Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นักธรรมโท

Description: นักธรรมโท

Search

Read the Text Version

www.kalyanamitra.org ๒.๓. อนาคามิผล ผลอันพระอนาคามีพึงเสวย ๒.๔. อรหัตผล ผลอันพระอรหันต์พึงเสวย. ๓. นิพพาน ในที่นี้ท่านหมายถึง อนุปาทิเสสนิพพาน คือ ดับทั้งกิเลสดับทั้งเบญจขันธ ดุจประทีปสิ้นเชื้อฉะนั้น นิพพานนี้จัด เป็นโลกุตรธรรม เป็นของเที่ยง มีแต่ความสุขล้วน ๆ ไม่มีความ ทุกข์เจือปน วิป๋สสนๆญาณ๙ ๑. อุทอัพพฺยำนุป๋สสนาญาณ^ ปรีชาคำนี้งเห็นทั้งความเกิด ทั้งความดับ ๒,ภังคานุป็สสนาญาณ ปรีชาคำนึงเห็นความดับ ๓; ภยดูป๋ฏฐานญาณ ปรีชาคำนึงเห็นอังฃารปรากฏเป็น ของนิากอัว ๙. อาทีนวานุป๋'ส่สนาญาณ ปรีชาคำนึงเห็นโทษ ๔. นิพพิทานุป๋สสนาญาณ่ ปรีชาคำนึงถึงความเบอหนิาย ๖. มฌจืตุกมยตาญาณ ปรีชาคำนึงด้วยใคร่จะพ้น่ไปเสิย ๗.ปฏิอังชานุป๋สสน่าญาณ ปรีชาคำนึงด้วยพิจารณาหาทาง่ ๘. อังฃารุเปกขาญาณ ปรีชาคำนึงด้วยความวางเฉยเสีย ๙. อัจจานุโลมิกญาณ ปรีชาเป็นไปโดยสมควรแก่กำหนดรู อริยอัจ วิปัสสนาญาณ คือ ญาณที่นับเข้าใน่วิปัสสน่าหรีอที่จัดเป็น วิปัสสนา ได้แก่ความรู้ที่ท่าให้เกิดํความเห็นแจืง เข้าใจสภาวะของ ๖๐๐

www.kalyanamitra.org สิ่งทงหลายตามความเป็นจริง ๑. อุทย้พพยาฬุสสนาญาณ คือ'ญาณที่พิจารณาเหความ เกิดขึ้นเIละความดบไปแฟ่งเบญจขันธ จนเห็นขัด'3า สิ่งทั้งหลาย เกิดฃึ้นตั้งอยูแล้วก็ตองดับ่ไปทั้งหมด เรียกว่า ตั้งอยูในไดรลฺกษณ คือ่ สิ่งใศไฟ่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข สิ่งนั้นเป็นอนัดดา. ลืบต่อกินไป ตลอดเวลา ^ - ๒. ภงคานุฟ้สสนาญาณ คือ ญาณที่ปลอยข้างความเกิดขึ้น เสยแล้รพิจารณาเห็นความดับอย่างเคืยวเป็นอารมณ์ว่า ดังขารทั้งิ หลายทั้3ปวงล้วนจ่ะต้องด้บสลายไปทั้รห่มด '''^ '๓. ภยฬู่ฏฐานญาณ คือ 'ญ่าณที่พิจ่ารณาเห็นดังขาริทั้งปวง ทั้งที่เป็นอดีต อนาคต และปัจจุบัน ปรากฎ่เป็นของน่ากดัว่ •เพริาะ ทุกสิ่งทุก่อย่างย่อมมีคว่ามแดกสลายไป ดังขาริทั้งปวงไม่ว่าจะเป็นไป ในภพใด คดีใด ก็จะปรากฏเป็นของน่ากลัวสำหรีบคนขลาดผู้รัคซีวิด •s ๔. อาทีนวานุป็สสนาญาณ คือ เมื่อพิจ่าริ!แเาเห็นดังขารทั้ง ปวงขึ้งล้วนต้องแดกสลายไป เป็นฃุองน่ากลัว.::ไม่ปลอดดัยทั้งสิ้นแล้ว ย่อมคํ;;เนึงเห็นดังฃารทั้งปวงนั้นว่าเป็นโทษ : เป็นสิ่ง.ที่มีคา!ามบกพร่อง จะต้องระคนอยู่ต้วยทุลขัแลุ่ะโท่ษ ไม่น่ายินดีไม่น่าพอใจ ๔. นิพพิทานุป็เJลนาญาเแนคือ เมื่อพิจาริญาเห็นดั3ขารว่า เป็นโทษเช่นนั้น^ย่อมเกิดความเบื่อหน่าย ไม่น่าเพลิดเพลินดีดใจ ๖. มุญจิดุกิมุยดาญาณ คือ เมื่อเบื่อหน่ายดังขารทั้งหลาย แล้ว ย่อมปรารถนาที่จะพินไปเสียจากดังขารเหล่านั้น ; ฬฺ. ปฏิเโงขานบัสสฺนาญาณ คือ เมื่อมีความต้องการจะพ้น ไปจากดังขารทั้งหลายแล้ว ก็หันไปยกเอาดังช่าริทั้งหลายขึ้นมา ๖๑๑

www.kalyanamitra.org พิจารณาด้วยอำนาจไตรลักษณเพื่อมองหาอุบ่ายที่จะปลดเปลื้องตน ออกไปจากสังขารเหล่านั้น ๘. ลังขารุเปกขาญาณ สือ เมื่อพิจารณาลังขารต่อไป ยอม เห็นสภาวะขอฺงฺลังขารตามความเป็นจริง่ ว่ามีดวามเป็นไปอย่างนั้นเป็น ธรรมตา จึงวางใจเป็นกลางได้ ไม่ยินดียินร้ายในลังขารฑั้งหลาย ไม่ ยึดถือว่าเป็นเรา ว่าเป็นของเรา เลิกละความเกี่ยวเกาะกับลังขารเสียได้. ๙. ลัจจานุโลมีกญาณ คือ เมื่อวางใจเป็นกลางต่อลังขาร ทั้งหลายไม่พะวง และญาณแล่นมุ่งตรงไป^นิพ'V^านแล้ว ญาณอันตรง ต่อการตรัสรู้อริยสัจ ย่อมเกิตขึ้นเป็นลำกับ กัดไปเป็นขั้น สุดท้ายของ วิป๋สสนาญาณ ต่อจากนั้นิก็จะเกิดโคตรภูญาณมาคั่นกลาง แล้วเกิด มรรคญาณให้สำเร็จความเป็นอริยบุคคลต่อไป ลังฆคุณ ๙ ๑. สุปฏิifนโน เป็นผู้ปฏิบตดี ๒.อุซุปฏิป้นโน เป็นผู้ปฏิบตตรง ๓,ญายปฏิฟ้นโน เป็นผู้ปฏิบตเป็นธรรม(ถูกทาง) ๔. สามีจิปฏิifนโน่ เป็นผู้ปฐบตสมควร ๔. อาหุเนยโย เป็นผู้ควรแกการคำนับ ๖. ปาหุเนยโย เป็นผู้ควรแกของตอนรับ ๗.ท้กฃเนยโย เป็นผู้ควรแกของทำบุญ ๘. อัญชลีกรณโย เป็นผู้คํวรทำอัญชลี ๙. อนุตตรัง ปุญญักเขตกัง โลกัสสะ เป็นเนื้อนาบุญของโลก ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า ๖๐๒

www.kalyanamitra.org สัรฆคุณ หมายถึง คุณของพระสงฟ้มู้ปฎิบติชอบดามคำ^สอน ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า แล้วสอนให้ผ้อื่นรู้ตามไปด้วย มี ๙ ๑. สุปฏิฟ้นโน หมายถึง เป็นผูปฏบ้ตดี ปฏบติสัมมาปฐบ้ต ที่เป็นท่างฝุงสรงสู่อายตนนิพพาน คือการปฺฏิปัติสามมรรคมีองค ๘ ๒. อุชุปฏิป๋นโน หมายถึง เป็นผู้ปฏิบติดรง ปฏิป๋ติมุ่งตรง ต่อพระนิพพานตรงไปตร่งมาไม่คดโกง ปฏิบสตามพระธรรมวินัย เพื่อปร่ะโยชนัตนและผู้อื่น ๓. ญายปฏินันโน หมายถึง เป็นผู้ปฏิบติเป็นธรรม(ถูกทาง) คือ ปฏิบติเพื่อรู้ธรรมเป็นเคฺรื่องพ้นทุกข์ปลดเปลื้องตนออกจาก กิเลสอาสวะหลุดออกจากทุกข์ในสังสารวัฏได้ ๔. สามีจิปฏิ!โนโน หมายถึง เป็นผู้ปฏิบติสมควร คือ ปฏิบติ ตามมีชฌมาปฏปทาเป็นทางสายกลางไม่เข้าไปใกล้ทางลุดโตง ๒ ทาง ได้แก่ การบำเพ็ญพรตที่ทรมานตนเองให้ลำบาก เรียกว่า อัดตกิลม ลานุโยค ๑ การปฐบติตนให้หมกมุ่นพัวพันอยู่ในกามสุข เรียกว่า กามลุขัลลิกานุโยค ๑ ๔. อาทุเนยโย หมายถึง เป็นผู้ควรแก่การคำนับ คือ เป็นผู้ ควรแก่การสักการะที่เขานำมาบูชา เพราะทำให้ป๋จจัยไทยธรรมที่ผู้ มีศรัทธานำมาถวาย ย่อมมีผลมาก มีอานิสงสมาก ๖. ปาทุเนยโย หมายถึง เป็นผู้ควรแก่ของด้อนรับ คือ เป็น ผู้ควรแก่เครื่องสักการะที่เขาจิตไว้นอกเหนือจากหมู่ญาติสนิทมีตร สหายแล้ว มีแต่พระสงฆ์เท่านั้นที่ควรรับไทยธรรมนั้น ๗. พักขิเนยโย หมายถึง เป็นผ้ควรแก่ของทำบญ คือ เป็น ๖๐๓

www.kalyanamitra.org พู้คว?รบทกษิทาน . เพราะท่าmป็นผู้ทำให้ทักษิณาทานนั้นมีผล มากแก่ผู้ตายไปแล้วแลร;ผูถวายย่อมได้รับอานิสงส์มาก่ด้วย ๘. อัญชลีกร ย หมายถึง เป็นผู้ควรทำอัญชลี คือ เป็นผู้ ควรแก่การกราบไหว้ได้อย่างสนิทใจ เพราะท่านเป็นผู้มีความคือยู่ ในตัว ไม่มีกิเลสเป็นเหตุทำให้ชาวโลกเดือดร้อน จึงตั้งอยู่ในฐานะที่ ควรกราบไหว้อย่างสนิทใจ ๙. อนุตดรัง ปุญญ้กเขตตัง โลอัสสะ หมายถึง เป็นเนื้อนาบุญ ของโลก ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่าเป็นอริยสงฆผู้ที่ได้ชื่อว้า คาสนทายาทผู้ สืบ,ทอดอายุพระพุทธศาสนาให้ดำรงมั่นจนถงปัจจุบัน และก็เป็นผู้ บริธุทธิ้บริบูรณ์ด้วยศีล สมาธิ บัญญา ทานที่ถวายแก่ท่านจึงมีผล มาก มีอานิสงส์มาก อังฆ่คุณ ๙ จัดลงในสมบด ๒ ตังนื้ ข้อ ๑-๔ จัดเป็น อัดดสมบด คือ เป็นคุณประโยชน์ส่วนตัว ท่าน ข้อ ๙-•๙ จัดเป็น ป?หิตสมปัด ดือ เป็นประโยชน์ที่เกื้อกล ต่อผ้อื่น .. สิตตาวาส ๙ อัดดาวาส หมายถึง ภพเป็นที่อยู่แห่งอัตว์ มีคฺวามเกี่ยว เนื่องกับวิญญาณฐึติ ๗ ในหมวด ๗ เพียงแต่พูดกันคนละช่วง เท่านั้นิ วิญญาณฐิติพูดเมื่อไปถึอ่ปฏิสนธิ พอหลังจากนั้นก็กลาย เป็นอัดดาวาส คือ ถึอปฏิสนธิในที่นั้นและอยุในที่นั้น อัตตาวาส แปลว่า ที่อย่ของอัดว้ คือ พวกที่ยังข้องยังติดอยุในภพชาติ เป็นด้น ๖๐(T

www.kalyanamitra.org ท่านจำแนกเป็น ๙ ประเภทคือ ๑, สัตว์เหล่าหนึ่งฺ รกายต่างกน มีสัญญาต่างกัน เช่น พวก มฺนุษย.เปรต เวมานิกเปรฅบางหม พวกนี้มีรูปร่างต่างกัน ๒. สัตว์เหล่าหนึ่ง มีกายต่างกัน มีสัญญาอย่างเดียวกัน เช่น พวกพรหม ที่เกิดในถูมีของปฐมฌฺา'แนั้น ๆ มีอย่ๅงตํ่า อย่างกลาง อย่างประณีต.แตกต่างหัน แต่ว่ามีสัญญาอย่างเดียวกัน ,๓. สัตว์(หล่าหนึ่ง มีกายอย่างเดียวกัน. มีสัญญาต่างกัน เช่น พวกเหพ;ชั้นอๆภุสสรพรหม ที่งเกิด:ด้วยภูมิของทุติยฌานในฌาน ๔ หรือ ตติยฌานในฌาน ๔ แต่สัญญานั้นต่างกัน เพราะบางุท่านก็ ใฝมีทั้งวิตกวิจาร บางท่านั้มีวิตกฺ..แต่ไผ่มีวิจาร ๔. สัตว์เหล่าหนึ่ง มีกายอย่างเดียวกัน มีสัญญาอย่างเดียวกัน เช่น พวกเทพที่เกิดด้วยภูมิของจตุตถฌานที่เรืยฺกว่า พวกสุภกิณหะ แต่ก็มีความประณีตไผ่เหมือนกัน ๔. สัตว์เหล่าหนึ่ง ไม่มีสัญญา ไผ่เสวยเวทนา ท่านเหล่านั้ เกิดด้วยภูมิของจตุตถฌานเช่นเดียวทัน แต่ท่านํดับสัญญาเวทนา ที่ เรืยกว่าสัญญาเวทยิตนิโรธ คือท่านตายในสมาบติ จึงมืเฉพาะรูป ขันธ์ที่เรืยกว่า อสัญญีสัตว์หรือพรหมลูกฟ้ก ไผ่มีสัญญา ไผ่มื เวทนา ไผ่รู้สุฃไผ่รู้ทุกข ตราบเท่าที่ผลแห่งสมาบตของท่านยังไผ่ เสื่อม แต่เมื่อฌานเสื่อม ท่านก็เข้าสู่สังสารวัฏอีก ๖. สัตว์เหล่าหนึ่ง ผู้เข้าสิงอากาสานัญจายดนะ ได้แก่ ผู้ที่ บำ เพ็ญสมถกรรมฐานมีกสิณเป็นอารมณ์ หลังจากนั้นจะเพ็กกสิณ มาเพ่งอากาศเป็นอารมณ์ว่า อากาศหาที่สุดมิได้ จนได้บรรุสุเห็นแจ้ง เห็นจริงอย่างนั้น และเมื่อตายไปขณะมีฌานข้อนี้อย่ ก็จะบังเกิดใน ๖๐๔

www.kalyanamitra.org อรูปพรหม ชั้นอากาสานัญจายตพพ ๗. สัตว์เหล่าหนึ่ง ผู้เข้าถึงชั้นวญญาณัญจายตนะ คือ ผู้ที่ ผ่านอรูปฌานที่ ๑ มาเพงว่า วิญญาณหาที่สุดมิได้ คือ เลิกเพ่งอากาศ มาเพ่งวิญญาณที่ว่าหาที่สุดมิได้จนบรรลุวิญญาณัญจายตนฌาน .เมื่อ ตายด้วยฌานนั้นก็จะบังเกิดในอรูปภพ ชื่อ วิญญาณญจายตนภพ ๘. สัตว์เหล่าหนึ่ง ผู้เข้าถึงพั้อากิญสัญญายตนะ คือ ผู้ที่ เพิกวิญญาณมามองดูว่า สิ่งทั้งหํลายนั้น มีอย่เพียงเล็กน้อย เมื่อ ฟานตายด้วยฌานนั้น ก็จะบังเกิดในอรูปภพ ชื่อว่า อากิญสัญญาย- ตนภพ ๙. สัตว์เหล่าหนึ่ง ผู้เข้าถึงชั้นเนวสัญญานาสัญญายตนะ คือ ผู้ที่เพิกอรูปฌานที่ ๓ โดยได้มองโลกและสรรพสิ่งว่า จะมิอยู่ก็ไม่ใช่ ไม่มิก็ไม่ใช่ ฟานดายไปบังมิจิตใจอยู่ในฌานชั้นนี้ ก็จะบังเกิดใน อรูปพรหมชั้นเนวสัญญานาสัญญายตนภพ บัญหาและเฉลยฺธรรมวิภาค หมวด ๙ ๑. พระพุทธคุณบทว่า อรหํ แปลว่าอะไร? * ตอบ แปลว่า เป็นผู้เว้นไกลจากกิเลส และบาปธฺรรม เป็นผู้หักกำแห่งสังสารสักร เป็นผู้ควรแนะนำสั่งสอนเร)า เป็นผู้ควรรับความเดารพนับถือของเขา เป็นผู้ไม่มื่ข้อสับ ไม่ได้ทำความเสียหายอันจะพิงซ่อน.เพื่อมิให้ คนอื่นรู้ ๖๐๖

www.kalyanamitra.org ๒» ทุทธตุณบทว่า โลกวิฑ แปลว่า เจ้กโลก ท่านประสงณ์อาโลก ชนิดไหน? ดอ!) ท่านประสงคเอาโลก ๓ คือ สังขารโลก โสกคือสังขาร สัตวโลก โลกคึอหมูสัตว์ โอกาสโลก โลกคือแผ่นดิน ๓.พ่ระ ณบทว่า \"อนุฤตโรjJ?สทมฺมสารกิเป็นสารถี?เกบุP ฑี๋คาร?เกไดพมีโดรยิ่งกว่า\" ส์าว่า \"บุรุษที่ควร?เกได้\" นั้นหมาย่ถีง บุคคลเ! ไร? ตอบ หมายถึง บุดคลสืฝ็ฮุปรเ&เviอาจแก ด้และตั้งใจจะเข้าใจ พร!;ธรรมเทศนา แม้ฟังด้วยตั้งใจ จะจับ^เอบกพร่องขึ้นยกโทษ เซ่นเดียรถีย์กตาม ๔.พระพุทธคุณบทหนึ่งว่า เป็นผู้หักกำแท่งฺสังสารจักร ถามว่า กำ ได้แก่อะไรสังสารจักร ได้แก่ อะไร? : ตอบ กำ ได้แก่ อวิชชา วิฏฏะ ดิณหา อุปาทาน กรรม สังสารจักร ได้แก่ วัฏฏะ ๓ คือ กิเลส. กรุรม วิบาก ๔.พระพุทธคุณ ๙บท คืออะไรบ้าง บทไหนจัดเป็นสัดตหิตสมบ้ต และปรหิตปฏิบ้ต? ตอบ คือ อรหํ, สมฺมาสมพทฺโธ, วิชชาจรณสมฺปนฺโน, สุคโต, .โลกวิทู,;อนุตตโร, ปุริสทม.มสารกิ, สต.ถา เทวมนุสฺสานํ, พุทฺโธ, ภควา ๔ บทเบื้องด้น เป็นอฺตตหิตสมบ้ต ๔ บทเบื้องปลาย เป็นปรหิตปฏิบ้ดิ ๖๐๙

www.kalyanamitra.org ๖.น่วหรคุณ ดืออะไร จ์^นสดงิพระคุณ๓ ให้ปราก้ฏในคาวา \"พระพุทธเจ้ารู้ดืรู้ชอบด้วยพระองค์!,องก่อนแล้ว สอนรูร่นให้รู้ ตามด้วย\" ? ตอบ คือ พระคุณของพร,ะอรหันต ๙ ได้แก่ฟระพุทธคุณ ๙ นั่นเอง ในคำว่า \"พระพุทธเจ้ารู้ดีรู้ชอบด้วยพระองค์เองก่อนแล้ว\" นี้ แสดงถึงพระปัญญาคุณและพระบริสุทธิคุณ ในคำว่า ''สอนรูร่นให้เตามด้ว่ย\" นี้แสดงถึงพระกรุณาคุณ ๗. มานะ ดืออะไร ว่าโตยย่อ ๓ อย่าง ได้แก่อะไรบ้าง ? : ตอบ คือ ความสำคัญ์ตัวว่าเป็นนั่นเปีนนี่ ได้แก่ ๑. สำ ตัญตัวว่าเลศกว่าเขา ๒. สำ คัญตัวว่าเสมอเขา ๓. สำ คํญตัวว่าเสํวกว่าเขา ^ 1 ๘. มานะ ๙ ประการ กำ หนด่ด้วยอะไรได้บ้าง? ตอบ มานะ ๙ กำ หนดด้วยชาติ โคตร ตระท่ล่ รูป สํมบติ ทรัพย ศิลปวิทยา การงาน และความเฉ่ลียวฉลาดเป็นด้น ๙.วิบ้สํส่นาญาณ ๙ เมอเลตขึ้น ย่อม่เกิตขึ้นในสำตับแฟฟัสุท^ะไร ถ้าจะตัดเข้าในวิสุทธิ ๗ จะตัดเข้าในวิสุทธิไหนได้หรือไม ถ้าได้ จงแสดง ? - ตอบ เกิดขึ้นในลำตับแฟงมคํคำมัคคญาณหัสสฺนวิสุทธิ?ตัต่เข้า ในปฏิปทาญาณหัสสนวิสุทธิได้ เพราะวิปัสสนาญาณ ๙ เป็นตัว ปฏิปทาญาณหัสส่นวิสุทธิอยู่โดยตรง ๖๐CS

www.kalyanamitra.org ๑๐.พระสงฆ์ดีอย่างไรจึงจัดว่าเป็นนาบุญของโลก? - ตอบ พระสงฆ์เป็นผู้บริสุทธิ้ ทักขิณาที่บริจาคแก่ทาน ย่อมมี ผลานิสงส์ดุจนาที่มีดีนดี และไถดี พืชที่หว่านที่ปลูกลงย่อมเผล็ด ผลไพบูลย จึงชื่อว่านาบุญของโลก ๑๑.พระสงฆ์ที่มาในบทสังฆคุณนั้น ท่านประสงค์บุคคลเช่นไร จง จำ แนกมาลู ? ดอบ ท่านประสงค์พระอริยบุคคล ๔ คู่ ๘ บุคคล ชื่งล้วนแต่ ท่านผู้ที่ตั้งอยู่ในมรรคทั้งสิน คือ พระโสดาป๋ตดีมรรค พระโสดาป๋ตดีผลคู่ ๑ พระสกทาคามีมรรค .พระสกทาคามีผล คู่ ๑ พระอนาคามีมรรค พระอนาคามีผล คู่ ๑ พระอรทัดมรรค พระอรหัตผล คู่ ๑ เมื่อแยก่ออกเป็น ๘ ๑๒. อะไรเรียกว่า สัดดาวาส ข้อที่ว่าสัดว์เหล็าหนึ่งมีกายต่างกน มี สัญญาต่างทันนั้น ได้แก่สัดว์เหล่าไหน? ดอบ ภพเป็นที่อยู่แห่งสัตวท่านิเรียกว่า สัตตาวาส สัตวที่มีกาย ต่างทัน มีสัญญาต่างทันนั้น เช่นพวกมนุษย พวกเทวดา พวกวนิปาดีกะบางหม่ ๖๐fc

www.kalyanamitra.org ทสกะ คือหมวด ๑๐ อันตคาหิกทิฏฐิ ๑๐ ความเห็น ที่ยึดถือเอาที่สุดในเรื่องนั้น ๆ อฺย่างใดอย่างหนึ่ง เรียกว่า อันดคาหิกทิฏเ ท่านจัดไว้ ๑๐ ประการด้วยอัน คือ ๑. โลกเที่ยง ๒.โลกใม่เที่ยง ๓.โลกมีที่สุด .๔.โลกไฝมีที่สุด ๔. ชีพอันนั้น สรีระก็อันนั้น ๖. ชีพอันอื่นสรีระก็อันอื่น ๗. สัดว์เบื้องหน้าแด่ดายแล้ว ย่อมเป็นอีก คือเกิดอีก ๘. สัดว้เบื้องหน้าแด่ดายแล้ว ย่อมใม่เป็นอีก คือใม่เกิดอีก ๙. สัดว์เบื้องหน้าแด่ดายแล้ว ย่อมเป็นอีกก็มี ใฝเป็นอีกก็มี ๑๐. สัดว์เบื้องหน้าแด'ดายแล้ว ย่อมเป็นอีกก็หามิใด้ ย่อม ไม่เป็นอีกก็หามใด้ ทิฎเทั้งหมดนี้ พระพุทธศาสนาถือว่าเป็นมิจฉาทิฏเ เพราะดิ่ง ๖๑0

www.kalyanamitra.org ลงไปในทางใดทางหนึ่ง จนทำให้ผู้มีทิฏฐิประเภทนี้หมดโอกาสที่จะ บรรลุธรรม ด้วยเหตุนี้ สัสสตทิฏเ {ความเห็นว่าเที่ยง) อุจเฉทฑิฏเ (ความ่ เห็นว่าขาดสูญ) อกิริยาฑิฏเ (ความุเห็นว่าการกระทำไม่เป็นการกระทำ) อเหตุทิฏเ (ความเห็นว่าผลทั้งหลายไม่ได้เกิดมาจากเหตุ) นัดถิกฑิฏเ (ความเห็นว่า บาป บุญ นรก สวรรค นิพพาน เป็นด้น ไม่มี) จึงจัด เป็นมิจฉาทิฏฐิที่มีโทษหนัก บางอยางถึงห้ามทั้งสวรรค ทั้งนิพพาน ทำ ให้ผู้มีทิฎแหล่านั้นไปสู่อบายถ่ายเดียว ส่วนอันตคาหิกทิฏรูนี้ เป็นมิจฉาทฏฐิเหมีอนกัน แต่ไม่ถึง กับห้ามสวรรค แต่ปีดกั้นการเข้าสู่กระแสนิพพานของบุคคลผู้ยึดมีน ถึอมั่นในข้อใดข้อหนึ่ง ทศพลฌาณ ๑๐ (นิ ๑.ฐานาฐานญาณ ปรีชากำหนด่ร้ฐานะและอฐานะ ๒.กรรมวิปากญาณ ปรีชากำหนดรู้ผลแห่งกรรม ๓.สิรฬโดถคามินิปฏิปทาญาณ ปรีชากำหนดรู้ทางไปสู่ภูมิทั้ฟวง ๔.นานาธาตุญาณ ปรีช่ากำหนดรู้ธาตุต่าง ๆ ๔.นานารมุดดิกญาณ ปรีชากำหนดรู้อธิมุดดิคืออัธยาสัย ของสัดว์ทั้งหลายอันเป็นต่างๆกัน ๖. อินทริยปโรปริอัดดญาณ ปรีชากำหนดรู้ความหย่อน่และ ยิ่งแห่งอินทรีย์ของสัดว์ทั้งหลาย ๗. ฌานาทิอังกิเลสาทิญาณ ปรีชากำหนดรู้อาการมีความ เศร้าหมองแห่งธรรมมีฌาน เป็นด้น ^๑๑

www.kalyanamitra.org ๘.ปุพเ,พนิวาสานุสสติญาณ ปรีชากำหนดระลึกชาติหนหลงได้ ๙. จุตูปปาตญาณ ปรีชากำหนดรู้จุตินละอบดชองสัดว์ทงหลาย ผู้ฟ้นต่าง ๆกันโดยกรรม ๑๐. อาสวกฃยญาณ ปรีชารู้จักทำอาสวะให้สินไป ทศพลญาณ คือ พระญาณกันเป็นกำสังของพระดถาคด ๑๐ ประการ คือ ๑. ฐานฺาฐานญาณ พระปรีชาหยั่งรู้ฐานะและอฐานะคือรู กฎธรรมชาติเกี่ยวกับขอบเขตและขีดขั้นของสิงทั้งหลายว่า อะไร เป็นไปได้ อะไรเป็นไปไม่ได้ โดยเฉพาะในแง่ความสัมพันธระหว่าง เหตุกับผลและกฎเกณฑ์ทางจริยธรรม ๒^ วิปากญาณ พระปรีชาหยั่งรู้ผลของกรรม คือ ทรงสามารถ กำ หนดแยกการให้ผลอย่างสลับซับ^อนระหว่างกรฺรมติกับกรรมชั่วที่ ลัมพัIเธกับปัจจัยแวดล้อมต่าง ๆ มองเห้นรายละเอียดและความสัมพันธ์ ภายในกระบวนการก่อผลของกรรมอย่างชัดเจน ๓.* สัพพัตถคามินิปฏิปทาญาณ พระปรีชาหยั่งรู้ฃ้อปฏิป๋ติที่จะ นำ ไปสู่สุคติทั้ง ทุคติ หรีอพ้นจากคติ หรือพระปรีชาหยั่งรู้ข้อปฏิบตที่ จะนำไปสู่ประโยชนํทั้งปวง กล่าวคือ ทิฎฐธัมมิกัดถะลัมปรายิกัดถะ หรือปรมัดถะ คือ รู้ว่าเมื่อปรารถนาจะเข้าถึงคติหรือประโยชนํ1ด จะ ด้องทำอย่างไร มีรายละเอียดวิธีปฏิปัติอย่างไร ๔. นานาธาตุญาณ พระปรีชาหยั่งรู้สภาวะของโลกกันประกอบ ด้วยธาตุต่าง ๆ เป็นอ่เนก คือ รู้สภาวะของธรรมชาติ ทั้งฝ่ายอุปา- ทนนกสังขารและฝ่ายอนุปาทินนกลังขาร เช่น รู้จักส่วนประกอบ ๖๑๒

www.kalyanamitra.org ต่าง ๆ ของชีวิตสภาวะของส่วนประกอบเหลานั้น พร้อมทั้งลกษณะ และหน้าที่ของมันแต่ละอยาง เช่นการปฏิบตหน้าทีของขันธ อายตนะ และธาตุ่ต่าง ๆ ในกระบวนการร้บรู้ เป็นต้นและรู้เหตุแห่งความ แตกต่างกันของสิงเหส่านั้น ๙. นานาธิมุตตกญาณ พระปรีชาหยั่งรู้อธิมุตติ คือ รู้อัธยาศัย ความโน้มเอียง ความเชื่อถือ แนวความสนใจ เป็นต้น ของสัตว์ทงหลาย ว่าเป็นอยางไร มีอัธยาศัยหยาบ ปานกลาง หรีอประณีต เป็นต้น อันเป็นเหตุให้พระองค์ทรงเลือกธรรมที่จะแสดงแก่คนเหล่านั้น ตาม สมควรคือเหมาะสมแก่อัธยาศัยของค่นแต่ละคนไต้เป็นอยางดี ๖. อินทรียปโรปรีอัตตญ่าณ พระปรีชาหยั่งรู้ความยิ่งและ หย่อนแห่งอินทรียของสัตว์ทั้งหลาย คือ รู้ว่าสัตว์นั้น ๆ มีศร้ทธา วิริยะ สติ สมาธิ ป๋'ญญา แค่ไหน เพียงใด มีกิเลสมาก กิเลสน้อย มีอีนทรีย อ่อนหรีอแก่กล้า สอนง่ายหรือสอนยาก มีความพร้อมที่จะตรัสรู้หรือไม่ ๗. ฌานาทิสังกิเลสาทีญาณ พระปรีชาหยั่งรู้ความเศร้าหมอง ความผองแผ้ว การออกแห่งฌานฺ สมาธิ วิโมกข สมาบติ เป็นต้นว่า คุณธรรมเหส่านี้เศร้าหมองไปเพราะเหตุไร ทำ อย่างไรจึงจะเกิด ความผ่องแผ้วปรากฏขึ้น ๘. ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ .พระปรีชาหอังรู้อันทำให้พระองค์ ทรงระลืกถืงชาติ คือความบังเกิดของพระองค์!นปางก่อน จนไม่ อาจจะประมาณไต้ ทรงทราบรายละเอียดเกี่ยวกับชีวิตของพระองค์ และสัตว์อื่นในชาตินั้น ๆ ว่ามีรูปร่าง พ่อแม่ การศึกษา อาชีพ เป็นต้น อย่างไร ตายจากชาตินั้นแล้วไปเกิดเป็นอะไร ก็ทรงมีพระ ญาณหยั่งรู้โดยละเอียดเช่นเดียวกัน ^ ๖๑๓

www.kalyanamitra.org ๙. จุลูปปาดญาณ พระปรีชาหยั่งรู้จุติและอุบตของสัตว์ทง หลายส์งเกิดมาแตกติางกัน่ในด้านต่าง ๆ มีรูปร่าง ตระกูล เป็นด้น ว่า ที่เป็นเช่นนี้ เพราะกรรมคือก่ารกระทำของสรรพสัตว์ไฝเหมีอน กัน กรรมนั้นเองจึงเป็นผู้แบ่งแยกให้สัตว์เหล่านี้นแตกต่างกัน ทั้งใน ขั้นของการเกิดและการดำรงชีวิตและหรงทราบว่าเขาตายจากโลกนี้ ไปแล้วจะเกิดในภพนั้น เพราะการกระทำของเขา ๑๐. อาสวักฃยญาณ พระปรีชาหยั่งรู้อาสวะ เป็นด้น ที่ควร ละให้หมดสิ้นไป พระองค์ได้ทรงกระทำให้หมดสิ้นไปแล้ว คือพระ ญาณที่ทำให้พระองค์ทรงเป็นพระพุทธเจ้าผู้สมบูรณ์ด้วยพระคุณ อย่างแท้จรีง บารมี ๑๐ ๒. สีลบารมี ๑. ทานบารมี ๔. ป๋ญญาบารมี ๓. เนกขัมมบารมี ๖. ขันติบารมี ๔. วิริยบารมี ๘. อธิษฐานบารมี ๗. สัจจบารมี ๑๐. อุเบกขาบารมี ๙. เมตตาบารมี บารมี คือ การบำเฟ้ญคว่ามดีอย่างยิ่งยวต ด้วยเจตนาและ สัจจะที่มั่นคงแม้ชีวิตก็สละได้ มี ๑๐ ประการ ๑. ทานบารมี คือ การให้อย่างยิ่งยวด เป็นการตั้งใจให้อย่าง แนวแน่ การแบ่งป๋น .การเสียสละ เอื้อเฟ้อเผื่อแผ่แก่ผู้อื่น่โดยไม่ หวังผลตอบแทน ทั้งที่เป็นอามิสทานและธรรมทาน (3๑£

www.kalyanamitra.org ๒. สีลบารมี คือ การร้กษาสีลอย่างยิ่งยวด เป็นการตั้งใจอย่าง แน่วแนในการรักษากาย วาจา ให้เรียบร้อย และเห็นโทษในการทำ ผิดศีล ๓..เนกฃ้มมบารมี คือ การออกเพื่อคุณอัiพิ่งใหญ่อย่างยิ่งยวด เป็นการตั้งใจแน่วแน่ พยายามปลีกกายปลีกใจให้หลุดพ้นจากอารมณ์ อันเป็นเหตุทำให้เกิดความกำหนัด ขัดเคือง หลง มัวเมา เป็นต้นฺ วิธีที่ ดีที่สุด คือ การออกบวช เป็นการออกจากกามที่ดีที่สุด ๔. ป๋ญญาบารมี คือ การดำเนินไปในปฏิปทาอันเป็นไปเพื่อ ความรู้ยงเห็นจรีงอย่างยิ่งยวด เป็นการตั้งใจแน่วแนในการศีกษาหา ความรู้ ทั้งจากการฟัง คิด พิจารณา ไปตามความเป็นจริง แล้วลงมือ ปฏิบติตามจนเกิดผล เมื่อมืมัญญาแล้วกิเป็นกัลยาณมิตรให้แก่ดนเอง และผู้อื่น ให้เห็นความเสื่อมและความเจริญในชีวิดจนเป็นปัญญาขนสูง คือ พิจารณาเห็นโทษในกองสังขาร แล้วหาทางปฏิป๋ติเพื่อให้ตน หลุดพ้นจากการเวียนว่ายตายเกิด ๕. วิริยบารมี คือ การบำเพ็ญบารมีด้วยความเพียรในทางที่ ถูกด้องอย่างยิ่งยวด มีความแกล้วกล้าบากํบั่นไม่ย่อท้อต่อปัญหา อุปสรรคที่จะมาขัดขวางในการทำความดี ที่ตั้งใจทำอย่างแน่วแน่ เพียรพยายามอยู่เรื่อยไปอย่างสมรเสมอ จนกว่าจะบรรลุเป็าหมาย ที่วางไว้ ๖. ขันติบารมี คือ การบำเพ็ญบารมีด้องใช้ความอดทนอย่าง ยิ่งยวด เป็นการอดทนในการควบคุมตนไมให้ทำความชั่วและอดทนต่อ การทำความดีไมให้ท้อถอย ๗. สัจจบารมี คือ .การบำเพ็ญบารมีด้วยการยึดถือสัจจะอย่าง ๖๑๕

www.kalyanamitra.org ยิ่งยวด คือ มีความตงใจว่าจะ'ทาสิ่งใดแล้วก็ทาสิ่งนั้นอยางแน่วแนใม่ ฟลี่ยนความตั้งใจง่าย ๆเป็นคน'ที่พูดจริง'ทำจริง ๘. อธิษฐานมารมี คือ การบำเ'พ็ญบารมีด้วยใจตั้งมั่งอย่างยิ่ง ยวด มีมโนปฺณิธานในรวิตที่แน่นอนมั่งคง ทำ ตามมโนปณิธานที่ตั้งไว้ ด้วยใจที่กล้าหาญเด็ดเดี่ยวแม้ชีวิตก็สละได้ การอธิษฐานจิตที่จะเก็ดผล จริง ๆ ด้องเป็นผู้มีบุญเก่าที่ได้ทำมามากพอ ๙. ฒตตาบารมี คือ การบำเ'พ็ญบารมีด้วยการแผ่เมตตาจิตต่อ สรรพสัตว์อย่างยิ่งยวด มีความรัก ความปรารถนาดีต่อเพื่อนม'นุษย และสรรพสัตว์เสมอกัน หวังแต่ความสุขความเจริญโดยถ่ายเดียว ๑๐. อุเบกขาบารมี คือ การปาเพ็ญ่บารมีด้วยใจที่เป็นกลาง อย่างยิ่งยวด สมํ่าเสมอเที่ยงธรรมไม่มีอคติ ๔ คำ ว่า อุเบกขา นัน้ แปลว่า ความวางเฉย่แต่ไมใช่เฉยเมย รู้จักการวางใจใ'ห้เป็นกลางใน สัตว์'ทุกฺหม่เหล่า โดยติดว่า สัตว์ทั้งหลายมีกรรมเป็นของ ๆ ตน บารมี ๑๐ นั้นปงเป็น ๓ ระตบ คือ ๑. บารมี เช่น. ทานบารมี เป็นการให้วัตถุภายนอก ได้แก่ ป๋จจัย ๔ เป็นด้น ๒.อุปบารมี เช่น การให้อวัยวะ เสือด่เนั้อ ดวงตา เป็นทาน เป็นด้น ๓. ปรม'ตถบารมี เช่น การให้ชีวิตเป็นทาน เป็นการสละ ชีวิตเพื่อรักษาธรรม - มีจฉัตดะ ๑๐ เห้นมิด ๑. มิจฉาทํฏเ ^๑^

www.kalyanamitra.org ๒. มิจฉาสังกัปปะ ดำ ริมิด ๓. มิจฉาวาจา วาจามิด ๔. มิจฉากัมมินตะ การงานมิด ๔. มิจฉาอาสิวะ เลี้ยงสิริตมิด ๖.มิจฉาวายามะ . พยายามมิด ๗. มิจฉาสสิ ระสีก่มิด ๘.มิจฉาสมาธิ ตั้งจิตมิด ๙. มิจฉาญาณะ รู้มิด ๑๐. มิจฉาริมุตติ พ้นมิด มิจฉัดดะ คือ ภาวะที่มิด ความเป็นสิ่งที่มิด ความรู้ที่มิด หลักธรรม คาสั่งสอนของพระพุทธเจ้ามิ ๑๐ ประการ คือ ๑. มิจฉาทิฏฐิ คือ ความเห็นมิด ความเห็นที่เป็นมิจฉาทิฏฐิ นั้นมิความเห็นว่า การให้ทานไม่มิผลจริง การบูชาไม่มิผลจริง (การ ยกย่องบูชาบุคคลที่ควรบูชา) การเซ่นสรวงไม่มิผลจริงฺ (การสงเคราะห์ กัน) ผลของกรรมดีและกรรมชั่วไม่มจริง โลกนั้1ม่มิจริง (ไม่มิที่มา) โลกหน้าไม่มิจริง มารดาไม่มิคุณจริง บิดาไม่มิคุณจริง โอปปาติกสัตว์ ไม่มิจริง (สัตว์ที่เกิดแล้วโตทันที) สมณพราหมณ์ผู้ปฏิบิติดีปฏิบิติชอบ รู้แจ้งเองแล้ว แสดงโลกนี้และโลกหน้าได้แจ่มแจ้งไม่มิจริง ๒. มิจฉาสังกัปปะ คือ ความดำริมิด ได้แก่ ดำ ริที่จะสนอง ตอบความตองการของตนในทางวัตถุกาม ดำ ริที่.เกี่ยวเนื่องด้วย ความพยาบาท ดำ ริในทางที่จะทำให้บุคคลอื่น-สัตว์อื่นลำบาก ๓^ มิจฉาวาจา คือ การเจรจาในทางที่มิด ได้แก่ การพูดดำเทีจ พดส่อเสียดพดดำหยาบพดเพ้อเจ้อ เหลวไหลไร้สาระ ๖๑๙

www.kalyanamitra.org ๙. มิจฉากัมมันตะ คือ การทำงานที่ผิด ได้แก กายทุจริต ๓ คือ การกระทำที่เป็นปาณาติบาต ถือเอาสิงของที่เจ้าข่องไม่ได้ให้ ด้วยวิธีการแห่งขโมยหรือผิดกฎหมาย ประพฤติผิดในทางประเวณี ในสตรืหรือบุรุษที่ตนไม่มีสิทธิ้จะล่วงเกิน ๔. .มิจฉาอาชีวะ คือ การเลี้ยงชีวิตในทางที่ผิต หมายถึง การประกอบอาชีพผิดธรรม ๔ ประการ มีขายมนุษย ขายอาวุธ ขายสัตวเป็นเพื่อเอาไปฆ่า ข่ายนํ้าเมา ขายยาพิษ ๖. มิจฉาวายามะ คือ ความพยายามในทางที่ผิด ได้แก่ การพยายามกระทำในลักษณะที่เพิ่มพูนบาปที่ยังไม่เกิดให้เกิดขึ้น รักษาบาปที่มีอยู่แล้ว ทำ ลายกุศลความดีที่มีอยู่แล้วให้ลดน้อยลง จน่ติวเองหมดความดี ๗. มิจฉาสติ คือ ระลึกผิด ได้แก่ ความระลึกถึงเรื่องราวที่ ไม่ดีทีล่วงมาแล้ว เซ่น ระลึกถึงการได้ทรัพย์ การได้ยศ เป็นด้น ใน ทางอกุศล ๘. มิจฉาสมาธี คือ ตั้งจิตผิด ได้แก่ภาวนาสะกดใจในทาง หาลาภ ในทางให้ร้ายผู้อื่น และในทางนำให้หลงผิด เซ่น นั่งสมาธี เพื่อดูเลขหวย เป็นด้นไม่เป็นไปเพื่อญาณทัสสนะและความหลุดพิน . ๙. มิจฉาญาณะ คือ รู้ผิด ได้แก่ ความหลงผิดที่แสดงอุอก ในการติดอุบายทำความชั่ว และในการพิจารณาทบทวนว่าความชั่ว นั้น ๆ ดนกระทำได้ส์าเร็จแล้ว เป็นด้น ๑๐. มิจฉาวิมุตติ ได้แก่ พ้นผิด คือยังไม่ถึงวิมุตติ สำ คัญว่า ถึงวิมุตติ หรือสำคัญผิดในสิ่งที่ไม่ใซ่วิมุตติว่าเป็นวิมุตติ เมื่อรู้ผิดใจ มันก็หลุดติดไปในทางที่ผิดดามปกติแล้ววิมุตติจะหมายถึงการหลุด พ้นจากกิเลสจากความทุกข เป็นเรื่องดี

www.kalyanamitra.org 1[มมัดดะ ๑0 เห็นชอบ ๑. สมมาทิฏเ ดำ ริชอบ ๒. สัมมาสังกัปปะ ๓. สัมมาวาจา เจรจาชอบ ๔. สัมมากัมมันดร ๔. สัมมาอาชีวะ การงานชอบ ๖. สัมมาวายามะ. ๗. สัมมาสติ เลี้ยงชีพชอบ ๘; สัมมาสมาธิ พยายามชอบ ๙. สัมมาญาณะ ระลึกชอบ ๑๐. สัมมาวิมดติ ดั้งใจชอบ เชอบ พ้นชอบ สัมมัดดะ คือ ภาวะที่ลูก ความเป็นสิ่งที่ถูก ความเที่ลูถ หลกรรรมคำสั่งสอนของพระพทธเจ้ามี ๑๐ ประการ คือ ๑. สั่มมาทิฏเ ความเห็นชอบ คือเห็นว่า การให้ทานมีผลจริง การบูชามีผลจริง (การยกย่องบูชาบุคคลที่ควรบูชา) การเซ่นสรวงมี ผลจริง (การสงเคราะห์กัน) ผลของกรรมดีและกรรมซั่วมีจริง่ โลกนี้ มีจริง (มีที่มา) โลกหน้ามีจริง มารดามีคุณจริง บิดามีคุณจ่ริง โอปปา ติกสัตว์มีจริง (สัตว์ที่เกิดแล้วโตทันที) สมณพราหมณผู้ปฏิบิติดีปฏิบิต ชอบรู้แจ้งเองแล้ว แสดงโลกนี้และโลกหน้าได้แจ่มแจ้งมีจริง ๒. สัมมาสังกัปปะ ความดำริชอบ คือคิดที่จะออกจากกาม ไม่พยาบาท ไม่เบียดเบียน ๓. สัมมาวาจา เจรจาชอบ คือ เว้นจากวจีทุจริต ๔ คือ เว้น ๖๑๙

www.kalyanamitra.org จากพูดเท็จ ๑ เว้นจากพูดส่อเสียด ๑ เว้นจากคำพูดหยาบ ๑ เว้น จากพูดเพ้อเว้อ ๑ ๔. สมมาก้มมันดะ ทำ การงานชอบ คือ เว้นจากกายทุจริด ๓ คือ เว้นจากการฆ่าสัดว์ ๑. เว้นจากลักฉ้อ- ๑ เว้นจากประพฤติผิดใน กาม ๑ jr ๔. สัมมาอาชีวะ การเสยงชีพชอบ คือการเว้นจากอาชีพผิด ธรรม ๔ ประการ ขายมนุษย์ ขายอาวุธ ขายสัตว์เป็นเพื่อเอาไปฆ่า ขายนํ้าเมา ขายยาพิษ ๖. สัมมาวายามะ ความพยายามในทางที่ชอบ ได้แก่ ความ พยายามดามหลักการของลัมมัปปธานทั้ง ๔ คือ พยายามสำรวม ระวังบาปไม่ให้เกิดขื้นภายในจิตลันดาน ๑ พยายามผ่อนคลายและ บรรเทาบาปที่เกิดขึ้นแล้วให้เสื่อมไปโดยลำดับ ๑ พยายามเสริมสร้าง บุญกุศลให้เกิดขึ้นภายในจิตสันดานโดยลำดับ ๑ เพียรพยายามรักษา กุศ่ล ความดีที่มีอยู่แล้วไม่ให้เสื่อมไป ๑ • ๗. สัมมาสติ การระลึกชอบ คือสติปัฏฐาน ๔ ได้แก่ กายานุป้'สสนาสติปัฏฐาน การพิจารณาเห็นกายในกาย เวทนานุปั'สส- นาสติปัฏฐาน การพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนา จิตดานุปัสสนาสติ- ปัฏฐาน การพิจารณาเห็นฺจิตในจิต ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน การ พิจารณาเหนธรรมในธรรุม ๘.สัมมาสมาธิ การทั้มัจชอบ คือ สภาวะที่จิตสงัดจากกิเล่สกาม และวัตถุกามแล้วเข้าปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน อริยมรรคทั้ง ๘ ประการนี้ ขึ้งเมื่อกล่าวโดยสรุปแล้วกิคือ ศีล่ สมาธิปัญญา นั่นเอง - ๖๒๐

www.kalyanamitra.org สัมมาทิฏเ สัมมสังกัปปะ เป็นป๋ฌญาสิกขา สัมมาวาจาสัมมากัมมันตะสัมมาอาชีวะ เป็นสิลสิกขา . สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธ เป็นจิตฺตสิกขา ๙^ สัมมาญาณะ เชอบ คือเมื่อศีล สมาธิ มัญญา เกิดความ สฺมบูรณ์เติมที่ก็จะเกิดญาณผุดขึ้นภายในใจของบุคคลผู้นั้น ทำ ให้รู้แจ้ง แทงดลอ่ดในอริยสัจ ๓ ระดับ คือ สัจจญาณ รู้ว่าอะไรเป็นอะไร คือรู้ว่านี่เป็นทุกข์ นี่เป็นสมุทํย นี่เป็นนิโรธ นี่เป็นมรรค กิจจญาณ รู้กิจที่ควรทำในอริยสัจแต่ละข้อว่า ทุกข์เป็นสิ่งที่ ควรกำหินดรู้ สมุทัยเป็นสิ่งที่ควรละ นิโรธเป็นสิ่งที่ควรทำให้แจ้ง และมรรคเป็นสิ่งที่คว่รเจริญ - กดฌาณฺ รู้ว่าทุกข์ที่ควรกำหนดรู้นั้น ตนไดกำหนดรู้แล้ว สมุทัยที่ควรละก็ได้ละแล้ว นิโรธที่ควรทำให้แจ้งก็ได้ทำให้แจ้งแล้ว •มรรคที่ควรเจริญก็ได้เจริญแล้ว ความรู้ชั้นนี้เริยกว่า สัมมาญาณะ - ๑๐. สัมมาวิมุตติ หลุดพ้น่ชุอบ เมื่ออริยมรรคสมบูรณ์ ก็ เกิดเป็นสัมมาญาณะขึ้นมา มีความเปลี่ยนแปลงทางจิดที่ท่านแสดง ว่า เกิดญาณความรู้ขึ้นมาแล้วจิดก็จะหลุดพ้นจากอานาจของกิเลส เริยกว่า สัมมาวิมุตติ คือ วิดหลุดพ้นในทางที่ชอบ เมื่อวิดหลุดพ้น แล้วก็เกิดญาณขึ้นมา เราหลุดพ้นแล้ว ญาณจะรู้ต่อไปว่าชาติคือ ความเกิดสิ้นแล้ว พรหมจรรยจบฺแล้ว สิ่งที่ควรทำก็ทำเสร็จแล้ว ทำ ให้บุคคลผู้นั้นเป็นพระอรหันต์ ๖๒๑

www.kalyanamitra.org สังโยชน์ ๑๐ กิเลสอันผูกใจสัตว์เรียกว่าสังโยชน์ จำ นนกออกเป็น ๑๐ คือ ๑. สักกายทิฎเ ความเห็นเป็นเหตุถือตัวถือตน ๒. วิจิกิจฉา ความสังเล เป็นเหตุไฝแน์!จในปฏิปทาเครื่อง ตำ เนึนของตน ๓. สิสัพพตปรามาส ความเร่อถือตักติ๋สิทธิ้ ด้วยเข้าใจว่ามี ใด้ด้วยคืลหรีอพรตอย่างนั้นอย่างนี้ ๔. กามราคะ ความกำหนัดด้วยอำนาจกิเลสกามเรียกแตํเพียง ว่าราคะก็มี ๔. ปฏิฆะ ความกระทบกระทั่งแห่งจิต ได้แก่ ความหงุดหงิต ด้วยอำนาจโทสะ เรียกว่า โทสะ โดยตรงห็เคืยวกิมี ๕ ข้อนี้(ป็นสังโยชน์เบื้องดํ่า คือหยาบ เรียกโอรมภาคิยสังโยข่น์ ๖. รูปราคะ ความตัดใจในรูปธรรม เซ่น ชอบใจในบุคคลบาง คนหรีอในพีสดุ่บางสิงหรีอแม้ในวัตถุอันเป็นอารมณ์แห่งรูปฌาน ๗.อรูปราคะ ความตัดใจในอรูป:Pรรม เซ่น พอใจในสุขเวทนา ๘. มานะ ความอำตัญเป็นนั้นเป็นนี่ ๙. อุทธัจจะ ความตัดพล่าน เซ่น นึกอะไรก็เพสินเกินไป กว่าเหตุ ๑๐. อวิชชา ความเขลาอันเป็นเหตุไม่รู้จ่รีง ๔ข้อนี้ป็นสัaโยชน์เบื้องสูง คือ ละเอียดเรียกอุทธ้มภาตัยสัaโยชน์ สังโยชน์ เป็นร่อของกิเลสที่ผูกมัดวัตดึงใจสัตว์ไว้ให้ตัดให้ข้อง อย่ในชาตัใ!เภพ ปกตัจะนอนเนื่องอยู่ในสันดาน ไม่คอยปรากฏออกมา ๖๒๒

www.kalyanamitra.org แต่เมื่อมีอารมณมาหยั่ง ย่อมเกิดขึ้นในทันใด มี ๑๐ ประการ คือ ๑. สักกายฑิฎ่เ ความเห็นฟ็นเหตุถือต'วถือตน ได้แก่ เห็นว่า ขันธ ๔ คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ เป็นตัวเป็น ตนของเราจริง ๆ : ๒.วิจิกิจตก ความสังเลเป็นเหตุไมแนใจในปฏิปทาเครื่องดาเนิน ของตน ได้แก่ความลังเลสงสัยไมแ.นิ1จ ความสงสัยนี้แสดงออกมาใน เรื่อง ๘ ประการ คือ สงสัยในพระพุทธเจ้า ในพระธรรม ในพระสงฆ ในไดรสิกขา คือ ศีล สมาธิ ป๋'ญญา สงสัยในอดีด อนาคต ทังอดีต อนาคต และในกฎของปฏิจจสมุปบาท - ๓. สิสัพพดปรามาส ความเขึ้อถือตักดสิทธิ้ ตัวยเข้าใจว่ามีได้ ด้วยศีลหรือพรตอย่างนั้นอย่างนี้ ถือศีลและวัตรทีงมงายโดยสักแต่ว่า ทำ ดาม ๆ กันไป หรือโดยนิยมว่าขลังว่าตักดิ้สิทธิ้ ด้วยเข้าใจว่าจะมีได้ ด้วยศีลหรือพรตอย่างนั้น อย่างนี้ เชือหมอดู เชือศาลพระภูมิ เป็นด้น ๔. กามราคะ ความกำหนิตด้วยอำนาจกิเลสกาม่ เรืยกแต่ เพียงว่าราคะก็มี กามราคะนั้น ได้แก่ การทีจิดไปกำหนดสิงทีตนเห็น สิ่งที่ดนประสบด้วยประสาทสัมผัส และกำหนดว่ารูปสวย เสิยงไพเราะ กสิ่นหอม รสอร่อย น่าสัมผัส น่าจับด้อง ก็มีความกำหนัดวักใคร่ยินดี ในสิ่งนั้น ๙. ปฏิฆะ ความกระทบกระทั่งแห่งจิต ได้แก่ ความหงุตหงิต ด้วยอำนาจของโทสะ บางครั้งกิเรืยกโทสะตรง ๆ กิมี ลักษณะของ ปฏิฆะ คือ มีความหงุดหงิด ความไฝยินดี ไม่พอใจ ไม่ชอบใจ หรอ ว่าเบื่อหน่ายรำคาญ สังโยชน์ ๔ ข้อนี้จิดเป็นกิเลสเบื้องตำ คือ อย่างหยาบ มชอ ๖๒๓

www.kalyanamitra.org เรียกว่า โอรัมภาคิยสังโยชน์ ใน ๕ ข้อแรกนี้ ข้อที่ ๑ - ๓ ตัดได้ ด้ายโสดาป๋ตติมรรค .ข้อที่ ๔ และ ๔ พระสกทาคามมรรค เพฺยง สามารถทำให้เบาบางลงเท่านั้น ข้อที่ ๔- ๔ สามารถตัดให้เด็ดขาด ได้ด้วยอริยมรรค คือ อนาคามิมรรค bi รูปฺราคะ ความกำหนัด พอใจ ยินดีอยู่ในอารมณ์ของรูป- ฌาน ซึ่งมิความสุข ความสงบ มิปีติปรากฏเด่นมาก ถ้าบุคคลไม่ได้ใช้ ป็ญญุาพิจารณาเห็นจริง ๆ แล้ว โอกาสที่จ่ะทอดทิ้งความสุขในฌาน นั้นก็ทำได้ยาก ๗.อรูปราคะ ความกำหนัดพอใจ ยินดีในอารมณ์ของอรูปฌาน คือ พอใจ\"ติดใจในสุขเวทนา ที่สำ คัญก็คือติดอยู่ในอรูปฌานซึ่งมิ ความประณีดกว่ารูปฌาน . ๘. มานุะ ความถือตัวหรีอความสำคัญตัวว่า เป็นนั่นเป็นนี่ที่ แสดงออกเป็นมาใ4ะ ๙ ประการ ความเป็นผู้เลิศ เป็นผู้เสมอ เป็นผู้เลว กว่าเขานั้นกำหนดโดยชาติ โคดร สกุล รูปสมบด ท่รัพย ศิลปะ วิทยา กฺารงานความฉลาดเฉลียวและอื่น ๆ อันเทียบด้วยของคนอื่น ๙. อุทธ้จจะ ความศิดพลาน เป็นลักษณะของการสร้างวิมาน ในอากาศ คิดอะไรก็เพลิน ๆ ไปไม่ค่อยมิทีศทางอะไรที่แน่นอน ความ ศิดพลานในลักษณะนี้ก็จะละเมิยดละไมลงไปโดยลำตับ แด่ถ้าจิตอังส่าย อยู่ก็ถือว่าเป็นอุทธัจจะ ๑๐. อวิชชา ความไม่รู้แจงในอริยลัจ ๔ คือ ทุกข์ สมุทัย่ นั!รธ มรรค ลังโยชน์ข้อที่ .๖ - ๑๐ นี้ จัดเป็นกิเลสเบื้องสูง คือ อย่าง ละเอียด มิชื่อเรียกว่า อุทธัมภาศิยลังโยชน์ พึงตัดด้วยอริยมรรคข้อ ที่ ๔ คือ อรหัตมรรค ๖๒(T

www.kalyanamitra.org ๑. กๆมราคะ ๒.ฟ่ฏฆะ ๓พ มานะ ๔. ทิฏฐ ๔.วึจึคจพุใ ๖. เลพพตปรามาส ๗. ภวราคะ ๘. รสสา ๙. ม้จฉริยะ ๑๐; อริ^ พงโยชน์ ๑๐ ประการนึ้ ไมโซ่สังโยชน์ที่เรียงโดยลาดับ เซ่น เดียจสัษสังโยชน์ที่กล่าวมาในตอนต้น โดยเต้าเงื่อนก็คืออนุสัย ๗ แสวก็เสิมเขาอีก ๓ คือ สืสัพพตปรามาส รสสาและมจนริยะ มีอเi ๑๐ ประการ คือ ๑. กามราคะ'ความกำหนัดในวตถกาม คือ รูป เอียง ถอีน รส โผฏเพพะ ต้ว่ยอำนาจของกิเลสกาม มีความยินดี ความพอใจ ครามชอบ่ใจ ความโลภ เป็นตนใน^^อป ๒. ปฏฆิะ ความกระทบกระทงหางใจ ความหงุดหงิดอันเกิด จากความไฝยินดี ไฝพอใจ ไม่ชอบใจ หรีอ่ความรำคาญ เป็นต้น ก็ กํอ่ใหเกิดเป็นปฏฆะขึ้นมา ๖๒ร:

www.kalyanamitra.org ๓. มา^UI; ความถือตัวว่าเราเป็นนั่นฟ้นนี่ จนบางคเ3บาง ■คราวก็กลายเป็นดูถูก ดูหมิ๋น่ตัวเอง ยํ่ายีตัวเอง หรือดูหมิ่นบุคคล อื่น หรือตีเสมอบุคคลฺอื่น ตามสมควรแก่ก่รณ แต่ชั้นของสังโยชนั่ เป็นพั้ของความรู้สิกภายในใจ'ที่ไฝฟูขึ้นกลุ้มรุมใจ ไฝใซไปแสดงออก ภายนอก เห็นว่า การให้ทานไฝมีผล การบูชาไฝมีผล คณบิดามารดาไฝมี โลกนี้ไม่มี โลกอื่นไฝมี กรรมที่สัดวทำทั้งตีที่งชั่วไฝมี ๙.,วิจิกิจฉา ความลังเลสงสัยฺไฝแนไจ ความสงสัยนี้แสฺดงออก มาในเรื่อง ๘ ประการ คือ สงสัยในพระพุทธเจิา ในพระธรรม ใน พระสงฆ์ ในไดรสิกขา คือ ศีล สมาธิ ป๋ญญา สงสัยในอตีด อนาคด ทั้งอตีดอนาคด และในกฐของปฺฏิจจสมุปบาท - ๖. ลีสัพพตปรามาส การถือ่มั่นด้วยศีล .ด้วยวัตร ฤกษ ดวงดาวหรือจักรราศี ตลอดถึงรูปแบนพิธิกรรมต่าง ๆ ถือศีลและ วัดรที่งมงาย ความถือศีลพรดโดยสักว่าทาดาม ๆ ตันไป 1ส์อโดย นิยมว่าข.ลังว่าตักดิ้สิทชั่ ด้วยเขาใจว่าจะมีได้ด้วยศีลหรือพรตอย่าง นั้ผ. อย่างนี้ เป็นด้น ๗. ภวราคะ.ความถาหนิดในภพ ห่มายถืง คุวามกำห']^รนด ในกามภฺพ รูปภพ และอรูปภพ ยุงอยากเวียนฺว่ายตายเกิดอยูในภพ.๓ ๘. อิสสา ความริษยา .ความรู้สึกไฝพอใจ เห็นเขาได้ตีทน อยูใฝได้ ไฝอยากให้ใครตีกว่าตน ความคืดตัดรอนผูที่ตีกว่าตน .ความ หึงหวงเป็นอาการของโลภะ เพราะดนอยากได้เสึยเอง ๖๒๖

www.kalyanamitra.org - ๙i สัจฉรยะ ความตระหนี่ ครามุหวง ความุติคในสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ไม่ต้องการให้คนอื่นเข้ามาเกี่ยวข้องกับ่สิ่งเหล่านั้น. ท่านจำแนกไว้ ๕ ประการ คือ อาวาสมัจฉริยะ ตระหนี่ทึ่อยู่ ๑ ทุลมุจฉริยะ ตระหนี่ สกุล ๑ ลาภมัจฉริยะ ตระหนี่ลาภ ๑ ว้ณณมัจฉริยะ ตระหนีวรรณะ ๑ ธัมุมุมัจฉริยะ ตระหนี่ธุรรมุ ๑ . .๑๐. อริชชา ความไม่เไต้แก่ ความไม่รู้อริยสัจทง ๔ ประการ กับความใมุ่รู้อดีต อนาคต ทงอคืตอนาคต ,และกฎขอ๗ฏิจจสมุปบาท ฉะนั้นชาวฺโลกทงหลายไม่ว่าจะเป็นใครก็ต้าม ถ้ายังไม่บรฺรลุธรรม เป็นหระอรหันต์ก็ชื่อว่ามีอริชชาอยู่จะมุากหรือนีอยเท่านัแ สิญญ!ต0 ๑. อนีจจสัญญา ก่าหนดหมายความุไม่เทียงแห่งสังขาร t.o อนดตสัญญา ก่าหนดหมุายความุเป็นอนตฺตาแห่งธรรมุ ทงปวง ๓. อสุภสัญญา กำ หนดหมายความไม่งามแห่งรางกาย ๔. อาทีนวสัญญา กำ หนดหมุายโทษทุกข์ของกายํยันมีความ เจ็บไข้ตาง ๆ ๔. ปหานสัญญา กำ หนดเพึ๋อละอกุศลริตกและบาปธรรมหัง หลาย ๖.ริราคสัญญา กำ หนดหมาย่ริราคะว่าเป็นธรรมละเอียดประณีต ๗.นีโรธสัญญา กำ หนดหมาย่นีโร่ธว่าเป็นเธรรมละเอียดประณีต ๘. สัพพโลเก อนภรดสัญญา กำ หนดความไม่น่าเฟลิดเฟลน ในโลกทั้งปวง ๖๒๙

www.kalyanamitra.org k เพพร๒!๚รส อ์%1ฐ1^5|ญา หฺาห่นลฉ่จาม!ฟปฺร เท^ สังขารทั้งป่วง ๑0. อานาฟ้าพสสิ สตmพนดลมหายใจเขาออ่ท สัญญา เฟลว่า ความจำ แตในทึ๋นี้ทานหมายเอาการกาห่นด หฺมาย หรอทำความเจกสังขารธรรมทั้งหลายตามความเป็นสริง ท่านแมงออกเป็น ๑๐ ประเภท ฝ็อธิบายดังนี้ แสค่งว่า อนจจังเพราะเกดและเสือมไป๋ เพราะมการแปรปรวน เปลี่ยนแปลงและเพราะดารงอยูไสืเพยงชวคราว ๒. อนตตสัญญา คอ ท่านบอกว่าธรรมทั้งหลายเป็นอนัตตา คือ เป็นอนัตตาหมดทั้งที่เป็นสังขารและวิสังขาร คือที่ปราศจากการ ปรงฺแดง สักษกเะแหงอนัตตา คือ สังขารทั้งหลายไม่อยู่ในทำนาจ ของใคร ไม่มีใครเป็นเจ้าของอย่างแท้จริง.เมอ่แยกย่อยออกแล้ว่ เป็นสิงว่างจากดวดน แตในที่นี้ท่านบุ่งใท้พิจารณาสังขารทั้งหลายว่า เป็นอนัตตา ๓. อสุภสัญญา คือ การกำหนดหมายใหเหนความไม่สวยงาม แห่งร่างกายตนและคนอื่น โดยแยกออกพิจ่ารณาให้เหนโดยสืเ โดย สัณฐาน โดยกลิ่นโดยที่เกดโดยที่อยู่ ของฃัน&๕สันรวมดันเป็น กายล้วนแล้วแต่เป็นของปฏิถูลทั้งนัน มีการไห่ลเข้าไปไหลออกมา ของสิ่งปฏิกูลอยู่เป็นนิตย ๔. อาทีนวสัญญา คือ การกำหนดรู้ว่า ร่างกายนี้ประคอบล้ฝ็ย

www.kalyanamitra.org โทษเป็นที่รวมแห่งสิ่งฺสค!เรก เป็นฺรงของโรค: ตองมีคารเปีอยเน่าMu ที่^ต ความแตกดบฃองร่างคายพั้ จะเกิดเนเมอเรก็คาหนดใร111 คาร่น่ารงฺ)1ยงร่างคาอนี๊ฟึนฒชุเฟง^5คขคยน้าฒปร^^ '๔. ปหานสัเบญา คอ คารคํ^หนตรูวา อกุพลทั้ง่หลาย อน สืบเนื่องมาจาคความโลภ ความโครธ ความหลง ทำ ความเศร้าหมองให้ เกิค^iเสืต ซีวตซองคนที่ทำ คด โปตามอำนาจของอqศล ยอ่มมสคไปดวยบาป มากโปด้วย่ทุกขภ้ยนานาปร^การ อกุศลทง หลายแม้เ.เตเพียงเล็กนอยก็ควรละ ๖. วิราดสัญญา คือ การกำหนดเว่าราคะ คือความกำหนด ในรูป เสืยง กลิ่น รส สัมผส แสะอารมณ์ที่งหลายนั้น เป็นเหตุแห่ง ความทุคขฺนั้ฟ้นขณะเคดความกำหนั้จฺ ขณะแสวงหา ขณร มา และมี.การโวิในครอ่บครอง ตลอดถึงการพลัดพรากจากลิ่งนั้น เป็น ทางแห่งทุกข การปราศจากความกำหนดลัดเป็นลิ่งที่พีงปรารถนา เพราะวาวิราคธรรมเป็นยอดแห่งธรรมทั้งหลาย ๗. น่โรธสัญญา คือ กำ หนดรู้ว่านิโรธ คือ ความดับโปโดย โมเหลือแห่งดัณหาทั้ง ๓ ทำ ให้จิตของบุคคลนั้นสละดัณหาเหล่านั้น ถ่ายถอนความทะยานอยากเพราะดัณหา จิตหลุดพ้นจากดัณหา .อย่างเ^จริง. และจิตจฺะโฝมีความอาลัยในดณหาที่ละโดแส้ว นิโรธ จึงเป็นเร่าหมายสูงลุดฃองพระพุทธศาสนา ๘. สัพพโลเภ่ อนภรตสัญญา คือ. การกำหนดรู้ว่าสรรพลิ่ง ทั้งหลายในโลกนี้ โม่น่าเพลิดเพสินยินดีแต่ประการใด การสร้าง ความรู้สืกเห่นนี้1ห้เกิดขึ้นโดี ทำ ให้บุคคลผู้นั้นสามารถระวังจิตของ ตน โม่ให้เกิดความกำหนดพอใจ ติดใจในโลกียารมณ์ทั้งหลาย ■๖๒๙

www.kalyanamitra.org ๙. ส์พพฺ0h8ขาเรสุ อุนิแฐสญญา ๑อ การกำหนดหมายจ่า สังขารทั้งหลายอันฺมีความไมเที่ยง เป็นทุกข์ เป็นยนดตา ดามธรรม:ด่า นนไมน่ายินดีพอใจแตประการใด เพราะการกำหนัดยินดีในสิ่งเหล่า นั้นเป็นทางนำทุกขมาให แม้แต่การยุดถือสิ่งนั้น:ก็เป็นทุกข์อปางยิ่ง อยู่แล้ว ๑๐. อานาปานสติ คือ การตั้งสดีกำหนดดูลมหายใจPาและ สมหายใจออก ที่งเป็นอารมณ์ข่อง่สมถกัมมัฏฐานประการหนึ่งใน อารมณ์ ๔๐ ประการ และเสินกรรมฐานที่พทธบริษทฺนิยมปฏบติกัน มาก เพราะเป็นกรรมฐานที่เหมาะแก่คนหลายจริด ดงนั้นการพยายามเหนึ่ยวยึดกำหนดสัด่วสังขารตามแนว สัญญา ๑๐ ประการอฺยู่สมาเสมอ ย่อมซวยใหเกิดความรู้เทาทัน อารมณ์- ข์มใจ ห้ามใจ ไมให้กำหนัด ขัดเคือง ลุ่มหลง มัวเมาได้ โดยลาดับ ทัาให้ได้รับความสุข ความสงบเพิ่มขึ้นตามสมควร สัทธรรม ๑๐ ๒.ปริยิติธรรม๑ ๑. โลกุตรธรรม๙ สัทธรรม คือ คำ สั่งส่อนของพระพุทธเจ้าที่ทรงแสดงไว้เป็น หลก่ปฺฏษตเพิ่อความอยู่เป็นสุข ตลอดถืง่เพิ่อ่ความหลุดฬนจาก ความทุกข์ สัทธรรม ในที่บางแห่งท่านแบ่งได้เป็น ๓ คือ ปริรติสัท- ธรรม ปฏึป็ติสัทธรรม แล๗ฏเวธสัทธรรม สัทธรรม ๑๐ มี โลกุตดร- ธรรม ๙ คือ ใส่ตาป็ตดีมรรค ใส่ด่าฟ้ตติผล สกทาคามีมรรค สกท่าคามีผล ๖๓๐

www.kalyanamitra.org อนาคามมฬคอนาคามิผล อรหดมรรค อรหัตผล และนพพาน ดือ ฑารดับเพลิงกิเลสแลุะเพลิงทคข์ของ พระอร]ยุเจ้าหั้งหลาย . ปฺริยดัดัทธรรมนน ดือ เรื่อง^จฺะต้องศึกษาเรียนรู้หลักุธรรม ทื่พระชุ่ทธเจ้าทรงแสดงไว้ ไนการศึกษานน ทรงจำแนกุการศึกษา ขก่ง!^คลไว้เป็น01ประเภทดือ ' . ๑. อลดัททูปมปริยัด ดือ กุารเรียนในลิ'กุษณะของงูพิษฺ ต้องการจะนำไปโต้ตอบวาท.ะเอาชนะคะคานร่งกันและกัน ๒. นิสสรณปริยัด ดือ การศึกษาเพื่อนำตนให้หลุดพ้นจาก อำ น่าจชฺองอ:บายมุข ความชั่ว ณลส่ และความทุกข์ในสังสารวัฏ เป็นต้น s 8)..ภ๙เฑาคาริกปริยัดดือ.การศึกษาของพระอริยบุคฺคลร่ง ท่านจุะต้องพ้ง,ธรรมะที่พระทุทธฺเจ้าทุรงแ.สุดง เช่น พระอานนท บรรลุโสุดาบนแล้วแตกต้องฟังเทศนํทุกกัณฑ พระสารีบดรและพระ โมคดัลลานะ ท่านบรรลุเป็นพระอรหันต์แล้ว ท่านก็ต้องฟัง ฟังใน ฐานะเหมือนขุนคสัง ดือรักษาทรัพย์สุมมดเอาไว้ให้คุน่อื่น่ พระอรหันต์ ที่งหลาย ท่านก็ต้องศึกษาเหมือนกัน - แต้ศึกษาเพื่อนำไปสั่งสอน บอกกล่าวชั่แจงถึงหลักธรรมที่พระพทธเจ้าได้ทรงแสดงเอาไว้ ปริยัติสัทธรรม ได้แก่เรื่องที่ทุกคนจะด้องศึกษฺา เมื่อศึกษา แล้วก็นำไปประพฤติปฏิบติเป็นปฏิป๋ติสัทธรรม พอปฏิบติไปถึงจุดหนึ่ง แล้ว ท่านกุเข้าถึงโลํกุดรธรรมทั้ง ๙ กันเป็ใฟวนแท่งปฏิเวธสัทธรรม ๖๓๑

www.kalyanamitra.org สัทธรร่ม ๓ กฺบสัทธรรม (5)๐ จึงเป็นการ่พูพึเส์อฟ้เดียวกัน il^ni^ฒสิเ!ธิรฒQmค หมวด ๑๐ ๑.ฟIรอนพระผ้มีพ^ร^คใม่ทรงฺพยาjfiรณ์ ดีอไฝดร^ถฺง่เพร่าะเหตุไร? ดิอบ กันตคาหิกทิฏเ ๑๐ กันพระผ้มีพระภาคไฝทรงพยากรณ เพราะไม่ประกอบฺดีวยประโยชน ไมเป็นวาทะพรหมจรรiff และไฝ เป็นไปเพื่อนิพพิทา วิราคะ นิโรธะ อุปฺสมะ สัม่โพธะ นิพพานะ เพราะเหตุนั้น จึงไม่ทรงพยากรณ์ ๒. นานาธาตุญาณ ฟานหมายเอาการเอย่างไร? . ตอ่บ ฟานหมายํเอาอาการรู้จักธาตุต่าง ๆ เช่น คนและสัตวิ รุ่งมี รูปพรรณสันฐานต่าง ๆ กัน แล้วสมมติเรียกว่า รูปนั้นอย่างนั้น เป็นคน อย่างนี้เป็นสัตวิ แต่เมื่อแยกออกจากสมมติแล้ว ก็เป็น เพิยง ขนธ ธาตุ อายตนะ อย่างหนึ่ง เมื่อส่ว่นเหล้านี้รวมกันเข้า ต่างหาก จึงสมมติเรียกชื่อกันไปต่าง ๆ รู้จักแยกสมมติออกเช่นนี้ เรียกว่า นานาธาตุญาณ et). บารมีดีออะไร มีกึ๋อย่างอะไรบ้าง? ตอบ บารมี คือ ตุณสม่บ้ติหรีอปฏิปทากันยอดเยี่ยม มี ๑๐ อย่างคือ ๑. ทาน ๒. ศีล ๓. เนกขัมมะ ๔. กัญญา ๙. วิริยะ ๖. ขันติ ๗. สัจจะ ๘. อธิษฐาน ๙. เมตตา ๑๐. อุเบกขา ๖๓๒

www.kalyanamitra.org ๔. สละaib อย่างไร แรเนทานอุปบารม? ตอบ่ สละอวัยวะแหงร่างกาย พยายามเพื่อจะทฺาประโยชน์หรือ เปลื้องท่กฃแก่ผู้อื่น แต่ตองเสยสละอวัยวะของตนโนการฟาอุย่าง นั้นวัดเป็นขั้น ทานอุปบารมี ๙. สละอะไร อย่างไร วัดฟ้นทานปรม'ตถบารมี? ตอบ สละชีวิตเพื่อประโยชน์แก่คนมากหรือเพื่อเปลื้องทุกข์แท่ ผู้อื่น วัดเป็นขั้นทานปรมตกบารมี ๖.บารมี สัออะไร อธษฐานบ่าร่มี สือการทำอย่างไร? ตอบ่.ปฐปทาอันยิ่งยวด หรือคุณธรรมที่ประพฤติอย่างยิ่งํยวด' ได้แก่ ความดีที่บำเพ็ญอย่างพิเศษ เพื่อบรรลุเป็าหมายสูงสุด คือ ความตั้งใจนั้นตัดสินโจเติดเตี่ยว วางจุดหมายแห่งการกระทำ ของตนไว้แน่นอนและดำเน์นดามนั้นอย่างแน่วแน่ ๗. มีจฉตตะ คืออะไร มีอะไรบ้าง มีจฉาวายามะ ได้แท่พยายามผด อยางใร? ตอบ ความเป็นสิงที่ฝ็ด ft ๑. มีจฒทิฏเ ๒. มีจฉาสังกัปปะ ๓. มีจฺฉาวาจา ๕. มีจฉ่ากัมมี'นตะ ๔. มีจฉาอาชีวะ ๖. มีจฉาวายามะ ๗.มีจฉาสติ ๘. มิจฉาสมาร ๙. มิจฉาญาณะ ๑๐. มิจฉาวิมตติ มิจฉาวายามะ ได้แก่ พยายามในทางอังบาปธรรมให้เกิดขั้น และให้เจริญ และในทางอังคุศลธรร่มไม่ให้เกิดขั้นและให้เสื่อมสิ้น ๖๓๓

www.kalyanamitra.org ๘. สังโยชน์ ดืออะไร พระโสุดๆบันละสังโยชน์อร ตอบ คือ กิเลสอันผูกใจสัตว์ไว้ ละสัง^ชน์ ๓ เบื้องต้นได้ขาด คือ ๑. สักกายฺฑิฏเ ๒. วิจิกิจฉา ๓..สีสัพพตปรามาส ๙..พุระโสดาบันแปลว่าอะไร ? ตอบแปลว่าผู้แรกเข้าถึงก.ระแสพระนิพพาน ๑๐. สังโยชน์อะไรเรียกว่าโอรมภาดืยสังโยชน์มีอะไรบ้าง? ตอบ สังโยชน์เบื้องตํ่าดืออย่างหยาบ เรียกว่า โอรมภาคืยสังโยชน์ มี ๔ อย่าง คือ ๑. สักกายทิฏเ ๒. วิจิกิจฉา ๓.สีลพพตปรามาส ๔. กามราคะ . - ๔. ปฏิฆะ ๑๑. กิเลสที่ไต้ข้อว่าอนุสัยและไต้ชื่อว่าสังโยชน์มีอธบายอย่างไร? ตอบ กิเลสที่ไต้ชื่อว่าอนุสัย เพราะเป็นกิเลสอย่างละเอียด นอนเนื่อง อยู่ในสันดานของสัตว์ มกไม่ปรากฏ ต่อเมื่อมีอารมณมายั่วจึง ปรากฏขึ้น กิเลสไต้ชื่อว่าสังโยชน์ เพราะเป็นกิเลสที่ผูกใจสัด่ว์ ไว้กับภพไม่ให้หลุดพ้นไปไต้ ๑๒.สัผผา ๑๐มีมาในสูตรไหน ทรงแส่ตงแก'ใคร ทำ ไมจึงต้องแสตง แก'ท่านผู้นี้เทำนั้น จะแสตงแกผู้อื่นบ้างไม่ไต้หรีอ่ ชอความเห็น? ตอบมีมาในคิริมานนทสูตรทรงแสดงแก่พระอานนทํ แล้วให้ พระอานนท์ไปแสดงแก่ พระคิริมานนท์ การแสดงนั้นไมใช่จะแสฺดง ได้แก่ท่านผู้นี้เท่านั้น แมุ้แก่ผู้อึ่นกิแสดงไต้ แต^สัยข่องพระพุทธเจ้า ๖๓ร:

www.kalyanamitra.org เมื่อจะทรงแสดงธรรมเทศนาแกใคร ก็ต้องพจารณาดูอุปนิสัยแสะ เหตุการฟ้แล้วเลือกหาธรรมมาแสดงให้เหมาะสม เพื่อให้!ดุประ^ซุน แก่ผ้ห้งจริง ๖๓ร:

www.kalyanamitra.org เอกาทสกะ คือหมวด ๑๑ ป๋จจยาการ ๑. เฟราะอวิชชา ฟ็นป๋จจัย จึงผีสังขาร ๒. เพราะสังขาร เป็นป๋จสัยจึงผีวิญญาญาณ ๓. เพราะวิญญาณ เป็นifจจัย จึงผีนามรูป ๔. เพราะนามรูป เป็นป็จจึย จึงผีสฬายดแะ ๕. เพราะสฬายดนะ เป็น!โจสัย จึงผีผัสสะ _ ๖. เพราะผัสสะ เป็น!โจจัย จึงฺผีเวทนา ๗,เพราะเวทนา เป็นปัจจัย จึงผีตณหา ๘. เพราะผัณหา เป็นปัจจัย จึงผีอุปาทาน ๙. เพราะอุปาทาน เป็นปัจจัย จึงผีภพ ๑๐. เพราะภพ เป็นปัจจัย จึงผีชาติ s ๑๑. เพราะชาติ 1ป็!(ปัจจัย จึงฺผีชรา มรณะ โสกะ ปวิเทวะ ทุกข์ โทมนัส อุปายาส ฟ้[นอนว่ากองทุกข์ทั้งมวล๓ดชื้น#3ยประการ อย่างนี้ ปัจจยาการ คือ อาการที่เป็นไปแห่งปัจจัย หรืออีกนัยหนึ่ง ๖๓๖

www.kalyanamitra.org เรียคุว่า .ปฏิจจส์มปบาท คือ คุารฺเกิดพึ้พเอพฒงธรร34ทั้งหลาย เพราะอาศัยกิน หรือธรรมที่อาศัยกินเกิดขึ้น ๑. อรืช่ชา ความไม่เคือฺไ,ฝเIนอ่รืย.ส'จ่.๔.หรอ อวชชา ๘ ๒.สงขารสภาพที่ปรุงแต่ง.ได้แคุ่ กายสังขาราเสังขาร จิตตสังขา^อปญญาภิสังขาร อป^ญฺากิสังขาร และอเนญเชากิสังขาร ๓.วิญญาณ ความ!แล้งไนอารมณ์ ได้แก่ วิญญาณ ๖ ๔./นามรูป นามและรูป■นามได้แก่ เวฺทนา :สัญญา เจตนา ผัสสะ มนสิการ รูป ได้แก่ มหิาภตรูป ๔ และอปาทายรูป ๒๔ รวมเรียกว่า รูป ๒๘ ๔. สฬายดนะ อายตนะ ๖ ได้แก่ อายตนะภายไน ๖ . ๖..ผัสสะ ความฺกระทบ หิมายถึง การกระทบกันแห่งอายตนะ ภายไนและ:ก่ายนอุก ได้แก่ สัมผัส ๖ ๗. เวทนา ความเสวยอารมณ์ ได้แก่ เวทนา ๖ ๘..ศัณหา ความทะยานอยาก ได้แก่ ตัณหา ๖ มีรูปตัณหา ๙,^ปาทาน ความยึดมั่น ได้แก่ อุปาทาน ๔: ๑๐. ภพ ภาวะแห่งชีวิต ได้แก่ ภพ ๓ คือ กามภพ ๑ รูปภพ๑.อฺรูปภพ๑ ' ๑๑. ชาสิ ความเกิด ได้แก่ ความ.ปรากฏแห่ง.ขันธ์ทังหลาย คือ การได้อายตนะ ๑๒..- ชฺรๆมรณะ ความแก่และความตาย ได้แก่ ชรา ความ เสื่อมอาย.กับมรณะ ความสลายแห่งขันธ์ องคืทัง ๑๒ นี้ เปีน&จิ'ยต่อุเนื่องกันไป หมนเวียนเป็น ๖๓6/

www.kalyanamitra.org วง่จรไม่มีต้นไม่มีปลาย เรียกวา ภว่จักร คือ วงลอก้บวงจรแหง/m ปัญหานละเฉลยธรรมวิภาค หมวด ๑๑ ๑. อุปาทานเกิดเนเพราะอ่ะไร? ตอบ อุปาทานเกิดขึ้นเพราะมีต้ณหา ตามบาลีว่า ตณฺหาปจฺจยา อุปาทานํอุ่ปาทานมีเพราะมีตัณหาเป็นเหตุ ๒. ฝิอมั่นชนิด่ใดจ้ดเป็นอุปาทาน? ต่อม ถือมั่นข้างเลว ไต้แก่ ถือรั้น จัดเป็นอุปาทาน ๓.สังขาร เฝลว่ากระไร สังขารในม่ฏิจจสมุปบาททานหมายเอๆอะไร ทาไมจึงว่ามีอวิชชาเป็นปัจจัย? ตอบ สังขาร แปลว่า สภาพอันปัจจัยปรุงแต่งก็ไต้ แปลว่า สภาพผู้ ปรุงแต่งก็ไต้ นยต้นหมายเอาสังุสารคืเป็นส่วนผล นัยห่ลังหมาย่ เอาลังขารที่เป็นส่วนเหตุ ในปฏิจจสมุปบาททานหมายความ นึกคืดขึ้งจัดเป็นลังขารส่วนเหตุ. ลังขารนี้จะมีขึ้นก็เพราะอวิชชา คือความไม่รู้เป็นปัจจัย เพราะอาศัยความไม่รู้นั้นเอง จึงต้องนึกคิด เพื่อใหรู้ ถ้ารู้แล้วก็ไม่ต้องนึกคิด เพราะฉะนั้น ทานจึงจัดอวิชชาว่า เป็นปัจจัยไหเกิดลังขาร ๔. สังขารในปฏิจจสมุปบาทอับสังขารในขันธ์ ๔ ประส่งค์เอาสังขาร อย่างเคืยวกนหรีอต่างอันอยางไร? ตอบ ถ้าเพ่งเฉพาะสังขารแล้ว ในปฏจจสมุปบาทอับในขันธ์ ๕ เป็นอย่างเดียวอัน ถ้าเพ่งเอาขันธ์ ๕ ก็ต้องต่างอัน คำ ว่าสังขารใน ปฏิจจสมุปบาทหรีอในขันธ์ ๔ ก็ดาม ฟานประสงค์เอาลังขารส่วน เหตุแต่ขันธ์ ๔ นั้น จัดเป็นสังขารส่วนผล ๖๓0?

www.kalyanamitra.org ๔. สมุทัยวาร ทับ นิโรธวาร ในปฏิจจสมุปบาทต่างทันอย่างุไร? ตอบ สมุทัยวาร คือการแสดงความเกิดแห่งผล เพราะเกิดแห่งเหตุ ส่วนนิโรธวาร คือ การแสดงความดบแห่งผล เพราะดบแห่งเหตุ ๖. กำ แห่งทังสารจักรได้แก่อะไร จงแสดงมาไห้ครบ? ตอป ได้แก่ อวิชชา ตัณหา อุปาทาน กรรม ๗.จงแสตงที่เกิตที่ตับแห่งตัณหา ? ตอบ อายต^เะภายไน อายตนะภายนอก วิญญาณ ทัมผัส เวทนาทัญญา สัญเจตนา ตัณหา วิตก วิจาร นี้ที่เกิดแห่งตัณหา เกิดที่ไหนตับฺที่นั่น ๖๓๙

www.kalyanamitra.org ทวๆทฺสิกะ คือหมรด ๑๒ กรรม่ ๑๒ ^เป็น ๓ หมวด ๆ ละ ๔& รวมเป็น กรรม ๑๒ ดงนี้ หมวดที่ ๑ ให้ผลตามคราว คือ กำ หนดเวลาที่จ่ะให้ผล ม ๔ ข้อ ๑. ทิฏฐธรรมเวทนียกรรม คือ กรรมให้ผลในภพนี้(ชาตินี้) ๒. อุปป๋ชชเวทนียกรรม คือ กรรมให้ผลต่อเมื่อเกิดในภพหนา (ชาติหน้า) ๓. อปราปรเวทนียกรรม คือ กรฺรมให้ผลในภพสืบ ๆ ไป (ชาติต่อ ๆ ไป) ๔. อโหสิกรรม คือ กรร^ให้ผลเสร็จแล้ว(ยกเลิก) หมวดที่ ๒ ให้ผลดามกิจ คือ ตามหน้าที่ของดน ๆมี ๔ ข้อ ๔.ชนกกรรม คือ กรรมแต่งให้เกิด(นำไปเกิด) ๖. อุป๋ตถมภกกรรม คือ กรรมสนับสนุน .. ๗. อุปปีฬกกรรม คือ กรรมปีบคั้น ๘. อุป'มาดกกรรม คือ กรรมดดรอน หมวดที่ ๓ ให้ผลตามลำดับ คือ ดามความหนักเบฺาขอ่งกรรฺมนฺน มี ๔ ข้อ bCETO

www.kalyanamitra.org ๙. ครุกรรม คือ กรรมหนัก ๑๐.พหุลกรรม คือ กรรมเคยรน ๑๑. อาส้นนกรรม คือ ก่รรมเมื่อจวนเจียน(กรรมใกล้ตาย) ๑๒. กส์ตตากรรม คือ กร่รมสกว่าทำ กรรม คือ การกระทำที่ประฤอบด้วยเจตนา เป็นคำกลาง ๆ ถ้าการกระทำนั้นเป็นความดี เรียกว่า คุศลกรรมิ ถ้าการกระทำนัน เป็นความชั่ว เรียกว่า อกุศลกรรม ในทีนี้หมายถึง การให้ผลของ กรรมที่ทำไว้โดยประการต่าง ๆ หมวดที่ ๑ ให้ผลตามคราว คือ กำ หนตเวลาทีจะให้ผล มี ๔ ข้อ . ๑. ทีฎฐธรรมเวทนียกรรม คือ กรรมให้ผลในภพนั้(ชาดีนั้) หมายถึง จะได้รีบผลในชาดีนี้เลุย โดยไม่ด้องรอชาดีหน้า แบ่งเป็น ๒ อย่าง ๑.๑ ปรีป๋'กกทีฏฐธรรมเวทนียกรรม ได้แก่ กรรมทีมีกำลุง แกกล้าสามารถให้ผลในชาดพี้ไายใน้ ๗ วัน ๑.๒ อปริป๋'กกทีฏฐธรรมเวทนียกรรม ได้แก่ กรรมทียังไม่ แก่กล้าเต็มที่ แต่จะได้รับผลต่อเมื่อล่วฺงเลย ๗ วันไปแล้ว ๒. อุปป๋ชชเวทน้ยกรรม คือ กรรมให้ผลต่อเมีอ่เกดในภพห่น้า (ชาติหน้า) หมายถึง เป็นกรรมทีให้ผลในภพทีส่อง เปนกรรมทีไดรบ ผลเมื่อฺสินใจ่จาก■ภพยัจจุบนเข้าสู่ภพที่สอง แบ่งเป็น ๒ อย่าง ๒.๑ อุบ่ปั'ชชเวทนียกรรมิ ฟ้ายกศุล คือ กรรมหนักฝ่ายกุศล ๒.๒ อุปป๋'ชชเวทนียกรรม ฝ่ายอกุศล คือ กรรมหพาฝ่ายอกุศล ๓ อปราบ่รเวฑนืยกรรม คือ กรรมให้ผลในภพสิบ ๆ ไป (ชาติต่อ ๆ ไป)หมายถึง จะได้รับผลแห่งกรรมในชาดดอ ๆ ไป ดง ๖<£๑

www.kalyanamitrra.org แตชาติที่ ๓ เป็นต้นไป เป็นกรรมที่หลบหนึ!ฝพ้น- เมื่อกรรมนนไต้ ช่องก็จะส่งผลทันที (ต้องรอกรรมให้ผลก่อนจึงจะฟ็นอโหเกรรมไต้) ๔. อโหสิกรรม คือ กรรมให้ผลเส แล้ว (ยกเลิก) หมายถึง กรรมที่ล่วงเลยเวลาที่จะส่งผลให้ผู้เป็นเจ้าของกรรม อันไต้แก่ ทิฏฐธรรมเวทนียกรรม กับ อุปป๋ชชเวทนียกรรม กำ หนดเวลา ๒ ชาติเทานั้น แต่อปราปรเวทนียกรรมส่งผลยาวน่านตั้งแต่ ๓ ชาติ ขึ้น่ไปจนกก่าจะบรรลุเป็น่พระอรทันต้ อยูที่วากรรม่ที่ทีาทั้งฝ่ายดี -^ OA แล่ะไมติจะช่วงชิงก่อนกัน หมวดที่ ๒ ให้ผลตามกิจ คือ ตามหนาที่ของตน ๆมี ๔ ข้อ ๔. ชนกกรรม คือ กรรมแต่งให้เก็ด๎(นาไปเกิต) ห่มายถึง กรรมที่ส่งให้ไปเกิดในกำเนิดต่างๆ ๖. อุป๋ตกัมภกกรรม คือ กรรมสใฒัสนุน หมายถึง ทีาหนิาที่ อุปกัมภคำชูสัตว์โลกทีเกิดในภูมิต่าง ๆ ให้ไต้รบสขบ้าง ทุกข้บ้างตาม สมควรแบงเป็น ๒ อย่าง ๖.๑ อุป๋'ตกัมภกกรรมฝ่ายกุศล คือ เกิดเป็นเทวดาในสวรรค์ ชั้นต่าง ๆตามกำสังบุญพอบังเกิดแล้วกรรมก็จะสนับสนุนให้เกิด ความอุดหะสๅหฺพยายามทำกุศลต่อไป ๖.๒ อุบัตกัมภกกรรมฝ่ายอกุศล คือ ใน่อดีดทำบาปอกุศส กรรมไว้มาก คณั้ต่ายแล้วไปเกิดเป็นสัตว์ต่าง ๆ กรรมก็จะสนับสนุนให้ ไปทำบาปอกุศลต่อไป ๗. อุปป็ฬกกรรม ค์อ กรรมบีบคั้น หมายถึง ทำ หน้าที่บีบคั้น กรรมดี กรรมชั่วให้เบาบางลงไม่เป็ดโอกๅสให้กรรมอื่นส่งผล 'แบ่งเป็น ๖รฺ:๒

www.kalyanamitra.org ๒อย่าง . ๗.๑ อุปปีฬกกรรมฝ่ายกุศล' คือ ทำ หน้าที่เบียดเบียนหักล้าง ■อกุศลกรรมที่กาลังส่งผลเป็นความทุกข์อุยู่ ห่มายถึง ทุกครั้งที่กุศล มีโอกาสจะเข้าทำหน้าที่ทันที s ๗.๒ อุปปีฬกกรรมฝ่ายอกุศล คือ ทำ หน้าที่เบียดเบียนทำร้าย กุศลกรรมที่ทำหน้าที่อยู่ เป็นการตัดรอนทันทีที่ความดีกำลังส่งผล เป็นความสุขความเจริญอยู่ หมายถึง ทุกครั้งที่อกุศลมีโอกาสจะเข้า ทำ หน้าที่ทันที ๘.อุปฆาตกกรรม คือ กรรมตัดรอน หมายถึง กรรมที่ทำ หน้าที่เข้าไปฆ่ากรรมอื่นพร้อมทบทำลายล้างผลของกรรมอืนให้ หมดสินไป (เป็นปฏิป๋'กต่อชนกกรรมและอุป๋ตถัมภกกรรม).แบ่งเป็น ๒ อย่าง - ๘.๑ อุปฆาตกกรรมฝ่ายกุศล คือ เมื่อกรรมดีตามมาทันย่อม ทำ หน้าที่เข้าไปฆ่าอกุศลกรรมพร้อมทั้งวิบาก หยุดความชั่วร้าย ทำ ลาย ความชั่วให้สิ้นไปอย่างเด็ดขาดโดยไม่เหลือ ๘•๒:อุปฆาตกกรรมฝ่ายอกุศล คือ เมื่อความชั่วตามมาทัน ย่อมทำหน้าที่เข้าไปฆ่ากุ่ศลกรรมพร้อมทั้งวิบาก.หยุดความดี ทำ ลาย ความดีให้หมดสิ้นไปโดยไม่เหลือ หรือรียกอีกชื่อหนึ่งว่าชุบีจเฉทกรรม คือ กรรมเข้าไปต้ดรอน ^ : . :. หมวดที่ ผ ให้ผลตามลำตับ คือ ตามคว่ามหนักเบาของกรรมนัน มี ๔ ข้อ่ ๙. ครุกรรม คือ กรรมหนัก หมายถึง กรรมที่ให้ผลในชาติที่ ๖<£๓

www.kalyanamitra.org สอง คือชาติหน้าเป็นอยางช้าโดยไฝมีกรรมอื่นมาขัดขวาง และกรรมที่ มีกำ ลงแรงกว่าจะให้ผลก่อนเสมอแบ่งเป็น ๒ อย่าง ๙.๑ ครุกรรมฝ่ายกุศล คือ กรรมอันฺหนักที่มีกำลังสามารถ ส่งไปปฏิสนธิในสุคติภูมิในชาติต่อไปโดยไม่มีกรรมใดมาขัดขวาง เรียกว่า มห้คคดกุศล ๙;๒ ครุกรรมฝ่ายอกุศล คือ กรรมหนักฝ่าย่ชั่วมีกำลังสามารถ ส่งไปปฏิสนธ1นทุคติภูมิต่อฺไปแน่นอนอนได้แก่ น้ยตมิจฉาทิฏเกรรม อนันตรียกรรม เป็นด้น ๑©. พทุลกรรม คือ กรรมเคยชินหรีออาจิณณกรรม (กรรุม เบา) หมายถึง กรรมดหรีอ่กรรมชั่วที่ทำอยู่เป็นประจำทำปอย ๆ แบ่งเป็น ๒ อย่าง - ๑๐.๑ พหุลกรรมฝ่ายกุศล คือ กุศลกรรมที่ทำอยู่เสมอด้วย กาย วาจา ใจ ทำ ให้ชีวิตไม่ว่างเว้นจากความดีอันได้แก่การทำทาน รักษาศีล เจรีญภาวนา อยู่เนืองนิตย์ ๑๐.๒ พหุลกรรมฝ่ายอกุศล คือ อกุศลกรรมที่ทำอยู่เสมอ ทังทางกาย วาจาใจชอบพอกพูนบาปอกุศลไว้มากอันได้แก่การ ผิดศีล๙ หมกมุ่นอยู่ในอบายมุข เป็นด้น เป็นประจำ ๑๑. อาลันนกรรม คือ กรรมเมื่อจวนเจียน(ก'^มใกล้ตาย) หมายถึง - กรรมที่ทำในเวลาใกล้ตาย ได้แก่การนืกถึงความดีและความ ขัวในเวลาใกล้ตาย สามารถให้ผลเป็นอันลับสอง รองจากครุกรรม กรรมอื่นไม่อาจขัดขวางได้ แบ่งเป็น่๒อย่าง , > ๑๑.๑ อาลันนกรรมฝ่ายกุศล คือ กรรมที่เกิดขึ้นในขณะ บำ เพ็ญกุศลทังการทำทานรีกษาศีลเจรีญภาวนากำลังเพลิดเพลิน bozrcr

www.kalyanamitra.org อยู่กับสิ่งเหล่านี้ ความตายต้องมาพรากชีวิตไปก่อน ในขกเะทีตาย คตินิมิต(ความดีที่ทำ)ไต้เกิดขึ้น จิตผ่องใส.สุคติก็เป็นที่ไป ๑๑.๒ อาส้นนกรรมฝ่ายอกุศล คือ กรรมที่เกิดขึ้นในขณะที่ ทำ กรรมชั่วอยู่ ความตายก็มาพรากชีวิตไปก่อน ในขณะที่ตายคตินิมิต (ความชั่วที่ทำ)ไต้เกิดขึ้น จิตเศร้าหมอง ทุคติก็เป็นทีไป ๑๒.กตัดตากรรม คือ กรรมตักว่าทำ หมายถึง กรรมที่ทำ โดย่ไม่มีเจตนา ไม่ไต้ตั้งใจทำ ถึงแม้ว่าจะไม่ไต้ตังใจทำก็ตาม ย่อม มีผล่ติดตัวเหมีอนกัน แปงเป็น ๒ อย่าง ' ๑๒.๑ กตัตตากรรมฝ่ายกุศล คือ ทำ ศวามดีโดยไม่ไต้ตังใจ ย่อมไต้รับผล่แฟงความดีโดย่ไม่ไต้ตั้ง่ใจเช่นกัน ๑๒.๒ กตัตตากรรมฝ่ายอกุศล คือ ทำ ความชั่วโดยไม่ไต้ ตั้งใจ ย่อมไต้รับผลแฟงการทำความชัวโดยไม่ไต้ตังใจเช่นกัน ปัญหาและเ$1ลยธรร^วิภาค หมวด ๑๒ ๑. กุรุรมหมายถึงการฺกระทำเช่นไร? ตุอฺบฺ กรรม!หมายถึงการกระทำทางกาย วาจาและใจที่มีเจตนา . จงใจทำ เป็นไต้ทั้งฝ่ายตี ฝ่าย:ชั่วหรือเป็นกลาง ๆ : ๒.กรรม ๑๒ จัดฟ้นกี่หมวด และแตละพมวฺดให้ผลต่างกันอย่างไร? ดอบ กรรมํ ๑๒ จัดเป็น ๓ หมวด แต่ละหมวดให้ผลต่างกัน อย่างนี้คือ หมวดที่ ๑ ให้ผลตามกาลเวลา หมวดที่ ๒ ให้ผลตามหนิาที่ ^ หมวดที่ ๓ ให้ผลตามลำตับความแรงในการให้ผล ๖<£๕:

www.kalyanamitra.org ๓.การบญฌสิกรรมนั้น ท่านถือ่อะไร!รนหลกในกรรม ๑๒ นั้น กรรม อะไรบ้างปรุงแต่งภพได้เอง กรรมอะไรบ้างปรุงแต่งภพเองไม่ได้;? ตอบ หลักการิบัญญ้ตกรรมนั้น เนื่องมาจากถือ่ว่า ผลฺย่อมมาจฺาก เหตุ เพ่งเฉพาะเหตุคือกรรม เช่น ทำ ดี ได้ดี ทำ ชั่วได้ชั่ว เป็นด้น เพือห้ามความเห็นลับฺปรับในเรื่องกรรมนั่นเอง ท่านจึงจำแนกออุก .เป็นอย่าง ๆ ในกรรม ๑๒ นั้นชนกกรรมเป็นกรรมที่ปรุงแต่งภพได้ เอง นอุกนั้นปรุงแต่งภพเองไม่ได้ , ๔. เมือว่าถึงเรืองกรรมแล้ว ท่านกล่าวว่า กรรมอะไรเป็นหนกที่สุด มืเฉพาะในฺฟ้ายอกุศล หรือแม้ในฟ้ายกุศลก็มฺจงจาระไนมาลู? ตอบ ทำ %เกล่าวว่า ครุกรรม เป็นกรรมหนักที่สุดกว่ากรรมอื่น ๆ มีที่ง ๒ ฝ่าย,ไนฝ่ายอกุศล ท่านจัดอนันตรืยกรรมเป็นครุกรรมในฝ่าย กุศล ท่านจัดสมาบด ๘ เป็นครุกรริม ครุกรรมนี้มีอยู่ ย่อมได้ ซ่องให้ผลก่อน ๔. ครุกรรมฟ้ายอกุศลให้ผลในลำดับไหน ท่านอุปมาไว้อย่างไร? ตอบ ครุก่รรมย่อมให้ผํลก่อ่น่กรรมอื่น เปรืย่บ่เหมือนคฺนอยู่บน ทีสูง ใช้สิงต่าง ๆ มืเหล็กบ้าง ศิลาบ้าง กระเบื้องบ้าง ไม้กระดานบ้าง ขนนกบ้าง สิ่งอื่น ๆ บ้างที3ลํงมา สิ่งใดห่ฟ้าที่^สิ่งนั้นย่อมตกถึงmเดิน ก่อนสิงอืน ๆ ย่อมต่กถึง'^4ดนตามลำดับนํ้าห่นักของแต่ละอุย่าง ๖. ทีฏฐlbรมเวทนึยกรรมและ อุปบ้ชชนียกรรมคือกรรมเช่นไร? ตอบ ทีฏฐธรรมเวทนีย'กรรม คือ กรรมให้ผล่ในกพบ้'จจุบัน อุปบัชชเวทนียกรรม คือ กรรมให้ผลในกพที่จะเกิดลัดไป V ๗. อโหสิกรรม หมายความว่าอย่างไร? - ตอบ อโหสิกรรม หมายความว่า กรรมที่เลิกให้ผล ไม่มีผลที่จะ เสวยอีกต่อไป ๖(£๖

www.kalyanamitra.org ๘.คำ ต่อ1ป^ควา§4หมายอย่างไร?ก.ซนกกรรม ข.อุป๋ตถมภกกรรม ค. ทิฏฐธมมเวทนียกรรม ง. อุปป็ชเวทนียกรรม จฺ.กลัดดากรรม ดอบ ก. กรรมแต่งให้เกิด ■ข. กรรมสนับสนุน ค. กรรมให้ผลในภพนี้ ง. กรรมให้ผลในภพหน้า จ. กรรมสักว่าทำ คือ กรรมที่ทำด้วยไม่จงใจ ๙.ในกรรม ๑๒ อุป็ดสัมภกกรรม กับ อุปปีฬกกรรม ทำ หน้าที่ต่างกัน อย่างไร ? ดอบ อุป๋ตกัมภกกรรม ทำ หน้าที่สนับสนุนผลชนกกรรม อุปปีฬกกรรม ทำ หน้าที่บีบคั้นผลชนกกรรม ๑๐.พุทธภารดว่า ผู้ทำ กรรมดีย่อมได้รบผลดี ผู้ทำ กรรมชํ่วย่อมได้ ร้บผลชั่ว แต่ปรากฏว่าผู้ทำกรรมชั่ว กังได้รบสุขก็มี ผู้ทำ กรรมดี กังได้รบทุกข์ก็มีที่เป็นเซ่นนี้เพราะเหตุไร? ดอบ เพราะถ่รรมบ่างอย่างให้ผลในภพนี้ บางอย่างให้ผลในภพหน้า หรือในภพต่อ ๆไป ผู้ทำ กรรมชั่วได้ร้บสุข เพราะกรรมชั่วกังไม่ได้ ซ่องให้ผลในขณะนั้น กรรมดีที่เขาทำไว้ในอดีตกำสังให้ผลอยู่ แต่กรรมชั่วนั้นกังไม่สูญหายไป กังติดตามให้ผลอ่ยู่เสมอ เป็นแต่ กังไม่ได้ช่องเท่านั้น ส่วนผู้ทำกรรมดีที่ไม่ได้รับสุขในขณะนั้น เพราะกรรมชั่วที่เขาได้ทำไว้ในอดีตกำลังให้ผลอยู่จึงด้องรับทุกข์ ลำ บากอยู่ในขณะนั้น แต่กร่รมดีที่ทำไว้นั้นกังไม่สูญหายไป กัง ติดตามเขาไปเหมือนเงาตามลัว ฉะนั้น เมื่อได้ซ่องกิย่อมให้ผลทันที ^(zrc/

www.kalyanamitra.org เดรสกะ ดือหมวด ๑๓ ธุดงค์ ๑๓ หมว่ดที่ ๑ ปฏิสังยุดด้วยจีวร ๑. ป0้1»งส.ุก_ู^ลิฑงดะ ^ถือทรงผ้าบังสุกุลผนวัดร ๒. เดจีวริกังคะ ถือทรงเพียงไดรจีวรฺเ53นวัดร หผวดที่ ๒ ปฎสังยุตด้วยป็ณฑบาด ผ.ป็ณฑปาด้กัง่คะ ถือเที่ยวบณฑบาดเ!3ฬวัดร ๔.สปทานจาริกกังคะ ถือเที่ยวบิณฑบาตไปดามแถวเร3นวัดร ๙. เอกาสนิกังคะ ถือนั่งฉน ณ อาสนะเดียวเป็นวัดร ๖. บัดดป็ณฑิกังคะ ถือฉ้นเฉพาะในบาดรเป็นวัดร ๗.ชลุบัจฉุากัดดีกังคะ ถือห้ามกัดอันนำมาถวายเมื่อภายหลัง เป็นวัตร หมวดที่ ๓ ปฏิลังยุดด้วยเสนาสนะ ๘. อาวัญญิกังคะ ถืออยูป๋าเป็นวัดร ๙^ รุกขมูสิกังคะ ถืออยู่โคนไม้เป็นวัดร ๑๐.อัพโภกาสิกังคะ ถืออยู่ในที่แจ้งเป็นวัดร ๑๑.ใสสานํกังคะ ถืออยู่ปาช้าเป็นวัดร ๖(£ffS

www.kalyanamitra.org ๑๒. ยถาสันถดิกังคะ ถือการอยูใmสนๆสนะอนัท่านจดให้ อย่างไร หม่าดที่ ๔ ปฏิสังยุดด้วยวิริยะ ๑๓. เน์สัชชกังคะ ถือการนงเป็นวัดร ธุดงค์ คือ องค์คุณเครื่องสสัดหริอกำจดกเลส เป็นวัตรจริยา พิเศษอย่างหนึ่ง ท่านกัญtyคืขึ้นเพื่อเป็น่อุบายขดเกลากิเลส ช่วยส่ง เสริมความกักน้อยและสันโดษ่•การถือธุดงค์นั้นยังมีข้อกำหนดอีกว่า ข้อรุกขมูลิกังคะ และข้ออัพ^กาสกังคะ ถือได้เฉพาะกาลนอกพรรษา เพิริาะในพรรใ^กิก1^องถือเสนาสน^อยุอาศัยประจำดามพร่~วินัย ธุดงค์นั้นมี๑๓ ข้อจัดเป็น ๔ หมวดศังนี้ หมวดที่ ๑ เกี่ยวกับจีวร ๑. กังสุถูสิกัง่คะ ถือัผ้ากังสุกุสฟ้นวัตร หมายถึง การไม่ ยอมรบจีวรที่เขาถวาย ชอบเที่ยวแสวงหาและใช้เฉพาะผ้ากังสุกล่ เท่านั้น-กำสมาท่านว่าศังนี้ \"คหปติจีวริปฏิกฺฃปามี,ป๋สุถูสิกงฺกํ สมา- พิยัามี\" เฟลว่า ข้าพเจ้างดคหบดจีวร สมาทานองค์ของผ้ถือผ้ากังสุกุล เป็นวัดร ๒. เดจีวริกังคะ ถือการใข้เฉ่พาะผ้าไดรจีารฟินวัดร หมายถึง การใข้ผ้าเพียง ๓ ผืนเท่านั้น นุงห่มเฉพาะผ้าไดรจีวรเท่านัน กำ ๖(ร:๙