๕๕๖ ค่มู ลาํ ดบั ขอบเขตเน้ือหา/ ขน้ั ตอนการ เวลา แ ท่ี จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ จัดการเรยี นรู้ ทใี่ ช้ ชวี ิตประจําวัน กิจกรรมคร สอนหญงิ มคี วามสาํ ค อยา่ งไร ครู : แนวทางในการป ปฏบิ ตั ติ น ในเรื่องสุภา หญงิ ยังสามารถใช้ในป ได้หรอื ไม่
มือครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ (ภาษาไทย ป.6) แนวการจดั การเรยี นรู้ ส่อื การเรยี นรู้ การประเมิน การเรยี นรู้ รู กิจกรรมนกั เรยี น คญั นกั เรยี น : สามารถใชไ้ ด้ท้ัง ประพฤติ ทางกาย วาจาใจ ท่ดี ีงาม าษติ สอน อกี ทั้งยงั สอดคล้องกับค่านยิ ม ปจั จบุ ัน และขนบธรรมเนียมประเพณี ไทย ซง่ึ ยังคงทนั สมัยและใช้ได้ ตลอดกาล
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 5 เรื่อง สุภาษิตสอนหญงิ 557 ๘. ส่ือการเรยี นร้/ู แหลง่ การเรียนรู้ ๑. ส่ือการนาเสนอ เร่ือง อยา่ ชงิ สกุ กอ่ นหา่ มไม่งามดี ๒. ใบความรูท้ ่ี ๔ เรอื่ ง การวิเคราะห์คณุ คา่ ของวรรณคดี ๓. ใบงานที่ 2 เร่อื ง สภุ าษติ สอนหญิงสอนอะไรเรา ๔. หนงั สือเรยี นวรรณคดีลานาช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ ๙. การประเมนิ ผลรวบยอด ส่ิงทต่ี ้องการวดั /ประเมนิ วธิ กี าร เครือ่ งมอื ท่ใี ช้ เกณฑ์ ด้านความรู้ - ตอบคาถาม - คาถาม ผ่านเกณฑ์ - บอกหลกั การอธิบายคุณคา่ ของ การประเมนิ รอ้ ยละ วรรณคดีทอี่ ่าน ๖๐ ขนึ้ ไป ผา่ นเกณฑ์ ด้านทกั ษะและกระบวนการ การประเมนิ รอ้ ยละ - อธบิ ายคณุ คา่ ของวรรณคดที อี่ ่าน - ประเมนิ ใบงาน แบบประเมนิ ใบงาน ๖๐ ขึน้ ไป ผ่านเกณฑ์ ด้านคณุ ลักษณะ เจตคติ คา่ นิยม - สงั เกตพฤตกิ รรม - แบบประเมนิ การประเมนิ ระดับ - บอกความสาคัญในการนาความรู้ ตอบคาถาม คาถาม ผ่าน จากวรรณคดที อ่ี า่ นไปใชใ้ น - สังเกตพฤตกิ รรม - แบบประเมนิ ผ่านเกณฑ์ ชีวิตประจาวัน ตอบคาถาม คาถาม การประเมนิ ระดบั ด้านคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. การสงั เกต 1. แบบประเมิน ผา่ น 1. มีวนิ ยั พฤติกรรม คาถาม 2. ใฝ่เรยี นรู้ 2. การตอบคาถาม 2. แบบประเมิน ผา่ นเกณฑ์ 3. มงุ่ ม่นั ในการทางาน การทางานกลมุ่ การประเมินระดบั 4. อยู่อย่างพอเพียง ผา่ น สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น 1. ความสามารถในการสอื่ สาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา ๔. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ
558 คู่มอื ครูและแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ภาษาไทย ป.6) เกณฑก์ ารประเมนิ ผลช้นิ งานหรอื ภาระงาน อธิบายคณุ คา่ ของเรื่อง ใบงานที่ ๔ เร่อื ง สภุ าษิตสอนหญงิ สอนอะไรเรา ประเด็นการประเมิน ๔ (ดมี าก) ระดับคุณภาพ ๑ (ปรับปรงุ ) ๓ (ด)ี ๒ (พอใช้) ขาด ๓ การวิเคราะห์คณุ คา่ และ - อธบิ ายคณุ ค่า ขาด ๑ ขาด ๒ องคป์ ระกอบ สรปุ ข้อคิดจากเรอื่ งที่ ด้านวรรณศลิ ปไ์ ด้ องคป์ ระกอบ องค์ประกอบ อ่านไปใช้ในชวี ิต - อธิบายคณุ คา่ ด้านเนอื้ หาสาระได้ - อธิบายคุณคา่ คณุ คา่ ดา้ นสงั คม และวฒั นธรรมได้ - อธิบายการนา ความรู้ ข้อคิด และคุณค่าทีไ่ ดร้ บั จากเรือ่ งท่อี ่านไป ใชใ้ นการดาเนิน ชวี ิตได้ หมายเหตุ : ค่านา้ หนกั ๕ คะแนน เกณฑก์ ารประเมินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ ๑๘-๒๐ ดมี าก ๑๕-๑๗ ดี ๑๒-๑๔ ตา่ กวา่ ๑๒ พอใช้ ปรบั ปรงุ เกณฑ์การตดั สนิ : ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ระดบั พอใช้ขึ้นไป
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 5 เรอื่ ง สุภาษิตสอนหญงิ 559 ๑๐. บนั ทกึ ผลหลังสอน ผลการจัดการเรยี นการสอน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ความสาเรจ็ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ปัญหาอปุ สรรค .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ข้อจากัดการใช้แผนการจดั การเรียนรู้ และขอ้ เสนอแนะ/แนวทางการปรบั ปรุงแก้ไข .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชอื่ ......................................................ผสู้ อน (..........................................................) วันท่ี ............. เดอื น ..........พ.ศ. .................. ๑๑. ความคดิ เห็น/ข้อเสนอแนะของผู้บริหารหรอื ผทู้ ่ีได้รับมอบหมาย .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่อื ......................................................ผ้ตู รวจ (..........................................................) วนั ที่ ............. เดอื น ..........พ.ศ. ..................
560 คูม่ ือครูและแผนการจดั การเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ภาษาไทย ป.6) ใบความรทู้ ี่ ๔ เรอื่ ง การวิเคราะห์คณุ ค่าของวรรณคดี หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ ๕ เรื่อง สุภาษิตสอนหญิง แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ ๕ เร่อื ง สภุ าษิตสอนหญิง (วิเคราะหค์ ณุ คา่ ของเรอื่ ง) รายวชิ า ภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๖๑๐๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๖ การอ่านวรรณคดีและวรรณกรรม นอกจากจะต้องศึกษาพื้นฐานความรู้ต่าง ๆ เกย่ี วกับวรรณคดแี ละ วรรณกรรมแล้ว ผอู้ า่ นควรรู้จกั พจิ ารณา วเิ คราะห์คณุ ค่าและประโยชน์ในการนาไปใชใ้ นชวี ติ เป็นการพฒั นา ความรู้ ความคิดในระดบั ท่สี ูงขึ้น การวิเคราะห์ หมายถึง การพิจารณาตรวจตรา แยกแยะและประเมินค่า ซ่ึงจะเกิดประโยชน์ต่อ ผูว้ ิเคราะห์ในการนาไปแสดงความคิดเห็น อภิปรายข้อเท็จจริงให้ผู้อื่นทราบ ด้วยว่าใครเป็นผู้แต่ง เป็นเรื่อง เกี่ยวกับอะไร มีประโยชน์อย่างไร ต่อใครบ้าง ผ้วู ิเคราะห์ มีความเห็นอย่างไร เร่ืองท่ีอ่านมีคุณค่าด้านใดบ้าง และแต่ละดา้ นสามารถนาไปประยุกตใ์ หเ้ กิดประโยชน์ตอ่ ชวี ิตประจาวันอย่างไร การวเิ คราะหค์ ุณค่าของงานวรรณคดแี ละวรรณกรรม ๔ ประเดน็ ๑) คุณค่าด้านวรรณศิลป์ คือ ความไพเราะของบทประพันธ์ ซ่ึงอาจทาใหผ้ อู้ ่านเกิดอารมณ์ ความรสู้ ึก และจินตนาการตามรส ความหมายของถ้อยคาและภาษาท่ผี ้แู ตง่ เลอื กใชเ้ พื่อให้มคี วามหมายกระทบใจผู้อา่ น ๒) คุณค่าด้านเน้ือหาสาระ แนวความคิดและกลวิธีนาเสนอท้ัง ๒ ประเด็นน้ี จะอธิบาย และ ยกตัวอย่างประกอบพอเข้าใจ โดยจะกล่าวควบกนั ไปท้งั การวเิ คราะหแ์ ละการวิจารณ์ ๓) คุณค่าด้านสังคม วรรณคดีและวรรณกรรมจะสะท้อนให้เห็นสภาพของสังคมและวรรณคดีที่ดี สามารถจรรโลงสังคมได้อีกดว้ ย ๔) การนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวนั ผู้อา่ นสามารถนาแนวคิดและประสบการณ์จาก เรอ่ื งทีอ่ า่ น ไปประยกุ ต์ใชห้ รือแกป้ ญั หาในชวี ติ ประจาวันได้
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 5 เร่อื ง สุภาษิตสอนหญงิ 561 ใบงานท่ี ๒ เรอื่ ง สภุ าษติ สอนหญงิ สอนอะไรเรา หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ เร่ือง สุภาษิตสอนหญิง แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๕ เรือ่ ง สุภาษติ สอนหญงิ (วเิ คราะหค์ ุณคา่ ของเรอื่ ง) รายวชิ า ภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๖๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๖ คาช้แี จง อา่ นเรอื่ งสุภาษิตสอนหญงิ แล้ววเิ คราะห์คุณคา่ จากเร่อื ง ๑. คุณค่าดา้ นวรรณศิลป์ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ๒. คุณคา่ ด้านเน้ือหาสาระ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ๓. คุณคา่ ดา้ นสงั คม ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ๔. การนาไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ช่อื ....................................................................................ช้นั .......................เลขที่..............
562 คู่มือครแู ละแผนการจัดการเรียนรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรียนที่ ๑ (ภาษาไทย ป.6) แนวคาตอบ ใบงานท่ี ๒ เร่ือง สภุ าษิตสอนหญงิ สอนอะไรเรา หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๕ เรอ่ื ง สุภาษิตสอนหญิง แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๕ เรื่อง สุภาษติ สอนหญิง (วเิ คราะห์คุณค่าของเรอ่ื ง) รายวิชา ภาษาไทย รหสั วชิ า ท๑๖๑๐๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๖ คาชีแ้ จง อ่านเรอื่ งสุภาษติ สอนหญงิ แล้ววเิ คราะหค์ ณุ คา่ จากเรือ่ ง ๑. คณุ คา่ ดา้ นวรรณศิลป์ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ๒. คุณคา่ ดา้ นเนือ้ หาสาระ ............................................................................................................................................................................................ ..................................................................................................................................อ......ย......ใู่ ....น......ด......ลุ ......ย......พ......นิ ......ิจ......ข......อ......ง....ค......ร....ผู......ู้ส......อ......น................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ๓. คุณค่าด้านสังคม ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ๔. การนาไปประยุกต์ใช้ในชวี ติ ประจาวนั ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................................ ชื่อ....................................................................................ช้ัน.......................เลขที.่ .............
หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 5 เร่ือง สภุ าษิตสอนหญงิ ๕๖๓ เวลา ๑ ชัว่ โมง หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี ๕ แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ ๖ เร่ือง คาอุทาน ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ เรอื่ ง สุภาษิตสอนหญิง กลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย รายวิชาภาษาไทย ๑. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชี้วัด มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษาและพลังของ ภาษา ภมู ปิ ญั ญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบัติของชาติ ตัวชี้วัด ป.๖/๑ วเิ คราะหช์ นิดและหนา้ ทขี่ องคาในประโยค ๒. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด คาอุทานเป็นคาท่ีใช้เพื่อแสดงอารมณ์และความรู้สึกต่าง ๆ จึงต้องใช้ให้เหมาะสมกับประโยคหรือ ขอ้ ความ 3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K) บอกชนดิ และหนา้ ท่ขี องคาอทุ านได้ ๒. ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P) ใชค้ าอทุ านในการสือ่ สารได้ ๓. ด้านคณุ ลักษณะ เจตคติ ค่านิยม (A) อภปิ รายประโยชน์ของการใช้คาอุทานในการสื่อสาร 4. สาระการเรียนรู้ คาอุทาน 5. สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น 5.1 ความสามารถในการสื่อสาร 5.2 ความสามารถในการคดิ 5.3 ความสามารถในการแกป้ ญั หา 5.4 ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ติ 6. คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ 6.1 มีวินยั 6.2 ใฝ่เรยี นรู้ 6.3 มงุ่ ม่นั ในการทางาน 6.4 อยูอ่ ยา่ งพอเพียง 7. กิจกรรมการเรียนรู้
๕๖๔ ค่มู การจัดกิจกรรมการเรียนร แผนการจดั การเรีย รายวิชา ภาษาไทย หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๕ ลาดับ ขอบเขตเนือ้ หา/ ขัน้ ตอนการจัด เวลา แ ท่ี จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ การเรียนรู้ ที่ใช้ กิจกรรมคร 1. ขอบเขตเนอื้ หา ขนั้ นา ๕ ๑. ครรู ้องเพลง “โรคป ชนิดและหน้าท่ีของคา นาที ใหน้ กั เรียนฟงั แล้วคดิ ต อุทาน ครู : โอ๊ย ! ปวดฟัน ทุก โรคภัยมาเย่ยี มบ้าน... โอย๊ ! ปวดหัว ตามวั ห ด้าน... ครู : เพลงท่ีครรู ้องแส อารมณแ์ ละความรู้สกึ ๒. ครูขออาสาสมคั รน ออกมาแสดงบทบาทส แถบประโยคทค่ี รกู าห ๑. นักเรียนถูกมดี บา ๒. สัตว์เลยี้ งของเพื่อ เสยี ชวี ิต ๓. สอบไดค้ ะแนนสงู สุด ๔. เดก็ กาลังจมน้า ๓. ครเู ชือ่ มโยงเข้าสเู่ ร “คาอุทาน”
มือครูและแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ภาษาไทย ป.6) รู้ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ ยนร้ทู ี่ ๖ คาอทุ าน เรอ่ื ง สภุ าษิตสอนหญิง จานวน ๑ ช่วั โมง แนวการจดั การเรียนรู้ สอ่ื การเรยี นรู้ การประเมนิ 1. เพลงโรค การเรียนรู้ รู กิจกรรมนักเรยี น ประหลาด - ประเมนิ ประหลาด” พฤติกรรม ตาม กวนั นกั เรยี น : ปรบมอื และกากบั . จังหวะ หูชาทัง้ สอง สดงถงึ นักเรยี น : ตอบตาม กอยา่ งไร ความรู้สึกทีจ่ บั ใจความได้จาก ๒. แถบประโยค นกั เรยี น เพลง สมมตจิ าก หนดให้ดงั น้ี าดมือ อนสนทิ นกั เรียน : แสดงบทบาท ดในช้ันเรยี น สมมุตจิ ากแถบประโยคทีจ่ บั ฉลากได้ รอ่ื ง
หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 5 เร่อื ง สุภาษติ สอนหญงิ ลาดบั ขอบเขตเนื้อหา/ ขน้ั ตอนการจัด เวลา แ ท่ี จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ การเรียนรู้ ทใ่ี ช้ กจิ กรรมคร 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ ขั้นสอน ๒๐ ๑. ครูให้นกั เรียนดภู า 1. บอกชนดิ และ นาที พฤตกิ รรมต่าง ๆ แล้ว หน้าทีข่ องคาอทุ านได้ ประโยคจากภาพ ครู : นักเรียนดูภาพแล ประโยคจากภาพทีไ่ ด ครู : จากภาพทีน่ กั เรยี ไดแ้ ต่งประโยค แสดง การใช้คาอุทาน เหมอื น ตา่ งกันอย่างไร ครู : ถ้าจะแบ่งตามชน หนา้ ท่ีของคาอทุ านจะ ชนิด อะไรบา้ ง ๒. ครูให้นักเรยี นศกึ ษ ความรทู้ ี่ ๕ เรือ่ ง คาอ พร้อมยกตัวอยา่ งประ สื่อการนาเสนอ “รจู้ กั ค ๓. ครูใหน้ กั เรียนออก ผงั คาคดิ สรุปความรเู้ ร อทุ านบนกระดานหน ๔. ครอู ธบิ ายความรู้เพ เร่อื งคาอทุ าน
๕๖๕ แนวการจัดการเรยี นรู้ สือ่ การเรยี นรู้ การประเมนิ รู กิจกรรมนกั เรียน ๓. สอื่ การนาเสนอ การเรยี นรู้ าพ เรอ่ื ง รูจ้ กั คา วแตง่ อทุ าน ลว้ แตง่ นกั เรยี น : รว่ มกนั แตง่ ประโยค ดด้ ู ยนได้ดแู ละ นักเรยี น : เหมือนกัน / งให้เหน็ ถึง ตา่ งกัน นหรอื นดิ และ นักเรียน : ตอบโดยวิเคราะห์ ๔. ใบความรูท้ ี่ ๕ ะแบง่ ได้ก่ี เป็นความคดิ ของตนเอง เรื่อง คาอทุ าน ษาใบ (ชนิดคาอทุ าน ซึ่งมีอยู่ ๒ อทุ าน ชนิด คือ คาอุทานบอก ะกอบจาก อาการและคาอุทานเสรมิ บท) คาอทุ าน” กมาเขยี น - ประเมนิ รอื่ งคา การเขยี นผัง น้าชนั้ เรยี น ความคิด พมิ่ เตมิ
๕๖๖ คมู่ ลาดบั ขอบเขตเนอื้ หา/ ขน้ั ตอนการจดั เวลา แ ท่ี จุดประสงค์การเรยี นรู้ การเรียนรู้ ทใี่ ช้ กิจกรรมคร 3. 2. ใชค้ าอุทานใน ขั้นปฏิบตั ิ ๒๐ ๑. ครูใหน้ กั เรยี นทาใ การสอื่ สารได้ นาที เรอื่ ง “คาอุทานสอ่ื สา โดยให้นักเรยี นอ่านนทิ “แตงโม เจ้ามดแดงจอม คดั เลือกคาอทุ านจาก แต่งประโยค ๒. ครูคัดเลือกตวั แทน ออกมานาเสนอใบงาน คาอุทานสือ่ สารอารม ๓. ครูประเมินผลงานขอ ๔. ครูมอบหมายภาระงา นกั เรยี นเขียนเรอ่ื งสัน้ คาอุทานใหม้ ากทส่ี ุดแ ในสมุด 3. อภิปรายประโยชน์ ขั้นสรุป ๕ ๑. ครแู ละนกั เรยี นร่ว ของการใช้คาอุทานใน นาที ความรเู้ รื่องคาอุทาน การสอื่ สาร ครู : ถ้าเราจะสรปุ เร่อื ทีไ่ ดศ้ ึกษามา มีกี่ชนดิ หน้าท่อี ย่างไร ครู : การใชค้ าอุทานใ สือ่ สาร มีประโยชน์อย
มือครแู ละแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ภาษาไทย ป.6) แนวการจัดการเรยี นรู้ สอ่ื การเรยี นรู้ การประเมนิ รู กิจกรรมนักเรยี น ๕. ใบงานที่ 3 การเรยี นรู้ ใบงานที่ 3 นักเรียน : ทาใบงานท่ี 3 เรอื่ ง “คาอุทาน - ประเมนิ ใบงาน ารอารมณ์” เรอื่ ง “คาอุทานสอื่ สาร ส่ือสารอารมณ์” ทาน เร่ือง อารมณ”์ มข้ีเกยี จ” กเร่ืองแล้ว นนักเรียน นกั เรยี น : นาเสนอใบงาน นเรอ่ื ง หน้าชน้ั เรยี น มณ์” องนกั เรยี น านให้ ๆ โดยใช้ แล้วเขยี นลง วมกนั สรปุ นักเรียน : ชนดิ คาอทุ าน ซึง่ มี - ประเมนิ อยู่ ๒ ชนิด คือ คาอุทานบอก การตอบคาถาม องคาอทุ าน อาการ และคาอทุ านเสรมิ บท ด และมี คือ การเสริมคาเข้าไปให้เกิด การสมั ผัสคล้องจอง ในการ นกั เรยี น : ตอบตามความเข้าใจ ยา่ งไร ของตนเอง (ยึดหลกั การตามท่ี ไดศ้ กึ ษามา)
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 5 เรื่อง สภุ าษิตสอนหญิง 567 ๘. ส่อื การเรยี นร้/ู แหล่งการเรยี นรู้ 1. เพลงโรคประหลาด ๒. แถบประโยค ๓. ส่อื การนาเสนอ เรอื่ ง รู้จกั คาอุทาน ๔. ใบความรทู้ ่ี ๕ เร่ือง คาอทุ าน ๕. ใบงานท่ี 3 เรอ่ื ง “คาอทุ านสอ่ื สารอารมณ์” ๙. การประเมนิ ผลรวบยอด ส่งิ ทต่ี อ้ งการวดั /ประเมิน วธิ ีการ เครอื่ งมอื ทีใ่ ช้ เกณฑ์ ด้านความรู้ - ตอบคาถาม - บอกชนิดและหนา้ ที่ของคาอุทาน - คาถาม - ผา่ นเกณฑ์ การประเมินรอ้ ยละ ๖๐ ขึ้นไป ดา้ นทักษะและกระบวนการ - ประเมินใบงาน - แบบประเมินใบงาน ผา่ นเกณฑ์ - ใช้คาอุทานในการส่ือสาร การประเมนิ รอ้ ยละ ๖๐ ข้ึนไป ด้านคณุ ลกั ษณะ เจตคติ ค่านยิ ม - ตอบคาถาม - คาถาม ผา่ นเกณฑ์ - อภิปรายประโยชนข์ องการใชค้ า การประเมนิ รอ้ ยละ อทุ านในการสือ่ สาร ๖๐ ข้นึ ไป ดา้ นคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ 1. การสงั เกต 1. แบบประเมนิ ผา่ นเกณฑ์ 1. มวี ินัย พฤติกรรม คาถาม การประเมินระดับ 2. ใฝ่เรียนรู้ 2. การตอบคาถาม 2. แบบประเมิน ผา่ น 3. มุ่งม่ันในการทางาน 1. การสงั เกต การทางานกลมุ่ 4. อยอู่ ย่างพอเพยี ง พฤติกรรม สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน 2. การตอบคาถาม 1. แบบประเมนิ ผา่ นเกณฑ์ 1. ความสามารถในการสื่อสาร คาถาม การประเมินระดับ 2. ความสามารถในการคิด 2. แบบประเมิน ผ่าน 3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา การทางานกลมุ่ ๔. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ติ
568 คมู่ ือครูและแผนการจดั การเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ภาษาไทย ป.6) เกณฑก์ ารประเมนิ ผลช้นิ งานหรอื ภาระงาน ใบงานท่ี ๕ เรอ่ื ง “คาอุทานสื่อสารอารมณ์” ประเด็นการประเมิน ๔ (ดีมาก) ระดบั คุณภาพ ๑ (ปรับปรงุ ) 1. การใช้คาอทุ านแตง่ ใช้คาอุทานแตง่ ใช้คาอุทานแต่ง ประโยค ประโยคได้ถกู ต้อง ๓ (ด)ี ๒ (พอใช้) ประโยคได้ ทัง้ หมด ใชค้ าอุทานแตง่ ใช้คาอุทานแต่ง ถูกต้อง ๑ คา 2. บอกอารมณ์ บอกอารมณ์ ประโยคได้ถกู ตอ้ ง ประโยคได้ บอกอารมณ์ ความรู้สกึ ของคาอุทาน ความรู้สกึ ของคา ๓ คา ถกู ต้อง ๒ คา ความรสู้ ึกของคา ในประโยค อุทานในประโยค บอกอารมณ์ บอกอารมณ์ อทุ านในประโยค ไดถ้ กู ต้อง ทง้ั หมด ความรู้สกึ ของคา ความรูส้ ึกของ ไดถ้ กู ต้อง ๑ อุทานในประโยค คาอุทานใน ประโยค ถกู ตอ้ ง ๓ ประโยค ประโยคได้ ถูกตอ้ ง ๒ ประโยค หมายเหตุ : คา่ น้าหนัก ๕ คะแนน เกณฑก์ ารประเมนิ คุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ ๑๘-๒๐ ดมี าก ๑๕-๑๗ ดี ๑๒-๑๔ พอใช้ ตา่ กว่า ๑๒ ปรบั ปรงุ เกณฑก์ ารตัดสิน : ผา่ นเกณฑก์ ารประเมินระดบั พอใช้ขนึ้ ไป
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 5 เร่อื ง สุภาษติ สอนหญงิ 569 ๑๐. บันทึกผลหลงั สอน ผลการจดั การเรยี นการสอน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ความสาเรจ็ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ปญั หาอปุ สรรค .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ขอ้ จากดั การใชแ้ ผนการจดั การเรียนรู้ และข้อเสนอแนะ/แนวทางการปรบั ปรงุ แก้ไข .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่อื ......................................................ผสู้ อน (..........................................................) วันท่ี ............. เดอื น ..........พ.ศ. .................. ๑๑. ความคดิ เห็น/ขอ้ เสนอแนะของผู้บรหิ ารหรอื ผู้ท่ีได้รับมอบหมาย .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่อื ......................................................ผ้ตู รวจ (..........................................................) วันที่ ............. เดือน ..........พ.ศ. ...........
570 ค่มู อื ครแู ละแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ (ภาษาไทย ป.6) ใบความรู้ท่ี ๕ เรอ่ื ง ชนดิ ของคา (คาอทุ าน) หนว่ ยเรยี นรู้ท่ี ๕ เรอ่ื ง สุภาษติ สอนหญงิ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๖ เรือ่ ง คาอทุ าน รายวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๖๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๖ คาอุทาน คือ คาที่พูดออกมาด้วยน้าเสียงแตกต่างจากเสียงของคาธรรมดาเพื่อแสดงอารมณ์ ความรู้สึกต่าง ๆ ของผู้พูด คาอุทานมักปรากฏอยู่หน้าประโยค ในการเขียนนิยมใช้เคร่ืองหมาย อัศเจรีย์ (!) กากับหลังคาอุทาน ๑. แสดงการรอ้ งเรียกหรือบอกให้ ๒. แสดงความตกใจ เช่น วา๊ ย! โอะ๊ ! รตู้ ัว เช่น แน่ะ! น่ีแนะ่ ! เฮ!้ ช่วยดว้ ย! คุณพระชว่ ย! แน่ะ! แอบมาน่ังอยูท่ ี่นเ่ี อง ช่วยด้วย! เด็กตกน้า ๓. แสดงความเสียดาย ผดิ หวัง สงสาร ๔. แสดงความไมพ่ อใจ โกรธ เชน่ โธ่! โถ! อนิจจงั ! พทุ โธเ่ อ๋ย! เคอื ง เช่น ฮ่ึม! อเุ หม!่ ชิชะ! โถ! สุนัขตวั นชี้ ่างนา่ สงสาร ดูด!ู๋ ๕. แสดงความประหลาดใจ ฮม่ึ ! ใครมาตดั กุหลาบของฉัน เชน่ ฮา้ ! เอ๊ะ! โอ้โฮ! ว้าว! ๖. แสดงความเขา้ ใจหรอื อ้อื ฮือ! รบั รู้ เช่น ออ๋ ! ออ้ ! ออื ! ๗โอ. โ้แฮส! ดเสงอ้ืคขวาาวมสเจะอ็บาปดวดดจี งัเช่น ชนดิ ของคาอุทาน ออ๋ ! เด็กนั่นเป็นน้องเธอ น่ีเอง โอย! โอ๊ย! อยู ! ๘. แสดงความทอ้ ใจ ราคาญ เบอ่ื หนา่ ย เชน่ โอย๊ ! เจบ็ จังเลย เฮอ่ ! ฮื้อ! ๙. แสดงความโลง่ ใจ ฮ้ือ! เสอื้ เลอะเทอะอีกแล้ว ๑๐. แสดงความดีใจ เช่น เชน่ เฮอ! ไชโย! เย้! เฮอ! สอบเสรจ็ แลว้ ไชโย! เราชนะแลว้ สรุปความรู้ คาอุทานใชแ้ สดงอารมณ์ ความรู้สึกตา่ ง ๆ ของผู้พูด ทาใหผ้ ู้ฟงั เข้าใจสิ่งทพ่ี ูดชดั เจนยิง่ ขึ้น
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 5 เรอื่ ง สภุ าษิตสอนหญงิ 571 ใบงานที่ ๓ เรอื่ ง คาอทุ านสอื่ อารมณ์ หน่วยเรยี นรู้ท่ี ๕ เร่อื ง สุภาษิตสอนหญงิ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๖ เรือ่ ง คาอุทาน รายวิชา ภาษาไทย รหัสวชิ า ท๑๖๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๖ คาชแี้ จง อา่ นนิทาน เร่อื ง “แตงโม เจ้ามดแดงจอมข้ีเกยี จ” คดั เลอื กคาอุทานจากเร่อื ง 5 คาแลว้ นามาแต่งประโยค แตงโม เจา้ มดแดงจอมขเี้ กียจ ณ หนองน้ากลางป่าใหญ่ เป็นท่อี ยู่อาศยั ของสตั ว์นานาชนิดและขา้ งหนองนา้ นนั้ เป็นที่อาศยั ทารงั ของมดแดงฝูงหนึ่งมานานแล้ว มดแดงฝูงนี้มีการแบ่งหน้าที่กนั รับผดิ ชอบทุกตวั ท้ังออกหาอาหาร ดแู ล รกั ษาอาณาจกั ร รวมท้ังการเฝา้ เวรยามปอ้ งกนั ภัยตา่ ง ๆ ท่อี าจจะเกดิ แก่อาณาจักรมดแดง “เจา้ แตงโม” เปน็ ทหารหน่วยรับเฝ้าระวังภยั หน้าหนองนา้ ทกุ วันไมเ่ คยได้ผจญภัยกับผองเพอื่ น มันจึงเบ่ือหน่ายในหนา้ ที่ของตนเองมาก จึงมักจะแอบงีบหลับเป็นประจา วนั น้ีเจ้าแตงโมไม่ได้ออกลาดตระเวนรอบหนองน้า เพราะเห็นว่าเหตุการณ์ปกติเช่นทุกวัน จึง แอบงบี หลับ โดยไม่เหน็ ว่านา้ ในหนองน้าเรม่ิ สูงข้ึนเรอื่ ย ๆ จนปริ่มเกือบจะท่วมผืนดินอาณาจักร เพราะ เกดิ น้าป่าไหลหลากลงมาจากภเู ขาสูง “เฮ้ย! เจา้ แตงโม ตน่ื เร็ว น้าจะทว่ มแล้ว รบี ยกกงั หันขึน้ เร็ว” เพื่อนทหารมดตัวหนึง่ มองเห็นจึง รีบบอก “ฮือ!... โอ๊ะ!... เกือบแยไ่ ปแลว้ ซิ” แตงโมตกใจตนื่ รบี ทาหน้าทอี่ ย่างแข็งขัน “น!่ี แตงโม เจ้าแอบงบี หลบั อีกแลว้ นะ ช่างไม่มคี วามรบั ผดิ ชอบเอาเสยี เลย เกอื บทาใหพ้ วกเรา เดือดรอ้ นกันแล้ว ถ้าน้าท่วมขึ้นถึงอาณาจักรโดยไม่ทันได้ต้ังตัว จะเป็นอย่างไรเจ้าคิดดูสิ” เพ่ือน ๆ ดุ แตงโม “เชอะ! เจ้าอยา่ ตกอกตกใจไปหนอ่ ยเลย น่าราคาญ น้ากไ็ มไ่ ด้ท่วมซะหน่อย ฮม่ึ ! หลกี ไป” เพอ่ื นมดแดงเหน็ ว่าตักเตือนไป เจา้ แตงโมกไ็ มเ่ ช่ือฟงั จึงนาเรื่องไปปรกึ ษานางพญามด “ชิชะ! เจ้าแตงโม เราต้องส่ังสอนมันให้รู้ว่าการไม่รับผิดชอบหน้าท่ีของตนนั้น ไม่เพียงแต่ส่ง ผลเสยี ต่อตัวเองเทา่ นัน้ ยังทาให้ผอู้ ืน่ เดอื ดรอ้ นอีกดว้ ย” พวกมดจึงไปรายงานนางพญามด นางพญามด คิดจะสัง่ สอนเจ้าแตงโมให้รสู้ านึก โดยใหจ้ บั เจ้าแตงโมซง่ึ กาลังแอบงีบหลับอยู่ โยนลงไปในหนองน้าทนั ที “ช่วยด้วย! พวกเรา....น้าท่วมแล้ว หนเี ร็ว ชว่ ยดว้ ย! จะจมน้าตายแล้ว”แตงโมตะเกยี กตะกาย อยู่ในนา้ รอ้ งตะโกนให้เพอื่ นชว่ ย “คราวนเี้ จ้ารู้แลว้ ใช่ไหมวา่ ความเดอื ดร้อนจากการละทงิ้ หน้าที่ของตนเองจะนามาซง่ึ ภัยเช่นใด” นางพญามดพูดกบั แตงโมหลังจากทีเ่ หล่าทหารมดช่วยมนั ขน้ึ มาจากหนองน้าแล้ว “ข้าขอโทษท่านนางพญา ข้าสานึกผิดแล้ว ต่อไปน้ีข้าจะต้ังใจทาหน้าท่ีให้ดีที่สุดครับ” แตงโม กลา่ วอยา่ งสานกึ ผดิ ตง้ั แตน่ นั้ มา แตงโมก็ไมเ่ คยงบี หลับในขณะเฝ้ายามอกี เลย
572 คมู่ อื ครูและแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ (ภาษาไทย ป.6) จงยกตัวอยา่ งประโยคทมี่ คี าอุทานจากเรอ่ื ง “แตงโม เจา้ มดแดงจอมขี้เกียจ” แล้ววิเคราะห์ อารมณค์ วามรสู้ กึ ของคาอุทานในประโยคนน้ั ตัวอย่างคาอทุ าน แสดงอารมณ์ อนจิ จา ! เจ้าแตงโมถูกลงโทษอกี แล้ว .......สงสาร....... ๑........................…………………………........……………... ...........แ...ส...ด...ง....อ.....า.....ร...ม...ณ....์ .......... ๒.....................................………………………………………… ๓....................................………………………………………… .. ๔.....................................………………………………………… ๕....................................………………………………………… แสดงอารมณ์ .................................................. …………………………แ……ส..…ด….ง..อ...า..รมณ์ ................................................ แสดงอารมณ์ .................................................. ………………………แ……ส….ด.……งอารมณ์ ...................................................... .. .... ชอ่ื ....................................................................................ชัน้ .....…...…..…...…..…...…....…..เลขท.ี่ ............. ……………….…
หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 5 เร่อื ง สุภาษติ สอนหญิง ๕๗๓ เวลา ๑ ช่วั โมง แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๗ เร่ือง ประโยครวม ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๖ หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ ๕ เรื่อง สภุ าษิตสอนหญงิ กลุม่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย รายวชิ าภาษาไทย ๑. มาตรฐานการเรยี นร้/ู ตวั ชี้วดั มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษาและพลังของ ภาษา ภมู ปิ ญั ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบัติของชาติ ตวั ช้วี ดั ป.๖/๔ ระบลุ ักษณะของประโยค ๒. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด ประโยครวมเปน็ การนาประโยคสามัญตง้ั แต่ ๒ ประโยคขึ้นไปมารวมกนั โดยมคี าเชอ่ื มเชื่อมประโยค 3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. ดา้ นความรู้ ความเขา้ ใจ (K) บอกลักษณะของประโยครวมได้ ๒. ดา้ นทักษะกระบวนการ (P) แต่งประโยคและแยกสว่ นประกอบของประโยครวมได้ ๓. ด้านคณุ ลักษณะ เจตคติ คา่ นิยม (A) ใชป้ ระโยครวมไดถ้ กู ตามหลักภาษาไทย 4. สาระการเรียนรู้ ประโยครวม 5. สมรรถนะสาคัญของผูเ้ รียน 5.1 ความสามารถในการสือ่ สาร 5.2 ความสามารถในการคิด 5.3 ความสามารถในการแกป้ ัญหา 5.4 ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ 6. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 6.1 มีวินัย 6.2 ใฝเ่ รยี นรู้ 6.3 ม่งุ ม่นั ในการทางาน 6.4 อยูอ่ ย่างพอเพียง 7. กจิ กรรมการเรียนรู้
๕๗๔ ค่มู ลาํ ดบั การจัดกจิ กรรมการเรียนร ที่ แผนการจัดการเรยี น 1. รายวชิ า ภาษาไทย หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๕ 2. ขอบเขตเนือ้ หา/ ขัน้ ตอนการ เวลา แ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ จัดการเรยี นรู้ ท่ใี ช้ ขอบเขตเนอื้ หา กิจกรรมคร ๑. ลักษณะประโยครวม ขน้ั นาํ ๕ ๑. ครใู ห้นักเรยี นดตู ัวอ ๒. แตง่ และแยก นาที ประโยคจากสอ่ื การนาํ สว่ นประกอบของ ขน้ั สอน “ประโยครวม” ดังน้ี ประโยครวม ๒๐ ฉนั กนิ ขา้ ว ฉนั และพ นาที ครู : นกั เรยี นคดิ วา่ ประ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ เหมอื นหรอื ต่างกันอยา่ 1. บอกลักษณะของ ๒. ครูและนกั เรยี นร่ว ประโยครวมได้ อภิปรายความแตกตา่ ประโยคทัง้ ๒ ประโยค เชอ่ื มโยงเข้าสเู่ ร่อื ง “ป รวม” ๑. ครอู ธิบายความหม การแยกสว่ นประกอบข ครู : ประโยคมีสว่ นปร ด้วยกนั กีส่ ่วน อะไรบ้า ครู : ประโยคมสี ว่ นปร ด้วยกนั ๒ ส่วน กลา่ ว ประธาน และภาคแสด
มอื ครูและแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ภาษาไทย ป.6) รู้ ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ นรู้ที่ ๗ ประโยครวม เรื่อง สภุ าษติ สอนหญิง จาํ นวน ๑ ชว่ั โมง แนวการจดั การเรยี นรู้ สอ่ื การเรยี นรู้ การประเมิน ๑. สือ่ การนาํ เสนอ การเรยี นรู้ รู กิจกรรมนกั เรยี น เรื่อง ประโยครวม อยา่ ง าเสนอ พ่อกนิ ข้าว นักเรยี น : ตอบตามทีต่ นเอง ะโยคดังกล่าว เข้าใจ างไร วมกนั างของ ค เพื่อ ประโยค มายและ นักเรียน : ตอบตาม ของประโยค ความเขา้ ใจทีเ่ คยศกึ ษามา ระกอบ นักเรียน : ภาคประธาน คอื าง แดง ระกอบ ภาคแสดง คือ ใสเ่ ส้อื วคอื ภาค ดง (แดงใส่
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 5 เรอ่ื ง สภุ าษติ สอนหญิง ลาํ ดบั ขอบเขตเนอ้ื หา/ ขั้นตอนการ เวลา แ ที่ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ จัดการเรยี นรู้ ทใ่ี ช้ กจิ กรรมคร ๒๐ เสอ้ื ) จากประโยค ดัง 3. 2. แต่งประโยคและ ขน้ั ปฏบิ ตั ิ นาที ตามสว่ นประกอบได้อ แยกสว่ นประกอบของ 2. ครทู บทวนความรเู้ ประโยครวมได้ ประโยคสามญั ๓. ครูใหน้ กั เรยี นศกึ ษ ความรทู้ ี่ ๖ รวม และ ประโยครวมจากส่ือกา “ประโยครวม” ๔. ครตู ้งั คําถามเพ่ือต ความรขู้ องนักเรียนดัง ครู : ประโยคสามัญแล ประโยครวมตา่ งกันอย ๑. ครใู หน้ กั เรยี นแตล่ ประโยครวม โดยการจ บตั รคําชนิดของประโ และนาํ เสนอหน้าชัน้ เร ๑. เชือ่ มความคลอ้ ย ๒. เชือ่ มความขัดแย ๓. เชือ่ มความใหเ้ ลือ อยา่ งหนึ่ง ๔. เชือ่ มความเปน็ เหต
๕๗๕ แนวการจดั การเรียนรู้ ส่ือการเรยี นรู้ การประเมนิ ๒. ใบความรู้ท่ี ๖ การเรยี นรู้ รู กจิ กรรมนกั เรยี น เรอ่ื งประโยครวม ๓. บัตรคําชนดิ - ประเมิน งกลา่ ว แบ่ง ของประโยครวม การตอบคาํ ถาม อย่างไร - ประเมิน เรอ่ื ง นกั เรยี น : ศึกษาใบความรทู้ ่ี การแตง่ ประโยค ๖ เรอ่ื งประโยครวม ษาใบ ะตวั อย่าง นักเรยี น : ประโยครวมกล่าวถึง ารนาํ เสนอ สงิ่ ใดส่งิ หนงึ่ เพยี งส่ิงเดียว ประโยครวมคอื การนาํ ตรวจสอบ ประโยคสามญั มารวมกนั และ งนี้ มีตวั เชื่อม ละ ยา่ งไร ละกลมุ่ แตง่ นักเรียน : แตง่ ประโยครวม จับฉลาก ตามฉลากที่จับได้ พรอ้ มกบั โยครวม นําเสนอหนา้ ชั้นเรยี น รยี น ดังนี้ ยตามกนั ย้งกัน อกอยา่ งใด ตุเปน็ ผลกนั
๕๗๖ ค่มู ลําดบั ขอบเขตเนื้อหา/ ขั้นตอนการ เวลา แ ท่ี จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ จดั การเรียนรู้ ท่ีใช้ กิจกรรมคร ๒. ครใู ห้นกั เรยี นแยก 4. 3. ใช้ประโยครวมได้ ข้นั สรปุ ๕ ส่วนประกอบของประ ถกู ตามหลักภาษาไทย นาที จากใบงานที่ ๖ ประโย โดยใชก้ ระบวนการกล ๑. ครูและนกั เรยี นร่ว เรือ่ ง ประโยครวม ครู : นกั เรยี นจะนําคว ประโยครวม ไปใช้ใน ชวี ติ ประจําวนั ได้อยา่ ง
มือครแู ละแผนการจัดการเรียนรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ภาษาไทย ป.6) แนวการจดั การเรียนรู้ สื่อการเรยี นรู้ การประเมิน ๔. ใบงานท่ี 4 การเรียนรู้ รู กิจกรรมนกั เรยี น ประโยครวม - ประเมนิ ใบงาน ก นักเรียน : แยกสว่ นประกอบ - ประเมนิ ะโยครวม ของประโยครวมโดยใช้ การตอบคาํ ถาม ยครวม กระบวนการกล่มุ ลมุ่ วมกันสรปุ นกั เรยี น : ใช้คาํ เช่อื มประโยค ใหถ้ กู ต้องเพอื่ ให้การส่อื สาร วามรู้เรอื่ ง ชัดเจนและประโยค สละสลวย งไร
หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 5 เร่ือง สภุ าษิตสอนหญงิ 577 ๘. ส่อื การเรียนร/ู้ แหล่งการเรยี นรู้ ๑. สอื่ การนาเสนอ เรื่อง ประโยครวม ๒. ใบความร้ทู ี่ ๖ เรอ่ื ง ประโยคสามัญ ประโยครวม ประโยคซอ้ น ๓. บตั รคาชนดิ ของประโยครวม ๔. ใบงานท่ี 4 เรือ่ ง ประโยครวม ๙. การประเมนิ ผลรวบยอด ส่ิงที่ต้องการวดั /ประเมิน วิธกี าร เครื่องมอื ท่ีใช้ เกณฑ์ ด้านความรู้ - ตอบคาถาม - บอกลกั ษณะของประโยครวม - คาถาม ผ่านเกณฑ์ - ประเมนิ ใบงาน การประเมินรอ้ ยละ ดา้ นทกั ษะและกระบวนการ ๖๐ ขน้ึ ไป - แต่งประโยคและแยกสว่ นประกอบ - ตอบคาถาม ของประโยครวม - แบบประเมินใบงาน ผ่านเกณฑ์ 1. การสังเกต การประเมนิ รอ้ ยละ ด้านคุณลกั ษณะ เจตคติ ค่านยิ ม พฤติกรรม ๖๐ ขึ้นไป - ใช้ประโยครวมไดถ้ ูกตามหลัก 2. การตอบคาถาม ภาษาไทย 1. การสังเกต - คาถาม ผา่ นเกณฑ์ พฤตกิ รรม การประเมนิ ระดับ ด้านคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 2. การตอบคาถาม ผา่ น 1. มีวนิ ยั 2. ใฝเ่ รียนรู้ - แบบประเมนิ ผา่ นเกณฑ์ 3. มุ่งมนั่ ในการทางาน คาถาม การประเมินระดับ 4. อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง - แบบประเมนิ ผ่าน สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน การทางานกลมุ่ 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 1. แบบประเมิน ผา่ นเกณฑ์ 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา คาถาม การประเมินระดบั ๔. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต 2. แบบประเมิน ผ่าน การทางานกลมุ่
578 คมู่ ือครูและแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ภาษาไทย ป.6) ช้นิ งานหรอื ภาระงาน ใบงานท่ี ๖ เรอื่ ง ประโยครวม ประเด็นการประเมิน ระดบั คุณภาพ 1. แต่งประโยครวมโดย ใชค้ าเชอื่ มได้ถกู ต้อง ๔ (ดมี าก) ๓ (ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง) แต่งประโยครวม แต่งประโยครวม โดยใช้คาเช่อื มได้ แต่งประโยครวม แตง่ ประโยครวม โดยใช้คาเชอ่ื มได้ ถกู ตอ้ งท้ังหมด โดยใช้คาเชอื่ มได้ โดยใช้คาเช่อื มได้ ถูกตอ้ งต่ากว่า ๖ ถกู ตอ้ ง ๘ ถกู ตอ้ ง ๗ ประโยค ประโยค ประโยค หมายเหตุ : ค่านา้ หนัก ๕ คะแนน เกณฑ์การประเมนิ คุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ ๑๘-๒๐ ดีมาก ๑๕-๑๗ ดี ๑๒-๑๔ พอใช้ ต่ากวา่ ๑๒ ปรับปรงุ เกณฑก์ ารตัดสิน : ผ่านเกณฑ์การประเมินระดบั พอใช้ขึน้ ไป
หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 5 เรือ่ ง สุภาษิตสอนหญิง 579 ๑๐. บนั ทึกผลหลงั สอน ผลการจัดการเรยี นการสอน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ความสาเรจ็ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ปัญหาอปุ สรรค .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ข้อจากดั การใช้แผนการจัดการเรยี นรู้ และข้อเสนอแนะ/แนวทางการปรบั ปรุงแกไ้ ข .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่ือ......................................................ผสู้ อน (..........................................................) วนั ท่ี ............. เดือน ..........พ.ศ. .................. ๑๑. ความคดิ เหน็ /ข้อเสนอแนะของผู้บรหิ ารหรอื ผทู้ ไ่ี ด้รับมอบหมาย .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่ือ......................................................ผู้ตรวจ (..........................................................) วนั ที่ ............. เดอื น ..........พ.ศ. ..................
580 คูม่ ือครูและแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ภาษาไทย ป.6) ใบความร้ทู ่ี ๖ เรอ่ื ง ประโยครวม หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี ๕ เรื่อง สุภาษติ สอนหญิง แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี ๗ เร่ือง ประโยครวม รายวิชา ภาษาไทย รหัสวชิ า ท๑๖๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๖ ประโยค แบ่งตามโครงสรา้ งได้ ๓ ชนดิ คือ ประโยคสามัญ หรอื ประโยคพน้ื ฐาน ประโยครวม และ ประโยคซ้อน ประโยคสามัญหรือประโยคพื้นฐาน ประโยคสามญั หรอื ประโยคพน้ื ฐาน ประกอบด้วยสว่ นสาคญั ๒ ส่วน คือ ประธานและภาคแสดง บางประโยค ประธาน อาจเปน็ คานามหรือสรรพนาม และภาคแสดงเปน็ คากรยิ า ทเ่ี รียกว่ากรยิ า อกรรม เช่น ประธาน ภาคแสดง คานาม สรรพนาม คากริยาอกรรม นักเรียน - ดใี จ - ฉนั ว่งิ บางประโยคอาจมีคานามหรือคาสรรพนามอยหู่ ลงั คากริยาทเ่ี รยี กว่า กรยิ าสกรรม เชน่ ประธาน ภาคแสดง คานาม คาสรรพนาม คากริยาสกรรม คานาม คาสรรพนาม ตารวจ - สืบคน้ ข้อมูล - - เขา เตือน - ฉนั บางประโยคมโี ครงสร้างซบั ซอ้ นข้ึน คือ มีส่วนขยายประธาน มีสว่ นขยายคากริยา เช่น ประธาน ภาคแสดง คานาม คาสรรพนาม สว่ นขยาย คากริยา คานาม คาสรรพนาม ส่วนขยายคากริยา มด - ตัวน้อย กนิ น้าหวาน - - เขา คนนน้ั ชอบ - เธอ เจา้ หน้าที่ - กด ปุ่ม - ทนั ที ลิง - ของคุณลงุ กนิ กล้วย - รวดเรว็ ภาษาพาที ช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๕ กระทรวงศกึ ษาธิการ : ๒๕๕๖.หน้า ๖๗-๖๙
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง สภุ าษิตสอนหญงิ 581 ประโยครวม ประโยครวม คือ ประโยคย่อยที่เป็นประโยคพ้ืนฐาน หรอื ประโยคสามัญตั้งแต่ ๒ ประโยคขนึ้ ไปมา รวมกัน โดยมีคาเชอ่ื ม เชอ่ื มประโยค เพอื่ ให้ไดใ้ จความตดิ ตอ่ กนั เปน็ ประโยคเดียวกนั ถา้ ประธานหรือกรยิ าของ ประโยคเป็นคาเดยี วกันก็อาจละได้ ดังตัวอยา่ ง ประโยค ชนดิ ของประโยค - ขวัญข้าวชอบอ่านหนงั สือทกุ วัน ประโยคสามญั - ขวัญข้าวชอบเขยี นหนงั สอื ทุกวนั ประโยคสามญั - ขวญั ข้าวชอบอ่านและชอบเขยี นหนงั สอื ทกุ วนั ประโยครวม เชื่อมด้วยคาเช่อื ม และ - วนั น้ีฉันอยากจะไปดูนทิ รรศการ ประโยคสามญั - วนั น้แี ม่ใหเ้ ล้ยี งนอ้ ง ประโยคสามญั - วันน้ีฉันอยากจะไปดูนทิ รรศการแต่แมใ่ หเ้ ลี้ยงนอ้ ง ประโยครวม เชอ่ื มดว้ ยคาเช่อื ม แต่ - เขาอยากจะเปน็ นักกฬี า ประโยคสามญั - เขาอยากจะเป็นนักดนตรี ประโยคสามญั - เขาอยากจะเปน็ นักกฬี าหรอื อยากจะเปน็ นกั ดนตรี ประโยครวม เชื่อมดว้ ยคาเชอ่ื ม หรอื - ดวงดาวชอบฟังเพลง ประโยคสามญั - ดวงดาวชอบดูโทรทศั น์ ประโยคสามญั -ดวงตาชอบอ่านหนงั สือ ประโยคสามญั -ดวงดาวชอบฟงั เพลงและดูโทรทศั น์ แตด่ วงตาชอบ ประโยครวม เช่ือมด้วยคาเชือ่ ม และ , แต่ (ละ อ่านหนังสอื ประธาน ดวงดาว และ ละกริยา ชอบ) ภาษาพาที ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร : ๒๕๕๖.หนา้ ๑๒๒-๑๒๓
582 คูม่ อื ครูและแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ภาษาไทย ป.6) ใจความในประโยค เชอื่ มความรวคมลอ้ ยตามกัน เชือ่ มความขดั แย้งกัน เชอ่ื มความเปน็ เหตเุ ปน็ ผลกัน เชอ่ื มความใหเ้ ลอื กอยา่ งใดอย่างหนึ่ง
หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 5 เรื่อง สุภาษิตสอนหญงิ 583 ใบงานที่ ๔ เรือ่ ง ประโยครวม หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๕ เรอ่ื ง สภุ าษิตสอนหญิง แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๗ เรื่อง ประโยครวม รายวชิ า ภาษาไทย รหัสวชิ า ท๑๖๑๐๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๖ คาชแี้ จง ให้นักเรยี นแตง่ ประโยครวม และแยกประโยคสามญั จากประโยครวม ๑. ประโยครวม : …………………………………………………………………………………………………………. ประโยคสามญั : ……………………………………………………………………………………..………………......................... ประโยค สามัญ : ………………………………………………………………………………………………………………..………… ๒. ประโยครวม : …………………………………………………………………………………………………………. ประโยคสามญั : ……………………………………………………………………………………..……………….......................... ประโยค สามัญ : ………………………………………………………………………………………………………………..……….… ๓. ประโยครวม : …………………………………………………………………………………………………………. ประโยคสามญั : ……………………………………………………………………………………..………………......................... ประโยค สามญั : ………………………………………………………………………………………………………………..………… ๔. ประโยครวม : …………………………………………………………………………………………………………. ประโยคสามญั : ……………………………………………………………………………………..………………......................... ประโยค สามญั : ………………………………………………………………………………………………………………..………… ๕. ประโยครวม : …………………………………………………………………………………………………………. ประโยคสามญั : ……………………………………………………………………………………..………………......................... ประโยค สามัญ : ………………………………………………………………………………………………………………..………… ชือ่ ....................................................................................ชั้น.......................เลขท่ี..............
584 คู่มือครูและแผนการจัดการเรียนรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ภาษาไทย ป.6) แนวคาตอบ ใบงานท่ี ๔ เรื่อง ประโยครวม หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๕ เร่ือง สุภาษติ สอนหญิง แผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี ๗ เร่อื ง ประโยครวม รายวชิ า ภาษาไทย รหสั วิชา ท๑๖๑๐๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๖ คาชแ้ี จง ให้นักเรยี นแต่งประโยครวม และแยกประโยคสามญั จากประโยครวม ๑. ประโยครวม : นักเรียนกลับบา้ นเม่ือโรงเรียนเลิก ประโยคสามัญ : นกั เรียนกลบั บ้าน ประโยคสามญั : โรงเรยี นเลิก ๒. ประโยครวม : ฉันและเธออา่ นหนงั สือในห้องสมุด ประโยคสามัญ : ฉนั อ่านหนงั สือในห้องสมุด ประโยคสามัญ : เธออ่านหนังสือในห้องสมุด ๓. ประโยครวม : เธอจะไปเทีย่ วสวนสัตว์หรือชายทะเล ประโยคสามญั : เธอจะไปเทย่ี วสวนสตั ว์ ประโยคสามญั : เธอจะไปเทีย่ วชายทะเล ๔. ประโยครวม : พ่ชี อบเล่นเทนนสิ แต่น้องชอบเล่นปงิ ปอง ประโยคสามญั : พ่ีชอบเล่นเทนนิส ประโยคสามญั : น้องชอบเล่นปงิ ปอง ๕. ประโยครวม : เพราะขวญั ต้ังใจเรยี นสม่าเสมอจึงทาขอ้ สอบได้ ประโยคสามัญ : ขวญั ตั้งใจเรยี นสม่าเสมอ ประโยคสามญั : ขวญั ทาข้อสอบได้
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 5 เรือ่ ง สุภาษติ สอนหญงิ ๕๘๕ เวลา ๑ ช่วั โมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๘ เรอื่ ง ประโยคซ้อน ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๕ เรอ่ื ง สภุ าษติ สอนหญิง กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย รายวชิ าภาษาไทย ๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชวี้ ดั มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษาและพลังของ ภาษา ภมู ปิ ัญญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบัตขิ องชาติ ตัวชว้ี ัด ป.๖/๔ ระบุลักษณะของประโยค ๒. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด ประโยคซ้อนเปน็ ประโยคท่ีมีใจความสาคัญเป็นประโยคหลักและมีประโยคย่อยทาหน้าที่เปน็ คานาม ของประโยคหลัก 3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. ด้านความรู้ ความเขา้ ใจ (K) บอกลกั ษณะของประโยคซ้อนได้ ๒. ดา้ นทักษะกระบวนการ (P) แตง่ ประโยคซ้อนและจาแนกประโยคซ้อนได้ ๓. ด้านคณุ ลักษณะ เจตคติ คา่ นยิ ม (A) ใชป้ ระโยคซ้อนไดถ้ ูกตามหลักภาษาไทย 4. สาระการเรยี นรู้ ประโยคซ้อน 5. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี น 5.1 ความสามารถในการส่ือสาร 5.2 ความสามารถในการคิด 5.3 ความสามารถในการแก้ปัญหา 5.4 ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวิต 6. คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ 6.1 มวี นิ ัย 6.2 ใฝเ่ รยี นรู้ 6.3 มงุ่ มน่ั ในการทางาน 6.4 อยู่อย่างพอเพยี ง 7. กิจกรรมการเรยี นรู้
๕๘๖ คู่ม การจดั กจิ กรรมการเรยี นร แผนการจดั การเรยี น รายวชิ า ภาษาไทย หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๕ ลาดบั ขอบเขตเน้อื หา/ ขัน้ ตอนการจดั เวลา แ ที่ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ การเรียนรู้ ที่ใช้ กิจกรรมคร 1. ขอบเขตเน้อื หา ขั้นนา ๕ ๑. ครทู บทวนเร่ืองปร ๑. ประโยคซ้อน นาที สามญั และประโยครว ๒. จาแนกประโยค นกั เรยี นศกึ ษาจากปร ซอ้ น ดังนี้ ๑. คณุ ย่ารบั ประ ๒. คณุ ย่ารบั ประ เพราะไมส่ บาย ๓. คุณย่ารบั ประ ไดม้ าจากโรงพยาบาล ๒. ครแู ละนกั เรียนร่ว วเิ คราะหป์ ระโยค ครู : ประโยคทงั้ ๓ ประ ความต่างหรอื เหมอื นก จากนนั้ เชอื่ มโยงเข้าส ประโยคซอ้ น เป็นลาด 2. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ขั้นสอน ๒๐ ๑. ครใู ห้นกั เรียนร่วม 1. บอกลกั ษณะของ นาที ใบความรูท้ ่ี ๗ เรอื่ งป ประโยคซ้อนได้ ซอ้ น
มอื ครูและแผนการจดั การเรียนรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ภาษาไทย ป.6) รู้ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ นรู้ที่ ๘ ประโยคซ้อน เรอื่ ง สภุ าษิตสอนหญิง จานวน ๑ ช่ัวโมง แนวการจัดการเรียนรู้ สื่อการเรยี นรู้ การประเมนิ รู กจิ กรรมนกั เรยี น การเรยี นรู้ ระโยค นกั เรยี น : ทบทวนประโยค ๑. ส่อื วม โดยให้ สามัญและประโยครวม การนาเสนอ ระโยค เรอ่ื ง ประโยค ซ้อน ะทานยา ะทานยา ะทานยาซง่ึ นักเรยี น : ตอบตาม ล ประสบการณเ์ ดมิ ท่ีเคยศกึ ษา วมกัน มา ะโยค มี กันอย่างไร สู่เรอื่ ง ดับถดั ไป มกันศึกษา นกั เรยี น : ศกึ ษาใบความร้ทู ่ี ๒. ใบความรู้ท่ี ๗ - ประเมิน ประโยค ๗ เรอื่ งประโยคซ้อน ประโยคซ้อน การตอบคาถาม
หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 5 เรอ่ื ง สุภาษติ สอนหญงิ ลาดบั ขอบเขตเนื้อหา/ ขั้นตอนการจดั เวลา แ ที่ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ การเรียนรู้ ทีใ่ ช้ กิจกรรมคร ๒. ครูนานักเรียนอภ ความหมายของประโ และการแยกสว่ นประ ประโยคซ้อน และยก ประโยคซอ้ น จากสือ่ นาเสนอ “ประโยคซ้อ ๓. ครตู งั้ คาถามเพอ่ื ต ความเข้าใจของนักเรีย ครู : ใจความของประ ประโยคซอ้ นเป็นอยา่ ครู : ประโยคซอ้ นแต ประโยครวมอย่างไร 3. 2. แต่งประโยคซ้อน ข้ันปฏิบตั ิ ๒๐ ๑. ครูให้นักเรียนจบั ฉ และจาแนกประโยค นาที คาเช่อื มในประโยคซ้อ ซอ้ นได้ แตง่ ประโยค พรอ้ มกบั หนา้ ชน้ั เรียน (ท,ี่ ซง่ึ , จน, เพือ่ , ตง้ั แต่, เพร
๕๘๗ แนวการจัดการเรียนรู้ สอื่ การเรียนรู้ การประเมนิ รู กิจกรรมนักเรียน การเรยี นรู้ ภปิ ราย - ประเมิน โยคซอ้ น พฤติกรรม ะกอบของ กตวั อย่าง องาน อน” ตรวจสอบ นกั เรยี น : มปี ระโยคหลกั ท่ีมี ๓. บัตรคาเชือ่ ม ยนดงั น้ี ใจความสาคญั และประโยค ในประโยคซอ้ น ะโยคใน ยอ่ ยมาขยายประโยคหลกั ใหม้ ี างไร ความชัดเจนยง่ิ ขน้ึ ตกตา่ งจาก นักเรยี น : ประโยครวม ใจความของทงั้ สองประโยค เท่ากัน ประโยคซ้อน ใจความสาคัญ ของทัง้ สองประโยคไมเ่ ทา่ กนั ฉลากบัตร นักเรียน : แบง่ กลมุ่ กลมุ่ ละ 4. บตั รคา - ประเมินใบงาน อนแลว้ ๔ คน ฝกึ แต่งประโยคซอ้ น บนาเสนอ โดยยึดตามฉลากบตั รคาเช่ือม อัน, เมอ่ื , ในประโยค พรอ้ มกบั นาเสนอ ราะ) หนา้ ชั้นเรยี น
๕๘๘ คู่ม ลาดับ ขอบเขตเนื้อหา/ ขั้นตอนการจดั เวลา แ ที่ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ การเรียนรู้ ทใ่ี ช้ กิจกรรมคร ครู : ประเมนิ การแตง่ ของนกั เรยี น และให้ขอ้ เพิ่มเตมิ ๒. ครูให้นักเรียนแยก ประกอบของประโยค ใบงานท่ี 5 จาแนกปร 4. 3. ใช้ประโยคซ้อนได้ ขั้นสรปุ ๓. ครูประเมนิ ผลงาน ถูกตามหลกั ภาษาไทย นักเรียน ๕ ๑. ครใู ห้นักเรียนสรปุ นาที เร่ืองประโยค ในใบงา แผนผงั ความคิดเร่ืองป ๒. ครใู ห้นักเรยี นร่วม ความร้เู ร่ืองประโยคซ การร่วมกันอภปิ รายค ประเดน็ ตอ่ ไปน้ี ครู : ในชีวิตประจาวัน นักเรียนมีการใช้ประโ การสอื่ สารในโอกาสใ ครู : การใช้ประโยคซ การสอ่ื สารตอ้ งคานงึ ถ
มอื ครูและแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ภาษาไทย ป.6) แนวการจัดการเรยี นรู้ สื่อการเรยี นรู้ การประเมิน การเรยี นรู้ รู กิจกรรมนักเรียน งประโยค นักเรยี น : นาเสนอผล อเสนอแนะ การแตง่ ประโยคซ้อน กสว่ น นกั เรยี น : ทาใบงานท่ี 5 5. ใบงานท่ี 6 - ประเมนิ ใบงาน คซอ้ น จาก จาแนกประโยคซ้อน แผนผังความคดิ ระโยคซอ้ น เรอื่ งประโยค นของ ปความรู้ นกั เรยี น : สรปุ ความรูเ้ ร่ือง ประเมนิ การตอบ านท่ี 6 ประโยค (ประโยคแบง่ คาถาม ประโยค ออกเปน็ ๓ ชนดิ คือ สามัญ, มกันสรุป รวม, ซอ้ น... เปน็ ต้น) ซ้อนโดย ความรู้ใน นของ นักเรียน : การพดู หรือ โยคซ้อนใน การเขียน ใดบา้ ง ซ้อนใน นักเรยี น : การใช้คาเชอ่ื ม ถงึ สงิ่ ใด ประโยค
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 5 เรอื่ ง สภุ าษิตสอนหญิง 589 ๘. ส่ือการเรียนรู้/แหลง่ การเรียนรู้ ๑. สอ่ื การนาเสนอ เรอื่ ง ประโยคซอ้ น ๒. ใบความรู้ที่ ๗ ประโยคซ้อน ๓. บัตรคาเช่ือมในประโยคซ้อน ๔. ใบงานท่ี 5 เรอื่ ง จาแนกประโยคซอ้ น ๙. การประเมินผลรวบยอด สิง่ ท่ตี ้องการวดั /ประเมนิ วิธกี าร เครอื่ งมือที่ใช้ เกณฑ์ ด้านความรู้ - ตอบคาถาม - บอกลกั ษณะของประโยคซอ้ น - คาถาม ผา่ นเกณฑ์ การประเมนิ รอ้ ยละ ๖๐ ขนึ้ ไป ด้านทกั ษะและกระบวนการ - ประเมินใบงาน - แบบประเมินใบงาน ผ่านเกณฑ์ - แตง่ ประโยคซ้อนและจาแนก การประเมินรอ้ ยละ ประโยคซอ้ น ๖๐ ขึ้นไป ด้านคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ - ประเมินใบงาน - แบบประเมนิ ใบงาน ผา่ นเกณฑ์ - ใชป้ ระโยคซ้อนไดถ้ ูกตามหลัก การประเมินระดบั ภาษาไทย ผา่ น ดา้ นคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. การสังเกต 1. แบบประเมนิ ผา่ นเกณฑ์ 1. มวี ินยั พฤติกรรม คาถาม การประเมินระดบั 2. ใฝเ่ รียนรู้ 2. การตอบคาถาม 2. แบบประเมิน ผา่ น 3. มุง่ ม่ันในการทางาน 1. การสงั เกต การทางานกลมุ่ 4. อยู่อยา่ งพอเพยี ง พฤติกรรม สมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี น 2. การตอบคาถาม 1. แบบประเมิน ผ่านเกณฑ์ 1. ความสามารถในการสื่อสาร คาถาม การประเมนิ ระดบั 2. ความสามารถในการคิด 2. แบบประเมิน ผา่ น 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา การทางานกลมุ่ ๔. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ
590 คูม่ ือครแู ละแผนการจดั การเรียนรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ภาษาไทย ป.6) ช้ินงานหรอื ภาระงาน เกณฑก์ ารประเมนิ ใบงานที่ ๖ เรอื่ ง แผนภาพความคิดประโยค ประเด็นการประเมนิ ๔ (ดมี าก) ระดบั คุณภาพ ๑ (ปรับปรุง) ๓ (ดี) ๒ (พอใช้) 1. แตง่ ประโยคซอ้ นและ แตง่ ประโยคซ้อน แตง่ ประโยคซ้อน แต่งประโยคซอ้ น แต่งประโยครวม จาแนกประโยคซอ้ น และจาแนก และจาแนก และจาแนก โดยใช้คาเช่ือมได้ ประโยคซ้อนได้ ประโยคซอ้ นได้ได้ ถูกต้องต่ากว่า ๓ ประโยคซ้อนได้ ได้ถกู ตอ้ ง ๔ ถกู ต้อง ๓ ประโยค ถกู ต้องท้ังหมด ประโยค ประโยค หมายเหตุ : คา่ นา้ หนกั ๕ คะแนน เกณฑก์ ารประเมินคุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ ๑๘-๒๐ ดีมาก ๑๕-๑๗ ดี ๑๒-๑๔ พอใช้ ตา่ กว่า ๑๒ ปรบั ปรงุ เกณฑ์การตดั สนิ : ผ่านเกณฑก์ ารประเมินระดบั พอใช้ขน้ึ ไป
หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 5 เรอ่ื ง สุภาษิตสอนหญงิ 591 ๑๐. บันทึกผลหลงั สอน ผลการจัดการเรยี นการสอน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ความสาเรจ็ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ปัญหาอปุ สรรค .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ขอ้ จากัดการใช้แผนการจดั การเรียนรู้ และขอ้ เสนอแนะ/แนวทางการปรบั ปรุงแกไ้ ข .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่ือ......................................................ผสู้ อน (..........................................................) วนั ที่ ............. เดือน ..........พ.ศ. .................. ๑๑. ความคดิ เห็น/ขอ้ เสนอแนะของผู้บริหารหรือผทู้ ไี่ ดร้ ับมอบหมาย .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่อื ......................................................ผู้ตรวจ (..........................................................) วันท่ี ............. เดือน ..........พ.ศ. ..................
592 คมู่ อื ครแู ละแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ภาษาไทย ป.6) สื่อสาหรับครู บตั รคาเช่อื มในประโยคซอ้ น หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี ๕ เรอื่ ง สุภาษิตสอนหญิง แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ ๘ เรอื่ ง ประโยคซ้อน รายวิชา ภาษาไทย รหสั วิชา ท๑๖๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๖ ที่ ซง่ึ อัน เมือ่ จน เพ่อื ตั้งแต่ เพราะ
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 5 เรือ่ ง สภุ าษิตสอนหญิง 593 ใบความรทู้ ่ี ๗ เรอ่ื ง ประโยคซอ้ น หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี ๕ เรื่อง สุภาษติ สอนหญิง แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๘ เรือ่ ง ประโยคซอ้ น รายวิชา ภาษาไทย รหัสวชิ า ท๑๖๑๐๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๖ ประโยคซอ้ น คอื ประโยคทมี่ ีใจความสาคัญเป็นประโยคหลกั และมอี นปุ ระโยคซึ่งมคี าเชือ่ มอยู่ ขา้ งหน้าอนุประโยคนน้ั เชน่ ที่ ซ่งึ อนั เมอื่ จน เพ่ือ ต้ังแต่ เพราะ ฯลฯ ดังตัวอยา่ ง ประโยค ชนดิ ของประโยค ๑. นักเรียนเขยี นรายงานทคี่ ดิ หวั ขอ้ ข้ึนเอง ประโยคซอ้ น นกั เรยี นเขยี นรายงาน ประโยคหลกั อนุประโยค ทาหน้าทข่ี ยายคานาม รายงาน ท่ี เป็นคาเชือ่ ม ทคี่ ิดหัวขอ้ ขึน้ เอง ๒. ขวัญข้าวซึ่งเปน็ คนขยันกังวลใจเก่ียวกับ ประโยคซ้อน การบา้ น ประโยคหลกั ขวญั ขา้ วกงั วลใจเกี่ยวกบั การบา้ น อนปุ ระโยค ทาหน้าทข่ี ยายคานาม ขวญั ข้าว ซึง่ เป็นคาเชอ่ื ม ซึง่ เปน็ คนขยัน ๓. นักเรียนกลบั บา้ นเมือ่ โรงเรียนเลกิ ประโยคซ้อน นักเรียนกลบั บา้ น ประโยคหลกั เมือ่ โรงเรียนเลกิ อนุประโยค ทาหนา้ ทขี่ ยายคากริยา กลบั บ้าน เมื่อ เป็นคาเชอ่ื ม ๔. เขาทางานจนหมดแรง ประโยคซ้อน เขาทางาน ประโยคหลกั จนหมดแรง อนปุ ระโยค ทาหนา้ ทข่ี ยายคากริยา ทางาน จน เป็นคาเชื่อม ๕. คุณครูอธบิ ายเพอ่ื ให้นักเรียนเข้าใจ ประโยคซอ้ น คุณครูอธบิ าย ประโยคหลกั เพือ่ ใหน้ กั เรียนเข้าใจ อนปุ ระโยค ทาหน้าท่ีขยายคากรยิ า อธบิ าย เพอ่ื เปน็ คาเช่ือม ภาษาพาที ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๖ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร : ๒๕๕๖.หนา้ ๑๒๓-๑๒
594 คูม่ ือครแู ละแผนการจัดการเรียนรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ (ภาษาไทย ป.6) ใบงานที่ ๕ เรื่อง จาแนกประโยคซอ้ น หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๕ เร่อื ง สภุ าษิตสอนหญิง แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๘ เร่ือง ประโยคซ้อน รายวิชา ภาษาไทย รหสั วชิ า ท๑๖๑๐๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๖ คาช้ีแจง พจิ ารณาประโยคซ้อนตอ่ ไปน้ี แล้วจาแนกเปน็ ประโยคหลัก และประโยคย่อย ตัวอยา่ ง เขามีผกั สดปลอดสารพษิ รบั ประทานเสมอ ประโยคหลัก เขามีผกั สดรบั ประทานเสมอ ประโยคย่อย ผักสดปลอดสารพิษ ๑. มดแดงเปน็ มดชนดิ หนงึ่ ซ่งึ มมี ากกว่า ๑๕,๐๐๐ ชนิด ประโยคหลัก ..................................................................... ประโยคย่อย ..................................................................... ๒. คณุ ปปู่ ลอ่ ยนกพริ าบทต่ี ิดตาขา่ ย ประโยคหลัก ..................................................................... ประโยคยอ่ ย ..................................................................... ๓. นกั เรียนผู้ทไี่ ดร้ บั รางวลั ดีเด่นเปน็ พ่ชี ายของฉันเอง ประโยคหลัก ..................................................................... ประโยคย่อย ..................................................................... ๔. ตารวจจบั ผรู้ ้ายซึ่งขายยาเสพตดิ ประโยคหลัก ..................................................................... ประโยคย่อย ..................................................................... ๕. ศกั ดชิ์ ัยกินอ่ิมจนพุงกาง ประโยคหลกั ..................................................................... ประโยคยอ่ ย ..................................................................... ชอ่ื ..................................................สกลุ ...............................................ชั้น.....................เลขที่ ...............
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 5 เรอื่ ง สุภาษิตสอนหญิง 595 เฉลย ใบงานที่ ๕ เรอ่ื ง จาแนกประโยคซ้อน ชอ่ื ....................................แ..หผ..นน..่ว.ก.ย.า.กร..าจ..รดั.เ.ก.ร.ายี..รน..เร.ร.ทู้.ีย.่ี.น.๕.ร.ู้ท.เ.ร.ี่ .๘่ือ..ง...เส.ร.ุภ่ือ..าง..ษ.ป.ิต.รชสะนั้อโยน..คห..ซ.ญ.อ้..ิงน...............เลขท่.ี ............. รายวชิ า ภาษาไทย รหสั วชิ า ท๑๖๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๖ คาชีแ้ จง พจิ ารณาประโยคซอ้ นต่อไปน้ี แล้วจาแนกเปน็ ประโยคหลัก และประโยคยอ่ ยให้ ตวั อยา่ ง เขามีผักสดปลอดสารพิษรบั ประทานเสมอ ประโยคหลกั เขามีผกั สดรบั ประทานเสมอ ประโยคยอ่ ย ผกั สดปลอดสารพิษ ๑. มดแดงเป็นมดชนดิ หนึง่ ซง่ึ มมี ากกวา่ ๑๕,๐๐๐ ชนดิ ประโยคหลกั มดแดงเปน็ มดชนดิ หน่ึง ประโยคยอ่ ย มดแดงมมี ากกว่า ๑๕,๐๐๐ ชนดิ ๒. คุณปู่ปล่อยนกพริ าบที่ตดิ ตาขา่ ย ประโยคหลกั คุณปู่ปล่อยนกพริ าบ ประโยคย่อย นกพิราบติดตาขา่ ย ๓. นักเรียนผู้ทไ่ี ด้รับรางวัลดีเดน่ เป็นพชี่ ายของฉนั เอง ประโยคหลกั นกั เรียนผู้ได้รับรางวัลดีเด่น ประโยคยอ่ ย นกั เรียนเป็นพ่ีชายของฉนั เอง ๔. ตารวจจบั ผรู้ า้ ยซง่ึ ขายยาเสพตดิ ประโยคหลกั ตารวจจับผู้ร้าย ประโยคย่อย ผ้รู า้ ยขายยาเสพตดิ ๕. ศกั ดิช์ ัยกินอ่ิมจนพุงกาง ประโยคหลกั ศักด์ชิ ัยกนิ อม่ิ ประโยคย่อย ศักดิ์ชัยพงุ กาง
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 517
- 518
- 519
- 520
- 521
- 522
- 523
- 524
- 525
- 526
- 527
- 528
- 529
- 530
- 531
- 532
- 533
- 534
- 535
- 536
- 537
- 538
- 539
- 540
- 541
- 542
- 543
- 544
- 545
- 546
- 547
- 548
- 549
- 550
- 551
- 552
- 553
- 554
- 555
- 556
- 557
- 558
- 559
- 560
- 561
- 562
- 563
- 564
- 565
- 566
- 567
- 568
- 569
- 570
- 571
- 572
- 573
- 574
- 575
- 576
- 577
- 578
- 579
- 580
- 581
- 582
- 583
- 584
- 585
- 586
- 587
- 588
- 589
- 590
- 591
- 592
- 593
- 594
- 595
- 596
- 597
- 598
- 599
- 600
- 601
- 602
- 603
- 604
- 605
- 606
- 607
- 608
- 609
- 610
- 611
- 612
- 613
- 614
- 615
- 616
- 617
- 618
- 619
- 620
- 621
- 622
- 623
- 624
- 625
- 626
- 627
- 628
- 629
- 630
- 631
- 632
- 633
- 634
- 635
- 636
- 637
- 638
- 639
- 640
- 641
- 642
- 643
- 644
- 645
- 646
- 647
- 648
- 649
- 650
- 651
- 652
- 653
- 654
- 655
- 656
- 657
- 658
- 659
- 660
- 661
- 662
- 663
- 664
- 665
- 666
- 667
- 668
- 669
- 670
- 671
- 672
- 673
- 674
- 675
- 676
- 677
- 678
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 550
- 551 - 600
- 601 - 650
- 651 - 678
Pages: