www.kalyanamitra.org ๓, วิธีจับด้ายสายสิญจน์ สายสิญจน์ แปลว่า สายรด.นํ้า ในปัจจุบันได้แก่สายที่ทำ ด้วยด้ายดิบ เป็นเส้นสีขาว พระ.สงฆ์ใช้ถือขณะประนมมือเจริญ พระพุทธมนต์ วิธีการจับด้ายสายสิญจน์นั้น ด้อง่จับด้านในเข็ดสฺาว- ชักออกมาใหสัมพันธ์เป็นสายเดียวกันจาถด้านหน้าในเข็ด จับออก .ครั้งแรกเป็น ๓ เส้น ถาด้องการใด้สายใหญ่ก็จับอีกครั้งหนึ่ง จะ กลายเป็น.๙ เส้น ในงานมงคลใช้สายสิญจน์ ๙ เส้น ไมใช้สาย สิญจน์ ๓ เส้น ๔. วิธีบังสุกุลเป็น บังสุกุลฟ็น หมายถืง การทำบุญที่เจ้าภาพต้องการบริจาคฺสิง ชองที่เนึ่องด้วยกายของตน โดยเฉพาะผ้าอุทิศสงฟ้1ห้เป็นผ้าบังสุกุล ปกดินิยมทำเมือฺป่วยหฟ้า {.ป็นการระลึกนึกถึงความตาย^ได้!มประมาท และเป็นการสั่งสมบุญให้แก่ตัวเองด้วย คาถาที่ใช้บังสุกุ่ลเป็น ว่า อจิริ วดยํ กาโย ปรวึ อธีเสสฺสตั ฉุฑฺโฑ อเปดวิฌฌาโณ นิรตุถว กสิงฺครํ. ระเบียบพิธี เมื่อถึงวันงาน!;จ้าภาพควรปฏิบดตังนั๕้ - จุดเทียนธูปบูชาพระรัดนตรัย - อาราธนาศีลและรับศีล ๒(2:0
www.kalyanamitra.org - ประธานสงฆนำคณะสงฆสวดมนต์ - เมื่อสวดมนต์จบแล้ว เจ้าภาพหมอบลงตรงหน้าประธาน สงฆ เอาผาขาวคลุมร่างกาย ผูกด้ายสายสิญจน์ข้างหนึ่งที่ผาขาว นำ ด้ายสายสิญจน์อีกข้างหนึ่งลาดลงตรงหน้าคณะสงฆ์ ในกรณที่มี ผ้าทอต พระสงฆ์จับผ้าบงสุกลพึงว่าคาถา บงสุกุลเป็น - ในกรณีที่ไม่มีผ้าทอด ประธานสงฆ์ว่าคาถาบังสุกุลเป็น แล้วดึงด้วยสายสิญจน์Lห้ผ้าขาวที่คสุมร่างกายค่อย ๆ เลื่อนออก จากตัวผู้ที่ถูกบังสุกุล - ประเคนบัจจัยไทยธรรม คณะสงฆ์ให้พร เป็นอันเสร็จพึธี ๔. วิธบอกศักราช วิธีบอกศักราช หมายสิง การบอกวน เดือน ปี ก่อนที่จะ แสดงพระธรรมเทศนา เพื่อให้ผ้พึงเทศน์ทราบว่า เป็นํวัน เดือน ปี อะไร การบอกศักราชนั้นนิยม่■บอ์ถ่ทั้งภาษาบาลีและคำแปล โดย บอกเป็นภาษาบาลีก่อนจึงแปลเป็นภาษาไทย ต่อจากนั้นจึงแสตง พระธรรมเทศนา ๒ร:๑
www.kalyanamitra.org ปัญหาและเฉลยทมวด่ปกิผถพิธี : ๑. ปกิณณกพิธีคืออะไร ธีควรศึกษามีพ่าไรอะไรบ้าง ? ตอบ ปกณณกพิธี คือพิธีกรรมเบดเตเดบางอย่าง'ส์ชๆวพทธรยม กัน แฟยังไฝจัดเป็นหมวดหมู่เรียกว่า ปกิณกพิธี มือย่ ๔ ประการ คือ ๑. วิธีสวดมนต์ไหวพระของนกเรียน ๒. วิธีไหว้ครูของนักเรียน ๓. วิธีจับด้ายสายสิญจน์ ๔. วิธีบังสุกลเป็น ๔.วิธีบอกศักราช ๒. สายสิญจน์แปลว่าอะไร? ตอบ สายสิญจน์ แปลว่า สายรดนํ้าในบัจจุบันได้แกสายหี่ทำด้วย ด้ายดิบ ๓.สายสิญจน์งๆนมงคลใบ้กี่เด้น? ตอบ สายสิญจน์ ในงา'แมงกลใช้.^ เส้น ๔V การบังสุกลเป็นหมายถึงอะไร? ตอบ การบังสุกุลเป็น หมายถึงบุญกิริยาที่เจ้าภ่าพประสงคจะ บริจาควิ'ตถุที่เนื่องด้วยกายของตนโดยเฉพาะผู้อุทิศสงฆ์ให้เป็น บังสุกุล ปกดิรยมทำเมื่อป่วยหนัก เป็นการกำหนดมรณา'แส่สดิ อีกวิธีหนื่ง ๔.บังสุกุลเป็น คืออะไร คาถาที่ใ'ช้บังสุกุลเป็น ว่าอย่างไร? ตอบ บังสุกุลเป็น คือ บุญกิริยาที่เจ้าภาพประสงคจะบริจาควัตกุ เนื่องด้วยกายของตน โดยเฉพาะผ้าอุทิศสงฆ์ให้เป็นผ้าบังสุกุล ปกดินยมทำเมื่อป่วยหนักเป็นการกำหนดมรณา'แสสดิวิธีหนื่ง
www.kalyanamitra.org วฺา อจิร วตยํ คา๒ อธิเสสฺสติ ฉฟfei อเปต่าอุpjาเณ %รตฺ#3 คลงคร 'เอ
www.kalyanamitra.org วิชาวินัยมุข
www.kalyanamitra.org ว:แยมข สิกขาบทนอกพระปาสิโมกข์ ในวนัยมุขเล่มที่๑เราได้,สืกษาสิกขาบท๒๒๗สิกขาบทที่ เรียกอีกนุ้ยหนึ่งว่า วินุ้ย ซึ่งมาในพ่ระปาติโมกข์ และมานอกพระ ปาติโมกข์บ้าง ส่วนวินุ้ยมุขเล่มที่ ๒ นี้ เราจะได้ศึกษาสิกขาบทอีก แผ่นกหํนึ่ง ซึ่งมานอกพระปาติโมกข์ และส่วนเบ็ดเตล็ด อันมีมาใน ขฺนธกะเป็นพื้นที่เรียกว่าอภิสมาจาร สิกขาบทแปงเป็น ๒ คือ ๑. สิกขาบทในพระปาติโมกข์ ได้แก่สิกขาบทที่ทรงบัญ^ เป็นข้อห้าม ปรบโทษสำหร้บภิกมุ'ผู้ฝ่าแนกระทำผิดไว้ในฺพฺระปาติโมกข์ มีจำ นวน ๑๔๐, สิกขาบท ได้แก่ ๑. ปาราชิก ๔ สิกขาบท ๒.สังฆาทิเสส๑๓สิกขาบท ๓. นสสัคติยปาจิตติข์ ๓๐ สิกขาบ่ท ๔. ปาจิตตีย์๙๒ สิกขาบท ๔. ปาฏิเทสนียะ ๙ สิกขาบท ๒๔๔
www.kalyanamitra.org ๖. อธิกรณสมถะ ๗ สิกขาบท ๒. สิกขาบทนอกพระปาติโมกข ไมใดกล่าวจำนวนไว้แน่นอน รวมทง่อน่ย่ตฺ ๒ สิกขาบท และเสขิยวัตร ๗๔ สิกขาบทเข้าด้วย อุทเทส ๓ จุทเทศ แปลว่า การยกขึ้นแสดง การยกขึ้นขึ้แจง หมายถึง หัวข้อเรื่อง ด้นเรื่อง หมวดหัวข้อที่ดั้งขึ้นเพื่อแสดงขึ้แจงให้ละเอียด ต่อไป มี ๓ - ๑. ปาราชกุทเทัส ได้แต่ปาราข้ก ๔ สิกขาบท ๒. สังฆาทิเสสทเทส ได้แต่สังฆาทิเสส.๑๓ สิกขาบท ๓.วิดถารุฑเทิส ได้แต่น่สฺสัคติยปาจิตตีย์ ๓๐ สิกขาบท ปาจิตตีย์ ๙๒ สิกขาบท .ปาฐเทสนียะ ๙ สิกขาบท อธิกรณสมถะ ๗ สิกขาบท รวม๑๔๐สิกขาบท ความแตกต่าง่แห่งสิกขากับสิกขาบท ๑. สิกขา ได้แต่ สืล สมาธิ ป้ญญา ร่งเป็นคำสอนของ พระพุทธศาสนา ได้แต่ พระพุทธวจนะหังสิน ๒. สิกขาบท ได้แต่ขอห้ามแต่ละสิกขาบทแห่งพระวิใ!^บัญ^ อันหมายถึงข้อห้ามแต่ละข้อแห่งตีล หรื่อแห่งวิหัยป็ฏก เหมีอนกับ บทหรือมาดราหนึ่ง ๆ แห่งพระราขบัญญตหรือกฎหมาย กระนั้น ๒๔๖
www.kalyanamitra.org วินัยแบ่งออกเป็น ๒ประการคือ ๑. อาทิพรห่มจริยกาสิกขา ได้แก่ขอศึกษาอันเป็นเบื้ก้งต้น แห่งพรห่มจรรอั อันไต้แก่'เ^พุทธป็ญ^ทิตรงตั้งไ^ห่เป็นพุทฮอาณา เป็นสิกขาบฺท่อันมาในพระปาสิโมกขเป็นข้อบังคับโดยตรง'ส์ภก่ษุ่จะ ต้องประ'พํฤสิปฏิบตโดยเคร่งครด เช่น ปาราชิก ๔ เป็นต้น ๒. อภิส่มาจาเกาสิกขา ไต้แก่ข้อศึกษาอันเนื่องด้วยอ่ภิสมาจาร คือมารยาทอันดี ที่ทรงบัญญ้สิห่รืออ'นุญาตไวิ อันมานอกพระปาสิโมถฃฺ เป็นขนบธรรมเนียมอันดีงฺามุของห่มู่คณะที่ควรประพ.ฤดี. เช่น การ ไว้ผฺม การไว้ห่นวด ก่าร'นง'พ่มจีวรเป็นต้น พุทธบัญ^มี ๒ ประการ คือ ๑. มลบัฌญ้สิ คือข้อที่ทรงตั้งห่รือทรงบัญ^ไว้เสิม ห่ลัง จากเกิดฺเรื่องขึ้น เช่น ทรงบัญ่tpว่า การกระทำอุปสมบทกรรม ยอมสำเร็จไต้ต้วยสงฆ์ ทสวรรค คือ กิกพุ ๑๐ รูป ขึ้นไป ■จีงจะใ'ค้ กลบุตรอุปสมบทได้ ตากว่านั้นไมส่ามารถไห่อุปสมบทได้ ถาขืนใ'ท้ อุปสมบท จัดเป็นกรรมวิบต อุปสมบ'ทไม่ขึ้น เป็นด้น ๒. อนบัญfp คือข้อที่ทรงบัญ!Pเ'พิ่มเสิมขึ้นในภายหลัง เช่น เมื่อครั้งทำนพระมห่าอัจจายนเถระ ไปประกาศศาสนา'พัก อาคัยอยู่ที่ภูเขาปวัตตะ แขวงเมีองกุรุฆระ ในอวันดี ทักชิณาปถ- ชนบท อุบาสกผู้เป็นอุบัฏฐากของท่านคนห่นื่ง •ชื่อว่า โสณกุฎิ- อัณณะ บุตรของนางกาพัอุบาสิกา มีความประสงคืจะบวช แต่ห่า ภิกษุใ'พ้คฺรบ ๑๐ รูปไม่ได้ จึงบวชได้เ'ทียงเป็นส่ามเณรเท่านั้น ต้อง รออยู่ถึง ๓ ปี ห่าภิกษุไต้ครบจึงไต้อุปสมบท ต่อมาเมื่อพระโสณ^ ๒&ey
www.kalyanamitra.org กุฏึกัณณเถระ ลาพระอุiTชฌาชมาเฝืาพระบรมศาสดา :ฑๆนพระ มหากจจายนเถระ จึงได้ให้มากราบทูลขอพระบรมพทธานุญาต ให้ ทฺรงแกฺไขพระพทธํบัญญ้ตุ^ห้เหมาะสมต่ออวันตีห้กฃิณาปถชนบห ต่อไป ทรงอนุญาตตามที่ขอ คือ ป๋จจันตชนบทภิกษุ ๔ รูป ทำ การ อุปสมบทกรรมให้สำเร็จได้ อภิสมาจาร สํกขาบทแผนกนี้ มาในขันธกะเป็นฺพื้น ไม่ได้บอกจำนวน เหมือนสิกขาบทมาในพระปาติโมกข จัดเป็นพวก ๆ ตามกิจหรือ วัตถุ เรืยกว่าขันธกะอันหนึ่ง ๆ เช่น ๑.ว่าด้วยทำอุโบสถ จัดไว้พวกหนึ่ง เรืยกว่าอุโบสถขันธกะ lo. ว่าด้วฺยจีวร จัดไว้รกพวกหนึ่ง เรืยกจีวรขันธกะ มาในที่ อื่นก็มื .๑.ในนิทานด้นบ'ญ^แฟงสิขาบทมาในพระปาติโมกข์บาง ๒. ในวินิตวัดถุเรื่องสำหร้บเทียบเคียงตัดสินอาบดในอัมภีเ วิภิงด้บ้ไางง ๓. มาในอรรถกถาที่เรืยกว่าบาลีมดตกะบ้าง สิกขาบทแผนกนี้ ท่านแน่งออกเป็น ๒ ประ๓ท คือ ๑. เป็นข้อห้าม ๒. เป็นข้ออนุญาต ข้อห้ามนฺน ปร้บอาบติโตยตรฺงมืเพียง ๒ คือ่ ถุลอัจจัย มีบ้าง ทุกกฏิมืเป็นพื้น ที่ไม่ได้ปรบอาบติโดยตรง•เป็mเตกล่าวว่า อย่า ๆ ไม่ ๆ ๒&โC?
www.kalyanamitra.org .เป็นคาแน่ะคำสอนก็มี เซ่นนี้มอ,ยูใน่กถาทั้งหสายอันกล่าวเป็นเรื่อง ๆ ไป เมื่อไม่เอื้อเฟ้อในที่จะเว้น ปรบเรน่ทุกกฎ ดุจในเสขิยวดร ฃ้อที่อนุญาตนั้น น่าจะเห็นว่าเป็นป^โยชน์พิเศษ เซ่นทรง อนุญาตวัสสิกสาฎก ไม่ได้บังคับว่า ภิกษุทุกรูปเมื่อ่ถึงฤดูฝนจะด้อง มีผ้าอาบนํ้าฝน เป็นแต่ถ้าด้องการก็มีได้ อ่ภิสมาจารถ้าภิกษุล่วงมากอย่างหรือเป็นนิต่ย์ไป ธรรมเนียม ย่อมกลายไปหรือเสื่อมเสียไป ภิกษุต่างเป็น ๒ พวก คือเคร่งและไม่ เคร่ง พวกเคร่งอังรักษาธรรมเนียมแข็งแรง พวกไม่เคร่งทอดธุระ เสีย ไม่เอื้อเฟ้อใน่อันทำตาม รู้เซ่น่นี้แล้วพิงปฏิบตโดยสายกลาง ไม่ทำตนให้ลำบากเพราะธรรมเนียมอันขัดขวางต่อกาลเทศะ ^ และ ไม่มักง่ายจนถึงจะทำตนให้เป็นผู้เลวทราม ปฎิฟ้ตเพียงเท่านี้ ก็ เรืยกได้ว่างาม อังพอจะสืบอายุพระพุทธศ์าสนาได้อยู่ อภิสมาจาร คือธรรมเนียมของภิกษุ จัดเป็นกัณฑ์ ๆ ตามเรื่อง ดงต่อไปนี้ วินัยมุขเล่ม ๒ มี ๑๒ กัณฑ์ อภิสมาจารสิกขาบทนี้แปงออกเป็น ๑๒ กัณฑ์ ตามเรื่อง ร่งต่อมาจากวินัยมุข เล่มที่ ๑ คังต่อไปนี้ คือ ๑. กัณฑ์ที่ ๑๑ กายบริหาร ๒. กัณฑ์ที่ ๑๒ บริขาร บริโภค ๓. กัณ์ฑ์ที่ ๑๓ นีสิย ๔. กัณฑ์ที่ ๑๔ วตร ๕. กัณฑ์ที่ ๑๔ คารวะ ๖. กัณฑ์ที่ ๑๖ จำ พรรษา ๒ร:๙
www.kalyanamitra.org ๗!. กัณฑ์ที่ ๑๗ ฮุโบสถและปวารณา ๘. กัณฑ์ที่ ๑๘ อุปปดกรยา ๙. กัณฑ์ที่ ๑๙ กาลก ๙ ๑๐.กัณฑ์ที่ ๒๐ กัณฑะต่างเจ้าของ ๑๑. กัณฑ์ที่ ๒๑ วินัยกรรม ๑๒. กัณฑ์ที่ ๒๒ ปกิณกะ ป๋ฌหาและเฉลยวินัยมุฃอฺภิสมาจาร ๑.อภิสมาจาร คออะไร ภิกษุล่วงละเมิดจะเกิดความเสิยหายอยางไร? ตอบ คือ ธรรมเนียมของภิกษุ'ถ้าล่วงละเมิดแต่บางอยๆงฺหรือ บางครั้งก็เสียหายน้อย แ^ถ้าล่วงละเมิดมากอย่างหรือเป็นนีตย ธรรมเนียมย่อมกลายไปหรือเสีอมไป ภิกษุจะแตกเป็น ๒ พวก คือเครงและไม่เคร่ง ; ๒.อภิสมาจารฑ่านุจัดเฒงเป็นกี่แผนก แล๗รบอาบดโดยตรงไว้เทาไร อะไรบ้าง? ตอบ ฟานจัดแปงรูปเป็น ๒ แผนก คือ เป็นข้อห้าม ๑ เป็นข้อ อนุญาต ๑ ปรบอาบดโดยตรงมีเพียง ๒.คือ ถุลลัจจัย มีห่าง ๆ ๑. ทกกภ มีเป็นพื้นไป ๑ ๒๖๐
www.kalyanamitra.org ๔.รกขาบทiเอกพร๗าฐใ^กข์เรียคร่าอะไร ทรฒญ^ไว้เพื่อประโยชน์ อะไร? ตอบ เรียกร่า อภิสมาจาร ทรง!ฒ™ไว้เพื่อความฟ็นระเบียบ เรียมร้อยของภิกษุ และเพื่อความงามของพระศาสนา เซ่นเดียวกับ ตระกูลใหญ่ จำ ต้องมีขนบธรรมเนียม และระเบียบไว้รักษาเกืยรติ และความเปีนผูดีของตระกูล ๕.อภิสมาจารแปงเบีน ๒ ดีอเป็นข้อห้าม ๑ เป็นข้ออนุญาต ๑ นั้น คืออย่างไร ปร้บโทษแก่ผู้ล่วงละเมิดไว้อย่างไร? ตอบ ที่เป็นข้อห้าม คือภิริยาบางอย่างหรีอบริขารบางประเภทไม่ เหมาะแก่สมณรูป จึงทรงห้ามไมให้ไว้หนวดเครายาว ไม่ให้ใช้บาตร ไม้ เป็นต้น ที่เป็นข้ออนุญาต คือเป็นการประทานประโยชน์พิเศษ แก่พระภิกษุ เซ่น ทรงอนุญาตวัสสิกาฏกในฤดูฝน เป็นต้น ปรับ โทษโตยตรงมีเพียง ๒ คือ ถุลลัจจัย ๑ ทุกกฏ ๑ แม้ในช้อที่ทรง อนุญาต เมื่อไม่ทำตาม ก็เป็นอาบีติทุกกฏ เพราะไม่เอื้อเพื่อ ๖. ภิกษุผู้ไต้ชื่อร่าประตบพระศาสนาให้รุ่งเรืองเพราะประพฤติปฎิบีด เช่นไร จงชี้แจง? ตอบ เพราะมีความประพฤติปฏิป๋ติสุภาพเรียบร้อย สมบูรณด้วย อภิสมาจาริกวตร เว้นจากบุคคลและสถานที่ไม่สมควรไปคืออโคจร เป็นผู้ไต้ชื่อฺร่าอาจารโคจรสัมป๋'นโน ผู้ถึงพร้อมด้วยมารยาทและโคจร กันเป็นคู่กับคุณบทร่า สีลสัมป๋นโน ผู้ถึงพร้อมด้วยศีล ๗. อาทิพรหมจริยกาสิกขากับอภิสมาจาริกาสิกขา ต่างกันอย่างไร? ตอบ ต่างกันดังนุ อาทิพรหมจริยกาสิกขา ได้แก่ ข้อศึกษากันเป็น เบื้องต้นแห่งพรหมจรรย กันได้แก่พระพุทธบัฌญ่ติที่ตรงตั้งไว้ให้ ๒๖๑
www.kalyanamitra.org เป็นพุทธอาณา เป็น่สิกขาบทอันมาในพระปาติโมกช เป็นขอบังอับ- โดยตรงที่ภิกษจะต้องประพฤติปฏิบติโดยเครงครัดฺ .ส่วนอภิสมาจาริกาสิกขา ไต้แก่ข้อศึกษาอันเนองต้วยอภิสมาจาร คือมารยาทอันดี ที่ท่รงบัญ^หรืออนุญาตไว้อันมานอกพระ- ปาติโมกข์เป็นขนมธรรมเนียม อันดีงามของหมู่คณะที่ควรประพฤติ ๒๖๒
www.kalyanamitra.org กัณฟ้ที่ ๑๑ กายบริห่าร กายบริหาร ขอ๑.อ่ม่าพึงไว้ผมยาว จะไว้ไดเพียง๒เดือน หรือ๒นิ้ว อธิบายว้า เมื่อถึงกำห่นด ๒ เดือน แม้ผมยังไม่ถึง ๒ นิ้ว ก็พึงปอ.งเสีย หรือํยังไม่หันถึง ๒ เดือน แต่ผมยาวถึง ๒ นิ้วแล้ว ก็พึงปลงเสียเหมือนกัน ในสมัยพุทธกาลพวกภิกษุคงไว้ผมยาวกว้า นิ้ จึงได้มืข้อห้ามการแต่งผมดฺงนิ้ ๑. ไม่ให้หวีผมดืวยห่วีหรือด้วยแปรง ๒. ห้ามไม่ให้เสยัผ่มํด้วยนิ้วมือโดยอากาฟาหวี ๓.ห้ามไมให้แต่งผมด้ายนิ้ามัยเจือชี้ผึ้ง ห่รือด้ายนํ้ามันเจือนํ้า ๔. ห้ามไม่ให้ตดผมด้วยกรรไกร เว้นไว้แต่อาพาธ ๔. ห้ามไม่ให้ถอนผมหงอก สำ หรับคนผมยาวกว่า ๒ นิ้วทั้งนั้น ในพวกนครนถึเขาไว้ ผมตงแต่ ๑ เดือนชี้นไปถึง ๔ เดือน ผม ๔ เดือนดูพอจะหวีและ แต่งได้ ๒๖๓
www.kalyanamitra.org ข้อ ๒. อย่าพึงไว้หนวดไว้!,ศรา อธิบายว่า ในข้อนี้ไฝมกำหนดชัดเหมือนผม แต่คฺงไฝยาว จนถึงจะแต่ง่ให้มืสัณฐานต่าง ๆ ได้ และโกนด้วยมืดไฝสะดวก แต่ เดิมคงไว้ยาวจึงมืข้อหามไว้ดังนี้ ๑. ไฝให้แต่งหนวด ๒. ห้ามไฝให้ดัดหนวดด้วยกรรไกร ข้อ ๓. อย่าพึงไว้เล็บยาว อธิบายว่า พึงดัดเสียด้วยมืดเล็กพอเสมอเนี้อและอย่าพึงชัด เล็บให้เกลี้ยงเกลา แต่เล็;นเ!เอนจะชัดมลทิน หรือจะแคะมูลเล็บ ทำ ให้สะอฺาดเพอรักษาอนามัยและดูไมนารังเกียจ เล็บไฝสะอาดอาจ จะนำเลี้อโรคเข้าสู่ร่างกายได้ นี้เป็นกิจที่ควรทำ ข้อ ๔. อย่าพึงไว้ขนจมูกยาว พึงถอนเสียด้วยแหนบ อธิบายว่า ขนจมูกนี้ แสดงในดำราสรืรคาสดรว่า มืปฺระโยชนํ สำ หรับรับฝ่นตามอากาศที่สูดเข้าไปในเวลาหายใจไว้ไฝให้เข้าไปใน ปอดุ แต่มืข้อห้ามอย่างนี้ คงหมายถึงขนที่ยาวออํกฺมานอกช่องจมูก มองดูแล้วนำรังเกียจ ไฝสุภาพ เมื่อมุ่งถึงสุขภาพไฝ ควรถอนควรจะไข้ กรรไกรดัด จะทำให้ไฝกระทบกระเหือนถึงเส้นประสุาหจมูก . ข้อ ๕. อย่าพึงให้นำออกเสียชัง^ขนในที่แคบ ดือในร่มผ้าและที่รักแร้ เว้นไว้แต่อาพาธ อธิบายว่า ขนในที่แคบคือในร่มผ้า หมายถึงขนที่เกิดที่จาน ๒๖(T
www.kalyanamitra.org ฮวัยวะเพศ และขอบทวารหนัก จะใหนำออกเสียเพื่อทายาหรือเพื่อฝา ตัดได้อยู่ ส่วนขนที่รักแร้ถ้ายาวเกินไปดูน่ารุ้งเกียจตัดออกเสียบ้างก็ดี ■/ \" ■ ■ - - J, : : ' . . ^ ^ ข้อ ๖. อย่าพงฝัดหน้า อย่าพงไล้หน้า อย่างพึงทาหน้า อย่าพึงย้อม หน้า อย่ว่พึงเจิมหน้า อย่าพึงย้อมตัว เว้นไว้แต่อาพาธ อธิบายว้า ฝัดหน้า . คือไข้แบ้งผงลูบให้ผิวมีนวล ไล้หน้า พึงเห็นเซ่นใข้ฝุนละลายนํ้าทาแห้งแล้วลู่บให้เสมอ ทำ ให้ผิวหน้า เรืยบเนียน ทาหน้า เซ่นํทาแบ้ง ย้อมหน้า .เซ่นทาขมิ้น เจิมิหน้า เซ่นเจิมด้วยกระแจะที่ผู้ใหญ่ทำให้ผู้น้อยในคราวมงคล การเขียน หน้า บ้ายหน้าด้วย่สี เขาใข้เพื่อจะทำหิน้าให้ขึงขัง หรือน่ากลัวขึ้น กว้าปกติ ย้อมตัวพึงเห็นเซ่นทาขุมิ้นข้อเหล่านี้ ห้ามเฉพาะเพื่อ ทำ ให้ส่วยr อาพาr เซ่น เป็นโรศที่ผิวจะทายาเป็นด้นว้าไพลได้อยู่ ในบาลีกล่าวไว้เฉพาะหน้า แม้ตัวกีเหมีอน่กัน ข้อ ๗. อย่าพึงแต่งเครื่องประตับต่าง ๆ เป็นด้นว้า ด้มหู สายสร้อย สร้อยคอ สร้อยเอว เชมขัด บานพึบ(ล่าหรบรัดแขน) กำ ไลมือ.และ แหวน อธิบาย่ว้รฺ ตุ้มหูหรือ -ต่างหู คือเครื่องประตับที่ใบหู อันทำ ด้วยเงืนทอ่งประตับด้วยเพชรพลอยต่าง ๆ ในครั้งโบราณประตับได้ ทั้งชายและหญ่ง ตังนั้น จึงมีข้อห้ามไมให้ปรุะตับหู สายสร้อย คงจะหมายถึงสร้อยสะพาย ที่คล้องแต่ไหล่เฉลียง ลงมาถึงสะเอว ที่เรืยกอีกอย่างหนึ่งว้าสะพายแล่ง เหมีอนกับกิกษ สวมอังสะฉะนั้น เป็นเครื่องประตับชนิดหนึ่งทำด้วยเงินและทํอง ทำ ๒๖&:
www.kalyanamitra.org แบบสายโซ่เป็นต้นบ้างประดับต้วยเพชรพลอย.และอัญมณีตาง ๆ สร้อยิคอ คือ เครื่องประดับชนิดเดียวแดใช้สวมที่ค่อ สร้อ่ยเอว ก็เหมือนกัน แตใช้สวมรอบเอว เหมือนกับคนที่สวม เครื่องรางของขลังที่เรืยกตะกรุด ที่สวมที่ช้อมือ เรียกจา สร้อยมือ เข็ดขัด คือวัตถุที่รัดผ้านุ่งให้อยู่กับสะเอว เหมือนประคดเอว ทำ ต้วยโลหะตาง ๆ ที่เรียกว่า เข็มขัดทอง เข็ดขัดนาก เข็มขัดเงิน และทำด้วยวัตถุต่าง ๆ มืหนังลัตว์เป็นต้น บานพับ (สำหรับรัดแขน) คือกำไลแขนทำด้วยโลหะต่าง ปรุะดับแขนเหนือช้อศอกขึ้นไป บางแห่งเรียกว่ากำไลแขนก็มื ทำ เห่มือนกับแหวนที่สวมนิ้วก็มื ใช้เชือกหรีอด้ายกักก็มื แต่สำหรับ พวกโขน ละคร ลิเก เห้นมีบานพับรัดที่ช้อมือ กำ ไลมือ ทำ ด้วยโลหะต่าง ๆเป็นวงกลมสวมที่ช้อมือใด้ช้อ่ศอกํ ลงมาที่สวมช้อเท้าเรียกกำไลเท้า แหวน เป็นวงกลม ๆ ทำ ด้วยโลหะแบบต่าง ๆ ประดับเพชร พลอย สำ หรับสวมที่นิ้วมือ แต่สตรีชาวอินเดียบางคนสวมแหวนถึง ๒๐.วงก็มื คือสวมทุกนิ้ว ทั้งนิ้วมือนิ้วเท้า . ข้อ ๘. อย่าพึงส่องดูเงาหน้าในกระจกหรือในวัตถุอื่น อาพาธ เป็น แผลที่ห่น้า จะส่องดูแผลเพื่อตรวจหรือเพื่อทายา ป็ดยา ได้อยู่ อธบายว่า การส่องดูเงาหน้าในกระจกหรือในวัตถุอื่น เช่น ดูเงาหน้าในนํ้า ในโลหะ ในกระจกเงาที่ใส ในแผ่นหิน เพื่อการแต่ง ดัวแต่งหน้านั้นห้าม ทรงอนุญาตให้ส่องได้เมื่ออาพาธ จะส่อง กระจกโกนหนฺวต.โกนผมที่ตนทำเองเพื่อสะดวกเหินไมืมืโทษ ๒๖๖
www.kalyanamitra.org ข้อ ๙. อย่าพึงเปลือยกายในที่ไฝบงควร ในเวลาไฝบงควรถ้าเปลือย เป็นวัตรเอาอย่างเดียรถย์ดองถุลลืลจัย ถาเปลือยทำกิจแก่กน คือ ไหว้ รบไหว้ ทำ บริกรรม ให้ข.อง ริบของ และเปลือยในเวลาฟ้แ ใน เวลาดื่ม ต้องทุกกฎ อธิบายว่า เปลือยกาย คือ ไฝมีผ้านุ่งผ้าห่ม ปล่อยกาย ล่อนจ้อน ในที่ไฝบงควร คือในที่โล่งแจ้ง ในที่ชุมชน หริอในที่คน ผ่านไปฝานมาพอ่เห้นไต้ ในเวลาไฝบงควร คือ ในการไหว้ การรับ ไหว้ การให้ของ การรับของ แต่ในเริอนไฟและในนํ้าทรงอนุญาตให้ เปลือยกายไต้ จะทำบริกรรมคือนวดฟ้นหริอประคบให้กันในเริอนไฟ และจะทำบริกรรม คือถูตัวให้กันในนํ้าก็ไต้ ไฝต้องอาบตตามนัยข้าง ต้น ปีตกายต้วยผ้าแล้ว พ้นจากความเปลือย เริอนไฟนั้น เป็นที่อบ กายให้ร้อนเหงื่อตก อย่างเข้ากระโจมที่ใข้อยู่ในประเทศนั้1นกาล ก่อน ทรงอนุญาติเป็นพิเศษ ไฝต้องปาจิต่ดีย เพราะผิงไฟ และไฝ ต้องทุกกฎ เพราะเปลือยกายทำบริกรรมแก่กัน ภายหลังทรงอนุญาตที่อาบนํ้าขึ้นในอาราม มีกำ แพงก่อต้วย อิฐหรือดวยศิลาหริอมีผ่าไมีบัง และทำท่อสำหรับระบายนํ้าอาบออก ไป และมีข้อห้ามภกษุผ้อาบนํ้าตังนี้ ๑. ไมให้สีกายในที่ไมบังควร เซ่นต้นไม้ เสา; ผ่าเรือน และ แผ่นกระดาน ๒. ไมให้สีกายต้วยของไมบังควร เซ่นไม้ทำเป็นรูปมีอ หรือ. จักเป็นพ้นมังกรและเกลียวเชือกที่คม ๓. เอาหลังต่อหลังลีกันก็ห้าม เกลียวผ้าและฝ่ามีอ เป็นของ ที่ใข้ไต้ ๒๖6/
www.kalyanamitra.org ข้อ'๑©. อย่าพึงนุ่งผ้าอย่างคฤหสถ์ อย่าพึงห่มผ้าอย่างคฤหัสถ์ อธิบายว่า ในข้อนี้ทานทามไม่ใหันุ่งห่มแบบคฤหัสถ์ คือ ๑. ห้ามเครื่องนุ่งห่มของคฤหัสถ์ เช่น กางเกง เสื้อ ผ้าโพก หมวกผ้านุ่งผ้าห่มสีต่างๆชนิดต่าง ๆ ๒. อาการนุ่งห่มต่าง ๆ ที่ไม่ใช่ของภิกษุ เ£ต่ในวิภังค์แห่งสิกขาบทว่าด้วยขอจีวร ข้อที่ ๖ แห่งจีวร วรรคนิสสัคคืยภัณฑ์ กล่ๆวว่า ถ้าถูกโจรชิงจีวรไปหมด พอจ่ะปีด ก่ายด้วยวัตถุอย่างใดอย่างหนึ่งได้ เป็นด้นว่าผ้าต่างชนิดที่ไม่ได้ใช้ เป็นผ้าห่ม โดยฺที่สดใบไม้ก็ให้ปีด ยังจะทาได้ ห้ามมิให้เปลือยกาย มร ถ้าทำเช่นนั้นด้องทุกกฏ ข้อ ๑๑. ถ่ายอุจจาระแล้ว เมื่อนํ้ามีอยู่ จะไม่ชำรร IVI V W I หานี้าไม่ได้ หรือนี้ามีแต่ไม่มีภาชนะที่จะตัก เช่นนี้เช็ดเสีย่ด้วยไม้ หรือด้วยของอึ่นเพึยงเห่านั้นก็ได้ อธิบายว่า ในก่ารใข้นี้าชำระนั้นเมื่อใช้เสร็จภาชนะที่Iข้ตักนี้า ด้องเทนี้าให้หมดและควํ่าเสีย อ่ย่าให้นี้าขังอยู่ ถ้าเหลือนี้าทิ้งไว้ด้อง อาบตทุกกฎ ข้อ ๑๒. อย่าพึงให้ทำสัตถกรรมในที่แคบ หรือในที่ใกล้ที่เIคบเพึยง ๒ นิ้ว อย่าพึงให้ทำวัตถึกรรม ให้ทำด้องถุลสัจจัย อธิบายว่า .ห้ามสัตถกรร่มในที่แคบ่นั้น คือห้ามการฝาตัด ทวารหนักด้วยศัสตรา ในที่ใกล้ทวารหนักเพียง ๒ นิ้ว ที่แคบนั้น หมายเอาทวารหนัก ห้ามวัดถิกรรมนั้น พระอรรถก'ถาจารยแก้ว่า ๒๖C?
www.kalyanamitra.org ห้ามผูกรัดที่ทวารหนัก อธิบายตามมติของทาน่ว่า การฝาหรือการ ตัดหัวรืดสีดวงทวาร การผูกรัดหัวริดฺสีดวงทวาร เพื่อให้แห้งแล้ว หลุดเอง เป็นการทำสัตถกริรมในที่แคบห้ามทั้ง ๒ อยาง แต่จะ หยอดนาต่างให้คัดหรือจะผู\"กใจ้ดวยด้าย เพื่อมิให้หด่เข้าไปเสิยได้ อยู่ หากุหัวนั้นหลุด ก็เป็นอนหลุดด้วยดี:ใช้ยารมหรือยาทาแมิสอด ยาเหน็บเข้าไปในทวารหนักก็ได้ โดยนัยนี้จฺะเจาะเอานํ้าออก จะฝา เอาเม็ดนิ่วออก เป็นอนห้ามทั้งนั้น เฟในบัดนี้ มิแพทย์ผู้ชำนาญใน ทางนี้มาก ข้อ ๑๓. เป็นธรรมเนียมซองภิกษ ต้องใข้ใมชำระหัน ' อธิบายว่า ของเติมไมใชไม้สีหัน เซ่น ในประเทศของเรา เป็น ไม้ชนิดหฺนิ่ง เนี้อออนอยางไม้โสนหรือรากลำถู หันคัดแหลก 'ทำเป็น อัน^าวขนาดพลูจีบของเรา ใช้คัดเหมือนคัดพลูนั้นเอง เคี้ยวจนแหลกุ. แล้วคายอย่างเดียวคับเคี้ยวหมากคายหมาก ไม้ชนิดนั้นเป็นเครื่อง ชำ ระหันได้ดี.ในบาสีพรรณนาประโยชนแห่งการเคี้ยวไม้ชำระหันว่า ๑-'^I ^. ๒. ปากไม่เหม็น ๓. เต้นประสาทรบรสหมดจดดี ๔. เสมหะไม่หุ้มอาหาร ๔. ฉันอาหารมิรส ' ไม้ชำระหันนั้น ห้ามไมให้ใช้ของยาวหรือสั้นเก็นไป มิกำ หนด ให้ใช้ยาว ๔-๘ นี้ว ท่านห้ามไม่ให้เคี้ยวไม้ชำระหันในรัจจกุฎี ๒๖๙
www.kalyanamitra.org ข้อ ๑๙. นํ้าที่จะใช้ดม ให้ดรองก่อน อธิบายว่า ทรงอนุญาตให้ใช้ผ้ากรองนํ้า จะใช้ผ้าที่เป็นผ้ฉ หรือ่ .แผ่นผ้าเล็ก ๆ ผูกกบกระบอกนํ้า หรือวัตถุอย่างํใดอยางหนึ่งซึ่งมี ลักษณะเหมีอนกระบอกไม้ที่เรืยกว่าธมกรก ไมใช่เพียงเพื่อจะป้องกัน ตัวสัตว์อุย่างเดียว แต่ต้องการให้พระภิกษุฉนนํ้าที่สะอาดด้วย ปัญห่านละเฉลยวินัยมุข กัณฑ์ที่๑๑ ๑.พระวินัยแม่งออกเป็นกี่อ่ย่าง อะไรบ้าง ถ้าไม่ปฏิบ้ดดามจะต้อง อๆฟ้ตอะไร? ดอบ พระวินัยแบ่งออกเป็น ๒ อย่าง ดีอ ๑..อาทิพรหมจรืยกาสิกขาบท ๒. อภิสมาจาร ถ้าไม่ปฏิป๋ตตาม ท่านปรับโทษดือต้องอาป๋ต ๗ อย่าง ดือ ปาราชิก สังฆาทิเสส ถุลสัจลัย ปาจิตดีย ปาฎิเทสนียะ ทุกกฎ ทุพภาษิต ที่เป็นอุภิสมาจาร ถ้าไม่ปฏิบ้สิตาม ต้องอาบตถุลสัจลัย กับทุกกฎ ๒.ประโยชน์จากการเคี้ยวไม้ชำระพี'นมีกี่อย่าง ดืออะไร? ตอบ มี ๕ อย่าง ดือ ๒. ปากไม่เหมีน ๑. พี'นไม่สกุปรก ๓. เส้นประสาทรับรสหมดจตดี ๔. เสมหะไม่หุ้มอาหๆร ๕. ฉันอาหารมีรส . ๓. กายบริหาร ข้อที่ ๓ และข้อที่ ๗ มีลวามว่าอย่างไร? ตอบ มีความว่าตังนี้ ช้อที่ ๓ อย่าพีงไว้เล็บยาว การขัดมลทินหรือแคะมูลเล็บเป็นภิจ ๒๙๐
www.kalyanamitra.org ควรทำ ข้อที่•๗ อฺย่างพึงแต่งเครื่องประดับต่าง.ๆ เช่นตุ้มหู สายสร้อย และแหวน เป็นต้น ๔. ภิทษเปลือยกายด้วยอาการอย่างไรบ้าง ที่เป็นเหตุใฟ้ด้องอาบ้ต และไฝด้องอาบ้ต ? ตอบ ถ้าเปลือยกายเป็นวัตรอย่างเดียรถีย ต้องอาบ้สิถุลลัจจัย ถ้า เปลือยกายทำกิจแก่กัน คือไหว้ รับไหว้ ทำ บริกรรม ให้ของ่ รับ ของ เปลือยกายในเวลาฉันและดื่มต้องอาบ้ตทุกกฏแต่ในเรือน ไฟและในนํ้า ไม่ต้องอาบ้ต ๔.ในพระรินยส่วนอภิสมาจาร มีพระพุทธบญญัติไห้รักษาความ สะอาดเกี่ยวกับรืางกายไว้อย่างไร? ตอบ มีพระพุทธบัญญตว่าต้ว่ยกายบริหารไว้ว่า ๑. ห้ามไว้ผมยาม ๒. ห้ามไว้หนวดเครา ๓. ห้ามไว้เล็บยาว ๔. ห้ามไว้ขนจมูกยาว ๔. เมื่อถ่ายอุจจาระแล้วนํ้ามีอยู่ไม่ชำระไม่ไต้' ๖. อนุญาตให้ใข้ไม้ชำระฟัน ๗. นํ้าดื่มให้กรองก่อน ๖. ภิกษุใช้เครื่องนุ่งห่มของคฤหัสถ์ปกป็ดกายแทนจีวร จะผิตหรือ ไม่อย่างไร? ตอบ อาจจะผิดหรือไมผตแล้วแต่กรณี ในกรณีที่ไม่มีจีวร เช่นจีวร ถูกไฟไหม้ ถูกโจรชิงไปหมด นุ่งห่มผ้าของคฤหัสถ์โต้ ห้ามมิให้ เปลือยกาย ถ้าไม่ปกปีดต้องอาบ้ติทุกกฏ แต่ถ้าไม่มีเหตุแล้วนุ่งห่ม ต้อฺงอาบ้ตทุกกฏ .๒๙๑
www.kalyanamitra.org อย่างไรจึงจะถูกต้อง่ตามพรรสืนัย? ตอบ พึงเป็ดกายด้วยวัตถุอย่างใดอย่างหนึ่งเ&นการชั่^รา5 โดยที่สุดแม้ใบไม้ก็ใ^ด้ หามมิใหเปลือยกาย ๘. สดถnรรม และวัตถิกรรมในที่นดบนั้นห่มายถึงอะไร? ตอบ สัตถกรรมในที่แคบนั้น คือห้ามกา^าตัดทวารหนักด้วย ศัสตรา ในฺที่ใกล้ทวารหนักเพึยง ๒ นิ้ว ที่แคบนั้น หม่ายเอาทวาร หนัก ห้ามวัตถิกรรมนั้น พระอรรถกลาจารยแก้ว่า ห้ามผูกวัด่ที่ ทวารหพ! อธิบายตามมติของท่านว่าการผ่าหรือการตัดหัวริดสีดวง ทวาร การผูกรัดหัวริดสีดวงทวาร เพื่อให้แห้งแล้วหลุดเอง เป็นการ ทำ สัตถกรรมในที่แคบ ๒6/๒
www.kalyanamitra.org ณนฑ์ที่ ๑๒ ซริฃารฃรึโภค จีวรของภิกษุ บริขารของภิกษุ ทเป็นของจำเป็นจ่ะตอง่มี และจัดว่าเป็น บริขารดั้งเดิม อย่างหนึ่งคือจีวร รูมุงอุปสมบทจำฟ็นจะต้องมีจีวร ให้ครบจำนวนก่อน จำ นวนจีวรนั้น. เต้าใจว่า ในคราวแรก คงมีแต่ ๒ ผืนห้านุงผนหนึ่ง ผัาห้มผืนฬนึ่ง่ ในคราวเป็นลำดับมา ทรงอนุญาตผ้าสง.ฆาฏิเฟิมขึ้นสิกผืน หนึ่ง เพื่อใต้Iนฤดูหนาว มีเรื่องเลำว่า ทรงลองหมจีวรดู ในหนึ่า หนาวจัด ในทื่แจ้งชนห้นึ่งพอชวยามหนึ่ง ตลอ่ดราต่รี๓ซนจีงพอ จีงทรงอนุญาตสังฆาฏิ ๒ พั้แพื่มขึ้น์อกผืนหนึ่ง เต้ากับอุดตราสงคขึ้แ .เดียว จะไต้เป็น ๓ ชั้แ จำ นวนจีวร ๓ ผืนนี้คงที่ตลอดมา เรียก ดิจีวรํ เฟลทับศพฑ์ว่า ไตรจีวร คือจีวร๓ ผืน ๑. สังฆาฏิ เป็นผ้าลำหร้บใต้หมในฤดูหนาวหรีอต้อนนอก ๒. อดตราส.งค เป็นลำห้รบผ้าห้ม เรียกว่าจีวร ๓. อันตรวาสก เป็นลำหริบผ้านุง เรียกว่าสบง ๒6/๓
www.kalyanamitra.org ประมาณไตรจีวร ๑. ประมาณสังฆาฏิยฺาว ๙ สิบ กว้าง ๖ สิบ โดยสิบพระสุคต ประมาณที่โชIนเมืองเรายาวไฝฺเกิน ๖ ศอกกว้างไม่เกิน ๔ ศอก ๒. ประมาณอุดตราสงค์ยาว ๙ สิบ กว้าง ๖ สิบ โศยสิบพิระ สุคต ประมาณที่โฟ้.นเมืองเรายาวไม่เกิน ๖ ศอกกว้างไม่เกิน ๔ศอก ๓. ป^มาณอุตตราสงค์ยาว ๙ สิบ กว้าง ๓ สิบ โดยสิบพระ สุคต ประมาณที่!ช้Iนเมืองเรายาวไม่เกิน ๖ ศอกกว้างไม่เกิน ๒ ศอก ผ้าสำหร้บทำจีวรทรงอนุญาตไว้ ๖ ชนิต ๑.โขมะ ผ้าทำด้วยเปลือกไม ต'วอย่างเช่นผ้าลินิน ๒. กิ'ปปาลิกะ ผ้าทำด้วยผ้าย . ๓.โกเสยยะ ผ้าทำด้วยใยไหมฺ คือแพร ๔. กัมพล[ะ ผ้าทำด้วยฃน่สัตว์ ยกเว้นผมและขนมนุษย์ เช่น สักหลาดและกิาม่ะหริต ๔.กาณะ ผ้าทำด้วยเปลือกป๋าน เป็นํผ้าเนื้อสาก ๖. กังคะ ผ้าที่ทำด้วยของ ๔ อย่างนั้น แย่อย่างใดอย่าง หนึ่งปนุกัน เช่นผ้าด้ายแกมไหม ผ้าสำหริบทำจีวรทรงห้ามไว้ ๘ ชนิต / เครื่องนุ่งห่มฺที่ทำด้ายของอึ่นนอกจากผ้า ๖ ชนิดนื้ ห้ามไม่ ให้ให้ ที่ระบุไว้ในบาลเป็นของที่พวกเดียรสืฟ้,ห้กันอยู่ สิอ ๑. ผ้าคากรอง ๒. ผ้าเปลือกด้นไม้กรอง ๒e/<z:
www.kalyanamitra.org ๓. ผุ้าผลไม้กรอง ๔. ผ้ๆกำพลทำด้วยผมคน ๔. ผ้ากำพลทำดวฺ^นิหางสัตว์ ๖■ปีกนก!,ค้า ๗. หนงเสือ '' ๘. ผ้าทำค้วยปอ ถานุงห่มผ้าเหล่านิค้องถุลล^จย ส่วนผ้าทำด้วยปอนนในิ ที่อื่นห้ามไมให้ใช้ด้วยเป็นวัตถุแห่งทุกกฎ นุ่งห่ม่ข่องเห่ล่านี้ด้วยอานิาจ สมาทานเป็นวัตร ด้องถุลสัจ่จย เป็นิแตสักวานุ่งห่ม ค้องอาบติทุกกฎ ผ้าไตรจีวรนั้น ตรัสสั่งไว้\\ห้เป็นของตัด คือไมให้ใช้ผ้าแฝนิ เดียวกันตลอดทั้งผืน ให้ตัดเป็นแผ่นเล็กแผ่นใหญ่ ให้ตัดครบทั้ง ๓ ผืน ถ้าผ้าไมพอ ให้ผ่อนตัดแต่ ๒ ผืน หรือผืนเดียวดามแต่จะทำได้ จีวรนั้นโปรดให้ตัดเอาอย่างตันินาของชาวมคธ คือ เป็นกระท่งมีเส้นคั่น กระทงใหญ่ เรืยกว่ามณฑล กระทงน้อย เรืยกว่าสัฑฒมณฑล; • ม้เส้นคั่นในระหว่างด่จตันนาขวาง เรียกว่าสัฑฒ่กสิ ร้ว่มมณฑล สัฑฒมณฑลและสัฑฒถุ่สิ เรียกว่าขณฑ์ ไนระหว่างฃณฑ์และขณฑ์ มีเส้นคั่นดุลตันนายืน เรียกว่ากุสิ ผ้าขอบจีวร เรียกว่าอนุวาด จีวรผืนหนึ่งให้มีขัณฑ์ไม่น้ยยกว่า ๔ เกินกว่านั้นใช้ได้ แต่ ให้เป็นขัณฑขอน คือ ๗, ๙, ๑๑ ขัณฑฺมาก ควรใช้ในยามหาผ้าชิ้น ใหญ่ไม่ได้ ขัณฑเหล่านั้น ยังได้ชึ๋อต่างออกไป.อีก ข้ณฑ์กลาง ชื่อวิว้ฏฎะ
www.kalyanamitra.org ฃัณฑ์ริมทั้ง ๒'ข้าง ชื่ออนุวิวัฏฏะ » อีกอปางหนึ่งเพาะ ๔ ข้ณฟ้ ๆ กลางิ ชื่อคีเวยยก่ะ เพราะ เมื่อห่มจีวร อัฑฒมณฑลของข้ณฯทนนอปูที่คอ ข้ณฑ์ถัดออกมาทั้ง ๒ ข้าง ชื่อชังเฆยยกะ เพราะอัฑฒ- มณฑลของ ๒ ชัณฑ์นั้น อยู่ที่แข้งในเวลาห่ม . ชัณฑถัดออกมาอีกทั้ง ๒ ข้าง ชื่อพาหันดะ เพราะ®ทฒ- มณฑลของ ๒. ชัญฺ,ฑ์นั้น อยู่ที่แขนในเวลาห่ม ในที่นี้ มีแบบจีวรที่ใข้ อยู่บัดนั้!ว้ให้ดูดวย(ภาพจีวร) ๑. ถัฑฒมณฑล คีเวยยกะ ๒. มณฑล วิวัฏฏะ. ๓. ถัฑผมณฑล ชังเฆยยณิ ๙. มณฑล อนุวิวัฏฏะ ๙. อฑฒมณฑล พาหันตะ ๖. มณฑล อนุวิวัฏฏะ ๒๙๖
www.kalyanamitra.org ๗. อัฑฒกุสิ . ๘. คุสิ ๙. อนุวาด ๑๐. รงดุม ๑๑. ลูกดุม ในครั้งแรก ดูเหมือนเป็นแต่เพียง่ตรัสให้ตดพออย่าให้เป็น ผ้าทั้งผืน จึงมืพระบ'ญญ้สิห้ามไมให้ทรงจีวรมีชายไมได้ต'ดมืชายยาว มีชายเป็นลายดอกไม้ มีชายเป็นแผ่น ตอมาดรัสสั่งให้ตัดจีวรเอา อย่างตันนาของชาวมคธ อุดตราสงคก็เหมีอินกับจีวร ส่วนอนตรวาสก ที่ตัดเป็น ๕ ขันธเหมือนอุดตราส่งคกมี ทั้1^ผ้าผืนเดีย่วก็มี ส่วน ผ้าฝุiaผ้าห้มอย่างอื่น คือ ผ้าอาบนํ้าฝน ผ้าปาวาร ผ้าโกเชาว ที่ขน ไมรงรัง ไฝได้ระบุให้ตัดดุจไตรจีวร จีวรนั้นตรัสให้รอมด้วยของ ๖ อย่าง ๆ ใด่อย่างหนึ่ง ๑.รากหรือเง่า เว้นขมิ้น ๒. ด้นไม เว้นฝางแกแสมะหาด ๒. เปลือกไม้ เว้นฟลือโลท ฟลือกคล้า ๔.ใบไม้ เว้นมะเกลือ คราม ๔. ดอกไม้ • เว้นทองกวาว ดอกคำ ๖. ผลไม้ ให้เอาของนี้แช่นํ้าเคี่ยวไฟ ในบาลี ไม่ได้ระบุร่อแหงเครื่องย้อม ๖ อย่างเหล่านี้ จีวรที่ ย้อมแล้ว มีสีเป็นอย่างไร. ก็ไม่ได้กล่าว เป็นแต่เรียกว่ากาสายะบ้าง กาสาวะบ้าง ที่แปลว่าย้อมด้วยนํ้าผ่าด ๒๙๙
www.kalyanamitra.org สีที่ห้ามย้อมจีวรมี ๗ สิ ๑. สิคราม ๒. สิเหลือง ๓. สิแดงสิ ๔. บานเย็น ๔. สิแสด ๖. สิชมพู ๗. สิดา แต่สิที่รับรองกันเป็นสิเหลืองเจือแดงเข้มหรือสิเหลืองหม่น พึงเห็นเช่นสิที่ย้อมแก่นขนนอนเรืยกว่ากรัก จีวรนั้น ไม่โปรดให้เป็นของกาววาว จืงทรงห้ามไมให้ใข้จีวร ดอ่กเป็นลายรูปสัดว์ เป็นลายดอกไม่ เว้นไว้แต่เป็นดอกเล็ก ๆ ที่ไม่ กาววาว เช่นดอกเม็ดพริกไทํย หรือเป็นริ้ว เช่นแพรโล อุดดราสงค และสังฆาฏิ มีห่วงและดุมสำหรับกลัดได้ มีหี่ดรงไหนไม่ได้กล่าวไว้ ซัด. แต่ทรงอนุฌาดเพื่อกันลมพัดจีวรปลิว จึงได้ความว่ามีชายล่าง ครั้งยังห่มผ้าแคบสั้นจำเป็นแห้ แดในบัดนี้ มีชายล่างแห่งหนึ่ง ที่ ขอบอนุวาดด้านบนตรงซัณฑกลางแห่งหนึ่ง ห่วงติดไว้ขฺวา ลูกติด ไว้ข้าย จงดูในแบบ ของสำหรับทำลูกดุมในบาลืระบุโว้มี ๑๑ อย่าง ๑. กระดูก ๒. งา ๓. เขา ๙. ๔. ไม่รวก ๖. ไม่แก่น ๒6/0?
www.kalyanamitra.org ๗. ครั๋ง ๘. กะลา ๙! โลหะ ๑๐. สังข์ ๑๑. ด้ายสัก อย่างใดอย่างหนึ่ง ทรงอนุญาตประคดเอวไว้ ๒ ชนิด ๑. ประคดแผ่น ฟนทสืยกว่าประคดสังกา ๒.ประคดได้สุกร ผ้าเยบเป็นปลอก ฟ้าฆประคดสักวิจิตรมีชนิด่ตาง•ๆ ในเมือ่งเราไซผ้าหรือแพร แถบแคบเป็นประคตไส้สุกร ลูกถวิลที่ผูกสายประคตก็มีฟ้ามไม่ใฟ้ใข์ ฃอ่งงดงามควรที่าด้วยของอย่าง่เดียวกบลูก่ดุม่จีวร อาการครองจีวรอย่างไร ในบาสิไม่ได้กล่าวไว้ชัด มีในเสขิย- วัตรเพยงว่า ใฟ้ทำความสำเหนียกว่า จักนุ่งจักห่มใฟ้เป็นปริมณฑล คือเรืยบรือย ในวิภงค์แห่งสิกขาบทนี้ แก้เพียงว่า พีงนุ่งปีดสะดือและ ปกหัวเข่าใฟ้เรืยบร้อย พึงทำชายทั้งสองใฟ้เสมอสันห่มใฟ้เรืยบร้อย ในการแสดงเคารพหรือทำวินัยกรรม ใฟ้ห่มดอง • ในการเข้าบ้าน กล่าวแต่เพียงว่า ห่มสังฆาฏิทั้งหลายทำใฟ้ มีชั้นแส้วกสัดดุม แต่กำชับไว้ใฟ้ปีดกายด้วยดี ฟ้ามฺไม่ใฟ้เปีดไม่ใฟ้ เวิกผ้า อาการเหล่านี้1ฟ้สันนิษฐานว่า ห่มคลุมทั้งสองบ่า , สุม!ยฺที่ไฝต้องห่มผ้าสังฆาฏิไปด้วยมี ๔ สังฆาฏิสำหรับข้อนห่มเมื่อเข้าบ้าน เมื่อข้อนเข้าสับอุดครา- สงคแส้ว ในบาสิเรืยกว่าสังฆาฏิทั้งหลาย โตยเอกเสสนัย ดือกล่าว ๒๙๙
www.kalyanamitra.org แต่ศัพท์เดียว แต่ใ'รพทุว?1นฺะและมีห้ามไม่ใหมแต่สำพังฟ้านุ่งกับ ฟ้าห่มเข้าบ้าน เว้นไว้แต่มีสมัยคือ ๑. เจ็บไข้ ๒. สังเกตเห้นว่าฝนจะดก ๓. ไปส่ฝังแม่นา ๔.วหาร คือ ถฎีคุ้มได้ด้วยดาล ๔. ได้กรานกฐิน เมื่อได้สมัยเช่นนั้นอย่างใดอยางหนึ่ง จะ ไม่ห่มฟ้าสังฆาฏิไปด้วยได้อฺผู่ หรือจะห่มสังฆาฏิไป เอาอุดตราสงค ไว้เสืยอ็ได้เหมีอนกัน การห่มฟ้า ครั้งแรกดูเหมีอนไม่มื่จ็ากัดถ้วนถี่ เข้าบ้านห่มฺคลุม กายมีด®ดก็แลวกัน 'ห่มดอง่ปีดปาข้ายเป็ดบ่าขวาก็แล้วกันเหมีอน อย่างห่มฟ้าห่มนอน ไม่ด้องมีแบบจำกัด ภายหลังมาถ้วนถี่หนักเข้า จนถึงเป็นเครื่องหมายนิกาย , เดิมที มีพระพุทธประสงคจะให้มีเฉพาะไตรจีวรสำร้บเดียวจึงตั้ง สิกขาบทห้ามไมให้ใข้อดิเรกจึวร ภายหลังทรงฝอนให้ใข้!ด้เพืยง ๑๐ วัน ผ้าทึ่ทรงอนุญ่าตให้ใช้นอกจากผ้าไตรจีวรมี ๖ ชนิด ๑. ผ้าฮาบนั้าฝน ให้ใช้ใด้ชวคราว มีจำ กัดประมาณยาว ๖ คืบ กว้าง ๒ คืปครื่งแห่งคืบพร่ะสุคด ให้มีได้ผืนเดียวชั่วฤดูฝน พ้นจากนั้น ด้องเลิก ๒, ผ้าปีดแนั้น จำ กัดประมาณยาว ๔ คืบ กว้าง ๒ คืบ่แห่ง คืบพระสุคด ให้มีได้ผนเดียว ในคราวอาพาธศัวเป็นัผืเป็นแผล เช่น ออกแดาษ.ออกสุกใส หรือเป็นพพอง หายแล้วด้องเลิกใช้ ๒c»๐
www.kalyanamitra.org . ๓. ผ้าปูนง เรียกนิสีทนะ มีจำ คัดปรฺะมๆณยาว ๒ คืบ ทว้าง ๑ คืบครึ่ง ชาย ๑ คืบ ๙พ ผ้าปูนอน เรียกป็จํจัตถรณะไฝจำคัด แต่น่าจะเป็นผืนเดียว m ผ้าเช็ดหน้าเช็ดปาก เรียกมฃ่ป๋ญฉนะ ไม่มีจำคัด ๖. ผ้าใช็!รนบริขาร 1ซนถุงบาตรหรือย่าม ไม่มีจำคัด ผ้าที่ไม่ ได้ใช็น่งเหล่านี้ ไม่จำคัดสี แดีผ้านิสีทนะ ไช็เหลืองเป็นพื้น ซะรอยจะ เป็นขอฺงเข้าสำรับคับไดรจีวร ผ้านุ่งผ้าหมก็ดี ผ้าใช้สอยก็ดี ที่ทรง อนุญาตใหมีไว้สำหริบตัวได้ โปรดให้อธิษฐานคือตั้งเอาไว้สำห^เป็น ของนั้น ๆ ผ้าอธิษฐานนี้ ที่มีจำ คัดจะเปลี่ยนใหม่ ด้องเลิกของเดิมเสีย ก่อน เรืยกว่าป๋จจุทธรณ หรือถอนอธิษฐาน เข่นไตรจีวรเก่าจะเปลี่ยน ใหม่!ต้องถอนซองเดิมก่อนแล้วจึงอธิษฐานของใหฺม่ ส่วนผ้านอกจากนี้ มีกำ หนดตั้งแต่ยาว ๘ นี้วกว้าง ๔ นี้วขึ้นไป จัดเข้าในพวกอดิเรกจีวร โปรดุให้วคัป คือทาให้เป็นของ ๒ เจ้าซอง อาศัยใช้ใต้ด้วยตั้งไว้เป็น ของกลาง วิธทำผ้านิสีทนะ ๓ แบบ เฒฃที่ ๑ แบบของพระอรรถกถาจารย์ ชายยาวคืบครึ่ง กว้าง ๑, ดัดเป็น ๓ ขนาดเท่าคัน ทางต้านกว้าง กว้างชายละ ๖ นี้ว ต่อ ชายเข้าแล้ว เป็นผ้านิสีทนะยาว ๓ คืบ กว้างคืบครึ่ง แบบที่ ๒ แบบของสิมเดีจพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวฺ- เรศวริยาลงกรรนชายยาว๒คืบกว้าง๑คืบดัดเป็น ๓ชายชาย ใหญกว้าง ๖ นิ้ว ชายเล็กกว้าง ๓ นิ้ว ยาวเท่าคัน ต่อชายเข้าแล้ว เป็นผ้านิสีทนะยาว ๒ คืบ๖ นี้ว กว้าง ๒ คืบล้วน ๒(«๑
www.kalyanamitra.org แบบที่ ๓ แบบพิเศษ;เอาชายคืบหนึ่งจตุรสนน ตัดกลางให้ เป็น ๒ ชายเท่ากัน ชายหนึ่ง ๆ ยาว ๑ คืบ กว้างฺ ๖ นิ้ว เอาชายหนึ่ง ตัดกลางให้เป็น ๒ ชายเท่ากันอีก ชายหนึ่ง่ ๆ เป็น ๖ นิ้วจตุรัส เอา เพลาะเข้ากับด้านสกัดของชายใหญ่ด้านละชาย เป็นชายเดียวโ ยุาว ๒ คืบถ้วน กว้าง ๖ นิ้ว เอาเพลาะติดเข้ากับตัวนิสีทนะ ทางด้านยาวเมื่อ ต่อชายเข้าแลว ผ้านิสีทนะนิ้นเป็น ๒คืบจตุรัส ตัวอยางผ้านิสีทนะ แบบที่ ๑ ๑. ตัวนิสีทนะ ๒. ชายผ้าเป็นแฉก ไฝได้เย็บติดกันบ้าง ไฝได้ผ่าทีเดียวบ้าง ร— —Tb แบบที่ ๒ ๑. ตัวนิสีทนะ ๒. ชายใหญ่ ๓. ชายเล็ก ๒C?๒
www.kalyanamitra.org «— ว!; «- แบบใหฝที่ ผ ๑. ตัวนิสีทนะ ๒. ชายใหญ่ ๓. ชายเล็ก ผ้านิสีทนะนี้ ดูเหมือนเป็นบริขารที่ทรงอนุญาตเพิ่มเป็น พิเศษ สาวกผ้ไดุ้รับพระอนุญาตเป็นุผูไดประโยชน ถ้าจะไม่ถือเอา ประโยชน์นี้ คือจะไม่มีไว้ใ'รก็น่าจะได แต่มีห้ามไว้ไม่ใ'พ้อยูปราศจาก นิสีท'แะ ถืง ๔ เดอน เ'ช่นนี้น่าจะเห้นไปได้อีกทางหนึ่งว่า เป็น บริขารจำเป็น จะตองมีสำหรับตัว ขาดได้เป็นครั้งคราว แต่ไม่ถึง ๔ เดือน ๒๓
www.kalyanamitra.org i)— •พ บาตร บาตรเป็นบริขารดงเสิผสำหรบตัวของภ็กษุด้วย่อย่างหนึ่ง เป็นค่ก้บไตรจวร ผู้มุ่งจะอุปสมบทจำจะดองมีไว้ก่อน บาตรนั้น ทรงพระอนุ 1ไว้ ๒ ชนิด คอ ๑.บาตรดินเผา สมดำสนิท ๒. บาตรเหล็ก ห้ามไฝใหโช้ของอื่นแทนบาตร ๑. กะทะดิน .b)c?(zr
www.kalyanamitra.org tei กะโหลก!แาเต้า ๓. กะโหลก'หวผี ษาสร!ชพ*อื่นก็#r«ไม่ใหใร รฒุ่อื่aMน1)าลี ๑๑ อยาง่^ ๑. บาตรทอง ๒. บาตรเงิน ๓. บาตรแก้วมณี ๔. บาตรแก้วไ'พฑรย์ ๔. บาตรแก้วผลึก บาตรแก้ว'หุง , ๗.บาตรทองแดง ๘^ บาตรทองเหลึอง ๙:บาตรดีบุก ๑๐.บาตรสงกะลึ ' ๔๑.บาตรไม้ ขนาดแห่งบำตร'ilน. ดงไณีลี่ยก้บกะโหลกนาเต้าบ้าง กับ กะโหลกห่จผีบ้าง กะทะดินบ้าง จึงทรงยกของเหล่านี้ฃึ้นห้ามุไมไห้ เอา แทน ในคม่ก็รรภงัค กล่าวขนาดบาตฟ้.ก้ ๓ ชนต ๑. บาตรขนาตเลึก จุ'ข้าวสุกแห่ง'ช้าวสารกึ่งอา'ฬหกะ ดีอ *0 คนกินเหลึอ ๓ คนกินไม่พอ ๒. บาตรชนาตกลาง จุข้าวสุกแห่งข้าวสารน้าฟ้หนึ่ง(ทะนาi4) คือกินไต้ ๔ คน ๓. บาตรขนาตไหญ จุข้าวสุกแห่งข้าวสารป้ตถะหนึ่ง คือกิน 1ต้ ๑๐ คน บาตรขนาดเลึกเขื่องกล่ากะโหลก*หัวผีห'นอ่ย'หนึ่ง่ ถ้ากำหนด เอาแต่จุข้าวสุก ไม่เ'พิ่มของเคี้ยวแสะกับข้าวก็จะพอไต้ ป๋นเป็น ๒(Sod:
www.kalyanamitra.org โอกาสสำหรับของเคยวของกินไว้บ้าง ข้าว่กฺคงพอกินฺคนเดียวเหลือ หรือพอ ๒ คน สมเป็นบาตร บาตรขนาดกลางสัณฐานเทากับบาตร .ทีไข้กันเป็นพื้นในบัดนี้ รัดรอบตัว ๒๗ นี้วฟุตครึ่ง แตฺจุข้าวสุกมาก เกินต้องการ บาตรข้นาดฺใหญอนุมานว้า ทั้งสัรนฐานใหญ่ทั้งจุ:ข้าวสุก มากเกินไป จำ นวนบาตรที่ทรงอนุญาต : บาตรมีชนิดและขนาดตังกล่าวแล้วนี้ กิกษุมีสำหรับตัวไต้ เพียงใบเดียว โปรดให้อธิษฐาน บาตรตั้งแต่ใบที่ ๒ เป็นอติเรกบาตร มีไว้เป็นสิทธิของตนไต้เพียง ๑๐ รัน ต้องวิกัปไว้แต่ในกำหนดนั้น ถ้าจะเปลืยนบ่าดรสำหรับตัว ต้องบัจจุทธรรน์บาตรเติมก่อน แล้วจึง อธิษฐานบาตรใหม่ บาต่รทีใข้ไม่ไต้ จำ จะต้องเปลืยนให่ม่นั้น มีรอย ร้าวแห่งเดียวหรือหลายแห่งรวมเข้าไต้ ๑๐ นี้ว เช่นมีแผล ๕ แห่ง แห่งละ ๒ นิ้ว หรือแตกทะลุอาหารรั่วออกไต้ ถ้ายงไม่ถึง ๑๐ นิ้ว กิกษุขอบาตรกับคฤทัสถ้ทีไมใช่ ไม่ไต้ปวๅรณา ไต้มาต้องอาบัตินิสฺ สุคติยปาจิต์ดีย์ วิธีระวังรักษาบาตร ครังพุทธกาล คงไข้บาตรตินเป็นพื้น บาตรเหล็กคงเป็นของมี น้อย จึงมีธรฺรมเนียมระรังบาตรอย่างกวดขน ห้ามไมให้วางบาตร เก็บ บาตรในที่จะตกแตก และในที่จะเป็นอันตรๆยต่อบาตร ห้ามไว้!นบาลื ๑. ห้ามไมให้วางบาตรไว้บนเตียง ๒.ห้ามไมให้วางบาตรไว้บ่นตั่ง (คือม้านั้งหรือโต๊ะ) ๒c;๖
www.kalyanamitra.org ๓;.ห้ามไมให้วางบาตรไว้ฃนร่ม ๔. ห้ามไมให้วางบาตร่ไว้บนพนัก ๔. ห้ามไมให้วางบำตรไว้บนพรึง(คือซานนอกพนัก) ๖. ห้ามไมให้วางบาตรไว้!]นตัก (ลุกฺขี้นด้วยไฝมีสติ บาตร จะตกแตก) ๗. ไมให้แขวนบาตร เช่นที่ราวจีวร แต่จะเอาเข้าถงมีสาย คลองจะงอยบ่า พ่านอนุญาต่ไว้ในอรัญญิกวัตรตังกล่าวแล้ว ๘. ห้ามไม่ให้ครํ่าบาตรที่พื้นคมแข็งอันจะประทุษร้ายบาตร ทร่งอนุญาตให้มีเครื่องรอง จะเป็นหญิาเป็นผ้าเป็นเสื่ออย่างใตอย่าง หนึ่งก็ได้ เว้นไว้แต่พื้นที่ไม่ประทุษร้ายบาตร เช่นพื้นกระดาน ๙. มีบาตรอยูในมีอ ห้ามไมให้ผลักบานประตู คือเปีดหรือ อนึ่ง ใmจักใช้เรักรักษาบาตร ๑. ห้ามไม่ให้ใช้บาตรต่างกระโกน คือทิ้งก้างปลา กระดูก เนื้อ หรืออื่นๆอันเป็นเตนลงในบาตร ๒. ห้ามไฝให้ล้างมือหรือบ้วนปากลงในบาตร ๓. จะเอามือเฟ้อนจบบาตรก็ไฝควร ๔. ฉนแล้วให้ล้างบาตร ๔. ห้ามไฝให้เก็บไว้ทั้งอังเปียกํ ให้ผึ่งแตตก่อน ๖. ห้ามไมให้ผึ่งทั้งอังเปียก ให้เข็ดจนหมตนํ้าก่อนจึงผึ่ง .๗.ห้ามไฝให้ผึ่งไว้นาน ให้ผึ่งลักคิเหนึ่ง บาตรนั้น ทรงพระอนุญาตเซิงไว้ส์าหรับรอง แต่ห้ามไมให้ ไข้ซองเป็นอกัปปียฺะ และของวิจีตรกาววาวด้วยรูปต่าง ๆ ให้ใช้ของ ๒C«๙
www.kalyanamitra.org ปกติเรียบ ๆ ทาด้วยดีบุก สังกะสี,หรีอไม้ฤได้ ฝาบาตรมีขึ้นเมึ่อก่าย หลัง บางทจะสันนิษฐานจากศัพท์ว่า ปฺตุตมณฑลํ แปลตามพยัญ- ชนะว่า วงสำหรับมาตร ทฺรุงพระอฺนญาตเพื่อก่นก้นบาตรสึกเพราะ ถูกครูดสี อีกอย่างหนึ่^ ทรงพระอ,นญาฅอุงมีส้ๅยไว้สาหรับ เพื่อจะ ได้สอดบาตรเข้าไว้ และคล้องจะงอยบ่าในเวลาเดินทาง เครื่องอุป!^ค เครื่องอุปโภค หมายถึง สิงของสำหรับใช้สอ่ย ดูเหมือนมี พระพุทธประสงค์จะให้ภิทษมีบริขารแต่เล็กน้อยพอติดศัวไปไหนได้ สะดวก บริขารเหลานี้ สันนิษฐานตามสิกขาบทที่ ๑๐ แฟงสุรา- ปานวรรค:ปาจิตติยกัณฑ บาตร ไตรจีวร ผานิสีทฺะ กล่องเข็ม ประคดเอฺว กาลล่วงมาเมึ่อความด้องการเภิดขึ้น ก็ทรงพระอนุญาต เพิ่มเป็นสิ่ง ๆ ไปดังนี้ กล่องเข็ม ๒. เครื่อ่งกรองนํ้า ๓. มีดโกนพร้อมทั้งฝึก หินสำหรบลบ กัปเครื่องสะบด ๔. รีม่ ๔. รองเท้า ; .. กล่องเข็ม้ กล่องเข็ม ห้าฟ้มฺให้ใช้ชองท์าด้วย่กระลูก ด้วยงา ด้วยเขา ทำ ใช้เองด้องอาบติปาจิตดียั ให้ทำสายเสีย ได้ของที่คนอีนทำและ ใช้'ตอง่ทกกฏ ก่ล่อง่เข้มที่ทำด้วยของอื่นท้นจากของ' ๓ อย่างนั้น ๒c?c«
www.kalyanamitra.org และเป็นกปปียะ เช่นไม้หรือโลหะควรอยู่ ของเกาใช้ไม้เป็นพื้น เครื่องกรองพํ้ไ เครื่องกรองนํ้า เป็นผ้าผืนก็มี เป็นกระบอกก้นผูกผ้าที่เรืยก ว่าธมกรกก็มี หรือเป็นอย่างอื่นได้เหมือนก้นสุดแท้แต่ให้นํ้าได้ก^อง เป็นธรรมเนียมของภิกษุ จะสํมนํ้าด้อฺงกรองก่อนเพื่อไฝให้บริโภค นํ้ามืตัวสัตว์ และให้ได้นํ้าฉันทสะอาดด้วฺย ไม่มืเครื่องกรองนุา ห้าม ไมให้เดินทางไกลที่กำหนดว่าตั้งแต่กึ่งโยชน์ หาอย่างอื่นไม่ได้ แม้ ชายสังฆาฏิก็ให้อธิษฐาน คือตั้งเอาไว้เป็นเครื่องกรองใ^ด้เหมือพัน มืดโกนพร้อมทั้งฝ็ก หินสัาหร้บสับ กับเครื่องสะบัด มืด่โกนพร้อมทั้งสัท หินกำหรื!!สับ กันเครื่องสะบัด เป็นของ ทรงอนุญาตไว้กำหรับปลงผม ปลงหนวด ไม่นับว่าตัสตรา แต่ภิกษุ ผู้เคยเป็นช่างกัลบกมาก่อนบวช 'ห้ๅมไม่ให้ภิกษุเช่นนั้นมืมืดโกนไว้ กำ หริบตัว ข้อนี้เช้าใจว่า จะตัดเครื่องมือสำหริบหากินเดิม่เสิยจะได้สิ้น กังวล ไม่หวนนีกถึงกาลหนหลังและจะได้ตั้งหน์าบำเพ็ญสมณธรรม ร่ม ร่ม ในบาลีไม่ได้ระบุไว้ว่าเป็นของ.ชนีตใดบาง แตในอรรถ- กถาห้ามไมให้ใช้ของกาววาว เช่นร่มบักด้วยไหมลีต่าง ก และร่มมื ระบายเป็นเหื่เอง คๅรใช้แต่ขอ.งที่ทำเรียบ .ลู- ทรงอนุญาตให้ใช้ได้ ในอ่ารามและอุปจารแห่งอารฺาม ห้ามไม่ให้กั้นร่มเขาบาน หรือกั้น เดินตามถนนหนทางในละแวกบ้าน .เว้นไว้แต่เจ็บไข้ไม่สบาย ถูก ๒ร?๙
www.kalyanamitra.org แดดฝนอาพุาธ่จิะกาเริบ ฟนปวดศีรษะ เชนนี้' กั้นริมเข้าป้านได้ ในชั้นอรรถกถาฝอนให้ว่า กั้นเพื่อกันจีวรเปียกในเวลาฝนตก กัน้ เพื่อปีองกันกัย กั้นเพื่อรักษาตัว(เช่นในุค่ราวแดดจัด)ได้อยู่ รองเพ้า ร่องเท้า มชื่อ ๒ ชนด ๑.ปาทุกา เขีย่งเทา ๒. อุปาหนา รองเท้าไฝมึส้น ปาทุกานั้น น่าจะได้แกรองเท้ามีส้น มีรองเท้าไป้เป็นตัว่อยาง ท่านจีงแปลเป็นคำไทยว่า เขียงเท้า ปาร่ไกา คอฟ้ยงเท้าflนฆาลีระบุไรฺ ๑๕ ชั้นด ๑. เขียงเท้าพื่ทำด้วยไม้ ๒. เขียงเท้าที่ทำด้วยทอง ๓^ เขียงเทาที่ทำด้วยุฝ็น่ ๕. เขียงเท้าที่ประดบด้วยแก้วมณ ๕. เขียงเท้าที่ทำด้วยแก้วไพฑูรย์ ๖. เขียงเท้าที่ทำด้วยแก้วผลึก ๗. เขียงเท้าที่ทำด้รยทองแดง ๘^ เขียงเท้าที่ทำด้วยดีบุก ๙. เขียงเท้าที่ทำด้วยัสงกะลึ ๑๐. เขียงเท้าที่สานด้วยใบตาล ๑๑.ฟ้ยงเท้าที่สานด้วยตอก ๒๙๐
www.kalyanamitra.org ๑๒. เขียงเท้าที่สานด้วยหญ้าต่างชนิตฺ ๑๓. เขียงเท้าที่สานด้วยใบฺเป็ง ๑๔. เขียงเท้าที่สานด้วยฺแฝก ๑๔. เขียงเท้าที่ถกหรือป๋กด้วยขนเจียม ปาทุกาเหล่านี้-ห้ามมึโห้โซ้ทุกอย่าง แต่ปาทุกาที่ทำด้^ยไม้นั้น ห้ามเฉพาะของที่สำหฺรฺบสวมเดิน ของที่ตรึงอยู่กับที่ สำ หรับถ่าย อุจจาระปัสสาวะและเป็นที่ชำระ ทรงพระอนญาตให้ขึ้นเหยียบุได้ รองเท้าไม่มีส้นที่ทรงอนุญาต - ๑. ฟ้นรองเท้าท้าด้วยหุนังสามัญ ชั้นเดิยาใ^ด้ทั่วไป มากซน ตั้งแต่ ๔ พั้เขึ้นไป ถ้าฟ้นฺฃอุงุเก่าไส้!ด้ที่วไป ถ้าทั่เนซองไหมไส้!ด้ เฉพาะฝ็จจันดซนบท มีสายรืดท่รือใส้ด้บด้วยนิ้ว ไม่ปกหลังเท้า ปกสั้น ^ ๒. เป็นรอุงเท้าไม่มีเด้อุงด้าม ถ้ามีสืด้องห้ามท้ารอกสี,นั้นฺ ออกแล้ว แม้แต่เพียงท้าได้หมอุงกไส้!ด้ ๓. ;หหรือสายรัดไม่มีสีด้องห้าม ถ้ามีสีด้องท้าม ฟุลี่ยนหู หรอสายรดเสียไหม่ก็ไส้ได้ ,i ๔. ไม่ขสิบด้วยหนงลัตว์ที่ด้องด้าม ถ้าฃสิบด้วยหนงลัตร์ที่ ด้องท้ามเอาหนังที่ขสิบออกเสิยแล้วไส้!ด้ ๔.ไฝปกล้น ปกหลังเท้า ปกแข็ง ๖.ไม่ไส้สันยัดนุน ตรึงหรือปร่ะลับขนนกกรํะทา ขนนกยูง ๗.ไม่มีหูเป็นช่องลังเขาแกะ ลังเขุาแพะ ลังงามแมลงปัอง แก้ไท้เป็นกัปป้ยะแล้วไส้ได้ ๒๙๑
www.kalyanamitra.org สิรองเท้าที่ต้องห้ามมี ๗I ๑.สิขาบิ ๒. สิผสิอง ๓. สินดง ๔. สิบิานเย็น; ๔. สีแสด ๖. สีชมพู สีดา รองเท้าห้ามขสิบต้วยหนงส์ตว์ ๘ ชนิด ๑. หนังสิหะ ๒. หนังเสิอโคร่ง ๓. หนังเสิอเหลอง ๙. หนังช่ะมด ๔. หนังนาก ๖. หนังแมว พ. หนังค่าง ๘. หนังนกเต้า s รองเท้าที่ทริงอนุญาตแล้วนนโต้Lนที่ที่วไปไมได้ ถ้าไฝเจบ เท้า ห้ามไฝให้ส่วฺมเขาบ้าน เป็นอาคันตกะเข้าไปในัว้ดอื่นกโห้ถอ่ด ภายใน่วัดของตนเองและในบ้าสวฝได้ ฝ่าเท้าบางเหยียบพื้นัแข้งไฝ กระ^ษย สวมเพึ๋อคันเท้าเย็นกได้ เครื่องเสนาสนะ กฎีที่อยู่ของภกชุครั้งพูทธกาล คงเป็นัแค่เพียงกระท่อม พื้น โบกปนหรือเป็นแค่ดิน จึงท่รงอนุญาตบริขารเครื่องเสนาสนะสำหรืบ ใต้สอย ดังต่อไปนี้ ๒6(๒
www.kalyanamitra.org ๑. 1ดี£|งไว้สำหร้บนอน ให้มีเ.ท้าสูงฟ้ยง ๘ นิ้วสุคต นด่มีรูป สฺตว์ฬยทึ่เท้า เซ่นเสืยงจมกสิงห้ เรียกบัลลังก์ ห้ามไฝให้ใช้ ๒. ตงไวสำหฒันั่ง ตั่งเป็นม้า ๔ เหลี่ยมรี นั่งได้ ๒ คนก์มี นละตั่งนั้น ให้มีเท้าสูงเพียง ๘ นิ้วสุคต ๓. อาลันท้ เป็นม้าสำหรีบนั่งเหมีอนลับตั่ง อาลันท้เป็นม้า ๔ เหลี่ยมจตุรี'ส นั่งได้คนเดียฺว ๔.ฟูกเตียง ตีอที่นอน ๙. ฟูกตั่ง คือเบาะ เป็นของท่รงอนุญาต แดห้ามไมให้ใช้ ของบัดนุ่น(สำลก็นับเช้าในนุ่น) ๖.หมอนหนุนคืรษฺะ ท?งอนุญาตให้บัตนุ่นุได้ แตให้มีปฺระมาณ พอคืรบะ คือเป็นหมอนหนุนได้เพียงค่นเตียว ห้ามไมให้!ช้ฬมอนใหํญ่ กึ่งกายุ หมอนขางก็ห้ามไมให้1ช้ ๗. มุ้ง ๘. เครื่องลาด ลันจดว่าเป็นุของไม?จิต? เตียงและตั่งนั้นห้ามไม่ให้มีเท้าสูงเกิน ๘ นิ้วพฺระสุคต ยก แม่แคร่ ภิกษุทำใช้เอง ปล่อยให้เท้าสูงกว่ากำหนดต้องอาบติปาจิตตีย ให้ดัดของนั้นเสิย ล้าใช้ของที่คฺนอื่นทํๆ; ต้องอาบติทุกกฎ เตียงนั้น แม้มีเท้าไต้ประมาณ แต่มีรูปสัตว์ร้ายทเท้า เซ่น เตียงจยูกสิงห์ เรียกว่าบัลลังก์หามไมให้ใช้ อาลันฑิคือม้านั่ง อาลันทิ เป็นม้าสำหรับนั่งเหมือนลับตั่ง อาสันทิเป็นม้า ๔ เหลี่ยมจตุรัส นั่งได้คนเดียว เติมทรงห้ามของที่มืเท้าสูงว่า ๘;นิ้ว ๒๙๓
www.kalyanamitra.org แตmยหลังทรงอนุญาต มี เอ ชนิด คือ ๑. ม้ามีพนัก ๓ ดฺานฺ ตรงลับเถ้าอี้มีแขน เรียกวา ลัตตง่^^^ แปลว่าอาสนะมีองค์;๗ คือเท้า ๔ พนัก๓สูงกใช้ใดเป็นของทรง อนุญาต ๒. ม้ามีพนักหลังอย่างเดียวเรียกว่า ลัญจังคะ ได้แก่เถ้าอี้ ไฝมีแขน ไม่ได้กล่าวถึง แด่เป็นของอนุโลมสัตดังดะ สูงก็เหนว่า ใช้ได้เหมือนลัน ฟูกที่ควรใช้ได้ ๔ อย่าง ฟูกตง คือเบาะ เป็นขอุงทรงอนุญาต แด่ท้ามไม่ใท้ใช้ของ ยตนุน สำ ลีก็นับเขาในนุ่น ฟูกที่ควรใช้ได้๕ อย่างคือ ๑. ฟูกลัดด้วยขนแกะ ขนปีกนกและขนสัตว์ ๔ เท้าอย่าง อึ่นใช้ได้ ยกเว้นผมและขนมนุษย์ ๒. ฟูกลัตด้วยทอนม้าหรีอเศษผา ๓. ฟูกลัดด้วฺยเปลือกไม้ ๔.ฟูกลัดด้วยหญ้า ๕. ฟูกลัดด้วยใบไม้ใช้ได้ทุกอย่าง ยกเว้นแด่ใบพิมเสนล้วน แด่ปนฃ่อ่งอื่นท่านิอนุญาต เปลือก.ฟูกนั้นกำหุนดใท้ใช้ผ้า ๖ อย่าง เช้นเดียวลับจีวร ใช้ได้ เดียงก็ดี ตั่งก็ดี เป็นของมีเบาะทุม(เก้าอี้นวม) ก็ใช้ได้ ใช้ไส้ที่ เป็นลัปป็ยะก็ใช้ได้ เดียงและที่นอนที่เป็นของใหญ่•หาม่ไมไท้ใช้ แด่ จะใหฺญ่เท่าไรท่านไฝได้กำหนดไว้ สันนิษฐานว่าใหญ่นอนได้ ๒ คน อื่ง่ลูจะเป็นเตียงสำหรับคนคู่นอนไม่สมควร ๒๙<e:
www.kalyanamitra.org เด่fองลาดที่ระบุชื่อไ^นบาลมี ๑๐ ชนิด ๑ ผาขน เรียกโคณกะ มีขนยาวกว่า ๔ นิ้ว s ๒/เครื่องลาดฑำดวอขนิแกะเรียกชื่อตางๆกัน firti เครื่องล่าดที่ทอด้วยด้ายทองแกมไหม ๔; เค่รื่องล่าด่ที่เป็นไหมด้วน ๕. เครื่องลาดที่ทำด้วยหนังสต่ว่ชื่ออิพ อัน่มีขนอ่อนนุ่ม (เชน แมวนิ้า) ๖. เครื่องลาต่อย่างดีทำด้ว่ยหฺนังชะมด ๗.ที่นอนมีเพดานข้างบน ที่เขาใจว่าที่นอนมีมุ้งกาง หรีอ เดียงมีเพดาน ๘. เครื่องลาดหลังข้าง ๙.เครื่องล่าต่หลังม้า M^o. เครื่องล่าดบนรถ ลันไม่ปรากฏว่าช่นิดไร เครื่องลาดทำด้วยขนแกะเรียกชื่อตาง ๆ กัน ๑. ที่ป๋กหรีอ่ทอเป็นลาย เรียกว่าจิดดกา ๔. ที่สิมีขาวด้วํน เรียกว่าปฏกๆ ๕. ที่มีขนตง เรียกว่าอุทธโล่มี ๖. ที่มีขนตกไปข้างเดียวกัน เรียกว่าเอกันตโลมี ๗.•ที่เป็นของไหญ'นางฟ้อน ๑๖ คนยืนรำได้ (เช่นพรหมปู ห้อง) เรียกกฎกะ ๒๙๕
www.kalyanamitra.org ในเครื่องลาดเหล่'ไพี้ . เครื่องลาดที่เป็นของวิ?ตรคาวาา^ใน ป๋จจุบนนี้ มีเป็นของธรรมดาไปเสืยฺแล้ว เครื่องเสนาสนะเป็นอทปป็ยะ ที่เป็นของคฤ'หัสถ .ทรงอนุณาดให้นั่งทับได้ ยกเว้นแดบัลฺลังก์อย่าง เดียว ภิกษุ ๒ รูปจะนอนบนเตียงหรือบนเครื่องลาดอันเดียวทัน หรือมี ผาห่มผืนเดียวทันไม่ควร แต่จะนั่งบฺนเดีฟงหรือบนตั่งด้วยทัน ๒ รู!เได้ อยู่ แต่ในบาลีให้นั่งได้เฉพาะทับภิกษุผู้.มีพรรษาไล่เสี่ยทัน แก่หรืออ่อน กว่าทันไม่เกิน ๓ พรรษา เรืยกว่าสมานาสนิก ห้ามไมให้นั่งทับผู้มี พรรษาห่างทันเกินก่าหนดนั้น เรียกว่าอสมานาสนิก ภิกษุจะนอนบฺน ที่นอ่นอัน่โรยฺด้วยดอกไม้ไม่ควร ได้ดอกไม้มา ทรงอนุญาตให้วางไว้ ข้างหนึ่งในที่อยู่ในเวลานึ้1ช้วางไว้บนที่บชาพระ ปัผหฺวนละเฉลยวินยมุข กัณฑ์ที่ ๑๒ ๑.พระพฑธองคทรงอนุญาตผาส์ๆหรบทำจีวรไว้กี่ชนิด อะไรบาง ? ตอบ ทรงอนุญาตไว้ ๖ ชนิด คือ ๑.โขมะ ผ้าทำด้วยเปลือกไม้ ๒. ทัปปาสิกะ ผ้าทำด้วยผืาย ๓.โกเสยยะ ผ้าทำด้วยไหม ๔. ทัมพละ ผ้าทำด้วยชนสตว้ ๔. สาณะ ผ้าทำด้วยเปลือกป่าน ๖. ทังํคะ ผ้าทำด้วยชอง ๔ อย่างนั่นแต่อย่างใดอย่าง หนึ่งปนกิน^ ๒,จีววผืนหนึ่ง:มีกำหนดจำนวนฃณฟ้ไว้อย่างไร ใน ๑-ขัเนฑ์ ประกอบด้วยอะไรบ้าง ? ๒6^
www.kalyanamitra.org ตอบ กำ หนด่จำนวนไจ้ไม่น้อยกว่า ๕ ขันฑ์ แตให้เป็นฃณฑ์คี่ คือํ ๗, ๙, ๑๑ เป็นต้น ประกอบดวยมณฑล อัฑฒมณฑล: กุสิ อฑฒกุสิ s' ๓. ผาส์โง่ฆาฏ สิอผุ้ๆอะไร มีหลักฐาน้คุวามเป็นมาอยาง่ไร? , ตอบ.คือ ผ้าส์าหรบห่มกนหนาว่หรือห่มขัอนนอก ทรง[อนุญาตเพือ ใขัIนฤลูหนาว มีเรื่องเล่าว่า ในฤดหนาวจัด ทรงทดลองห่มจีวรผืน เดียวอยูในที่แจ้งสามารถถันความหนาวไต้ยามหนึ่ง ถ้าอยู่ตลอด ราตรี.ตอ่งผ้า ๓ .ชั้น จีง่พอถันความหนาวไต้ ทร่ง่อนุญาตสังฆาฏิ ๒ ชั้นเข้าถับอตตราสงคชั้นเดียว่จะไต้เป็น ๓ ขัน้ พอถันอว่าม หนาวดังกล่าวไต้ ๔.ของย้อมทรงอนุญาตไว้กฺอ่ย่างอรไรบาง ? ตอบ ของย้อมทรงอนุญาตไว้ ๖ อย่าง คือ ๙.รากเหง้า. . ๒ ไม้. : ๓. เปลือกไม้ ๔. ๔. ดอกไม้ ๖. ผลไม้ ๕;ภิกษุพึงไข้บริขารบ่ริโภคและเครื่องอุป!กคอย่างไร จีงจะดูน้าเลื่อม ไสของ่ประชาชน? ตอบ การไข้บริขารบริโภคและเครื่องอุปโภคนั้น ภิกษุควรเต้นเคา คือนิสัย ๔ ว้า ภิกษุย่อมนิยมไข้สอยบริขารที่เป็นขอ่งปอนหรือของ เรียบ ๆ ไมใช้ของดีที่กำลังตื่นถันไนสมัยถันจ่ะพึงเรียกว่าโอ่โถง ความประพฤติปอนของภิกษุนี้ย่อมทำให้เกิดความเลื่อมไสแกํคน บางพวกที่เรียกว่า ลูขประมาณ แปลว่า มีของปอนเป็นประมาณ คือมีของปอนเป็นเหตุนิบถือ - : ๒๙6/
www.kalyanamitra.org ๖. บรขารต่อไปนื้!ด้แก่อะไรบาง บริขารเครื่องบริโภค บริขารเครื่อง อุปโภค? ตอบ บริขารเครื่องบริโภค ได้แก่ ไตรจีวร ผ้าปูนอน ผ้าเช็ดหน้า เช็ดปาก ผ้านิสืทนะ บาดร บริขารเครื่องอุปโภค ได้แก่ กล่องเข็ม เครื่องกรองนํ้า มีดโกนพร้อมทั้งฝัก หินส์าหรับลับกบเครื่องสะบัด ร่ม รองเท้า ๗.บริขารเหล่านี้คือ ไตรจีวรฟูกเตียง ที่นอน หมอนหนุนศรษะ เตียง ผ้าปูนอน ผ้าเช็ตหน้า ฟูกดั่ง.เบาะ ผ้านิสีทนะ อ่ย่างไหนิลัดฺเป็น บริขารเครื่องบริโภค อย่างไหนลัดฟึนบริขารเครื่องเสนาสนะ? ตอบ ไตรจีวร ผ้าปูนอน ผ้าเช็ดหน้า ผ้านิสีทนะ จัดเป็นบริขาร เครื่องบริโภค ฟูกเตียง ที่นอนุ่ หมอนหนุนศีรษะ เตียง ฟูกดั่ง เบาะ จัดเป็นํ.บริขารเครื่องเสนาสนะ ๘.รัสสิกสาฎกได้แก่ผ้าเซ่นไร มีจำ กัดประมาณ กร้าง ยาว ไร้อย่างไร? ตอบ ได้แก่ผ้าอาบนํ้าฝน มีจำ กัดประมาณยาว ๖ คืบ กว้าง ๒ คืบ ครึ่งแห่งคืบพระสุคต ๙.ภิกษุ่ไฝต้องนำผ้าไตรจีวรไปครบสำริบ มีพระพุทธานุญาดไร้ไน กรณีไดบ้าง? .ตอบ.ใน ๒ กร่ณี คือ ๑.ในกรณีเข้าบ้านมีพระพุทรานุญาดไร้อย่างนี้ คือ ๑. คราวเจ็บไข้ ๒.ลังเกดเห็นว่าฝนจะดก y ๓.ไปสู่ฝ็งแม่นี้า ๔. วิหารคือกุฏีด้มได้ด้วยดาล ๒๙0?
www.kalyanamitra.org ๔. ได้รับอานิสงส์พฺรรษา ๖. ได้กรานกฐิน ๒.ในกรณีด้องไปด้างแรมที่อื่น มีพระพุทธานญ่าตไว้อม่างนี้ คือ ๑.ได้รับอานิสงส์พรรษา -๒.ได้กรานกฐิน - . ๑๐.1โจจุบนมทพบเหนพรฺะคืกษสามเณรห่มจีวรสิต่าง ๆ อยากทราบ ว่าสิที่ห้ามฺมีกี่อย่างอะไรบ้าง ? ตอบ สิที่ห้ามมี ๖ อ^ย่าง คือ ๑. สีคราม ๒; สีเหลือง ๓. สีแดง ๔. สีบานเย็น ๔. สีชมพู s ๖. สีดำ ๑๑.บาตรที่ทรงอนุญาตมีถี่ชนิด อะไ.รบ้าง บาตรสเตนเลสจัดเข้าใน ชนิดไหน? ตอบ มี ๒ ชนิด คือ . ๑..บาดรดินเผา ๒. บาตรเหล็ก บาดรสเดนเลส จัดเข้าในบาตรเหล็ก ๑๒.บาตรที่ทรงห้ามมีกี่ชนิด? อะไรบ้าง? ตอบ มี ๑๑ ชนิด คือ ๑. บาดรทอง ๒. บาตรเงิน ๓. บาดรแก้วมณี ๔. บาตรแก้วไพฑูรย์ ๔. บาดรแก้วผนึก ๖. บาดรแก้วหุง ๗. บาตรทองแดง ๘. บาดรทองเหลือง ๙. บาดรดีบุก ๑๐. บาตรสังกะสี ๒๙๙
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 517
- 518
- 519
- 520
- 521
- 522
- 523
- 524
- 525
- 526
- 527
- 528
- 529
- 530
- 531
- 532
- 533
- 534
- 535
- 536
- 537
- 538
- 539
- 540
- 541
- 542
- 543
- 544
- 545
- 546
- 547
- 548
- 549
- 550
- 551
- 552
- 553
- 554
- 555
- 556
- 557
- 558
- 559
- 560
- 561
- 562
- 563
- 564
- 565
- 566
- 567
- 568
- 569
- 570
- 571
- 572
- 573
- 574
- 575
- 576
- 577
- 578
- 579
- 580
- 581
- 582
- 583
- 584
- 585
- 586
- 587
- 588
- 589
- 590
- 591
- 592
- 593
- 594
- 595
- 596
- 597
- 598
- 599
- 600
- 601
- 602
- 603
- 604
- 605
- 606
- 607
- 608
- 609
- 610
- 611
- 612
- 613
- 614
- 615
- 616
- 617
- 618
- 619
- 620
- 621
- 622
- 623
- 624
- 625
- 626
- 627
- 628
- 629
- 630
- 631
- 632
- 633
- 634
- 635
- 636
- 637
- 638
- 639
- 640
- 641
- 642
- 643
- 644
- 645
- 646
- 647
- 648
- 649
- 650
- 651
- 652
- 653
- 654
- 655
- 656
- 657
- 658
- 659
- 660
- 661
- 662
- 663
- 664
- 665
- 666
- 667
- 668
- 669
- 670
- 671
- 672
- 673
- 674
- 675
- 676
- 677
- 678
- 679
- 680
- 681
- 682
- 683
- 684
- 685
- 686
- 687
- 688
- 689
- 690
- 691
- 692
- 693
- 694
- 695
- 696
- 697
- 698
- 699
- 700
- 701
- 702
- 703
- 704
- 705
- 706
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 550
- 551 - 600
- 601 - 650
- 651 - 700
- 701 - 706
Pages: