๗๔๙ แนวการจัดการเรียนรู้ ส่อื การเรยี นรู้ การประเมิน รู กิจกรรมนกั เรยี น การเรยี นรู้ ยกันหา นกั เรยี น : ทากจิ กรรม - สงั เกต พฤตกิ รรม าษาระดบั ะดับกึ่ง ปลงใน กทส่ี ดุ ภาษา พดู น กิน พูด แซบ่ น ให้ นกั เรยี น : แต่งประโยค เชน่ ระโยค บรโิ ภค รบั ประทาน กิน ใช้คาจาก - ประชาชนไมค่ วรบรโิ ภค นง่ึ คาแตง่ อาหารทส่ี กุ ๆ ดิบ ๆ แบบแผน - สลัดจานนมี้ ผี กั สดหลายชนิด ะภาษาพดู นา่ รับประทานทงั้ นั้น นาเสนอ - เด็ก ๆ มากินขา้ ว
๗๕๐ คมู่ ลาดับ ขอบเขตเน้ือหา/ ขน้ั ตอนการ เวลา แ ที่ จุดประสงค์การเรยี นรู้ จดั การเรยี นรู้ ท่ใี ช้ กิจกรรมคร 3. 2. วเิ คราะหร์ ะดบั ขนั้ ปฏบิ ตั ิ ๒๐ ๑. ครชู แ้ี จงให้นักเรยี น ภาษาทพี่ บใน นาที เรื่อง ระดับภาษาพาให ชีวิตประจาวันได้ ให้นกั เรียนรวบรวมคา ระดบั ต่าง ๆ และเปลีย่ ในประโยคใหเ้ ป็นภาษา ๒. ขณะนักเรยี นปฏบิ ตั ครใู ห้คาแนะนานักเรีย และคอยเน้นย้าใหน้ กั เ ความสาคญั ของการใช ถูกต้องตามระดับภาษ ๓. ครูใหน้ ักเรยี นนาเสน 4. นาระดบั ภาษาไปใช้ใน ขัน้ สรปุ ๔. ครูประเมนิ ผลงานข ชีวติ ประจาวนั ได้ นกั เรียนทกุ คน ๕ ครใู ห้นกั เรียนร่วมกันแ นาที ความคิดเหน็ เพือ่ สรุปบ จากประเดน็ ตอ่ ไปน้ี ครู : ถ้านักเรยี นใชภ้ าษ ถกู ต้องตามระดับภาษ ผลเสยี อย่างไร
มอื ครแู ละแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ (ภาษาไทย ป.6) แนวการจดั การเรยี นรู้ สอ่ื การเรยี นรู้ การประเมิน การเรยี นรู้ รู กิจกรรมนกั เรียน นทาใบงาน นกั เรียน : ทาใบงานท่ี ๒ เร่ือง ห้คดิ โดย ระดบั ภาษาพาให้คดิ า ภาษา ยนข้อความ าแบบแผน ตกิ ิจกรรม - ประเมินใบงาน ยนเพมิ่ เตมิ เรยี นเหน็ ชภ้ าษาให้ ษา นอผลงาน นกั เรยี น : นาเสนอใบงานท่ี ๒ ของ นกั เรยี น : นกั เรียนประเมนิ ผล แสดง งานของตนเอง บทเรยี น - ประเมนิ การตอบคาถาม ษาไม่ นักเรยี น : ขาดความนา่ เช่ือถือ/ ษาจะเกดิ ผูอ้ ่านหรอื ผู้ฟังเกดิ ความไม่ พอใจ
หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 7 เรอ่ื ง พูดอย่างสร้างสรรค์ ลาดับ ขอบเขตเนอื้ หา/ ข้ันตอนการ เวลา แ ที่ จุดประสงค์การเรยี นรู้ จัด การเรยี นรู้ ทใี่ ช้ กิจกรรมคร ครู : นกั เรียนไดแ้ นวค การนาความรเู้ รื่องระด ไปใช้ในชีวิตประจาวนั
แนวการจัดการเรียนรู้ สือ่ การเรียนรู้ ๗๕๑ รู กิจกรรมนกั เรยี น คิดใน นกั เรยี น : ใช้ในการสื่อสารให้ การประเมนิ ดบั ภาษา ถกู ต้อง การเรยี นรู้ นไดอ้ ยา่ งไร
752 คู่มอื ครูและแผนการจดั การเรียนรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ภาษาไทย ป.6) ๘. สื่อการเรียนร้/ู แหล่งการเรยี นรู้ ๑. ส่อื การนาเสนอ เร่อื ง ระดับภาษา ๒ ๒. ใบงานท่ี ๒ เรอ่ื ง ระดับภาษาพาให้คดิ ๙. การประเมนิ ผลรวบยอด สิง่ ท่ีตอ้ งการวัด/ประเมิน วิธกี าร เคร่ืองมือทีใ่ ช้ เกณฑ์ ดา้ นความรู้ - ตอบคาถาม - คาถาม ผา่ นเกณฑ์ - บอกหลกั การจาแนกภาษาตาม การประเมินระดับ ระดบั - แบบประเมินใบงาน ผา่ น ผ่านเกณฑ์ ด้านทกั ษะและกระบวนการ - ประเมินใบงาน - คาถาม การประเมิน - วเิ คราะห์ระดบั ภาษาท่ีพบใน ร้อยละ ๖๐ ข้นึ ไป ชีวิตประจาวัน 1. แบบประเมนิ ผ่านเกณฑ์ คาถาม การประเมินระดบั ดา้ นคุณลักษณะ เจตคติ ค่านยิ ม - ตอบคาถาม 2. แบบประเมนิ ผ่าน - นาระดบั ภาษาไปใช้ใน การทางานกลมุ่ ผ่านเกณฑก์ าร ชีวติ ประจาวนั 1. แบบประเมนิ ประเมินระดบั ผ่าน คาถาม ด้านคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1. การสังเกต 2. แบบประเมนิ ผ่านเกณฑก์ าร 1. มีวินัย พฤติกรรม การทางานกลมุ่ ประเมินระดับผา่ น 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 2. การตอบคาถาม 3. มงุ่ มัน่ ในการทางาน 1. การสงั เกต 4. อยอู่ ยา่ งพอเพียง พฤติกรรม สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รยี น 2. การตอบคาถาม 1. ความสามารถในการส่ือสาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา ๔. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 7 เรื่อง พดู อยา่ งสรา้ งสรรค์ 753 ชนิ้ งานหรือภาระงาน ใบงานท่ี ๒ เรอ่ื ง ระดบั ภาษาพาใหค้ ดิ เกณฑก์ ารประเมนิ ผลชน้ิ งานหรอื ภาระงาน ใบงานท่ี ๒ เรอ่ื ง ระดบั ภาษาพาใหค้ ดิ ประเด็นการประเมนิ ๔ (ดมี าก) ระดับคุณภาพ การใช้คาตามระดบั ใชค้ าตามระดบั ภาษา ภาษาไดถ้ กู ต้อง ๓ (ด)ี ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรงุ ) ในทนั ทที กุ คา ใชค้ าตามระดบั ใชค้ าตามระดบั ใชค้ าตามระดบั และสามารถ ภาษาได้ถกู ต้อง ภาษาได้ถูกต้อง ภาษาไดถ้ ูกตอ้ ง แนะนาผู้อ่นื ได้ ในทันทีเกอื บ ในทนั ทีบางคา ก็ตอ่ เมื่อกลบั ทกุ คา บางคา นอกนนั้ ต้อง ไปทบทวน ตอ้ งกลบั ไป กลบั ไปทบทวน เน้ือหาหรอื มี ทบทวนเนอ้ื หา เน้ือหาจงึ สามารถ ผู้แนะนา จงึ สามารถใช้ ใช้ไดถ้ กู ต้อง ได้ถกู ต้อง หมายเหตุ : ค่าน้าหนกั ๕ คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ เกณฑ์การประเมินคุณภาพ ๑๘-๒๐ ดีมาก ๑๕-๑๗ ดี ๑๒-๑๔ พอใช้ ต่ากวา่ ๑๒ ปรับปรงุ เกณฑ์การตดั สิน : ผา่ นเกณฑ์การประเมินร้อยละ ๖๐ ขน้ึ ไป
754 คมู่ อื ครูและแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ภาษาไทย ป.6) ๑๐. บนั ทึกผลหลังสอน ผลการจดั การเรยี นการสอน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ความสาเรจ็ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ปัญหาอุปสรรค .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ขอ้ จากัดการใช้แผนการจดั การเรียนรู้ และข้อเสนอแนะ/แนวทางการปรบั ปรงุ แก้ไข .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชือ่ ......................................................ผสู้ อน (..........................................................) วนั ที่ ............. เดือน ..........พ.ศ. .................. ๑๑. ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของผู้บริหารหรอื ผู้ทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ......................................................ผู้ตรวจ (..........................................................) วันท่ี ............. เดือน ..........พ.ศ. ..................
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 7 เรื่อง พูดอย่างสร้างสรรค์ 755 ใบงานท่ี ๒ เรอ่ื ง ระดบั ภาษาพาใหค้ ดิ หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี ๗ เรื่อง พดู อยา่ งสร้างสรรค์ แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ ๒ เรอื่ ง ระดับภาษา รายวชิ า ภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๖๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๖ คาชี้แจง ใหร้ วบรวมคา และเปล่ยี นขอ้ ความตามทีก่ าหนด ตอนที่ ๑ รวบรวมคาที่ใชใ้ นชวี ิตประจาวันโดยจาแนกตามระดบั ของภาษา ตามที่กาหนดให้ ภาษาแบบแผน ภาษาก่ึงแบบแผน ภาษาพดู
756 คู่มือครูและแผนการจัดการเรียนรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ภาษาไทย ป.6) ตอนที่ ๒ คาชีแ้ จง เปลย่ี นข้อความที่ขีดเสน้ ใต้จากคาทก่ี าหนดให้ ให้เป็นภาษาแบบแผน ๑. หมา วัว ควาย ล้วนเปน็ สตั ว์เล้ียงของ คนมาแตไ่ หนแต่ไร …………………………………………………………………………………………………………… ๒. พ่อ แม่ ย่อมรกั และหวงั ดีต่อลูกเสมอ …………………………………………………………………………………………………………… ๓. คนข้ีเกียจยอ่ มทาอะไรไมส่ าเรจ็ และขาดความเจรญิ ในวันหน้า …………………………………………………………………………………………………………… ๔. วิชยั ขน้ึ รถเมล์ไปโรงเรียนบ่อย ๆ …………………………………………………………………………………………………………… ๕. เดย๋ี วนี้ผู้หญงิ หรือผู้ชายถือว่าเก่งเทา่ กนั ในการทางาน …………………………………………………………………………………………………………… ช่อื ....................................................................................ช้ัน.......................เลขท่.ี .............
หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 7 เรอ่ื ง พดู อยา่ งสร้างสรรค์ 757 เฉลย ใบงานท่ี ๒ เรอ่ื ง ระดบั ภาษาพาให้คดิ หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๗ เร่ือง พดู อยา่ งสร้างสรรค์ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๒ เรื่อง ระดับภาษา รายวิชา ภาษาไทย รหสั วิชา ท๑๖๑๐๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๖ คาชแี้ จง ใหร้ วบรวมคา และเปล่ยี นข้อความตามทีก่ าหนด ตอนท่ี ๑ รวบรวมคาทใ่ี ชใ้ นชวี ิตประจาวันโดยจาแนกตามระดบั ของภาษา ตามท่ีกาหนดให้ ภาษาแบบแผน ภาษากง่ึ แบบแผน ภาษาพดู อยู่ทีด่ ุลยพนิ ิจของครูผู้สอน
758 คูม่ ือครแู ละแผนการจดั การเรียนรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ภาษาไทย ป.6) ตอนท่ี ๒ คาชี้แจง เปลีย่ นขอ้ ความที่ขดี เสน้ ใตจ้ ากคาทก่ี าหนดให้ ให้เปน็ ภาษาระดับทางการ ๑. หมา วัว ควาย ล้วนเปน็ สตั วเ์ ลย้ี งของ คนมาแตไ่ หนแต่ไร สนุ ัข ววั กระบอื มนุษย์ ๒. พ่อ แม่ ย่อมรัก และหวงั ดีตอ่ ลูกเสมอ บิดา มารดา ปรารถนาดี บตุ ร ธิดา ๓. คนข้ีเกยี จยอ่ มทาอะไรไมส่ าเร็จ และขาดความเจริญในวันหน้า เกยี จครา้ น ส่งิ ใด ปราศจาก อนาคต ๔. วชิ ยั ข้นึ รถเมล์ไปโรงเรียนบอ่ ย ๆ เดนิ ทางโดยรถโดยสาร ๕. เดยี๋ วนีผ้ ู้หญงิ หรือผู้ชายถือว่าเก่งเทา่ กันในการทางาน ปจั จุบัน สภุ าพสตรี สภุ าพบุรษุ มีความสามารถ ชือ่ ....................................................................................ช้ัน.......................เลขท.่ี .............
หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 7 เร่อื ง พดู อย่างสร้างสรรค์ ๗๕๙ เวลา ๑ ช่ัวโมง หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๗ แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๓ เรอ่ื ง เขียนคาขวัญ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๖ เรอ่ื ง พูดอยา่ งสร้างสรรค์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย รายวิชาภาษาไทย ๑. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวช้วี ัด มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขยี นส่อื สาร เขียนเรยี งความ ยอ่ ความ และเขียนเรอ่ื งราวในรูปแบบ ต่าง ๆ เขยี นรายงานขอ้ มูลสารสนเทศและรายงานการศกึ ษาค้นคว้าอยา่ งมีประสิทธภิ าพ ตวั ชว้ี ดั ป.๖/๘ เขยี นเร่อื งตามจนิ ตนาการและสร้างสรรค์ ๒. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด คาขวัญเป็นถ้อยคาท่ีแต่งขึ้นเพื่อเตือนใจหรือเพ่ือเป็นสิริมงคล ซึ่งมีลักษณะเป็นการเชิญชวนหรือ ขอรอ้ งให้ผู้อา่ นหรือผ้ฟู ังยดึ เป็นแนวทางปฏบิ ัตเิ พือ่ ให้เกดิ ผลดตี ่อตนเองและสว่ นรวม 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. ดา้ นความรู้ ความเขา้ ใจ (K) บอกหลักการเขียนคาขวญั ได้ ๒. ด้านทักษะกระบวนการ (P) เขียนคาขวญั อนุรกั ษ์สง่ิ แวดล้อมได้ ๓. ด้านคุณลกั ษณะ เจตคติ คา่ นยิ ม (A) นาหลกั การเขยี นคาขวัญไปใชใ้ นชวี ติ ประจาวันได้ 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 วิเคราะห์หลักการเขยี นคาขวญั 4.2 การเขียนคาขวญั ตามที่หวั ข้อกาหนด 4.3 หลักการเขียนคาขวัญ 5. สมรรถนะสาคญั ของผูเ้ รียน 5.1 ความสามารถในการส่อื สาร 5.2 ความสามารถในการคดิ 5.3 ความสามารถในการแกป้ ัญหา 5.4 ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวิต 6. คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ 6.1 มวี นิ ัย 6.2 ใฝ่เรยี นรู้ 6.3 ม่งุ มนั่ ในการทางาน 6.4 อย่อู ยา่ งพอเพยี ง 7. กจิ กรรมการเรยี นรู้
๗๖๐ คมู่ ลําดบั การจัดกิจกรรมการเรียนร ที่ แผนการจดั การเรียน 1. รายวชิ า ภาษาไทย หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๗ เร ขอบเขตเนอ้ื หา/ ขน้ั ตอนการจดั เวลา แ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ การเรยี นรู้ ท่ใี ช้ ขอบเขตเนอื้ หา กจิ กรรมคร หลกั การเขียนคาํ ขวัญ ข้ันนาํ ๕ ๑. ครูสนทนากบั นักเร นาที ครู : นกั เรียนเคยเขียน เรอ่ื งใดบ้าง เน่ืองในโอ วันสําคัญอะไร ๒. ครูให้นกั เรยี นอา่ น ครู : นักเรียนลองอ่าน ต่อไปนี้ “ภูมิใจในเอกลกั ษณ ภาษาหลกั อนรุ ักษภ์ า “เรยี นรตู้ ลอดชีวติ สรา้ งสรรค์ ก้าวทนั เทค “หนังสอื คือมติ ร ความคดิ ให้ก้าวไกล” ครู : นกั เรยี นลองช่วย วิเคราะหก์ ารใชภ้ าษา การเขยี นสื่อสาร ครู : ขอ้ ความทีไ่ ด้อ่าน คือ
มอื ครูและแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๑ (ภาษาไทย ป.6) รู้ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๖ นรู้ที่ ๓ เขยี นคาํ ขวัญ รือ่ ง พดู อย่างสรา้ งสรรค์ จาํ นวน ๑ ชวั่ โมง แนวการจดั การเรียนรู้ สอ่ื การเรยี นรู้ การประเมิน การเรยี นรู้ รู กิจกรรมนกั เรยี น รยี น นสื่อสาร นักเรียน : ตอบตาม อกาสหรือ ประสบการณข์ องตนเอง นคาํ ขวัญ นกั เรียน : อา่ นคาํ ขวัญทคี่ รู นคาํ ขวญั กําหนดให้ ณ์ สืบสาน าษาไทย” คดิ อยา่ ง คโนโลย”ี สื่อ ยกัน นักเรยี น : เปน็ การใชภ้ าษาที่ าใน สละสลวย ส้นั กระชบั สัมผสั นขา้ งต้น คลอ้ งจอง ได้ใจความ นักเรยี น : เตรียมความพรอ้ ม ในการเรยี น
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 7 เรอื่ ง พูดอยา่ งสรา้ งสรรค์ ลาํ ดบั ขอบเขตเนื้อหา/ ขัน้ ตอนการจดั เวลา แ ท่ี จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ การเรียนรู้ ที่ใช้ กิจกรรมคร 2. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ๒๐ คาํ ขวญั เราจึงตอ้ งศกึ 1. บอกหลกั การเขียน ข้ันสอน นาที การเขียนคําขวัญ คําขวัญได้ ๑. ครูยกตวั อยา่ งคาํ ข อากาศเป็นพษิ ชวี ิต ต้นไม้เทา่ น้ัน ทั้งกนั ๒. ครูใหน้ กั เรียนสงั เกต จากนน้ั ครตู งั้ คําถามเพ ความคิดของนักเรียนด ครู : จากคาํ ขวัญนี้มี จดุ ประสงค์เพอ่ื อะไร ครู : ลักษณะของคําข อย่างไร ๓. ครแู บง่ กลมุ่ ให้นักเ ศกึ ษาใบความรทู้ ่ี ๒ เร การเขียนคําขวัญ ๔. ครใู หน้ กั เรียนรว่ มก ความร้เู รอ่ื งการเขียนค ๕. ครูใหค้ วามรเู้ พม่ิ เต การเขียนคาํ ขวญั
๗๖๑ แนวการจดั การเรียนรู้ ส่อื การเรียนรู้ การประเมิน การเรยี นรู้ รู กิจกรรมนกั เรยี น กษาเรอ่ื ง ขวัญ ดังนี้ นักเรยี น : ศกึ ษาใบความรทู้ ่ี ๒ ๑. ใบความรู้ท่ี ๒ - สังเกต ตจะสน้ั เรือ่ ง การเขยี นคําขวัญ เรอื่ ง การเขยี น พฤตกิ รรม นและแก ้ คาํ ขวญั ตคําขวัญ นกั เรยี น : อภิปรายหลักการ ๒. สอ่ื การนาํ เสนอ พื่อกระตุ้น เขยี นคาํ ขวญั เรอื่ ง การเขียน ดงั น้ี นกั เรียน : เพือ่ ตอ้ งการใหค้ น คําขวญั หนั มาปลูกต้นไม้ ขวัญเปน็ ครู : ใชค้ าํ สัน้ กะทดั รัด/ มีคํา คลอ้ งจอง/มีข้อคิด เรยี น นักเรยี น : ศึกษาใบความรู้ รื่อง เรื่องการเขียนคําขวญั กนั อภปิ ราย นกั เรียน : อภิปรายความรู้ - ฟงั การอภปิ ราย คาํ ขวญั เรือ่ งการเขยี นคาํ ขวญั ของนกั เรยี น ติมเรอ่ื ง
๗๖๒ คู่ม ลําดบั ขอบเขตเน้ือหา/ ข้นั ตอนการจดั เวลา แ ท่ี จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ การเรยี นรู้ ท่ีใช้ 3. 2. เขียนคาํ ขวัญ ๒๐ กจิ กรรมคร อนรุ ักษ์ส่งิ แวดลอ้ มได้ ขน้ั ปฏบิ ตั ิ นาที ๑. ครูให้นกั เรยี นแตล่ ใบงานท่ี ๓ เรอื่ ง เขียน เชิญชวนให้ชว่ ยกนั อน ส่งิ แวดล้อม ครู : ให้นกั เรียนส่งตวั แ ละกล่มุ ออกมานาํ เสน ทห่ี น้าช้นั เรยี น เพอ่ื ให กลมุ่ อืน่ ๆ ติชมผลงาน สร้างสรรค์ ๒. ครใู ห้นกั เรยี นแต่ล ร่วมกันพจิ ารณาถงึ แน การใช้ภาษาเขียน ความ เหมาะสม ของคําขวญั ขอ้ เสนอแนะ รวมถึงช แกไ้ ขข้อบกพรอ่ ง เพือ่ ใ มคี วามสมบูรณ์มากยิ่ง 3. ครใู หน้ กั เรยี นแสด ความคดิ เห็นเกยี่ วกับก นําเสนอการเขยี นคําขว แต่ละกลมุ่ ครู : คาํ ขวัญของกลุ่มใ แนวคดิ ทดี่ ี เพราะเหต
มือครูและแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรียนที่ ๑ (ภาษาไทย ป.6) แนวการจดั การเรยี นรู้ สื่อการเรยี นรู้ การประเมิน ๓. ใบงานที่ ๓ การเรียนรู้ รู กจิ กรรมนกั เรยี น เรอ่ื ง เขียนคํา ละกลมุ่ ทํา นกั เรยี น : เขยี นคําขวญั ขวัญ อนรุ กั ษ์ - ประเมนิ ใบงาน ส่ิงแวดลอ้ ม นคําขวัญ นุรกั ษ์ แทนแต่ นักเรยี น : นาํ เสนอผลงาน นอผลงาน พร้อมรบั ฟงั คําตชิ มจากเพอื่ น ห้เพ่อื น อย่างสรา้ งสรรค์ นอย่าง ละกลมุ่ นักเรียน : พจิ ารณาคําขวัญที่ นวคิด ไดแ้ ตง่ ขนึ้ มา มถูกตอ้ ง นักเรยี น : ตอบตามความเป็น ญ และให้ จริง ชว่ ยกนั ใหค้ าํ ขวัญ งข้นึ ดง การ วญั ของ ใดทม่ี ี ตใุ ด
หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 7 เรือ่ ง พดู อยา่ งสรา้ งสรรค์ ลําดบั ขอบเขตเน้ือหา/ ขน้ั ตอนการจดั เวลา แ ที่ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ การเรียนรู้ ที่ใช้ กิจกรรมคร 4. 3. นําหลักการเขียน ครู : นักเรียนชอบคําข คําขวัญไปใช้ใน ขัน้ สรปุ ๕ กล่มุ ใด เพราะเหใด ชวี ิตประจําวันได้ นาที 1. ครใู ห้นกั เรยี นทงั้ ห ช่วยกนั สรปุ ความร้เู กี่ย การเขียนคําขวัญ ครู : จากการศกึ ษาเร การเขยี นคาํ ขวญั ใหน้ ช่วยกนั สรุปเปน็ แผนภ ความคิดบนกระดานแ ร่วมกนั ตรวจสอบควา ของเน้อื หาทีส่ รุป ครู : นกั เรยี นจะนําคว การเขียนคาํ ขวัญไปใช ชีวติ ประจําวันไดอ้ ยา่ ง ๒. ครูมอบหมายงาน ครู : ให้นักเรยี นแต่ละ เลือกคาํ ขวญั ทด่ี ีที่สดุ ข ๑ คาํ ขวญั แล้วช่วยกนั ภาพประกอบคาํ ขวัญ ผลงานมาสง่ เพอ่ื จดั นิท คําขวัญทีป่ า้ ยนเิ ทศหน
แนวการจดั การเรียนรู้ สือ่ การเรียนรู้ ๗๖๓ รู กิจกรรมนกั เรยี น การประเมนิ ขวัญของ นักเรียน : ตอบตามความรู้สกึ การเรยี นรู้ หอ้ ง นักเรียน : สรปุ ความรู้ เรื่อง ยวกบั การเขยี นคําขวัญ รื่อง นกั เรียน : คัดเลือกคาํ ขวัญทด่ี ี นกั เรยี น ที่สดุ แล้วมามาวาดภาพ เพ่ือ ภาพ จัดนทิ รรศการหน้าช้นั เรียน และ ครู : เขยี นคาํ ขวัญในโอกาส ามถูกต้อง ต่าง ๆ วามรู้เรอ่ื ง ช้ใน งไร ะกลุ่ม ของกล่มุ นวาด ญ และนาํ ทรรศการ น้าชัน้ เรยี น
764 คู่มอื ครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ภาษาไทย ป.6) ๘. สอื่ การเรยี นร/ู้ แหล่งการเรยี นรู้ ๑. ใบความรูท้ ่ี ๒ เร่อื ง การเขียนคาขวญั ๒. ส่ือการนาเสนอ เร่อื ง การเขยี นคาขวญั ๓. ใบงานท่ี ๓ เรอื่ ง การแต่งคาขวญั ๙. การประเมนิ ผลรวบยอด สงิ่ ทต่ี ้องการวัด/ประเมนิ วิธกี าร เครื่องมอื ทใี่ ช้ เกณฑ์ ดา้ นความรู้ - ตอบคาถาม - คาถาม ผา่ นเกณฑ์ - บอกหลกั การเขยี นคาขวัญ การประเมินระดับ - แบบประเมนิ ใบงาน ผ่าน ดา้ นทักษะและกระบวนการ ผ่านเกณฑ์ - เขยี นคาขวญั อนุรกั ษส์ ่งิ แวดลอ้ ม - ประเมินใบงาน - แบบประเมินการ การประเมิน ทางานร่วมกนั ร้อยละ ๖๐ ขึ้นไป ด้านคุณลักษณะ เจตคติ คา่ นยิ ม - การทางาน 1 แบบประเมนิ คาถาม ผา่ นเกณฑ์ - นาหลักการเขียนคาขวัญไปใช้ใน รว่ มกนั 2. แบบประเมิน การประเมนิ ระดบั ชีวิตประจาวัน การทางานกลมุ่ ผา่ น 1. แบบประเมิน ผ่านเกณฑ์ ด้านคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 1. การสงั เกต คาถาม การประเมินระดับ 1. มีวนิ ยั พฤติกรรม 2. แบบประเมิน ผ่าน 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 2. การตอบคาถาม การทางานกลมุ่ 3. มุ่งมัน่ ในการทางาน 1. การสงั เกต ผ่านเกณฑ์ 4. อย่อู ยา่ งพอเพยี ง พฤติกรรม การประเมนิ ระดบั สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน 2. การตอบคาถาม ผา่ น 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 2. ความสามารถในการคดิ 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา ๔. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 7 เร่อื ง พูดอย่างสร้างสรรค์ 765 เกณฑ์การประเมินผลชน้ิ งานหรอื ภาระงาน ใบงานที่ ๓ เรอ่ื งเขยี นคาขวญั อนรุ กั ษส์ ่ิงแวดลอ้ ม ประเด็นการประเมิน ระดบั คุณภาพ การเขยี นคาขวัญ ๔ (ดีมาก) ๓ (ด)ี ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง) เขยี นคาขวญั ได้ เขยี นคาขวัญได้ เขยี นคาขวญั ได้ เขยี นคาขวญั ได้ สมั พนั ธก์ บั หัวข้อ สมั พันธก์ บั หวั ขอ้ ใช้ สัมพันธ์กบั หวั ข้อใช้ สมั พันธ์กบั หัวขอ้ มคี าคลอ้ งจอง คาคล้องจอง คาคล้องจอง ใชค้ าคลอ้ งจอง แต่ยังไมไ่ พเราะ ไพเราะ ภาษา ไพเราะ ภาษา ได้ดี เสนอ ใจความยงั ไม่ กระชบั เสนอ กระชบั เสนอ แนวคิด ชัดเจน แนวคดิ ในเชิง แนวคดิ ได้ดี ตามผ้อู ่นื สร้างสรรคแ์ ละ เป็นประโยชน์ หมายเหตุ : คา่ นา้ หนัก ๕ คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ เกณฑ์การประเมนิ คุณภาพ ๑๘-๒๐ ดมี าก ๑๕-๑๗ ดี ๑๒-๑๔ พอใช้ ต่ากวา่ ๑๒ ปรับปรงุ เกณฑ์การตดั สิน : ผา่ นเกณฑ์การประเมินรอ้ ยละ ๖๐ ขึ้นไป
766 ค่มู ือครแู ละแผนการจัดการเรียนรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรียนที่ ๑ (ภาษาไทย ป.6) ๑๐. บันทกึ ผลหลังสอน ผลการจัดการเรยี นการสอน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ความสาเรจ็ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ปัญหาอปุ สรรค .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ข้อจากดั การใชแ้ ผนการจัดการเรยี นรู้ และข้อเสนอแนะ/แนวทางการปรบั ปรุงแก้ไข .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชอื่ ......................................................ผสู้ อน (..........................................................) วันที่ ............. เดือน ..........พ.ศ. .................. ๑๑. ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของผู้บริหารหรอื ผู้ที่ได้รับมอบหมาย .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชือ่ ......................................................ผตู้ รวจ (..........................................................) วนั ที่ ............. เดือน ..........พ.ศ. ..................
หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 7 เร่ือง พูดอยา่ งสรา้ งสรรค์ 767 ใบความรทู้ ่ี ๒ เรอื่ ง คาขวญั หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๗ เรื่อง พูดอย่างสร้างสรรค์ แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๓ เรือ่ ง เขียนคาขวัญ รายวชิ า ภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๖๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๖ คาขวญั คือ ถอ้ ยคาที่แต่งขนึ้ เพือ่ เตือนใจ เพอื่ ชักจงู ใจ มกั เปน็ คาปลอบขวัญ หรือปลกุ ใจ ใหเ้ ช่ือมนั่ ใหเ้ หน็ คุณคา่ และความสาคญั ของส่ิงทก่ี ล่าวถึง มักเปน็ ถ้อยคาท่สี ัมผัสคล้องจอง การแตง่ คาขวญั คาขวัญ เป็นข้อความท่ีเรียบเรียงข้นึ ด้วยสานวนภาษา ท่กี ะทดั รัด เพือ่ เสรมิ สร้างกาลงั ใจ หรือชี้แนะให้เห็นสิ่งที่ถูกต้อง ดีงามเพื่อให้ผู้อ่านได้ปฏิบัติตามในคาเชิญชวนน้ัน ๆ เช่น “เด็กดีมวี ินัย ใฝ่ศึกษา นาพาชาตเิ จริญ” “เท่หอ์ ย่างมีคุณคา่ ไมพ่ ่งึ พายาเสพตดิ ” “นา้ ไฟมีคณุ ค่า ชว่ ยรักษาชว่ ยประหยัด” ลกั ษณะของคาขวัญ ๑. ใช้ข้อความสนั้ ๆ กะทัดรัด สละสลวย ๒. ให้ขอ้ คดิ หรอื คตเิ ตือนใจเพือ่ เปน็ สริ ิมงคล ๓. เขียนเป็นคาคลอ้ งจองกนั เพื่อใหจ้ ดจาไดง้ า่ ย ๔. เน้ือความมุ่งจูงใจให้นาไปปฏิบัติ หรือให้เห็นความสาคัญของส่ิงน้ัน เช่น เชญิ ชวนใหป้ ระหยัด เชญิ ชวนให้อนรุ กั ษ์สิง่ แวดลอ้ ม องค์ประกอบของคาขวัญ มี ๓ ส่วน คอื ความมุ่งหมายหรอื แนวคดิ ข้อความหรือเนอ้ื หา ศิลปะแห่งการใช้ถ้อยคา ลักษณะของคาขวญั ทีด่ ี มีเจตนาที่ดี ต่อผู้ฟัง ผู้ปฏิบัติหรือผลประโยชน์ของส่วนรวม เช่น เชิญชวนงด การสบู บหุ ร่ี เชญิ ชวนใหป้ ระหยัดน้า ประหยดั ไฟ ฯลฯ มีเป้าหมายชัดเจนเพียงเป้าหมายเดียว เช่น ให้เคารพกฎจราจรหรือให้ช่วย รักษาความสะอาดของถนน ฯลฯ มเี นื้อหาครอบคลมุ เป้าหมาย ไพเราะ สัมผสั คลอ้ งจอง มีพลังโน้มนา้ วใจผ้ฟู งั ใหจ้ าและปฏิบัติตาม
768 ค่มู ือครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ภาษาไทย ป.6) ขั้นตอนในการเขยี นคาขวญั คาขวัญที่ดีต้องเป็นข้อความส้ัน ๆ ไพเราะมีพลัง ในการโน้มน้าวใจผู้ฟัง เขียน ครอบคลมุ เปา้ หมายท่กี าหนดไว้อยา่ งชัดเจน มีขนั้ ตอนดงั น้ี ตัวอยา่ งคาขวญั - ดม่ื นมทกุ วัน สขุ ภาพแข็งแรง - หนังสือคอื มติ ร สอ่ื ความคิดใหก้ ้าวไกล - บ้านเมืองจะสะอาด ถา้ ปราศจากคนมกั งา่ ย - เลิกสบู เลิกเสพในวันน้ี เพอื่ ชีวิตทีด่ ีในวันหน้า - ความรู้ คคู่ ณุ ธรรม นาสูอ่ นาคต - รกั ษาเวลา รักษาหนา้ ท่ี ชวี ติ จะดีถา้ คุณมีวินัย - ปลอดภยั เพือ่ ชีวติ ทุกขณะจติ อยา่ ประมาท - ประเทศไทยจะรุ่งเรอื ง ถา้ พลเมืองไม่พึ่งยาเสพตดิ - ไม่มีท่านเราอด ไม่มีรถท่านเดิน - มีวนิ ยั ใฝ่เรียนรู้ คู่คณุ ธรรม - สุรา ยาเสพตดิ เปน็ ภยั ต่อชีวติ เปน็ พษิ ต่อสงั คม - อดทน ขยัน ประหยัด คือ คุณสมบัตขิ องเดก็ ไทย - มีคณุ ธรรมนาใจ ใชช้ วี ิตอยา่ งพอเพยี ง หลีกเล่ยี งอบายมุข - ยดึ มั่นประชาธิปไตย ร่วมใจพฒั นา รกั ษาสิง่ แวดลอ้ ม - เรียนรูต้ ลอดชวี ิต คดิ อยา่ งสร้างสรรค์ กา้ วทันเทคโนโลยี
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 7 เร่ือง พดู อยา่ งสร้างสรรค์ 769 ใบงานที่ ๓ เรื่อง การแตง่ คาขวญั หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ ๗ เร่ือง พดู อยา่ งสรา้ งสรรค์ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๓ เร่ือง เขียนคาขวญั รายวิชา ภาษาไทย รหัสวชิ า ท๑๖๑๐๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๖ คาชี้แจง แตง่ คาขวัญ ในประเด็น อนรุ ักษส์ งิ่ แวดลอ้ ม อยา่ งนอ้ ย ๔ คาขวัญ ความยาวคาขวัญละไมเ่ กิน ๑๖ พยางค์ ๑…………………………………………………………............................................................. ................................................................................................................................ ๒…………………………………………………………............................................................. ................................................................................................................................ ๓…………………………………………………………............................................................. ................................................................................................................................ ๔…………………………………………………………............................................................ ............................................................................................................................... .. ช่อื ....................................................................................ช้นั .......................เลขท.่ี .............
๗๗๐ คูม่ อื ครแู ละแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ภาษาไทย ป.6) หน่วยการเรียนรูท้ ่ี ๗ แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ ๔ เรอ่ื ง โต้วาที ๑ เร่อื ง พดู อยา่ งสรา้ งสรรค์ เวลา ๑ ช่วั โมง กลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาไทย รายวิชาภาษาไทย ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ ๖ ๑. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวช้ีวัด มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลอื กฟงั และดอู ย่างมีวิจารณญาณ และพดู แสดงความรู้ ความคิด และความรู้สกึ ใน โอกาสต่าง ๆ อย่างมีวจิ ารณญาณและสรา้ งสรรค์ ตวั ชีว้ ดั ป.๖/๕ พดู โน้มน้าวอยา่ งมีเหตุผล และนา่ เชอ่ื ถอื ๒. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด การโต้วาที เป็นการพูดโตต้ อบของบุคคล 2 ฝ่าย ที่ต้องใช้เหตผุ ลประกอบ และหกั ล้างกันด้วยเหตุผล โดยการโนม้ นา้ วใจผู้ฟังใหเ้ หน็ ดว้ ย หรอื คล้อยตาม ดว้ ยการพดู อย่างมมี ารยาท 3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. ดา้ นความรู้ ความเขา้ ใจ (K) บอกหลักการพดู โต้วาทไี ด้ ๒. ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P) ๑. ตัง้ ญัตติในการโตว้ าทไี ด้ ๒. อธิบายความสาคัญของการพูดโต้วาที ๓. ดา้ นคณุ ลกั ษณะ เจตคติ คา่ นยิ ม (A) เห็นประโยชน์ของการโตว้ าที 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 วิเคราะห์หลักการโต้วาที 4.2 การโต้วาทีตามญัตตทิ ่กี าหนด 4.3 หลักการโตว้ าที 5. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน 5.1 ความสามารถในการสือ่ สาร 5.2 ความสามารถในการคดิ 5.3 ความสามารถในการแกป้ ญั หา 5.4 ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ 6. คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 6.1 มีวินัย 6.2 ใฝ่เรียนรู้ 6.3 ม่งุ มั่นในการทางาน 6.4 อยอู่ ย่างพอเพยี ง 7. กิจกรรมการเรียนรู้
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 7 เร่ือง พดู อยา่ งสร้างสรรค์ การจดั กิจกรรมการเรยี นร แผนการจดั การเรีย รายวชิ า ภาษาไทย หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๗ เร ลําดบั ขอบเขตเน้ือหา/ ข้ันตอนการจดั เวลา แ ที่ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ การเรียนรู้ ท่ีใช้ 1. ขอบเขตเน้ือหา กิจกรรมครู ๑. หลักการโตว้ าที ข้ันนาํ ๕ ๑. ครสู นทนากบั นกั เร ๒. ความสาํ คญั ของ นาที ครู : การฟัง การดหู รือ การโตว้ าที กต็ าม เราควรปฏบิ ัตติ อยา่ งไร ครู : จากสงิ่ ทนี่ กั เรียน นั้น เรียกวา่ อะไร ครู : นักเรยี นเคยได้ยนิ “โตว้ าท”ี หรือไม่ ครู : ถ้าเราจะลองสนั น ความหมายของคําวา่ “โตว้ าที” นา่ จะหมาย ๒. ครูอธบิ ายขยายคว ความหมายทีถ่ กู ต้อง แ การเรียนเร่ือง การโตว้ ลาํ ดับถดั ไป
รู้ ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๖ ๗๗๑ ยนรู้ท่ี ๔ โตว้ าที ๑ ร่ือง พดู อยา่ งสร้างสรรค์ จํานวน ๑ ชว่ั โมง การประเมิน การเรียนรู้ แนวการจดั การเรียนรู้ สอ่ื การเรียนรู้ กจิ กรรมนกั เรยี น รียน นักเรียน : ตอบตาม อชมสิ่งใด ประสบการณค์ วามคดิ ของ ตน ตนเอง (ดหู รอื ชมอย่างตง้ั ใจ, ไม่พูดแทรก ฯลฯ) นตอบมา นักเรยี น : มารยาทในการฟงั และการดู นคาํ วา่ นักเรียน : ตอบตามความจริง (เคย/ไมเ่ คย) นษิ ฐาน นกั เรยี น : ตอบตาม ยถึงอะไร การสันนิษฐาน (การพดู โตก้ นั วามใน ไปกันมา, การโต้ตอบ, การ แลว้ เข้าสู่ เถยี งกนั โดยใช้คาํ พดู ฯลฯ) วาที เป็น
๗๗๒ คู่ม ลาํ ดบั ขอบเขตเนือ้ หา/ ข้นั ตอนการจดั เวลา แ ท่ี จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ การเรยี นรู้ ท่ใี ช้ กิจกรรมครู 2. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ขน้ั สอน ๒๐ ๑. ครอู ธิบายเร่อื งการ 1. บอกหลักการพดู นาที ครู : โต้วาทเี ป็นการพูด 3. โตว้ าทไี ด้ ขั้นปฏบิ ตั ิ กันของบคุ คล ๒ ฝา่ ยโ ๒๐ เหตุผลประกอบและห 2. ต้งั ญัตตใิ น นาที เหตุผลของอีกฝ่ายหน การโตว้ าทไี ด้ การตดั สนิ แพช้ นะตามห ๒. ครใู หน้ กั เรยี นดวู ีดิท การโตว้ าที ครู : นกั เรยี นชว่ ยกนั ส ลกั ษณะของการโตว้ าท แผนภาพความคิดบนก หนา้ ชน้ั เรียน และใหจ้ ของแต่ละคน ๓. ครูให้นกั เรยี นศกึ ษ ความรู้ท่ี ๓ เรอื่ ง การ ครู : ศกึ ษาใบความรู้ แ ใจความสําคญั ให้ได้ เพ แนวทางในการศึกษา ๔. ครูให้นกั เรยี นทาํ ใบ เร่ือง แผนภาพความค ญตั ตโิ ต้วาที
มือครูและแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรียนที่ ๑ (ภาษาไทย ป.6) แนวการจดั การเรยี นรู้ สอ่ื การเรียนรู้ การประเมนิ ๑. วดี ทิ ัศน์ เรอ่ื ง การเรียนรู้ กจิ กรรมนกั เรยี น การโต้วาที - สงั เกต ๒. ใบความรู้ที่ ๓ พฤตกิ รรม รโต้วาที นักเรียน : ฟงั ครูอธิบายและ เรอื่ ง การโต้วาที ดโต้ตอบ เตรียมความพร้อมในการเรยี น ๓. สือ่ การนําเสนอ โดยใช้ เรือ่ ง การโตว้ าที หกั ลา้ ง น่งึ ซงึ่ มี หลกั เกณฑ์ ทศั น์เร่ือง นักเรยี น : สรปุ ลักษณะของ สรุป การโต้วาทเี ป็นแผนภาพ ที เปน็ ความคิดบนกระดาน และจด กระดาน บันทึก จดลงสมุด ษาใบ นกั เรยี น : จับใจความสําคัญ รโตว้ าที จากใบความรู้ แลว้ จับ พ่อื เป็น บงานที่ ๔ ๔. ใบงานที่ ๔ - ประเมินใบงาน คิด การตัง้ เรื่อง แผนภาพ ความคิด การต้งั
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 7 เรือ่ ง พูดอยา่ งสรา้ งสรรค์ ลาํ ดบั ขอบเขตเนื้อหา/ ขั้นตอนการจดั เวลา แ ที่ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ การเรียนรู้ ท่ีใช้ กจิ กรรมครู 4. ครู : นกั เรยี นแบง่ กลุม่ 3. อธิบายความสาํ คัญ ข้ันสรปุ ๕ กระบวนการ Gang o ของการพูดโต้วาที นาที ช่วยกนั ต้งั ญัตติเกย่ี วก 4. เหน็ ประโยชน์ของ บทบาทของผูห้ ญิงและ การโตว้ าที สังคมปัจจุบนั ๕. ครูใหน้ กั เรยี นแตล่ ะ ชว่ ยกันพิจารณาญัตต ครู : ใหน้ ักเรยี นเลือกญ น่าสนใจทสี่ ดุ และตรงป ท่ีสดุ ๑ ญตั ติ พรอ้ มย หัวเร่ืองที่จะใชใ้ นการพ ๖. ตัวแทนกลมุ่ นําเสน โดยครูและนักเรยี นร่ว ซักถาม แลว้ พจิ ารณาเ ญัตตทิ ีจ่ ะใช้ในการโตว้ การโหวตคะแนน ครสู นทนากับนกั เรยี น การโต้วาทโี ดยการให้น รว่ มกันอภปิ รายแสดง ความคดิ เหน็ ตามประ ตอ่ ไปน้ี
แนวการจดั การเรียนรู้ สอ่ื การเรียนรู้ ๗๗๓ ญตั ตโิ ตว้ าที การประเมนิ กิจกรรมนกั เรยี น การเรียนรู้ ม เป็น นกั เรยี น : ต้ังญัตตเิ กยี่ วกับ - ประเมนิ of four บทบาทของผู้หญงิ และผู้ชาย การตอบคาํ ถาม กบั ในสงั คมปัจจบุ นั ะผชู้ ายใน ะกลมุ่ นกั เรยี น : ช่วยกนั เลอื กญัตตทิ ่ี ตขิ องกลุ่ม นา่ สนใจและตรงประเดน็ มาก ญตั ตทิ ี่ ที่สดุ ประเด็น ยกรา่ ง พดู โต้วาที นอญตั ติ วมกัน เลอื ก ๑ วาที โดย น เรอื่ ง นกั เรยี น ง ะเด็น
๗๗๔ คู่ม ลําดบั ขอบเขตเน้ือหา/ ขั้นตอนการจดั เวลา แ ท่ี ที่ใช้ กจิ กรรมครู จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ การเรียนรู้ ครู : จุดประสงคห์ ลักข การพดู โต้วาทีคืออะไร ครู : การพดู โน้มนา้ วม การพูดคลา้ ยกบั การพ หรือไม่ อยา่ งไร ครู : นักเรยี นคิดว่ากา มีประโยชน์อย่างไร ครู : ให้นกั เรยี นทกุ กล หวั เรอื่ งท่ีจะใชใ้ นการพ โตว้ าที โดยเตรียมท้งั เ เสนอและฝ่ายคา้ น
มือครูและแผนการจัดการเรยี นรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ภาษาไทย ป.6) แนวการจดั การเรียนรู้ สอ่ื การเรียนรู้ การประเมนิ การเรยี นรู้ กจิ กรรมนกั เรยี น ของ นักเรยี น : พดู ใหผ้ อู้ นื่ เช่อื และ ร คลอ้ ยตาม มลี กั ษณะ พูดโตว้ าที นกั เรียน : คล้ายกัน เพราะ เป็นการพดู เพ่ือโนม้ น้าวใจผู้ฟัง ารโต้วาที เหมอื นกัน นักเรยี น : เปน็ การฝึกใช้ ปฏภิ าณไหวพรบิ และรจู้ กั ลมุ่ เตรยี ม การใช้เหตุผลประกอบการพูด พูด เปน็ ฝา่ ย
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 7 เรื่อง พูดอยา่ งสร้างสรรค์ 775 ๘. สื่อการเรียนร/ู้ แหล่งการเรยี นรู้ ๑. วีดิทศั น์ เรือ่ ง การโต้วาที ๒. ใบความรทู้ ่ี ๓ เรือ่ ง การโต้วาที ๓. สื่อการนาเสนอ เรือ่ ง การโตว้ าที ๔. ใบงานท่ี ๔ เร่อื ง แผนภาพความคดิ การตั้งญตั ติโตว้ าที ๙. การประเมนิ ผลรวบยอด ส่งิ ที่ต้องการวัด/ประเมนิ วิธกี าร เคร่ืองมอื ทใี่ ช้ เกณฑ์ ดา้ นความรู้ - ตอบคาถาม - คาถาม ผา่ นเกณฑ์ - บอกหลกั การพูดโต้วาที การประเมนิ ระดบั ผา่ น ดา้ นทกั ษะและกระบวนการ - ประเมินใบงาน - แบบประเมินใบงาน ผ่านเกณฑ์ ๑. ต้ังญตั ตใิ นการโต้วาที การประเมนิ ๒. อธิบายความสาคญั ของการพูด - การสังเกต - แบบการสงั เกต รอ้ ยละ ๖๐ ขึ้นไป โตว้ าที พฤติกรรม พฤติกรรม ผ่านเกณฑ์ ด้านคณุ ลักษณะ เจตคติ ค่านิยม การประเมนิ ระดับ - เห็นประโยชน์ของการโต้วาที ผ่าน ผ่านเกณฑ์ ด้านคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. การสังเกต 1. แบบประเมิน การประเมินระดับ 1. มีวินัย พฤตกิ รรม คาถาม ผา่ น 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 2. การตอบคาถาม 2. แบบประเมนิ 3. ม่งุ ม่นั ในการทางาน 1. การสังเกต การทางานกลมุ่ ผา่ นเกณฑ์ 4. อยู่อย่างพอเพียง พฤติกรรม 1. แบบประเมนิ การประเมินระดบั สมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี น 2. การตอบคาถาม คาถาม ผ่าน 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 2. แบบประเมิน 2. ความสามารถในการคดิ การทางานกลมุ่ 3. ความสามารถในการแก้ปญั หา ๔. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต
776 ค่มู อื ครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี ๑ (ภาษาไทย ป.6) ชนิ้ งานหรือภาระงาน ใบงานที่ ๔ เรอื่ ง แผนภาพความคดิ การต้งั ญัตตโิ ตว้ าที เกณฑ์การประเมนิ ผลชน้ิ งานหรอื ภาระงาน ใบงานที่ ๔ เรอื่ ง แผนภาพความคดิ การตั้งญตั ติโตว้ าที ประเดน็ การประเมิน ๔ (ดมี าก) ระดบั คุณภาพ ๑ (ปรับปรงุ ) ๓ (ด)ี ๒ (พอใช้) โตว้ าทีได้ แต่ยงั ไม่ ตรงประเดน็ ตาม การโต้วาที โต้วาทีตามญัตติ โตว้ าทตี ามญตั ติ โตว้ าทีตามญัตติ ญตั ตทิ ก่ี าหนด ท่กี าหนดไดต้ รง ท่ีกาหนดไดต้ รง ท่ีกาหนดไดต้ รง มกี ารแสดง ประเดน็ แสดง ประเดน็ แสดง ประเด็น แสดง ความคิดเหน็ และ ความคดิ เหน็ ความคดิ เหน็ ไดด้ ี ความคดิ เหน็ โต้แยง้ แตไ่ ม่มี ชัดเจน โตแ้ ย้ง มีเหตผุ ลใน และโต้แยง้ ได้ แต่ เหตผุ ลและขอ้ มลู อยา่ งมีเหตผุ ล การโตแ้ ยง้ และมี ยังไม่มเี หตุผลท่ดี ี สนับสนุน และมีข้อมลู ที่ ขอ้ มูลสนับสนุน พอ และมขี อ้ มลู น่าเชื่อถอื มา สนับสนุนเพียง สนับสนุน เล็กนอ้ ย หมายเหตุ : ค่าน้าหนัก ๕ คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ เกณฑก์ ารประเมินคุณภาพ ๑๘-๒๐ ดมี าก ๑๕-๑๗ ดี ๑๒-๑๔ พอใช้ ตา่ กวา่ ๑๒ ปรับปรงุ เกณฑ์การตดั สิน : ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ร้อยละ ๖๐ ข้ึนไป
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 7 เรื่อง พดู อยา่ งสรา้ งสรรค์ 777 ๑๐. บันทึกผลหลังสอน ผลการจดั การเรียนการสอน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ความสาเรจ็ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ปญั หาอปุ สรรค .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ขอ้ จากดั การใช้แผนการจดั การเรยี นรู้ และขอ้ เสนอแนะ/แนวทางการปรบั ปรงุ แก้ไข .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชือ่ ......................................................ผสู้ อน (..........................................................) วนั ท่ี ............. เดือน ..........พ.ศ. .................. ๑๑. ความคิดเห็น/ขอ้ เสนอแนะของผู้บริหารหรอื ผ้ทู ี่ได้รับมอบหมาย .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชอ่ื ......................................................ผูต้ รวจ (..........................................................) วนั ที่ ............. เดือน ..........พ.ศ. ..................
778 คู่มอื ครูและแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรียนที่ ๑ (ภาษาไทย ป.6) ใบความร้ทู ่ี ๓ เรอ่ื ง การโตว้ าที หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๗ เร่ือง พดู อย่างสรา้ งสรรค์ แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๔ เรอ่ื ง การโต้วาที รายวชิ า ภาษาไทย รหสั วชิ า ท๑๖๑๐๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๖ การพูดโต้วาที เป็นการใช้คาพดู โต้ตอบของบุคคล 2 ฝ่าย ทใี่ ช้เหตผุ ลประกอบ เพือ่ หักล้าง เหตผุ ลของอีกฝ่ายหน่ึง และพยายามใช้คาพูดเพื่อโน้มน้าวจิตใจผู้ฟงั ให้มีความคิดคลอ้ ยตาม และ สนับสนนุ เหตุผลของตน การโต้วาทีเป็นการแข่งขนั มีการตัดสินแพ้ชนะตามหลกั เกณฑ์ทก่ี าหนด องค์ประกอบของการโตว้ าที มี 5 ประการ คือ 1. ญตั ติ หรอื หัวข้อเร่อื งทใี่ ชใ้ นการโต้วาที ญัตติ คือ ประเด็นหรือหวั ข้อของการโต้วาที ซ่ึงต้องเปน็ ญัตตกิ ลาง ๆ ที่ยังหาข้อสรปุ ไม่ได้ โดยท่ฝี ่ายเสนอหรือฝ่ายคา้ นไม่ได้เปรียบหรอื เสยี เปรียบกนั มากนกั ก้ากึง่ ชนิดท่ีแต่ละฝ่ายสามารถ หาเหตุผลทดี่ กี ว่ามาชนะอกี ฝ่ายหน่งึ ได้ ญตั ติทดี่ ีควรมลี กั ษณะต่อไปนี้ 1.1 ควรเปน็ ญัตติที่คนท่วั ไปสนใจ อยใู่ นความสนใจของสังคม 1.2 มปี ระโยชนต์ อ่ ผ้โู ตว้ าทีและคนฟัง 1.3 เป็นญัตติที่เปน็ กลาง ทงั้ สองฝ่ายสามารถหาเหตุผลมาหกั ล้างกันได้ไมเ่ ป็นภยั ต่อสังคม และไมข่ ดั ต่อศีลธรรม ตัวอยา่ งญัตติ “น้าทว่ มดกี ว่าฝนแลง้ ” “ชนบทดกี วา่ ในเมือง” “รับราชการดีกว่าทางานเอกชน” “ภยั ธรรมชาตริ า้ ยกาจกว่าภยั มนุษย์” การตีญัตติ คือการแปลญัตติ หรือการแปลความหมายของหัวข้อหรือประเด็นท่ีใช้โต้วาที นั่นเอง ซ่ึงเป็นเร่ืองท่ีสาคัญมาก โดยเป็นหน้าที่หลักของหัวหน้าทีมท้ังสองฝ่ายเมื่อขึ้นพูดในรอบ แรก เพื่อเป็นการกาหนดขอบเขตของเรื่อง ตีกรอบญัตติให้เป็นประโยชน์กับฝ่ายตนมากทีส่ ุด จน บางครั้งผลการแพ้ชนะอาจอยทู่ ่กี ารตีญัตติเลยทเี ดียว 2. คณะบุคคลท่ดี าเนนิ การโต้วาที 2.1 ประธานในการโต้วาที (หรือผู้ดาเนินการโต้วาที) มีหน้าท่ีกล่าวเปิดการโต้วาที ประกาศญัตติ ระเบียบการพดู ให้ผู้พูดและผู้ฟังทราบ กล่าวแนะนาผูโ้ ต้ทง้ั สองฝ่าย เชิญผู้โต้ขน้ึ โต้ ตามลาดับ 2.2 ผู้โตว้ าที ซง่ึ ประกอบด้วยบุคคล 2 ฝา่ ย คอื - ฝ่ายเสนอ ทาหน้าที่เสนอข้อมูลและค้านฝ่ายค้าน ประกอบด้วย หัวหน้าและ ผสู้ นับสนนุ 2-3 คน
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 7 เรอื่ ง พดู อย่างสร้างสรรค์ 779 - ฝ่ายค้าน ทาหน้าที่ค้านข้อมูลฝ่ายเสนอและเสนอข้อมูลที่ดีกว่า ประกอบด้วย หวั หน้าและผู้สนบั สนุน 2-3 คน 2.3 กรรมการตัดสิน เป็นผู้มีความรู้ความสามารถ เข้าใจในการโต้วาทีและเช่ือถือได้ มี หน้าที่ให้คะแนน ปกติมักมีจานวนเป็นค่ี ประมาณ 3-5 คน ในการโต้วาทีท่ีไม่เป็นทางการ เพ่ือ ความสนกุ สนานหรือเชอ่ื มความสามคั คี มักให้ผ้ดู าเนินการขอเสยี งปรบมือจากผูฟ้ งั 3. ผู้ฟัง ควรรู้จกั พจิ ารณาถ้อยคาท่ีโต้ ตอนใดผู้โต้วาทีพดู ดเี ปน็ ที่ประทับใจควรปรบมือให้ คณุ สมบตั ขิ องผโู้ ตว้ าที ๑. ต้องมีทักษะในการโต้วาที คือ มีความมั่นใจในตนเอง ใช้ลีลาท่าทางน้าเสียงได้ดี มี สานวนโวหารดี มลี ูกเลน่ และมอี ารมณ์ขัน ๒. ต้องเตรียมตัวดี คือ เตรียมข้อมูลมาดี เลือกประเด็นท่ีจะนาเสนอดี แบ่งข้อมูลใน การนาเสนอดี เตรียมค้านได้ดี และเตรียมอปุ กรณ์ประกอบไดด้ ี ๓. ต้องเปน็ ผมู้ ีไหวพริบปฏิภาณดี คือ แก้ปญั หาเฉพาะหน้าได้ดี ดกั ทางฝา่ ยตรงข้ามเกง่ มี การใช้มุขแห่งหรือมุขสดเก่ง แก้ต่างได้อย่างล่ืนไหล และรู้จักใช้ข้อมูลของฝ่ายตรงข้ามย้อนศร กลบั ไป ๔. ตอ้ งเป็นผู้มีใจคอหนักแน่น คือ ไม่หวั่นไหว ไม่โกรธ ไม่หงุดหงิด มองโลกในแงดี และมี อารมณข์ นั ๕. ต้องรู้จักทางานเป็นทีม คือ มีการตั้งทีม A ทีม B เพ่ือซ้อมโต้กัน แบ่งกันหาข้อมูลหา คาคมหรอื มุขตลกและหาขอ้ มูลของฝา่ ยตรงข้าม ทีส่ าคัญตอ้ งซอ้ มกันอยา่ งจรงิ จัง
780 คู่มอื ครแู ละแผนการจัดการเรียนรู้ ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ภาษาไทย ป.6) ใบงานท่ี ๔ เรือ่ ง แผนภาพความคิด “การตัง้ ญตั ติโตว้ าที” หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๗ เรื่อง พดู อย่างสร้างสรรค์ แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ ๔ เรอื่ ง การโตว้ าที รายวชิ า ภาษาไทย รหสั วชิ า ท๑๖๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๑ ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๖ คาช้แี จง ใหน้ กั เรียนชว่ ยกันต้งั ญัตตเิ ร่ืองเกี่ยวกับ “บทบาทของผหู้ ญงิ และผู้ชายใน สังคมปจั จุบัน” ................................... ...................................... ................................... ...................................... ................................... ...................................... ................................... ...................................... ................................... ...................................... ญตั ตเิ รื่อง ........................................................... ............................................................................ ............................................................................ .................................. ...................................... .................................. ...................................... .................................. ...................................... .................................. ...................................... ................................. ...................................... ชื่อ....................................................................................ชนั้ .......................เลขที.่ .............
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 7 เร่อื ง พดู อยา่ งสรา้ งสรรค์ ๗๘๑ เวลา ๑ ช่ัวโมง หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๗ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๕ เรอ่ื ง โต้วาที ๒ ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๖ เร่อื ง พดู อย่างสรา้ งสรรค์ กลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย รายวิชาภาษาไทย ๑. มาตรฐานการเรยี นร้/ู ตวั ช้ีวดั มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลอื กฟังและดอู ยา่ งมวี ิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และความรู้สกึ ใน โอกาสตา่ ง ๆ อย่างมวี ิจารณญาณและสรา้ งสรรค์ ตวั ช้วี ดั ป.๖/๕ พูดโน้มนา้ วอย่างมีเหตุผล และน่าเชือ่ ถอื ๒. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด การโต้วาที เปน็ การพูดโตต้ อบของบุคคล 2 ฝ่าย ที่ต้องใช้เหตุผลประกอบ และหักล้างกนั ดว้ ยเหตผุ ล โดยการโนม้ น้าวใจผฟู้ ังใหเ้ ห็นดว้ ย หรือคลอ้ ยตาม ด้วยการพูดอย่างมีมารยาท 3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. ด้านความรู้ ความเขา้ ใจ (K) บอกหลักการพูดโตว้ าทีได้ ๒. ด้านทักษะกระบวนการ (P) เลือกใช้ข้อมูลการโตว้ าทไี ดอ้ ยา่ งเหมาะสม ๓. ดา้ นคณุ ลักษณะ เจตคติ ค่านยิ ม (A) เห็นความสาคญั ของการโต้วาที 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 วิเคราะห์หลกั การโตว้ าที 4.2 การโต้วาทีตามญตั ติทก่ี าหนด 4.3 หลักการโต้วาที 5. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น 5.1 ความสามารถในการสื่อสาร 5.2 ความสามารถในการคดิ 5.3 ความสามารถในการแกป้ ัญหา 5.4 ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ 6. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 6.1 มวี ินยั 6.2 ใฝเ่ รยี นรู้ 6.3 ม่งุ ม่นั ในการทางาน 6.4 อย่อู ย่างพอเพยี ง 7. กจิ กรรมการเรยี นรู้
๗๘๒ คมู่ การจัดกจิ กรรมการเรยี นร แผนการจดั การเรยี รายวิชา ภาษาไทย หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๗ เร ลาดบั ขอบเขตเน้ือหา/ ขน้ั ตอนการจัด เวลา แ ที่ จุดประสงค์การเรียนรู้ การเรยี นรู้ ทใี่ ช้ กิจกรรมคร 1. ขอบเขตเนื้อหา ขั้นนา ๕ ๑. ครูสนทนากบั นกั เร ๑. หลักการโตว้ าที นาที เกีย่ วกบั การเตรยี มตัว โตว้ าทขี องแตล่ ะกลุ่ม ๒. การโต้วาที ครู : กลุ่มของนักเรยี น การวางแผนอยา่ งไรใน การโต้วาที ครู : กล่มุ ของนักเรียน การแบ่งหน้าทก่ี นั อย่า 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ ขัน้ สอน ๒. ครูนาเข้าสูก่ ารเรยี 1. บอกหลักการพูด การโต้วาที เปน็ ลาดับ โตว้ าทีได้ ๒๐ ๑. ครใู ห้นกั เรียนศึกษ นาที ความรทู้ ่ี ๔ เรอ่ื ง เทค การพดู โต้วาที ครู : นักเรียนแบ่งกลุม่ กระบวนการ Gang o เพอ่ื ศกึ ษาใบความร้แู ล ช่วยกันเขียนผังความ
มอื ครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ ๑ (ภาษาไทย ป.6) รู้ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ ยนร้ทู ี่ ๕ โต้วาที ๒ ร่ือง พดู อย่างสร้างสรรค์ จานวน ๑ ชัว่ โมง แนวการจัดการเรยี นรู้ สอ่ื การเรยี นรู้ การประเมิน การเรียนรู้ รู กจิ กรรมนักเรียน รียน วในการ ม นมี นกั เรียน : ตอบตามทว่ี างแผน น ไว้ในกลมุ่ ของตนเอง นักเรียน : ตอบตามทว่ี างแผน นมี ไวใ้ นกลมุ่ ของตนเอง างไร ยนเร่ือง 1. ใบความรู้ท่ี ๔ - การตอบคาถาม บถัดไป เรอื่ ง เทคนิค ษาใบ 2. การพดู โตว้ าที คนคิ มตาม นักเรยี น : ศกึ ษาใบความรู้ of four แล้วเขียนผงั ความคิด แล้ว มคดิ
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 7 เร่อื ง พูดอยา่ งสรา้ งสรรค์ ลาดับ ขอบเขตเนื้อหา/ ขนั้ ตอนการจัด เวลา แ ที่ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ การเรียนรู้ ทใี่ ช้ กจิ กรรมคร องค์ประกอบของการ และขั้นตอนการโตว้ า กระดาษแผน่ ใหญท่ ี่ค ๒. ครูยกตัวอยา่ งการ สนับสนนุ หรือคดั คา้ น การโตว้ าที ครู : การโตว้ าที แบ่งอ ก่ีฝา่ ย อะไรบา้ ง ครู : ญัตติ “ขุนแผนแ พระอภยั มณี” ผู้เปน็ ฝ จะตอ้ งพูดสนบั สนนุ ใค ฝ่ายค้านจะตอ้ งพดู สน ใคร ครู : เพราะฉะนั้นทัง้ ส จะต้องทาอยา่ งไรจึงจ สามารถพูดหกั ล้างกัน ผลได้ประสบความสา ๓. ครูให้นักเรยี นระด ความคดิ หาเหตผุ ล เพ การพูดสนบั สนนุ และ ในการโต้วาทีตามญัต
๗๘๓ แนวการจัดการเรียนรู้ สอ่ื การเรยี นรู้ การประเมิน ๒. สอ่ื การนาเสนอ การเรยี นรู้ รู กจิ กรรมนกั เรียน เรอ่ื ง การโต้วาที รโตว้ าที ๒ าทใี น ครแู จกให้ รใช้ข้อมลู นญตั ตใิ น ออกเป็น นกั เรียน : ๒ ฝ่าย ฝา่ ยเสนอ แมนกวา่ และฝา่ ยคา้ น ฝ่ายเสนอ นกั เรียน : ฝ่ายเสนอพูด คร และ สนับสนุน ขุนแผน ฝ่ายคา้ น นบั สนุน พดู สนบั สนุนพระอภัยมณี สองฝ่าย นักเรยี น : ต้องหาข้อมลู ขอ้ ดี จะ ของฝา่ ยทต่ี นเองไดร้ บั ให้ นด้วยเหตุ ได้มากทส่ี ดุ เพอ่ื นามาพดู าเรจ็ หักลา้ งกนั ดว้ ยเหตุผล ดม พอ่ื ใช้ใน ะคัดคา้ น ตตทิ ต่ี ั้งไว้
๗๘๔ คู่ม ลาดับ ขอบเขตเนื้อหา/ ข้นั ตอนการจัด เวลา แ ที่ จุดประสงค์การเรยี นรู้ การเรยี นรู้ ทใี่ ช้ กจิ กรรมคร 3. 2. เลอื กใช้ขอ้ มลู ขนั้ ปฏบิ ัติ ๒๐ ๔. ครูให้นกั เรียนแต่ล การโต้วาทีได้อย่าง นาที ฝึกซ้อมการพดู โต้วาท เหมาะสม ครู : จากท่ีพวกเราไดศ้ เรื่องการโตว้ าทมี าพอ ใหแ้ ต่ละกลุ่มฝกึ ซอ้ มแ จัดเตรยี มอุปกรณท์ ่ตี อ้ การโตว้ าที ๕. ครูเข้ากลมุ่ สงั เกตก การทางาน การซอ้ มพ ใหข้ อ้ เสนอแนะการโต กลุ่ม 4. 3. เหน็ ความสาคญั ขั้นสรปุ ๕ ๑. ครใู หน้ ักเรียนแตล่ ของการโตว้ าที นาที สะท้อนการซักซ้อมการ ครู : จากที่เราได้ซักซ้อม การโตว้ าที เกิดปญั หาอ และจะมีวิธีการแก้ปญั ห ครู : กอ่ นการพูดโต้วา ตอ้ งมกี ารเตรยี มตวั กอ่ อยา่ งไร
มือครูและแผนการจัดการเรียนรู้ ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี ๑ (ภาษาไทย ป.6) แนวการจดั การเรียนรู้ ส่อื การเรียนรู้ การประเมนิ การเรียนรู้ รู กจิ กรรมนักเรียน - สงั เกต พฤตกิ รรม ละกลมุ่ ที ศกึ ษา อสมควร นักเรียน : ฝกึ ซ้อมและ และ จัดเตรยี มอุปกรณท์ ่ีตอ้ งใชใ้ น องใชใ้ น การโต้วาที การณ์ พดู และ ต้วาทีทุก ละกลมุ่ พูด นักเรียน : ตอบตามความเป็น - สงั เกต รพูดโต้วาที จริง พฤติกรรม ม นกั เรยี น : ตอบตามความเป็น อะไรบ้าง จริง หาอย่างไร าทีผพู้ ดู นกั เรียน : เตรียมข้อมลู ให้ อนการพูด พรอ้ ม/ฝกึ ซ้อมการพดู / หา อุปกรณป์ ระกอบการพูด นกั เรียน : เป็นการพดู เพื่อโนม้ นา้ วใจผูฟ้ ังให้คล้อยตามและ ใช้เหตผุ ลประกอบการพูด
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เร่ือง พดู อยา่ งสร้างสรรค์ 785 ๘. สื่อการเรยี นรู้/แหล่งการเรียนรู้ ๑. ใบความร้ทู ี่ ๔ เร่อื ง เทคนคิ การพูดโต้วาที ๒. สอื่ การนาเสนอ เรื่อง การโต้วาที ๒ ๙. การประเมนิ ผลรวบยอด สง่ิ ท่ีต้องการวดั /ประเมนิ วิธกี าร เครื่องมือทใ่ี ช้ เกณฑ์ ด้านความรู้ - ตอบคาถาม - คาถาม ผา่ นเกณฑ์ - บอกหลกั การพดู โตว้ าที การประเมนิ ระดบั - แบบประเมินใบงาน ผา่ น ด้านทักษะและกระบวนการ - การสงั เกต ผา่ นเกณฑ์ - เลือกใช้ข้อมูลการโตว้ าทีได้อย่าง พฤติกรรม - แบบการสงั เกต การประเมินระดับ เหมาะสม พฤติกรรม ผา่ น 1. แบบประเมิน ผา่ นเกณฑ์ ด้านคุณลกั ษณะ เจตคติ ค่านยิ ม - การสังเกต คาถาม การประเมินระดบั - เหน็ ความสาคญั ของการโตว้ าที พฤติกรรม 2. แบบประเมนิ ผา่ น การทางานกลมุ่ ผา่ นเกณฑ์ ด้านคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1. การสงั เกต 1. แบบประเมนิ การประเมนิ ระดบั 1. มีวินยั พฤติกรรม คาถาม ผ่าน 2. ใฝ่เรียนรู้ 2. การตอบคาถาม 2. แบบประเมิน 3. มุง่ มั่นในการทางาน 1. การสังเกต การทางานกลมุ่ ผา่ นเกณฑ์ 4. อยอู่ ยา่ งพอเพียง พฤติกรรม การประเมนิ ระดบั สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน 2. การตอบคาถาม ผ่าน 1. ความสามารถในการสือ่ สาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา ๔. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 517
- 518
- 519
- 520
- 521
- 522
- 523
- 524
- 525
- 526
- 527
- 528
- 529
- 530
- 531
- 532
- 533
- 534
- 535
- 536
- 537
- 538
- 539
- 540
- 541
- 542
- 543
- 544
- 545
- 546
- 547
- 548
- 549
- 550
- 551
- 552
- 553
- 554
- 555
- 556
- 557
- 558
- 559
- 560
- 561
- 562
- 563
- 564
- 565
- 566
- 567
- 568
- 569
- 570
- 571
- 572
- 573
- 574
- 575
- 576
- 577
- 578
- 579
- 580
- 581
- 582
- 583
- 584
- 585
- 586
- 587
- 588
- 589
- 590
- 591
- 592
- 593
- 594
- 595
- 596
- 597
- 598
- 599
- 600
- 601
- 602
- 603
- 604
- 605
- 606
- 607
- 608
- 609
- 610
- 611
- 612
- 613
- 614
- 615
- 616
- 617
- 618
- 619
- 620
- 621
- 622
- 623
- 624
- 625
- 626
- 627
- 628
- 629
- 630
- 631
- 632
- 633
- 634
- 635
- 636
- 637
- 638
- 639
- 640
- 641
- 642
- 643
- 644
- 645
- 646
- 647
- 648
- 649
- 650
- 651
- 652
- 653
- 654
- 655
- 656
- 657
- 658
- 659
- 660
- 661
- 662
- 663
- 664
- 665
- 666
- 667
- 668
- 669
- 670
- 671
- 672
- 673
- 674
- 675
- 676
- 677
- 678
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 550
- 551 - 600
- 601 - 650
- 651 - 678
Pages: