองั กฤษในมลายแู ละกระทรวงอาณานคิ มได้ คอื การตดั สนิ ใจ ของกระทรวงการตา่ งประเทศขององั กฤษ เพอื่ ใหบ้ รรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ ขององั กฤษในเรอื่ งผลประโยชนท์ มี่ ใี นสยาม โดยสยามตอ้ งใชน้ โยบาย ทางการทตู และการสรา้ งสมั พนั ธไมตรอี นั ดตี อ่ กนั นานเทา่ ทจี่ ะท�ำ ให้ เกดิ ผลส�ำ เรจ็ พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ ฯ และคณะเสนาบดีประสบ 7 | พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจ้าฯ และพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าฯ 335
ปญั หาอย่บู า้ งกบั ตวั บคุ คล ทเ่ี ปน็ ตวั แทนขององั กฤษและฝรงั่ เศสใน สยาม ในชว่ งทศวรรษ 1870 (2413-2422) เซอร์ ทอมสั ยอรช์ นอ็ กซ์ ซงึ่ ครง้ั หนง่ึ เคยเปน็ ครฝู กึ ทหารในกองทพั ของพระบาทสมเดจ็ พระปนิ่ เกล้าฯ และเป็นกงสุลอังกฤษในสยาม ระหว่าง พ.ศ. 2417-2422 (1864-1879) เขาเปน็ คนทสี่ มเดจ็ เจา้ พระยาบรมมหาศรสี รุ ยิ วงศส์ นทิ สนมคุ้นเคยด้วย เป็นพระสหายของกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ และแสดงตวั เปน็ ปรปกั ษอ์ ยา่ งเปดิ เผยตอ่ ยวุ กษตั รยิ ์ ผซู้ งึ่ เขาเหน็ วา่ เปน็ คนหวั แขง็ หวั รนุ แรง และไมม่ คี วามสามารถในการปกครอง ตวั เขาเองได้เข้ามาเกี่ยวข้องกับการเมืองสยามในช่วงเวลานี้ และมี รายงานว่าเขาหวังจะให้ธิดาคนหนึ่งได้เป็นบาทบริจาริกาของกรม พระราชวังบวรวิไชยชาญ และอีกคนหน่ึงเปน็ ภรรยาของบตุ รคนใด คนหนงึ่ ของสมเดจ็ เจา้ พระยาฯ เขาไดโ้ ตแ้ ยง้ กบั พระบาทสมเดจ็ พระ จุลจอมเกลา้ ฯ เสมอมา และเข้าขา้ งสมเดจ็ เจา้ พระยาฯ ในทา่ ทีแบบ อนรุ กั ษนยิ มในชว่ งทเี่ กดิ วกิ ฤตการณว์ งั หนา้ แตก่ ระนนั้ กต็ าม เขาก็ เปน็ เชน่ เดยี วกบั กงสลุ องั กฤษคนกอ่ นและคนหลงั จากเขา นน่ั คอื เขา ต้องยอมรับข้อโต้แย้งของสยามกับกระทรวงการต่างประเทศของ อังกฤษที่ว่าความเป็นเอกราชของสยามท่ีดำ�รงอยู่ต่อไปนั้นเป็นผล ประโยชนท์ ด่ี ีที่สุดขององั กฤษ ท้ังด้านการเมืองและการคา้ ซ่งึ ตรง กนั ขา้ มกบั ความเหน็ ของเจา้ หนา้ ทอี่ งั กฤษในสงิ คโปร์ รวมทง้ั ขอ้ เสนอ ของกระทรวงอาณานิคมและเจ้าหน้าท่ีอังกฤษในอินเดีย ดูเหมือน เขาจะรสู้ กึ วา่ ความส�ำ เรจ็ ในนโยบายดงั กลา่ วนนั้ ขนึ้ อยกู่ บั บรรดาเจา้ หน้าท่ีสยาม ผู้ได้รับประโยชน์อย่างต่อเนื่องจากเหตุผลอันศิวิไลซ์ ของผู้เป็นตวั แทนของสมเดจ็ พระบรมราชินนี าถแห่งองั กฤษ กงสุลฝรั่งเศสในเวลานั้นเห็นอกเห็นใจรัฐบาลสยามน้อยกว่า และพยายามทำ�งานหนัก อย่างท่ีชาวฝร่ังเศสมักจะกระทำ�ในช่วง เวลานั้น ภายใต้ความอ่อนแอกะปลกกะเปล้ียของฝร่ังเศสที่อยู่ใน 336 ประวตั ศิ าสตรไ์ ทยฉบับสงั เขป
สถานภาพดอ้ ยกวา่ องั กฤษ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ เมอื่ จกั รวรรดอิ งั กฤษ เริ่มเติบโตอย่างรวดเร็วในช่วงทศวรรษ 1870 (2413-2422) และ ฝรง่ั เศสก�ำ ลงั เจบ็ ปวดกบั ผลของสงครามระหวา่ งฝรง่ั เศสกบั ปรสั เซยี เมือ่ พ.ศ. 2413 (1870) ที่ทำ�ใหฝ้ รงั่ เศสต้องเสื่อมเสยี เกยี รติยศ การ ท�ำ สนธสิ ญั ญากบั สยาม เมอ่ื (*วนั ท่ี 15 กรกฏาคม) พ.ศ. 2410 (1867) ทำ�ให้กัมพูชากลายเป็นรัฐในอารักขาของฝรั่งเศส ในช่วงทศวรรษ 1870 ฝร่งั เศสสนใจดนิ แดนในลมุ่ แม่นำ้�โขงมากขึ้น โดยเฉพาะอยา่ ง ยิ่ง ลาว ทหี่ ล่อเลยี้ งความฝนั ว่าจะไดพ้ บเจอ “ประตหู ลัง” ที่คาดวา่ มีความม่ังคั่งในดินแดนทางตอนในของจีน การพยายามพุ่งเสือก เขา้ ไปในดนิ แดนทางตอนในน้ี เหน็ ไดจ้ ากความพยายามทไี่ ดเ้ ตรยี ม การมาอยา่ งดยี ง่ิ ขน้ึ เพอ่ื จะไดส้ �ำ รวจขน้ึ ไปตามล�ำ น�้ำ โขง ซงึ่ กรงุ เทพฯ กอ็ นญุ าตใหด้ �ำ เนนิ การอยา่ งไมส่ จู้ ะเตม็ ใจนกั คณะส�ำ รวจทมี่ ชี อ่ื เสยี ง ทส่ี ุด คอื คณะสำ�รวจของลาเกรและการ์นิเยร์ ในช่วง พ.ศ. 2409-11 (1866-68) ทเ่ี ดนิ ทางข้นึ ไปตามล�ำ น้ำ�โขง จากพนมเปญไปถงึ เชียง รุ่ง เทา่ กบั วา่ เกือบจะผ่านดินแดนของสยามทงั้ หมด หลังจากน้นั ไม่ นานนัก สยามเร่ิมมีความยุ่งยากอย่างรุนแรงกับลาวมากขึ้น เมื่อ บรรดาโจรจนี หลายกลมุ่ (ฮอ่ ) ไดห้ ลบหนภี ยั สงครามกลางเมอื งจาก ทางตอนใต้ของจีน เข้ามาเพ่นพ่านในลาว จนถึงกับเข้าปล้นสะดม กรงุ เวยี งจนั ใน พ.ศ. 2415 (1872) สยามได้ส่งกองทัพข้ึนไปชว่ ยชดุ แลว้ ชุดเล่า ไปไกลจนถงึ ทุ่งไหหิน (เชยี งขวาง) แต่ก็ไมส่ ามารถจะ จดั การบา้ นเมอื งใหก้ ลบั สสู่ ถานะเดมิ ได้ ไมว่ า่ จะใชเ้ วลายาวนานเพยี ง ใดก็ตาม ความระส�ำ่ ระสายในลาว ประกอบกับการเข้ามาเกีย่ วขอ้ ง ของฝรง่ั เศส และการแสดงออกของฝรงั่ เศสทเ่ี ปดิ เผยยงิ่ ขนึ้ เกยี่ วกบั ความมุ่งหวังท่ีมีต่อลาว เป็นลางไม่ดีสำ�หรับพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าฯ ผู้ปราศจากซ่งึ อำ�นาจ หรือเงนิ ทุน ทจี่ ะจัดการใหเ้ กดิ โครงการเชงิ รกุ เพอ่ื การปฏริ ปู และท�ำ ใหท้ รงมพี ระราชอ�ำ นาจมน่ั คง 7 | พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าฯ และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ ฯ 337
ยิง่ ข้นึ จงึ ทรงทำ�ได้แต่เพยี งหวังวา่ สถานการณน์ ้ันคงจะไม่เลวลงไป กว่านัน้ โอกาสของพระเจา้ แผน่ ดินเริม่ ดีขน้ึ ในชว่ งตน้ ทศวรรษ 1880 (2423-2432) ประการแรก การแตง่ ตง้ั ผทู้ ส่ี นบั สนนุ พระองคม์ จี �ำ นวน เพมิ่ ขนึ้ เนอื่ งจากขนุ นางทมี่ อี �ำ นาจในสมยั ทม่ี ผี สู้ �ำ เรจ็ ราชการไดเ้ สยี ชีวิตลง หรือขอลาออกจากราชการไป ท่สี �ำ คัญย่ิงไปกวา่ นน้ั คงจะ เปน็ ขอ้ เทจ็ จรงิ ทว่ี า่ ขนุ นางจำ�นวนมากทมี่ อี ายรุ นุ่ ราวคราวเดยี วกนั กับพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ และสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหา ศรสี รุ ยิ วงศ์ ซงึ่ มอี ทิ ธพิ ลตอ่ ชวี ติ ของราษฎรอยใู่ นชว่ งทศวรรษ 1880 ได้สูญเสียอิทธพิ ลไปอยา่ งรวดเรว็ หลังจากท่สี มเดจ็ เจ้าพระยาฯ ได้ ถึงแก่อสัญกรรมไปใน พ.ศ. 2426 (1883) และกรมพระราชวัง บวรวไิ ชยชาญไดเ้ สดจ็ ทวิ งคตไป ใน พ.ศ. 2428 (* วนั ที่ 28 สงิ หาคม ค.ศ. 1885) เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าฯ ทรงเข้มแข็งข้ึน โอกาสของค่แู ข่งของพระองค์ก็ลดลงอย่างรวดเร็ว และบรรดาไพรก่ ็ พรอ้ มที่จะเข้าสงั กัดเปน็ ข้าในพระเจ้าอยหู่ ัว (*ไพร่หลวง) เพ่ิมมาก ขน้ึ แตก่ ระนน้ั กต็ าม พระเจา้ แผน่ ดนิ ยงั คงขาดกลมุ่ คนทมี่ คี วามเขม้ แข็งทางการเมืองอยูจ่ นถึงประมาณกลางทศวรรษ 1880 เปน็ อยา่ ง น้อย ในชั่วระยะเวลาหนึง่ ไดท้ รงพยายามท่จี ะสานสมั พันธก์ ับกลมุ่ และตระกูลขุนนางเก่าแก่ท่ีมีช่ือเสียงโดดเด่น โดยเฉพาะอย่างย่ิง ตระกูลที่ยืนหยัดมาอย่างยาวนานว่าเป็นคู่แข่งของตระกูลบุนนาค อย่างไรก็ตาม บรรดาคนสำ�คัญที่มีช่ือเสียงเหล่านี้จำ�นวนหน่ึงถูก ท�ำ ใหเ้ สอื่ มเสยี ชอ่ื เสยี งจากการแพรข่ า่ วลอื ตอ่ สาธารณะ ในชว่ งปลาย ทศวรรษ 1870 และต้นทศวรรษ 1880 (*ระหวา่ ง พ.ศ. 2417-2428) ทำ�ให้ความหวังของพระเจ้าแผ่นดินที่จะสร้างรูปแบบใหม่ในการ ปฏบิ ตั หิ นา้ ทรี่ าชการ ในหมผู่ ทู้ ผี่ กู ชวี ติ อยกู่ บั ระบบเกา่ ตอ้ งลดลงตาม ไปดว้ ย ทางเลอื กของพระเจา้ แผน่ ดนิ ทจี่ ะเปน็ แกนน�ำ ของการท�ำ ให้ 338 ประวัติศาสตรไ์ ทยฉบบั สังเขป
ทันสมัยในอนาคตยังคงลดลงไปอีก เม่ือชนช้ันนำ�ท่ีเป็นข้าราชการ ในกรงุ เทพฯ ไมค่ อ่ ยยอมรบั โอกาสทางการศกึ ษาสมยั ใหมท่ ท่ี รงมอบ ให้ คนกลุ่มเดียวท่ีกระตือรือร้นกับโรงเรียนแห่งใหม่ท่ีทรงตั้งข้ึนใน พระบรมมหาราชวงั คอื เจา้ นายระดบั ลา่ งๆ ในพระราชวงศแ์ ละพระ อนชุ า ซึ่งในเวลาต่อมาได้กลายเปน็ กลุ่มคนทีไ่ ด้รบั การศกึ ษาอย่าง ดที ส่ี ดุ ในสังคม เมือ่ ถึงวาระท่พี ระเจา้ แผน่ ดินคิดจะปฏริ ูป แลว้ ทรง ตอ้ งการผทู้ ม่ี คี วามคดิ อนั ทนั สมยั และมคี วามจงรกั ภกั ดตี อ่ ราชบลั ลงั ก์ อย่างจริงจัง จึงไม่น่าประหลาดใจแต่อย่างใดท่ีทรงหันไปหาบรรดา พระอนชุ า โดยทรงแตง่ ตง้ั ใหด้ �ำ รงต�ำ แหนง่ ในกรมตา่ งๆ ในพระนคร และเพิม่ มากขน้ึ ในการบริหารงานสว่ นทอ้ งถ่นิ มีการคาดกันว่าบรรดาพระอนุชายังไม่มีประสบการณ์พร้อม จะรับผิดชอบตำ�แหน่งงานท่ีเกิดข้ึนใหม่ในตอนนี้ด้วยเช่นกัน อันท่ี จริง บรรดาพระอนุชาไม่เพียงจะแต่ทรงได้รับการศึกษาแบบเดิม ตามธรรมเนยี มของเจา้ นายสยามเทา่ นนั้ หากแตส่ ว่ นใหญท่ รงไดร้ บั การศึกษาอันทันสมัยท่ีจัดการให้เป็นพิเศษในช่วงสั้นๆ ท่ีพระบรม มหาราชวังในสมัยที่มีผู้สำ�เร็จราชการ ย่ิงไปกว่านั้น ในช่วง พ.ศ. 2416-17 (1873-74) เจา้ นายอกี จำ�นวนหนง่ึ ทรงไดเ้ รยี นหนงั สอื ฝรงั่ จากครชู าวองั กฤษ แมว้ า่ ธรรมเนยี มและการปฏบิ ตั ทิ ผ่ี า่ นมาแทบจะ ไมเ่ ปดิ โอกาสใหเ้ จา้ นายไดด้ �ำ รงต�ำ แหนง่ ดา้ นการบรหิ าร หากไมไ่ ด้ สมรสกบั ตระกูลขนุ นางช้นั สูง และแมว้ า่ พระบรมวงศานุวงศ์ที่ดำ�รง ตำ�แหน่งมาก่อนทศวรรษ 1880 จะว่าราชการภายในพ้ืนที่วังของ พระองค์เอง แต่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าฯ ก็ได้ทรงสร้าง ต�ำ แหนง่ หนา้ ทใี่ หมท่ สี่ �ำ คญั ในพระราชวงั คอื ต�ำ แหนง่ ราชเลขานกุ าร ในพระองค์ ซง่ึ กลายเปน็ ตำ�แหนง่ ท่ีท�ำ งานได้คล่องแคล่ววอ่ งไว ย่งิ กว่ากรมราชเลขาธิการเดิม บรรดาเจ้านายถูกดึงขึ้นไปทำ�งานด้าน เอกสารโตต้ อบทีเ่ กีย่ วกับกจิ การภายในและตา่ งประเทศ และเปน็ ผู้ 7 | พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ ฯ และพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าฯ 339
ที่พระเจ้าแผ่นดินทรงขอคำ�ปรึกษาในกิจการต่างๆ การตั้งกรมพระ คลงั มหาสมบัติเพื่อจัดการปฏริ ูปด้านการเงินใหส้ �ำ เร็จขึ้น หลงั หมด สมยั ของผสู้ �ำ เรจ็ ราชการ ท�ำ ใหม้ ตี �ำ แหนง่ งานจ�ำ นวนมาก เชน่ สมหุ บัญชี คนทำ�บัญชี และผตู้ รวจสอบบญั ชี พระเจ้าแผ่นดินเองก็ทรง งานกับบรรดาพระอนุชาอยู่จนดึกด่ืน เพื่อจัดการระบบการเงินอัน ยงุ่ เหยงิ ของราชส�ำ นกั ใหเ้ ปน็ ระเบยี บ เจา้ นายสว่ นใหญท่ รงรบั ราชการ ในฐานะเจา้ หนา้ ทใี่ นหนว่ ยทหารราชองครกั ษ์ ซง่ึ ขน้ึ อยกู่ บั พระบาท สมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ ฯ แลว้ กลายเปน็ หนว่ ยปฏบิ ตั กิ ารของรฐั เพอื่ จดั การปฏริ ปู กองทหาร ทง้ั ยงั เปน็ การถว่ งดลุ กองทหารสว่ นพระองค์ ของกรมพระราชวังบวรวิไชยชาญ ทหารราชองครักษ์นี้กลายเป็น แกนกลางของกองทัพสมัยใหมด่ ้วยเชน่ กัน ต�ำ แหนง่ เสนาบดตี �ำ แหนง่ แรกทว่ี า่ งลง คอื เสนาบดกี รมเมอื ง (กรมพระนครบาล) ผมู้ หี นา้ ทร่ี บั ผดิ ชอบดา้ นการตดั สนิ คดคี วามและ ความเป็นระเบียบเรียบร้อยของพ้ืนที่กรุงเทพฯ-ธนบุรี เมื่อ พ.ศ. 2419 (1876) ตำ�แหน่งนถี้ ูกมอบหมายแก่กรมหมืน่ ภูธเรศธำ�รงศกั ด์ิ (*พระองคเ์ จา้ ทวถี วัลยลาภ พ.ศ. 2398-40 (1855-97)) ผทู้ ำ�หน้าท่ี ได้อย่างโดดเด่นในเร่ืองศาลพิเศษ ท่ีสร้างข้ึนเพ่ือจัดการสะสางคดี ความทคี่ ง่ั คา้ งอยรู่ ะหวา่ งการด�ำ เนนิ คดใี นกรงุ เทพฯ เมอ่ื พ.ศ. 2425 (1882) กรมหมนื่ ประจกั ษศ์ ลิ ปาคม (*พระองคเ์ จา้ ทองกองกอ้ นใหญ ่ พ.ศ. 2399-2457 (1856-1914)) ไดร้ บั แตง่ ตง้ั ใหเ้ ปน็ เสนาบดกี รมวงั ทรงรบั ผดิ ชอบหนว่ ยงานตา่ งๆ ในกรมชา่ งสบิ หมอู่ ยนู่ านหลายปี และ ทรงเพง่ิ กลบั มาจากการน�ำ ทพั ไปรบกบั ฮอ่ ในลาว ในเวลาตอ่ มา ทรง ได้รับมอบหมายให้เป็นข้าหลวงต่างพระองค์สำ�เร็จราชการในภาค อีสานอยู่นานหลายปี เม่ือ พ.ศ. 2428 (1885) พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยหู่ ัวทรงแตง่ ต้ังตำ�แหนง่ ส�ำ คัญ 2 ต�ำ แหน่งท่ีเห็นไดช้ ัดวา่ เปน็ การเปลย่ี นแปลงสมดลุ แหง่ อ�ำ นาจในการบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ 340 ประวตั ิศาสตร์ไทยฉบบั สงั เขป
โดยพระราชอธั ยาศยั เมอื่ เจา้ พระยาภาณวุ งศ์ (ทว้ ม บนุ นาค) กราบ บงั คมทลู ขอลาออกจากราชการในปีน้นั กรมพระคลงั เดมิ จงึ ได้แบ่ง หน่วยงานเป็น 2 กรมอยา่ งชดั เจน คอื กรมพระคลังมหาสมบตั ิ กบั กรมการต่างประเทศ (*หรือ กรมท่า) (ซึ่งท้ังสองกรมน้ีได้แยกกัน ท�ำ งานอย่างไมเ่ ปน็ ทางการมาไดร้ ะยะหนึง่ แล้ว) ตำ�แหน่งเจ้ากรมการต่างประเทศนั้น พระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าฯ ทรงเลือกพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหม่ืนเทวะวงศ์วโร ปการ (*พระองคเ์ จา้ เทวญั อไุ ทยวงศ ์ พ.ศ. 2401-2466 (1858-1923)) พระเชษฐาองค์ใหญข่ องพระอคั รมเหสีท้ังสาม (*สมเด็จพระนางเจ้า สุนนั ทากมุ ารีฯ สมเด็จพระนางเจา้ สวา่ งวัฒนาฯ และสมเดจ็ พระศรี พัชรนิ ทราบรมราชนิ ีนาถ ซงึ่ ทุกพระองค์ต่างเปน็ พระราชโอรสธดิ า ในพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าฯ) เปน็ เจ้าทรงกรม กรมหม่นื เทวะ วงศฯ์ ทรงเปน็ ผู้ฉลาดหลักแหลม ทรงจัดการงานดา้ นความสัมพนั ธ์ ระหวา่ งประเทศของสยามดว้ ยความคลอ่ งแคลว่ อยา่ งยิ่งนานถึง 38 ปี และมคี วามเชย่ี วชาญจนเปน็ ทพ่ี อพระราชหฤทยั ของพระเจา้ แผน่ ดนิ ถงึ 2 พระองค์ ในปเี ดยี วกนั น้ี สมเดจ็ พระเจา้ นอ้ งยาเธอ เจา้ ฟา้ ฯ กรมหม่ืนจกั รพรรดิพงศ์ (พ.ศ. 2399-2443 (1856-1900)) ทรงได้ รับเลือกให้เป็นเสนาบดีกรมพระคลัง ในช่วงระยะเวลาเดียวกันนั้น สมเดจ็ พระเจ้านอ้ งยาเธอพระองคอ์ ืน่ ๆ ก็ไดท้ รงกรม ด�ำ รงตำ�แหนง่ ในหนว่ ยราชการตา่ งๆ ตง้ั แตก่ รมราชเลขานกุ ารในพระองค์ กรมพระ คลงั มหาสมบตั ิ กองทหารมหาดเลก็ รกั ษาพระองค์ ไปจนถงึ โรงพมิ พ์ หลวง กรมไปรษณยี โ์ ทรเลข และศาลหลวง ในเวลาไมน่ าน เจ้านาย เหล่าน้ีก็เริ่มเข้าไปจัดการโครงสร้างของหน่วยงานใหม่ๆ เช่น กรม ใหมข่ องกองทพั (กรมยทุ ธนาธิการ) กรมธรรมการ กรมพยาบาล กรมโยธาธิการ การสำ�รวจรงั วัดทดี่ ิน กรมแผนที่ทะเล (*พ.ศ 2457 (1914) เปลย่ี นชอื่ เป็น กรมอุทกศาสตรท์ หารเรือ) และกรมอืน่ ๆ 7 | พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจ้าฯ และพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าฯ 341
ยุทธวิธีของพระเจ้าแผ่นดินในช่วงต้ังแต่ พ.ศ. 2418-2428 (1875-1885) ถูกบีบบงั คบั โดยการเมืองและการบรหิ ารจดั การของ ระบอบเก่าท่ียากแก่การควบคุมจัดการ นานเท่าที่พระองค์ไม่อาจ เลอื กเสนาบดีดว้ ยพระองคเ์ องได้ แต่ขึ้นอย่กู ับการแตง่ ตั้งและความ สามารถของพวกเขาทตี่ า่ งกส็ นบั สนนุ การท�ำ งานซง่ึ กนั และกนั มากกวา่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าฯ จึงทรงท�ำ ไดเ้ พียงแนะน�ำ ว่าควร ดำ�เนินนโยบายอย่างไรให้เป็นผลสำ�เร็จ โดยทั่วไปแล้วการแสดง ความอดทนโดยไม่โต้แย้งมีค่าเท่ากับไม่พยายามเข้าแทรกแซง ใน อาณาจักรแห่งอำ�นาจของบรรดาเสนาบดีเฒ่า ตัวอย่างเช่น สมเด็จเจา้ พระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ อดีตผูส้ ำ�เรจ็ ราชการแผ่นดิน ไดต้ ้ังป้อมต่อตา้ นการวางสายโทรเลขไปยังพมา่ โดยทางบก ซ่งึ ตดั ผ่านหัวเมืองตะวันตกที่อยู่ภายใต้การปกครองของลูกหลานท่าน อย่างไรก็ตาม หลงั จากที่สมเดจ็ เจา้ พระยาฯ ได้ถงึ แกอ่ นิจกรรมไป แลว้ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงมคี �ำ สงั่ ใหเ้ รม่ิ กอ่ สรา้ งวางสาย โทรเลข มกี รณคี ลา้ ยกนั เชน่ นจี้ �ำ นวนมากเกดิ ขน้ึ ในทกุ กรม นานเทา่ ทเี่ สนาบดยี งั คงเชอ่ื มนั่ ในอ�ำ นาจทางการเมอื งของสมเดจ็ เจา้ พระยาฯ หรือมีสายสัมพันธ์ระหว่างกัน หรือได้รับการอุปถัมภ์ทางเศรษฐกิจ หรือว่านานเท่าที่เสนาบดีเหล่าน้ันยังหวาดเกรงหรือยำ�เกรงอำ�นาจ บารมขี องสมเดจ็ เจา้ พระยาฯ พวกเขากจ็ ะขดั ขวางนโยบายในพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เม่ือสมเด็จเจ้าพระยาฯ และกรมพระราชวัง บวรฯ ตลอดจนบรรดาเสนาบดอี าวโุ สไดถ้ งึ แกอ่ นจิ กรรม เสดจ็ ทวิ งคต เสยี ชวี ติ หรอื ขอลาออกจากราชการในชว่ ง พ.ศ. 2425-2431 (1882- 1888) บรรดาผู้อยู่ใต้การบังคับบัญชาของบุคคลเหล่าน้ีในระบบ ราชการจงึ ถกู ละทง้ิ โดยปราศจากความคมุ้ ครองของมลู นายอยา่ งแต่ ก่อน เม่ือพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ ฯ ทรงแต่งตงั้ พระเจา้ นอ้ ง ยาเธอผู้จงรักภักดีที่ได้เตรียมพระองค์ไว้ดีแล้ว ไปดำ�รงตำ�แหน่ง 342 ประวตั ิศาสตร์ไทยฉบบั สังเขป
เสนาบดตี า่ งๆ เหลา่ น้ัน จึงทรงสามารถถ่ายโอนอำ�นาจท่แี ทจ้ รงิ มา ไว้ที่พระองค์ได้ แต่กระน้ันก็ตาม การถ่ายโอนอำ�นาจอย่างสมบูรณ์ก็ดำ�เนิน ไปอยา่ งเชอ่ื งชา้ ในเบอื้ งต้น กรมวงั ไดส้ รา้ งกองขนาดเล็กๆ จ�ำ นวน มากทมี่ คี วามช�ำ นาญเฉพาะดา้ นอยภู่ ายในการจดั การของกรม หนว่ ย งานเหลา่ นจ้ี ะยา้ ยออกไปจากกำ�แพงนไ้ี ดเ้ มอื่ มเี สนาบดที ไี่ วว้ างใจได้ มาด�ำ เนนิ งานตอ่ เทา่ นนั้ ดว้ ยเหตนุ ้ี กรมธรรมการและกรมทหารหนา้ จึงเริ่มต้นอยู่ในกรมทหารมหาดเล็กรักษาพระองค์ กรมการต่าง ประเทศทตี่ ง้ั ขน้ึ ใหมจ่ งึ อยใู่ นงานดา้ นตา่ งประเทศ ในกรมราชเลขาธกิ าร ในพระองค์ กรมพระคลงั มหาสมบตั ใิ หมจ่ งึ อยใู่ นส�ำ นกั งานตรวจเงนิ หลวง และกรมโยธาธกิ าร กรมแผนทท่ี ะเล กับกรมการพยาบาล จงึ เรม่ิ ตน้ ในกรมทหารมหาดเลก็ หนว่ ยงานเหลา่ นม้ี สี ว่ นรว่ มอยกู่ บั การ ปฏริ ปู ขน้ั พน้ื ฐานอยา่ งทเี่ คยปฏบิ ตั มิ ากอ่ นหนา้ น้ี คอื การท�ำ รายงาน และระบบการจดั แฟม้ เอกสารแบบตะวนั ตก การท�ำ สมดุ ส�ำ เนาเอกสาร และสมดุ บญั ชแี ยกประเภท มกี �ำ หนดชวั่ โมงปฏบิ ตั ริ าชการ ในสถาน ท่ที �ำ ราชการที่ก�ำ หนดไวใ้ ห้ แทนท่ีจะวา่ ราชการ ณ วังหรือบ้านพัก ของเสนาบดีตามธรรมเนยี มทเ่ี คยปฏิบตั ิ มเี สมยี นจดั การสำ�นักงาน อยา่ งเปน็ ระเบยี บ โดยการท�ำ สรปุ ยอ่ ใจความส�ำ คญั ของเอกสารเสนอ เพื่อให้เสนาบดีพิจารณาส่ังการ รวมท้ังร่างจดหมายโต้ตอบเพ่ือรอ การลงนามของเสนาบดี และการเขียนสรุปรายงานที่ไม่รู้จักจบสิ้น ทงั้ ทเ่ี ปน็ ไตรมาสและรายงานประจ�ำ ปี การน�ำ เสนอรายละเอยี ดดา้ น การเงิน (งบประมาณ) และทีส่ �ำ คญั ทสี่ ุดก็คือ แหล่งขอ้ มลู อันเปน็ ที่ ต้องการเพ่ือกราบบังคมทูลให้ทรงทราบ เพ่ือการตัดสินใจในกรณี สำ�คัญๆ และเกี่ยวเน่ืองทั้งหมดกับนโยบายและการปฏิบัติ ในหลัก การและในขอ้ เทจ็ จรงิ ทเ่ี พมิ่ มากขน้ึ น้ี นค่ี อื ระบบรวมศนู ยอ์ �ำ นาจอยา่ ง แท้จริง แต่ขณะน้นั กิจการส�ำ คัญที่เกี่ยวข้องอยู่ คอื การทจี่ ะขยาย 7 | พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจา้ ฯ และพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ ฯ 343
ขอบเขตของพระราชอำ�นาจ ให้ครอบคลุมการทำ�งานของกรมกอง ต่างๆ เพื่อท่ีจะเปล่ียนแปลงสยามน้ัน ในเบื้องแรกพระบาทสมเด็จ พระจลุ จอมเกลา้ ฯ จะตอ้ งทรงควบคมุ รฐั บาลของพระองคใ์ หไ้ ดก้ อ่ น อ�ำ นาจภายในกับการทา้ ทายจากภายนอก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและบรรดาพระเจ้าน้องยาเธอ ทงั้ หลาย เพงิ่ จะรสู้ กึ วา่ ทรงมอี �ำ นาจอยา่ งแทจ้ รงิ กเ็ มอื่ กลางทศวรรษ 1880 (2423-2432) เท่านั้น และเกือบจะในทันทีก็ต้องเผชิญกับ ปัญหาว่าจะจัดการกับอำ�นาจนั้นอย่างไร ในแง่หน่ึง คนกลุ่มเล็กๆ ในราชสำ�นักก็หวนกลับคืนมาสู่ความคิดที่จะสนับสนุนให้เกิดการ เปล่ียนแปลงทางสังคมและการเมืองอย่างรวดเร็วและรุนแรง เช่น เดียวกับตอนปลายสมัยท่ีมีผู้สำ�เร็จราชการ เม่ือต้นปี พ.ศ. 2428 (1885/ร.ศ.103) มีเจ้านายและข้าราชการ 11 คน ซ่ึงเกือบทั้งหมด เพงิ่ จะเดนิ ทางกลบั มาจากตา่ งประเทศไดไ้ มน่ านนัก (*เป็นคณะทตู ไทยประจ�ำ กรงุ ลอนดอนและกรงุ ปารสี ) และมพี ระเจา้ นอ้ งยาเธอรวม อยู่ด้วย 3 พระองค์ ไดย้ ่นื เอกสารกราบบงั คมทลู ความเหน็ จัดการ เปลย่ี นแปลงการปกครองราชการแผน่ ดนิ จ�ำ นวน 60 หนา้ ตอ่ พระบาท สมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ค�ำ กราบบงั คมทลู นน้ั มถี อ้ ยค�ำ รนุ แรง เรยี กรอ้ ง อย่างแข็งขัน ให้ทรงเปล่ียนแปลงการปกครอง (*จากแอบโสลูดโม นาก)ี ใหเ้ ปน็ การปกครองทเี่ รียกว่า คอนสติตวิ ชนั่ แนลโมนากี หรอื ระบอบกษัตริย์ใต้รัฐธรรมนูญ พวกเขาวิจารณ์การบริหารงานแบบ รวมศนู ยอ์ �ำ นาจทสี่ ถาบนั กษตั รยิ ซ์ งึ่ ก�ำ ลงั เตบิ โตขน้ึ และความสบั สน ปนเปของอ�ำ นาจบรหิ าร อ�ำ นาจนติ บิ ญั ญตั ิ และอ�ำ นาจตลุ าการทอี่ ยู่ ในมือของกษัตริย์ กับการละเลยงานที่สำ�คัญมากย่ิงไปกว่านั้นของ พระเจ้าแผ่นดินผู้ทรงงานหนักจนเกินไป เพื่อให้การปฏิรูปเป็นผล 344 ประวตั ิศาสตรไ์ ทยฉบบั สงั เขป
ส�ำ เรจ็ อนั จะท�ำ ใหส้ ยามแขง็ แกรง่ ทจ่ี ะตา้ นทานชาตติ ะวนั ตกได้ และ เพอ่ื ทปี่ ระโยชนต์ า่ งๆ อนั เกดิ จากการปฏริ ปู จะไปถงึ ราษฎรสว่ นใหญ่ ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ ยงิ่ ขน้ึ พวกเขารอ้ งขอใหพ้ ระเจา้ แผน่ ดนิ ทรงแบง่ พระ ราชอำ�นาจที่ทรงมี ให้กับเสนาบดีท่ีประกอบกันเป็นคณะรัฐมนตรี (*โดยมีพระเจา้ แผน่ ดนิ เป็นประธานคณะรฐั มนตรี) ผูท้ เี่ ป็นเสนาบดี กเ็ ปน็ ผแู้ ทนของราษฎร ซงึ่ เลอื กกนั ตอ่ ๆ ขนึ้ มาเปน็ ขนั้ ๆ แตก่ ระนน้ั พวกเขาก็เหน็ พ้องวา่ การปกครองแบบมีสภาผู้แทนราษฎรนั้นเปน็ สิ่งที่พึงประสงค์ แต่ยังไม่เหมาะแก่กาลสมัย จึงได้กล่าวว่าหาได้ ประสงค์ให้มีปาลเิ มนต์ไม4่ ในพระราชดำ�รัสตอบความเห็นของผู้ให้เปล่ียนแปลงการ ปกครองดงั กล่าวนี้ พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ ฯ ทรงแสดงให้ เหน็ วา่ ทรงเขา้ ใจความตง้ั ใจและวตั ถปุ ระสงคข์ องผทู้ วี่ พิ ากษว์ จิ ารณ์ พระองค์ และทรงเหน็ ดว้ ยกบั ทพี่ วกเขาตระหนกั วา่ การปฏริ ปู ภายใน เป็นสิ่งจำ�เป็น สำ�หรับการธำ�รงรักษาความเป็นเอกราชของชาติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ตรัสย้ำ�ในรายละเอียดถึงความ ขาดแคลนตัวบคุ คลผู้มีความสามารถ มคี วามจงรักภักดี และมกี าร ศึกษา ที่จะนำ�พาให้การปฏิรูปอันมีภารกิจย่ิงใหญ่รอคอยอยู่เบ้ือง หนา้ นใี้ หบ้ รรลผุ ลส�ำ เรจ็ ได้ ไมต่ อ้ งสงสยั เลยวา่ ตรสั มาจากประสบการณ์ ท่ีเพิ่งจะผ่านมาของพระองค์เอง พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ ัวทรง แสดงถึงข้อสงสัยของปัญญาชนส่วนน้อยของประเทศที่มีต่อความ เห็นแกป่ ระโยชนข์ องผอู้ ืน่ ความเป็นเอกราช ความมปี ระสทิ ธภิ าพ และความสามารถ ท่ีจะจัดต้ังตัวบุคคลไว้ในตำ�แหน่งรองกว่าผล ประโยชนข์ องชาติ ทรงอธิบายว่าคนรุ่นเก่ากไ็ ร้ความสามารถ และ คนรนุ่ ใหมก่ ย็ งั ไมไ่ ดเ้ ตรยี มพรอ้ มอยา่ งเตม็ ทใ่ี นการท�ำ ใหภ้ ารกจิ ทมี่ งุ่ หวังนั้นบรรลุผลสำ�เร็จได้ การนำ�การเมืองในระบอบรัฐสภาท่ีมีการ เลือกตง้ั มาใช้จะท�ำ ให้บ้านเมอื งอ่อนแอลง ในขณะทบ่ี ้านเมืองก�ำ ลงั 7 | พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจ้าฯ และพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ ฯ 345
ต้องการความเป็นเอกภาพ และการควบคุมดูแลเป็นอย่างที่สุด พระองค์ทรงเห็นด้วยว่าได้ทรงละเลยหน้าท่ีของพระองค์ในการ ออกกฎหมาย ทรงกล่าวว่า “ตวั เราก็เช่นกัน เหน็ ว่าความต้องการ ของเมอื งเราทส่ี �ำ คญั นนั้ คอื คอเวอนเมนตร์ ฟี อม (*การปฏริ ปู ระบบ ราชการ) ... (*ในส่วนลยิ ิสเลตีฟเคาน์ซิลนนั้ เป็นการจำ�เปน็ ต้องม)ี แตไ่ มเ่ ปน็ การงา่ ยเลยทจ่ี ะหาตวั ผซู้ ง่ึ จะเปน็ การไดจ้ รงิ ... สว่ นตวั เรา จะทรงเองท่ไี หนไหว เพราะการออกเป็นกา่ ยกอง ... ถา้ ลิยสิ เลตฟี เคานซ์ ิลทตี่ ้งั ขึน้ ใหม่ยังเปน็ อยา่ งนีอ้ ยแู่ ล้ว ไม่มีดกี วา่ ม.ี .”5 พระราชด�ำ รสั ตอบของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ฯ เปน็ การ ตอบแบบเสรนี ยิ ม หากในบรบิ ทของพระองค์ ทงั้ ดา้ นเวลาและสถาน ท่ี พระราชอาณาจกั รของพระองคใ์ นเวลานัน้ แทบจะไมม่ ีการศกึ ษา แบบสมยั ใหม่ ประชากรในภาคเกษตรกรรมจ�ำ นวนมากแทบจะไมม่ ี ความคดิ ทเี่ ปน็ อสิ ระทางการเมอื ง พวกเขาไมอ่ าจทจี่ ะคดิ ถงึ การเมอื ง ในระบบเลือกตั้งได้ คนที่มีลกั ษณะเชน่ น้ันในสยามท่ีปรากฏชดั เจน วา่ ไดร้ บั การศกึ ษาแบบสมยั ใหมน่ า่ จะมจี �ำ นวนเพยี งไมก่ ร่ี อ้ ยคน และ ไมม่ ผี ใู้ ดเลยทมี่ ฐี านะมง่ั คงั่ และพง่ึ ตนเองได้ นอกจากชาวจนี ในบงั คบั ตา่ งประเทศ ซ่ึงเปน็ ชนกลมุ่ น้อยทปี่ ระกอบกจิ การคา้ และไมม่ ผี ใู้ ด เลยที่มีฐานะทางสังคมหรือตำ�แหน่งหน้าที่การงานอยู่นอกระบบ ราชการ แรงกดดนั จากต่างประเทศท่มี ีต่อราชอาณาจกั รทก่ี ำ�ลังขน้ึ ถงึ ขดี สดุ และยังมงี านท่จี ะทำ�ใหป้ ระเทศก้าวเข้าสสู่ มัยใหม่ทเี่ พง่ิ จะ เรม่ิ ตน้ การทพี่ ระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ ฯ ทรงรง้ั รอทจ่ี ะลงมอื ทดลองกจิ การด้านการเมืองภายใต้สถานการณ์เชน่ นน้ั จึงเป็นสง่ิ ท่ี เข้าใจได้ และเหตกุ ารณต์ า่ งๆ ทเี่ กิดขึ้นในทศวรรษต่อมาก็ได้แสดง ให้เหน็ เหตุผลท่ที �ำ ให้ทรงลังเลพระทยั บางทอี าจเปน็ อทิ ธพิ ลของค�ำ กราบบงั คมทลู เมอื่ ร.ศ. 103 แต่ จรงิ ๆ แลว้ ในเวลานนั้ ก็มคี วามจำ�เปน็ ท่ีตอ้ งการให้มีปฏิรปู ใน พ.ศ. 346 ประวตั ศิ าสตร์ไทยฉบับสังเขป
2430 (1887) พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ ฯ จงึ ทรงขอใหพ้ ระเจา้ นอ้ งยาเธอ กรมหมนื่ เทวะวงศว์ โรปการ ซงึ่ เสดจ็ แทนพระองคไ์ ปรว่ ม งานฉลองครบรอบวาระ 50 ปที ส่ี มเด็จพระบรมราชนิ ีนาถวิกตอเรีย ทรงครองสิรริ าชสมบตั ิ ณ ประเทศอังกฤษ ให้พิจารณาแบบอย่าง การปกครองของชาติต่างๆ ในยุโรปมาด้วย เมื่อเสด็จกลับมาแล้ว กรมหมน่ื เทวะวงศฯ์ ทรงเสนอใหม้ กี ารปรบั คณะรฐั บาลใหม่ โดยการ ตัง้ กรมให้มฐี านะเทา่ เทยี มกนั ขึ้น 12 กรม และก�ำ หนดอำ�นาจหนา้ ที่ รับผิดชอบของแต่ละกรมข้ึนมาใหม่ มีสายงานตามตำ�แหน่งหน้าที่ ตา่ งๆ กรมเดมิ ทเ่ี คยรบั ผดิ ชอบหวั เมอื งเหนอื (มหาดไทย) หัวเมอื ง ปักษ์ใต้ (กลาโหม) การต่างประเทศและการคลัง (พระคลงั ) นา วัง และเมอื ง กก็ ลายเปน็ กรมแบบใหม่ 7 กรม เรยี งล�ำ ดบั ไปดงั น้ี กจิ การ ภายใน (มหาดไทย) การสงคราม (กลาโหม) การต่างประเทศ การ คลงั การเกษตร (เกษตราธกิ าร) วงั และการดแู ลเมอื งหลวง (นครบาล) แลว้ ตงั้ กรมใหมข่ น้ึ อกี 5 กรม ดแู ลงานสาธารณะตา่ งๆ (โยธาธกิ าร) ให้การศึกษาแก่ประชาชน (ธรรมการ) ยุติธรรม กองทัพ (ยุทธ นาธกิ าร) และดแู ลพระราชลญั จกร (เปน็ การรวมงานราชเลขานกุ าร ในพระองคก์ บั งานกจิ การพลเรอื นเขา้ ดว้ ยกนั ) (มรุ ธาธร) (*ใน พ.ศ. 2432 (1889) กรมเหลา่ นี้ได้รับการยกฐานะขน้ึ เปน็ กระทรวง) เม่ือ พ.ศ. 2431 (1888) พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมี พระราชดำ�รัสแถลงพระบรมราชาธิบายแก้ไขการปกครองแผ่นดิน ทรงแสดงถึงความรอบรู้ เม่ือทรงอธิบายย้อนไปถึงพัฒนาการทาง ประวัติศาสตร์ของระบบการบริหารราชการแต่โบราณ และทรง วเิ คราะหใ์ ห้เห็นจุดอ่อนดอ้ ยของระบบดังกลา่ ว ตอ่ จากน้ัน ไดท้ รงชี้ ใหเ้ หน็ แนววธิ กี ารปฏบิ ตั ขิ องระบบการบรหิ ารราชการแบบใหมอ่ ยา่ ง คอ่ ยเปน็ คอ่ ยไป ทรงเลอื กพระเจา้ นอ้ งยาเธอเปน็ เสนาบดปี ระจำ�กรม ต่างๆ ที่ระบุไว้เกือบท้ังหมด แล้วการประชุมเสนาบดีสภาก็เริ่มต้น 7 | พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจา้ ฯ และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าฯ 347
ในทนั ที แมจ้ ะยงั ไมม่ อี �ำ นาจการบงั คบั บญั ชาในขณะนน้ั การเตรยี ม การเพ่อื ถา่ ยโอนอำ�นาจอย่างเต็มท่ใี ห้แกบ่ รรดาเสนาบดใี หม่ ยงั ไม่ เกิดข้ึนจนกระท่ังถึง พ.ศ. 2435 (1892) ใน พ.ศ. 2431 (1888) มี ปรากฏการณ์สองคร้ังท่ีแสดงถึงการเพิกเฉยที่จะเปลี่ยนแปลงการ ถ่ายโอนอ�ำ นาจจากกรมหนึ่งไปสูอ่ ีกกรมหน่งึ คอื ความรับผิดชอบ ดา้ นการทหารทย่ี งั คงคาบเกย่ี วอยรู่ ะหวา่ งกลาโหม กบั กระทรวงใหม่ ทรี่ บั ผดิ ชอบดา้ นกองทพั (ยทุ ธนาธกิ าร) และการแบง่ สว่ นสว่ นราชการ ในหนา้ ทร่ี บั ผดิ ชอบของมหาดไทยกบั กลาโหม ในการบรหิ ารราชการ สว่ นทอ้ งถนิ่ ทงั้ สองกรณนี เี้ ปน็ เพราะเสนาบดเี กา่ ยงั คงปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ อยู่ จงึ ตอ้ งรอเวลาใหข้ ้าราชการเหลา่ นัน้ เสียชีวิต หรือเลอื กทจี่ ะขอ ลาออกจากราชการไปเอง พระเจ้าแผ่นดินไมท่ รงคดิ วา่ การท้าทาย พวกเขาจะเปน็ เรอ่ื งฉลาดแตอ่ ยา่ งใด อยา่ งไรกต็ าม เสนาบดที ง้ั สอง ก็แก่ชรามากแล้ว จึงหวังได้ว่าพวกเขาคงจะออกจากราชการไปใน เวลาไมน่ านนัก โครงสรา้ งอยา่ งเปน็ ทางการของความเปลย่ี นแปลงเหลา่ น้ี ยงั ไม่สำ�คัญเท่ากับรูปแบบการตัดสินใจปรับปรุงในระยะทดลอง 4 ปี จนน�ำ ไปสกู่ ารสถาปนาเสนาบดสี ภา ใน พ.ศ. 2435 (1892) เสนาบดี สภารว่ มประชมุ กนั อยา่ งสม่ำ�เสมอ ในฐานะทเ่ี ปน็ สภาซงึ่ ยากจะท�ำ ได้ เม่ือในอดีต และนโยบายของราชอาณาจักรที่เริ่มเชื่อมโยงกันเพื่อ ให้การรวมศนู ย์อ�ำ นาจบรรลุผล โดยเฉพาะอย่างยง่ิ การจดั เกบ็ เงิน รายไดข้ องแผน่ ดนิ ในกระทรวงพระคลงั มหาสมบตั ทิ ท่ี �ำ งานไดด้ จี น ท�ำ ใหเ้ กดิ การพง่ึ พาอาศยั กนั ระหวา่ งกระทรวงตา่ งๆ ซงึ่ กอ่ นหนา้ นน้ั เคยมีอิสระในการกำ�หนดงบประมาณในกระทรวงของตน มีการใช้ ข้อมูลร่วมกันอย่างกว้างขวางแบบที่ไม่เคยปรากฏมาก่อน และคำ� แนะนำ�กับคำ�วิจารณ์ของบรรดาเสนาบดีและพระบาทสมเด็จ พระเจา้ อยหู่ วั กม็ ผี ลใหเ้ กดิ การลงมอื ปฏบิ ตั ขิ นึ้ ไดก้ บั เสนาบดแี ตล่ ะคน 348 ประวัตศิ าสตร์ไทยฉบบั สงั เขป
ก่อน พ.ศ. 2435 (1892) รัฐบาลกลางสามารถจะมีอำ�นาจ ควบคมุ เหนอื หวั เมอื งตา่ งๆ ทอี่ ยรู่ ายรอบไดเ้ ฉพาะอดตี เมอื งขน้ึ หรอื หวั เมอื งประเทศราช แต่ในชว่ งปลายทศวรรษ 1880 (2423-2432) สามารถเข้าไปจดั การบรหิ ารในเชยี งใหม่ และภูเกต็ (ศูนยก์ ลางการ ท�ำ เหมอื งแรด่ บี กุ บรเิ วณชายฝงั่ ทะเลตะวนั ตกของคาบสมทุ รมลาย)ู ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ สามารถออกพระราชบญั ญตั ติ า่ งๆ และจดั การ เร่ืองการจัดเก็บเงินรายได้ของแผ่นดิน และนั่นทำ�ให้มีการแต่งตั้ง ข้าหลวงต่างพระองค์สำ�เร็จราชการคนแรกในภาคตะวันออกเฉียง เหนือ ประจำ�ในพน้ื ที่หลวงพระบาง หนองคาย (ตรงขา้ มเมอื งเวียง จนั เกา่ ) และอบุ ลราชธานี ต�ำ แหนง่ เหลา่ นส้ี ว่ นใหญเ่ ลอื กจากพระบรม วงศานุวงศ์ ในฐานะท่ีเป็นสมาชิกของพระราชวงศ์ เจ้านายเหล่าน้ี จะสามารถข่มได้ท้ังขุนนางเก่าในกระทรวงท่ีได้ช่ือว่ารับผิดชอบใน หวั เมืองเหลา่ น้ี และพวกเจ้าเมอื งในท้องถิ่นท่ียังยึดมน่ั อย่ใู นอำ�นาจ เพราะสว่ นใหญแ่ ลว้ ไดร้ บั การสบื ทอดอำ�นาจมาจากพอ่ และปขู่ องตน พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ ฯ ทรงเลอื กขา้ หลวงตา่ งพระองคค์ น ใหมอ่ ยา่ งรอบคอบ และเมอื่ พจิ ารณาในฐานะคณะท�ำ งานแลว้ บรรดา ขา้ หลวงต่างพระองคเ์ หล่านั้นชา่ งมปี ระสิทธิภาพมาก ตวั อยา่ งเช่น ภายในเวลาเพยี งไมก่ ปี่ ี กรมหมนื่ พทิ ยลาภพฤฒธิ าดา สามารถท�ำ ให้ เกดิ ระบบการใหส้ มั ปทานสทิ ธใิ นการท�ำ ปา่ ไม้ ซงึ่ เปน็ การลดอ�ำ นาจ ของผู้ปกครองเชียงใหมล่ งไดอ้ ยา่ งไม่นา่ เชือ่ และกรมหม่ืนประจกั ษ์ ศิลปาคม กเ็ ริ่มตัง้ กองบัญชาการทหารในหนองคาย เพอ่ื จัดการกบั การจลาจลวุ่นวายในลาวตอนกลาง และสามารถต้านทานการข่มขู่ ทางการทหารของฝรัง่ เศสในภูมิภาคนั้นได้ การดำ�เนนิ งานดงั กล่าว ควรจะไดก้ ระท�ำ มานานแลว้ กอ่ นหนา้ น้ี หากมบี คุ คลทเ่ี หมาะสมทจ่ี ะ จดั การเรอื่ งเหลา่ น้ี และไมข่ าดแคลนเงนิ ทนุ ทจ่ี ะสนบั สนนุ การดำ�เนนิ งานเช่นน้ี นี่ไม่ใช่เร่ืองท่ีเร็วเกินไปเลย เพราะสถานท่ีเหล่าน้ีกลาย 7 | พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ ฯ และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ ฯ 349
เป็นจุดอันตรายของราชอาณาจักรไปอยา่ งรวดเรว็ ความเช่ือที่มีต่อคุณค่าทางเศรษฐกิจของลุ่มแม่นำ้�โขง และ ความตง้ั ใจทจ่ี ะแขง่ ขนั กบั จกั รวรรดอิ งั กฤษทเี่ ตบิ โตอยใู่ นพมา่ ท�ำ ให้ ฝรงั่ เศสมองดกู จิ กรรมของสยามในลาวทมี่ เี พม่ิ มากขนึ้ ดว้ ยความตนื่ ตระหนก แมว้ า่ เวยี ดนามกบั สยามตา่ งแขง่ ขนั กนั ควบคมุ ลาวมานาน หลายศตวรรษแล้วกต็ าม แต่ฐานะของสยามอยู่เหนอื กว่าเวยี ดนาม ในครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี 19 เพราะไดเ้ ขา้ ไปยงุ่ เกย่ี วกบั พวกจนี ฮอ่ เนอื่ งจาก สยามเปน็ ประเทศทม่ี อี �ำ นาจเหนอื อาณาจกั รหลวงพระบางและเชยี ง ขวาง จงึ ตอ้ งตอบโตก้ ารบกุ รกุ ของพวกฮอ่ ในทศวรรษ 1870 (2413- 2422) และ 1880 (2423-2432) โดยการสง่ กองทพั ขนึ้ ไปปราบปราม โดยเฉพาะอย่างย่ิง ใน พ.ศ. 2428 (1885) เมอ่ื อังกฤษบุกรกุ เข้าไป ในพมา่ ตอนบน และฝรง่ั เศสเขา้ ยดึ ครองเวยี ดนามตอนเหนอื ทงั้ หมด ไดใ้ นเวลาเดยี วกัน กองก�ำ ลังของสยามสว่ นใหญ่ปฏิบตั ิหน้าที่อยู่ใน ลาวไกลถงึ แม่น้ำ�ด�ำ ตอ้ งแต่งตงั้ ขา้ หลวงสองคนเพื่อก�ำ กบั ดูแลการ บริหารกิจการภายในของพระเจา้ อนุ่ ค�ำ เจา้ มหาชีวติ แห่งหลวงพระ บาง (ครองราชยเ์ มอ่ื พ.ศ. 2415-30 (1872-87)) ความขัดแยง้ กบั ฝร่ังเศสท่เี กดิ ข้นึ ตามมา เนื่องมาจากเขตแดนระหวา่ งเวยี ดนามกบั สยามไดร้ ะเบิดขนึ้ อย่างรวดเรว็ กลายเป็นความทา้ ทายทฝ่ี รง่ั เศสมี ตอ่ สยามในเรอ่ื งความเปน็ ใหญท่ มี่ ตี อ่ ดนิ แดนลาวทง้ั หมด การทา้ ทาย นนั้ เกดิ ขน้ึ แมจ้ ะมกี ารเจรจาเพอ่ื จดั ตงั้ คณะกรรมาธกิ ารรว่ มฝรง่ั เศส- สยาม เมอื่ พ.ศ. 2429 (1886) และระบใุ หม้ เี พยี งต�ำ แหนง่ ผชู้ ว่ ยกงสลุ ฝรั่งเศสในหลวงพระบางเท่านั้น ซ่ึงข้อตกลงนี้แสดงให้เห็นอำ�นาจ ของสยามทม่ี ีอธปิ ไตยเหนอื ดนิ แดนหลวงพระบางอย่างชัดเจน ฝรง่ั เศสอา้ งสทิ ธทิ ม่ี ตี อ่ ลาวเพอื่ ประโยชนใ์ นการขยายอ�ำ นาจ จกั รวรรดนิ ยิ ม โดยยนื ยนั ตนเองในฐานะทเ่ี ปน็ “ผอู้ ารกั ขา” จกั รวรรดิ เวยี ดนาม และสบื ทอดอ�ำ นาจตอ่ จากเวยี ดนามทเ่ี คยมเี หนอื หวั เมอื ง 350 ประวัติศาสตรไ์ ทยฉบับสงั เขป
ลาวตา่ งๆ มาก่อน แมจ้ ะมขี อ้ เทจ็ จริงว่าไดต้ รวจสอบหลกั ฐานในหอ จดหมายเหตขุ องเวยี ดนามทเี่ มอื งเวแ้ ลว้ แตก่ ไ็ มป่ รากฏหลกั ฐานเอก สารใดๆ ทีจ่ ะสนับสนุนการอา้ งสิทธนิ น้ั ได้เลย บางช่วงเวลาในอดีต ราชส�ำ นกั เวยี ดนามเคยมอี �ำ นาจเหนอื บางเมอื งในราชอาณาจกั รลาว โดยเฉพาะอย่างยงิ่ เขตเชยี งขวาง ในทศวรรษ 1850 (2393-2402) และกอ่ นหนา้ นน้ั และเหนอื หลวงพระบางกบั เวยี งจนั ในบางชว่ งเวลา ก่อนทร่ี าชอาณาจกั รลาวจะแตก ใน พ.ศ. 2371 (1828) การอ้างสิทธิ ของฝรั่งเศสจึงขัดกับข้อเท็จจริงในประวัติศาสตร์ แต่ก็ได้แผ่ขยาย อ�ำ นาจไปครอบคลมุ พ้นื ท่ีทงั้ หมดของล่มุ แมน่ ำ้�โขงอย่างรวดเร็ว ออกุสต์ ปาวี เป็นบุคคลท่ีมีบทบาทโดดเด่น ในเหตุการณ์ ตา่ งๆ ทข่ี ยายไปสวู่ กิ ฤตการณฝ์ รง่ั เศส-สยามใน พ.ศ. 2436 (1893) เขาเป็นผู้นำ�คณะนักสำ�รวจและนักวิทยาศาสตร์ท่ีเข้ามาสำ�รวจ ประวัติศาสตร์กับทรัพยากรธรรมชาติในขณะน้ัน รวมทั้งฐานะของ กมั พชู า เขาไดร้ บั แตง่ ตง้ั ใหเ้ ปน็ ผชู้ ว่ ยกงสลุ ทหี่ ลวงพระบาง ใน พ.ศ. 2429 (1886) ทำ�ให้เขาเป็นคนสำ�คญั ท่ีสนบั สนนุ การขยายอทิ ธพิ ล ของฝร่ังเศสในอินโดจีนตอนกลาง บทบาทนี้เหมาะสมกับเขามาก โดยส่วนตวั แลว้ เขาเหน็ อกเห็นใจผู้คนในกัมพูชาและลาวเป็นอย่าง มาก และรบั หนา้ ทแี่ ขง็ ขนั ในการชกั จงู ใหร้ ฐั บาลฝรง่ั เศสมา “คมุ้ ครอง” บรรดาเจ้านายและราษฎรของลาวให้พ้นจากอำ�นาจจักรวรรดินิยม ของสยาม ภาระหน้าท่ีของเขาทำ�ได้ง่ายดายขึ้น เมื่อแม่ทัพสยาม (*จม่นื ไวยวรนาถ) ในหลวงพระบาง ท�ำ ผิดพลาดอยา่ งร้ายแรง ใน พ.ศ. 2430 (1887) เมอื่ ปาวแี จง้ ขา่ วใหแ้ มท่ พั สยามทราบวา่ พวกฮอ่ จะเข้าโจมตีหลวงพระบาง แต่เขากลับไม่สนใจคำ�เตือนนั้น และยก ทัพกลับกรุงเทพฯ ท้ิงหลวงพระบางไปโดยมีการคุ้มครองใดๆ เมื่อ พวกฮอ่ เขา้ โจมตี ปาวไี ด้ชว่ ยชีวติ เจ้ามหาชวี ติ และชว่ ยให้ท่ปี รกึ ษา ชาวสยามหนกี ลบั มาจนถงึ กรงุ เทพฯ ไดใ้ นทสี่ ดุ จากเหตกุ ารณน์ เี้ อง 7 | พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจ้าฯ และพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ ฯ 351
ปาวจี ึงมคี วามเห็นวา่ ประสทิ ธภิ าพของสยาม ในฐานะรัฐผปู้ กครอง หวั เมอื งประเทศราชนนั้ ไดล้ ดลง ปาวจี งึ ด�ำ เนนิ งานอยา่ งแขง็ ขนั ทจี่ ะ แยกหัวเมืองลาวทัง้ หมดออกจากสยาม ใน พ.ศ. 2431 (1888) เขา ทำ�งานร่วมกับกองกำ�ลังของฝรั่งเศสทางตอนเหนือของเวียดนาม เพอ่ื ผนวกพวกไตเมอื งในเขตลมุ่ แมน่ �้ำ ด�ำ เขาไดพ้ ยายามแตไ่ มป่ ระสบ ผลในการส่งคณะทำ�งานเขา้ ไปในลาวตอนกลางที่สยามปกครองอยู่ เพอ่ื หาหลกั ฐานเกยี่ วกบั “การมอี ธปิ ไตย” ของเวยี ดนามในพน้ื ทน่ี น้ั และต่อมาเขาได้เดินทางกลับไปยังประเทศฝร่ังเศสใน พ.ศ. 2432 (1889) เพ่ือชักจูงให้รัฐบาลฝรั่งเศสดำ�เนินการเพื่อขยายจักรวรรดิ อนิ โดจนี ไปยงั ทง้ั สองฝงั่ ของล�ำ น�้ำ โขง เขาเดนิ ทางกลบั มายงั ลาว ใน พ.ศ. 2433 (1890) ในฐานะหวั หนา้ ของคณะส�ำ รวจของปาวี (Mission Pavie) ท่ปี ระกอบดว้ ยผูม้ ีความร้ดู ้านการคา้ และวิทยาศาสตร์ ปาวี ไดแ้ ผข่ ยายก�ำ ลงั คนของเขาและแผอ่ ทิ ธพิ ลของฝรง่ั เศสไปทว่ั ทงั้ ลาว สยามตอบโตก้ ารกระท�ำ เชน่ นด้ี ว้ ยการเพมิ่ อ�ำ นาจใหก้ บั ขา้ หลวง ต่างพระองค์สำ�เร็จราชการที่หนองคาย อุบลราชธานี กับจำ�ปาสัก และเตรยี มพรอ้ มจะใชก้ องก�ำ ลงั ทหารปกปอ้ งดนิ แดนนน้ั ไดถ้ กู ชาว ฝรง่ั เศสตคี วาม จะดว้ ยเหตใุ ดกไ็ มท่ ราบไดว้ า่ เปน็ การกระท�ำ ทไ่ี มถ่ กู ตอ้ งตามกฎหมาย และปาวไี ดร้ บั แตง่ ตง้ั ใหเ้ ปน็ กงสลุ สยามในกรงุ เทพฯ เพอ่ื ยืนยนั การกระท�ำ นี้ของฝรัง่ เศสตอ่ ราชสำ�นกั สยาม ในทสี่ ุดกไ็ ด้ เกิดวิกฤตการณ์ข้ึนในช่วงต้นปี พ.ศ. 2436 (1893) เม่ือมีการไล่ ตวั แทน “ทางการคา้ ” ของฝรงั่ เศสสองคนออกจากดนิ แดนตอนกลาง ของลาวโดยไม่มีคำ�อธิบายใดๆ และความตาย (ด้วยสาเหตุทาง ธรรมชาต)ิ ของกงสลุ ฝร่ังเศสทหี่ ลวงพระบาง ปารสี ได้ให้อ�ำ นาจแก่ ตวั แทนผมู้ อี ำ�นาจในอนิ โดจนี ในการออกมาตรการที่จะเรียกรอ้ งให้ มี “คา่ ชดเชย” ส�ำ หรบั การกระท�ำ เหลา่ นี้ และไดต้ งั้ ขอ้ เรยี กรอ้ งอยา่ ง ชัดเจนที่จะเอาดินแดนลาวทั้งหมดที่อยู่ทางฝ่ังตะวันออกของแม่น้ำ� 352 ประวตั ศิ าสตรไ์ ทยฉบับสงั เขป
โขง ในฐานะท่ีฝร่ังเศสเป็นผู้สืบทอด “สิทธิ” ของเวียดนาม เมื่อ กองทพั ของสยามทสี่ ง่ เขา้ ไปในลาว (*ค�ำ มว่ น ค�ำ เกดิ ) เพอื่ ตา้ นกอง กำ�ลังของฝร่ังเศสมิให้ควบคุมดินแดนน้ัน ในเดือนเมษายน พ.ศ. 2436 (1893) ไดส้ งั หารแมท่ ัพฝรงั่ เศส ซ่ึงเปน็ ผู้นำ�ในการปะทะกบั กองทพั สยาม รัฐบาลฝรงั่ เศสทพี่ ยายามหาชอ่ งจะประกาศสงคราม กบั สยามมานานแลว้ กไ็ ดใ้ ชเ้ รอ่ื งนเี้ ปน็ ขอ้ อา้ งทจ่ี ะด�ำ เนนิ การดงั กลา่ ว เมอ่ื ฝรง่ั เศสถกู ปฏเิ สธไมใ่ หส้ ง่ เรอื ปนื ขนึ้ ไปตามล�ำ น�ำ้ เจา้ พระยาจนถงึ กรงุ เทพฯ แตผ่ ูบ้ ังคบั การเรือของฝร่งั เศสก็ยงั คงแล่นเรอื ขน้ึ ไปอยดู่ ี (*จอดท่ีหน้าสถานทูตฝรั่งเศส) กดดันให้เกิดการต่อสู้ปะทะกันที่ ปากน�้ำ เจา้ พระยาในชว่ งเวลาสน้ั ๆ โดยไมไ่ ดต้ ระหนกั เลยวา่ มคี �ำ สงั่ จากปารสี บอกให้เรือปนื จอดอยแู่ คด่ ้านนอกสนั ดอนปากแมน่ ้ำ� ความพยายามอนั ชาญฉลาดของกรมหมนื่ เทวะวงศฯ์ ในการ แกไ้ ขสถานการณน์ กี้ ค็ อื การเสดจ็ ลงไปยงั ทา่ น�้ำ รมิ ฝง่ั แมน่ �ำ้ เจา้ พระยา ในกรุงเทพฯ เพ่อื แสดงความยินดกี บั ผบู้ ังคับการเรอื ของฝรัง่ เศส ที่ กลา้ ผา่ นปอ้ มบรเิ วณปากน�ำ้ เขา้ มา และตกลงวา่ จะถอนกองทพั สยาม ออกจากฝงั่ ตะวันออกของแมน่ ้�ำ โขง อย่างไรก็ตาม ปาวี ผไู้ ด้รับการ สนบั สนนุ จากเสยี งสว่ นใหญใ่ นรฐั บาลฝรงั่ เศส ไดย้ นื่ ค�ำ ขาดและเรยี ก ร้องให้ฝร่ังเศสได้กรรมสิทธ์ิเหนือดินแดนลาวทั้งหมด ท่ีอยู่ทางทิศ ตะวนั ออกของแมน่ �้ำ โขง (*หรอื ดนิ แดนฝงั่ ซา้ ยแมน่ �ำ้ โขง รวมทง้ั เกาะ ต่างๆ ) ให้สยามเสียค่าปรับและค่าทำ�ขวัญแก่ฝรั่งเศสเป็นจำ�นวน สามลา้ นฟรงั ก์ รวมทั้งการลงโทษเจ้าหนา้ ที่สยาม (*พระยอดเมอื ง ขวาง เปน็ ขา้ หลวงเจา้ เมอื งค�ำ มว่ น ค�ำ เกดิ ตง้ั แต ่ พ.ศ. 2428) ทท่ี �ำ ให้ ชาวฝรั่งเศสบาดเจ็บ และเสียชีวิตจากการสู้รบในลาว ข้อเรียกร้อง อนื่ ๆ มเี พม่ิ ขนึ้ ในเวลาตอ่ มา รวมถงึ การเขา้ ยดึ ครองจงั หวดั จนั ทบรุ ี ที่อยู่ใกล้เขตแดนกมั พูชา (*ไว้เป็นประกนั 10 ปี) จนกว่าสยามจะ ปฏบิ ตั ติ ามสญั ญาครบถ้วน และการสรา้ งเขตปลอดทหารเปน็ ระยะ 7 | พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจา้ ฯ และพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าฯ 353
ทาง 25 กโิ ลเมตร ทางฝง่ั ตะวนั ตกของแมน่ �ำ้ โขง และในฝง่ั ตะวนั ตก ของกัมพชู าท้ังหมด ในความเป็นจริงแล้ว สยามก�ำ ลงั ถูกบีบบงั คับ ใหจ้ �ำ ตอ้ งยอมรบั ค�ำ ขาดทฝี่ รง่ั เศสยนื่ มา เพยี งเพราะวา่ ราชอาณาจกั ร สยามไดพ้ ยายามปกปอ้ งดนิ แดนของตนจากการรกุ รานของตา่ งชาติ คล้ายๆ กับกรณีท่ีรัฐบาลใหม่ของอังกฤษได้รื้อฟื้นการอ้างสิทธิที่มี ต่อสหรฐั อเมริกาข้นึ มาอีกครงั้ หนึ่งในคริสตศ์ ตวรรษท่ี 18 และตอ่ มา กไ็ ดล้ งโทษรฐั บาลอเมรกิ นั ทต่ี อ่ ตา้ นการรกุ รานของกองก�ำ ลงั องั กฤษ ทถี่ กู สง่ ไปเพือ่ บบี บงั คบั ให้การอา้ งสิทธนิ ั้นมีผลในทางปฏิบัติ สยามไมม่ กี �ำ ลงั ตา้ นทานการปดิ ลอ้ มทางนา่ นน�ำ้ ตามทฝี่ รง่ั เศส ไดข้ เู่ ขญ็ ไว้ ในกรณที สี่ ยามไมย่ อมปฏบิ ตั ติ าม และยง่ิ มคี วามขดั แยง้ กันนานเท่าใด ฝ่ายอังกฤษก็ปฏิเสธซำ้�แล้วซำ้�เล่าว่าจะไม่เข้าไป เกยี่ วขอ้ งดว้ ย ดเู หมอื นวา่ นโยบายของสยามจะวางอยบู่ นสมมตุ ฐิ าน สองประการท่ีพวกเขาเชื่อถืออย่างเห็นได้ชัด ประการแรก ก็คือ ฝรงั่ เศสไมม่ วี นั ทจ่ี ะลดละการอา้ งสทิ ธติ อ่ ไป โดยถอื วา่ เปน็ ธรรมเนยี ม ในโลกอารยะทป่ี กครองดว้ ยกฎหมายระหวา่ งประเทศฉบบั เดยี วกนั กบั ทส่ี ยามเคยใชใ้ หเ้ ปน็ ประโยชน์ เมอ่ื มขี อ้ ขดั แยง้ กบั องั กฤษ ประการ ท่ีสอง ในสถานการณอ์ ันเลวร้ายที่สดุ แลว้ องั กฤษคงจะใช้กำ�ลังบา้ ง แต่ในแง่ศีลธรรมก็คือใช้กำ�ลังเพ่ือประโยชน์ของตน อย่างไรก็ตาม ฝรงั่ เศสกระท�ำ การอยา่ งทน่ี กึ ไมถ่ งึ และค�ำ ตอบขององั กฤษกอ็ ยหู่ า่ ง ไกลความคาดหวงั ของสยามมาก สงิ่ ทกี่ �ำ ลงั ปฏบิ ตั กิ นั กค็ อื หลกั การ เรอ่ื งผลประโยชนต์ อบแทน ซ่งึ จะดว้ ยวธิ ีใดก็ตาม ทำ�ใหฝ้ รงั่ เศสได้ รบั สทิ ธเิ ปน็ เจา้ จกั รวรรดใิ นภาคพน้ื ทวปี เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ มาก เทา่ ทอ่ี งั กฤษเคยไดร้ บั ไมว่ า่ จะแผข่ ยายโดยวธิ กี ารใด หรอื อา้ งเหตผุ ล ใดกต็ าม สถานการณเ์ มอ่ื พ.ศ. 2436 (1893 /ร.ศ. 112) ท�ำ ใหอ้ งั กฤษ มองเหน็ โอกาสทจี่ ะสรา้ งสมดลุ แหง่ อ�ำ นาจระหวา่ งฝรง่ั เศสกบั องั กฤษ ในดนิ แดนภาคพนื้ ทวปี เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ ทจี่ ะท�ำ ใหก้ ารแขง่ ขนั 354 ประวัตศิ าสตร์ไทยฉบับสังเขป
ระหว่างพวกเขามีอนั ตรายนอ้ ยลง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว จึงทรงไม่มีทางเลือกอ่ืน นอกจากยอมรับข้อเสนอของ ฝรง่ั เศส และลงเอยด้วยการท�ำ สนธสิ ัญญากับฝรง่ั เศส ใน (*วนั ที่ 3) เดือนตุลาคม พ.ศ. 2436 (1893) (ในช่วงขั้นตอนนั้น สยามจำ�ต้อง ยกดินแดนอันเปน็ สว่ นหนึง่ ของแควน้ นา่ น ใหก้ บั ฝร่ังเศส) หลงั จาก นั้น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าฯ ทรงบอบชำ้�ทั้งกำ�ลังใจและ กำ�ลงั กาย ไมส่ ามารถออกว่าราชการอยนู่ านหลายเดอื น วกิ ฤตการณ์ พ.ศ. 2436 (1893 /ร.ศ. 112) ไมใ่ ชจ่ ดุ จบของการ ตอ่ สดู้ น้ิ รน เพอ่ื ให้ไดม้ าซงึ่ อ�ำ นาจอธปิ ไตยของบา้ นเมือง หากเปน็ จดุ เรม่ิ ตน้ แหง่ ความพยายามของสยามในอนั ทจี่ ะกอบกสู้ ง่ิ ทส่ี ามารถ จะท�ำ ไดจ้ ากสถานการณ์อนั เป็นไปไมไ่ ดเ้ ชน่ น้ี นเี่ ป็นโอกาสสดุ ทา้ ย ทรี่ าชอาณาจกั รจ�ำ ตอ้ งสญู เสยี ดนิ แดนโดยไมไ่ ดร้ บั คา่ ชดเชยตอบแทน และน่ีเป็นจุดเร่ิมต้นท่ีอังกฤษกับฝรั่งเศสต้องเผชิญหน้ากับความ จำ�เป็นที่จะต้องตกลงกันในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ การท่ีฝร่ังเศส ผนวกได้ดินแดนลาว ทำ�ให้อังกฤษกับฝรั่งเศสมีดินแดนเช่ือมต่อ ถงึ กนั ทางตอนบนของแม่นำ้�โขง จึงจำ�เป็นจะต้องหาข้อสรปุ อยา่ ง รวดเรว็ เกยี่ วกบั ขอ้ ขดั แยง้ ของพวกเขา เรอ่ื งการอา้ งสทิ ธใิ นดนิ แดน หากตอ้ งการหลกี เลย่ี งความขดั แยง้ ในอนาคตทอี่ าจจะเกดิ ขน้ึ ในเรอ่ื ง สถานะของสยาม หลงั จากทไี่ ดใ้ ชแ้ นวความคดิ ทจ่ี ะสรา้ งรฐั กนั ชน ทางตอนเหนอื ของแม่น้ำ�โขง โดยยอมรับการอ้างสิทธิของสยามท่ีมีในดินแดนนั้น (การอา้ งสทิ ธทิ เ่ี ปน็ จรงิ นอ้ ยยง่ิ กวา่ ทเี่ ปน็ อยใู่ นดนิ แดนลาวสว่ นใหญ)่ เมื่อ พ.ศ. 2439 (1896) อังกฤษกับฝรงั่ เศสได้ตกลงกันที่จะใช้แม่นำ้� โขงเป็นเส้นเขตแดนระหว่างพม่าของอังกฤษ กับลาวของฝร่ังเศส พวกเขารบั รองวา่ ดนิ แดนทง้ั หมดของสยามในบรเิ วณทร่ี าบลมุ่ แมน่ �ำ้ เจ้าพระยามีความเป็นเอกราช แต่ละฝ่ายต่างตกลงที่จะไม่แสวงหา 7 | พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจ้าฯ และพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ ฯ 355
ผลประโยชนข์ องตนในดนิ แดนนนั้ ในขณะเดยี วกนั แตล่ ะฝา่ ยกส็ งวน สิทธิทจ่ี ะแสวงหาผลประโยชน์ หรอื แมแ้ ต่จะอ้างสิทธิเหนอื พน้ื ทีอ่ ่นื ใดของสยาม นอกเหนอื จากทรี่ าบลมุ่ แมน่ �้ำ เจา้ พระยา นน่ั คอื องั กฤษ ในคาบสมุทรมลายู และฝรั่งเศสในพ้ืนที่ราบลุ่มแม่น้ำ�โขงด้านทิศ ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ในกมั พชู าตะวนั ตก และเมอื งตา่ งๆ ในเขตอา่ ว สยาม ทางด้านตะวันออกเฉียงใต้ของกรุงเทพฯ เพื่อยืนยันข้อ สมมติฐานเหล่าน้ี อังกฤษกับสยามได้ลงนามในสนธิสัญญาลับร่วม กันเมือ่ (*วันที่ 15 มกราคม) พ.ศ. 2440 (1897) ที่จะไมย่ ินยอมให้ ชาติใดชาติหนึ่งเข้ามาเช่าซื้อ หรือมีกรรมสิทธิ์เหนือดินแดนสยาม ต้ังแต่ต�ำ บลบางสะพาน จังหวดั ประจวบครี ีขนั ธล์ งไป โดยไม่ไดร้ บั ความเห็นชอบจากอังกฤษ และอังกฤษจะคุ้มครองสยามกรณีถูก รุกราน ในทำ�นองเดียวกัน ฝรั่งเศสก็แสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่า สนใจทจ่ี ะขยายอทิ ธพิ ลของตน และการด�ำ เนนิ กิจการต่างๆ เขา้ ไป ในพ้นื ท่ีดา้ นตะวันออกเฉียงเหนือของสยามและกมั พชู า ในช่วงทศวรรษแรกของคริสต์ศตวรรษที่ 20 (2443-2452) มีการปรับปรุงเงื่อนไขต่างๆ มากข้ึน เพ่ือตกลงกันในขั้นสุดท้าย ระหว่างอังกฤษกับฝรั่งเศส และเพ่ือหันกลับมาพิจารณาแก้ไขสนธิ สญั ญาไมเ่ ปน็ ธรรม ทท่ี �ำ ขนึ้ ในรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจ้าอยู่หัว (*สนธิสัญญาเบาว์ริง) การแข่งขันระหว่างอังกฤษกับ ฝรงั่ เศสทำ�ใหท้ งั้ สองชาตหิ มดการใชโ้ อกาสใหมๆ่ และจำ�เปน็ ตอ้ งให้ ความสนใจกบั สง่ิ ทตี่ นเปน็ เจา้ ของอยใู่ นเวลานน้ั และสถานการณใ์ น ยโุ รปกต็ กอยใู่ นอนั ตรายมากยง่ิ ขนึ้ ยคุ สมยั ใหมไ่ ดเ้ กดิ ขนึ้ เมอื่ องั กฤษ กับฝรั่งเศสลงนามในขอ้ ตกลงกนั ฉันมติ ร (Entente Cordiale) เมื่อ พ.ศ. 2447 (1904) (*ซง่ึ มสี าระส�ำ คญั วา่ ทง้ั สองชาตจิ ะยตุ กิ ารแขง่ ขนั ระหวา่ งกันในการแสวงหาอาณานิคมในแอฟริกาและเอเชยี ) ดงั น้ัน ในสว่ นของสยามกพ็ รอ้ มทจี่ ะเจรจาตอ่ รองกบั มหาอ�ำ นาจ ทจี่ ะแกไ้ ข 356 ประวตั ิศาสตรไ์ ทยฉบบั สังเขป
ระบบการศาลภายใต้สิทธิสภาพนอกอาณาเขต ประมาณ พ.ศ. 2443 (1900) ในคดที เ่ี กย่ี วกบั คนในบงั คบั ต่างประเทศ จะเหน็ ว่ามีผ้พู ิพากษา 2 คน ซึ่งเป็นชาวตา่ งประเทศ 1 คน 7 | พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจ้าฯ และพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าฯ 357
สนธิสัญญาไม่เป็นธรรมท่ีสยามต้องแบกรับอยู่ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เรอ่ื งสทิ ธสิ ภาพนอกอาณาเขตทฝ่ี รงั่ เศสไดเ้ อาไปใชใ้ นทางทผ่ี ดิ โดย การใหอ้ ภสิ ทิ ธค์ิ วามเปน็ “คนในบงั คบั ฝรงั่ เศส” แกผ่ ใู้ ดกต็ าม ทเี่ กดิ หรอื อ้างว่ามเี ชอ้ื สายของผู้ทเ่ี กดิ ในลาว และกัมพูชา หรอื แมแ้ ต่ชาว จนี ผอู้ า้ งว่ามาจากเซยี่ งไฮใ้ นเขตของฝรัง่ เศส เพราะว่าคนในบงั คับ ของอังกฤษและฝร่ังเศสต่างอยู่นอกขอบเขตอำ�นาจของศาลสยาม เพราะมสี ิทธทิ ่ีจะได้รบั การไต่สวนคดคี วามในศาลกงสุล ซง่ึ เป็นการ ทำ�ลายกระบวนการยุติธรรมของสยาม ข้อบังคับในสนธิสัญญาที่ กำ�หนดอัตราการเก็บอากรค่านา และอากรสินค้าขาเข้ากับขาออก ทำ�ให้สยามไม่สามารถข้ึนภาษีอากรอันเป็นรายได้ที่เป็นท่ีต้องการ อย่างยิ่งได้ ทำ�ให้เงินรายได้ของแผ่นดินจำ�ต้องพึ่งพาการผูกขาด อากรฝนิ่ และอากรบอ่ นเบย้ี มากขนึ้ สงิ่ เหลา่ นเี้ ปน็ ทน่ี า่ รงั เกยี จส�ำ หรบั สยาม เช่นเดยี วกับองั กฤษและฝรง่ั เศส (แมจ้ ะมีการเก็บภาษีอากร ทั้งสองประเภทน้ใี นดนิ แดนอาณานคิ มของตน) การเจรจากบั ทงั้ องั กฤษและฝรงั่ เศสด�ำ เนนิ การไปเปน็ ระยะๆ เป็นเวลาหลายปี และผลการเจรจากเ็ ปน็ ไปอยา่ งเชือ่ งชา้ (*เมื่อไทย ปฏบิ ตั ติ ามสญั ญา ร.ศ. 112 ครบถว้ นแลว้ ฝรง่ั เศสกไ็ มย่ อมถอนทหาร ออกจากจันทบุรี ทำ�ให้สยามต้องยอมทำ�สัญญากับฝร่ังเศสอีก 3 ฉบบั คอื ฉบบั พ.ศ. 2445 (1903) สยามยอมยกเมืองจำ�ปาสัก และ มโนไพร เพอื่ ขอแลกกับจันทบรุ ี แตฝ่ ร่ังเศสก็เพิกเฉย ฉบับทสี่ อง) ใน (*วนั ที่ 13 กุมภาพนั ธ์) พ.ศ. 2446 (1904) กรุงเทพฯ ตอ้ งยอม ยกดนิ แดนฝง่ั ขวาแมน่ �ำ้ โขงทอ่ี ยตู่ รงขา้ มกบั หลวงพระบาง ใหฝ้ รงั่ เศส และให้สิทธิฝรั่งเศสเช่าที่ดินทำ�ท่าเรือในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (*ทหี่ นองคาย มกุ ดาหาร และปากน�้ำ มลู ) เพอ่ื แลกเปลยี่ นอกี ปลาย ป ี พ.ศ. 2447 (1904 (*8 มกราคม) ฝรง่ั เศสถอนทหารออกจากจนั ทบรุ ี และเข้ายึดตราดแทน ฉบับท่ีสาม พ.ศ. 2449 (1906) ไทยต้องยอม 358 ประวัตศิ าสตร์ไทยฉบบั สังเขป
ยกหวั เมอื งเขมรสว่ นใน คือ เสยี มราฐ พระตะบอง และศรโี สภณ ให้ ฝร่ังเศส เป็นการแลกเปลีย่ นกับตราด และฝร่งั เศสยังยอมใหส้ ยาม มสี ทิ ธชิ �ำ ระคดใี ดๆ ทช่ี าวฝรง่ั เศส หรอื คนในบงั คบั ฝรงั่ เศสเปน็ โจทก์ หรอื จ�ำ เลยตอ้ งมาขน้ึ ศาลของสยาม แตก่ งสลุ ฝรงั่ เศสยงั มอี �ำ นาจเรยี ก คดจี ากศาลของสยามไปพิจารณาได้ อังกฤษก็ไม่ได้เรียกร้องน้อยไปกว่ากันเลย การเจรจาต่างๆ นำ�ไปสู่ข้อสรปุ เพียงเมอื่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ ัว และกรมหม่ืนเทวะวงศ์วโรประการ ได้จำ�ยอมเสียสละ ในข้อตกลง ตามสนธิสัญญา เมื่อ (*วันท่ี 10) เดือนมีนาคม พ.ศ. 2451 (*นับ ศกั ราชแบบเกา่ 1909) โดยมีภาคผนวกเปน็ เร่อื งลับจ�ำ นวนมากน้ัน สยามไดโ้ อนสทิ ธใิ นการปกครองหวั เมอื งประเทศราชในมลายู ไดแ้ ก่ กลันตัน ตรังกานู ไทรบุรี และปะลิส ให้กับอังกฤษ เป็นการแลก เปลยี่ นกบั ขอ้ ตกลงขององั กฤษทจี่ ะโอนขอบเขตอ�ำ นาจในศาลกงสลุ ทเ่ี คยมเี หนอื คนในบงั คบั องั กฤษทง้ั หมดในสยามไปยงั ศาลของสยาม ทนั ทีทส่ี ยามประกาศใชป้ ระมวลกฎหมายสมยั ใหม่ ยงั มกี ารยกเลกิ การก�ำ หนดอตั ราอากรคา่ นาในสยาม รัฐบาลองั กฤษเรยี กร้องตอ่ ไป อีกวา่ อังกฤษจะให้เงินกู้แกส่ ยามในการสรา้ งทางรถไฟสายใต้ เพอ่ื เชื่อมกรุงเทพฯ กับสิงคโปร์ ภายใต้เงื่อนไขว่า อังกฤษต้องเป็นผู้ ด�ำ เนนิ การก่อสรา้ ง ขณะเดยี วกัน กรมหมน่ื เทวะวงศฯ์ ก็ทรงเจรจา ขอยกเลกิ ขอ้ ตกลงในสนธสิ ญั ญาลบั ระหวา่ งสยามกบั องั กฤษเมอื่ 15 มกราคม พ.ศ. 2440 (1987) ไม่ใชเ่ ร่อื งทีง่ ่ายนัก ทีข่ า้ ราชการสยาม จะยอมรบั ความจ�ำ เปน็ ทจ่ี ะตอ้ งเสยี สละไปมากขนาดนนั้ สลุ ตา่ นแหง่ รัฐมลายูทั้งสี่แสดงอาการเศร้าโศกอย่างท่ีสุด ท่ีน่าขบขันที่สุดก็คือ สลุ ตา่ นแหง่ ไทรบรุ ที บี่ น่ วา่ “บา้ นเมอื งและผคู้ นของเราถกู ขายเหมอื น กับววั หนุ่ม”6 ในท้ายที่สุด สยามจำ�ต้องยอมยกดินแดนจำ�นวน 126,000 7 | พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจา้ ฯ และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าฯ 359
ตารางไมล์ (456,000 ตารางกโิ ลเมตร) ซง่ึ เกอื บครงึ่ หนง่ึ เปน็ หวั เมอื ง ประเทศราชของกรุงเทพฯ เมอ่ื ปลายรชั กาลท่ี 3 เพื่อรกั ษาอธิปไตย ของตนเอาไว้ แตด่ นิ แดนเปน็ เพยี งสว่ นหนง่ึ ของตน้ ทนุ อนั หนกั หนา ทร่ี าชอาณาจกั รไดจ้ ่ายไป ในมมุ มองด้านเศรษฐกิจน้ัน จ�ำ เปน็ ตอ้ ง นับรวมถึงรายไดจ้ ากอตั ราภาษีอากรสินคา้ ขาเขา้ ขาออก และอากร ค่านาที่สูญไปก่อนหน้าน้ันแล้ว อันเนื่องมาจากข้อกำ�หนดในสนธิ สัญญา รวมทั้งต้นทุนท่ีเพิ่มข้ึน เพ่ือสร้างทางรถไฟในช่วง พ.ศ. 2435-2449 (1892-1906) ท่ใี ช้เงนิ ไดใ้ นขณะนัน้ แทนท่จี ะเป็นเงิน กยู้ มื ทงั้ นเ้ี พอ่ื หลกี เลยี่ งอนั ตรายอนั จะเกดิ ขน้ึ จากการกเู้ งนิ จากตา่ ง ประเทศ ตน้ ทนุ ของสมั ปทานอนั จะเปน็ ประโยชนท์ ไี่ ดใ้ หแ้ กช่ าวยโุ รป ผ้มู ีอทิ ธิพล เพอื่ ให้ไดม้ าซงึ่ ความพึงพอใจ ตน้ ทุนของความสะดวก สบายทไ่ี ด้จัดหาให้แกช่ าวยโุ รปทีพ่ ำ�นักอยใู่ นกรงุ เทพฯ โดยเฉพาะ อย่างยิ่ง คา่ ใช้จา่ ยจำ�นวนมากมหาศาลในการปฏริ ูปกองทัพบกและ กองทพั เรอื ให้ทันสมยั อย่างรวดเร็ว ในเวลาทคี่ วรน�ำ รายได้นัน้ ไปใช้ กบั โครงการทีจ่ ะให้ผลดมี ากกวา่ น้ันมาก เชน่ การชลประทาน ดว้ ย เหตนุ ี้ สยามจงึ ไมไ่ ดซ้ อ้ื เอกราชของตนมาจากลาว กมั พชู าและมลายู ทพี่ บวา่ พวกตนถกู ถา่ ยโอนไปอยใู่ ตก้ ารควบคมุ ของอาณานคิ มยโุ รป เพยี งอย่างเดียวเทา่ นั้น ทัง้ ยังไมใ่ ชร่ าคาทส่ี ยามได้จ่ายไป ไมว่ ่าจะ โดยวิธีใดก็ตาม เพียงด้านเศรษฐกิจเท่าน้ัน แต่ทว่ายังได้รับผล ประโยชนท์ ตี่ ้องตอบแทนคืนโดยทางการเมืองอีกดว้ ย จากการปฏิรปู สู่ความเป็นสมัยใหม่ การอ�ำ นวยความสะดวกใหก้ บั องั กฤษและฝรงั่ เศสในทศวรรษ 1890 (2433-2442) อาจเปน็ ไปได้ เพยี งเพราะวา่ ขณะนนั้ มหาอ�ำ นาจ ยโุ รปทง้ั สองไดเ้ ปลยี่ นมาไวว้ างใจความมเี สถยี รภาพของรฐั บาลสยาม 360 ประวัติศาสตรไ์ ทยฉบับสงั เขป
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 517
- 518
- 519
- 520
- 521
- 522
- 523
- 524
- 525
- 526
- 527
- 528
- 529
- 530
- 531
- 532
- 533
- 534
- 535
- 536
- 537
- 538
- 539
- 540
- 541
- 542
- 543
- 544
- 545
- 546
- 547
- 548
- 549
- 550
- 551
- 552
- 553
- 554
- 555
- 556
- 557
- 558
- 559
- 560
- 561
- 562
- 563
- 564
- 565
- 566
- 567
- 568
- 569
- 570
- 571
- 572
- 573
- 574
- 575
- 576
- 577
- 578
- 579
- 580
- 581
- 582
- 583
- 584
- 585
- 586
- 587
- 588
- 589
- 590
- 591
- 592
- 593
- 594
- 595
- 596
- 597
- 598
- 599
- 600
- 601
- 602
- 603
- 604
- 605
- 606
- 607
- 608
- 609
- 610
- 611
- 612
- 613
- 614
- 615
- 616
- 617
- 618
- 619
- 620
- 621
- 622
- 623
- 624
- 625
- 626
- 627
- 628
- 629
- 630
- 631
- 632
- 633
- 634
- 635
- 636
- 637
- 638
- 639
- 640
- 641
- 642
- 643
- 644
- 645
- 646
- 647
- 648
- 649
- 650
- 651
- 652
- 653
- 654
- 655
- 656
- 657
- 658
- 659
- 660
- 661
- 662
- 663
- 664
- 665
- 666
- 667
- 668
- 669
- 670
- 671
- 672
- 673
- 674
- 675
- 676
- 677
- 678
- 679
- 680
- 681
- 682
- 683
- 684
- 685
- 686
- 687
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 550
- 551 - 600
- 601 - 650
- 651 - 687
Pages: