Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 64 รายงานผลการวิจัย

64 รายงานผลการวิจัย

Published by วิจัย แม่โจ้, 2022-06-10 04:17:13

Description: 64 รายงานผลการวิจัย

Search

Read the Text Version

29 เคร่ืองผกู พนั ธนาการของกิเลสและตณั หา เพราะวา่ มหำสติปัฏฐำนเป็ นทำงสำยเอก เป็นทางสายเดียวที่จะนา เวไนยสัตวใ์ ห้สามารถหลุดพน้ จากอุปกิเลสเคร่ืองเศร้าหมองของใจได้ ท้งั น้ี ผเู้ จริญสติพึงมีสติกาหนดระลึก รู้อยู่ในกายานุปัสสนา (การพิจารณารู้กายในกาย) เวทนานุปัสสนา (การพิจารณารู้เวทนาในเวทนา) จิตตา นุปัสสนา(การพิจารณารู้จิตในจิต) และธรรมานุปัสสนา (การพิจารณารู้ธรรมท้งั หลายในธรรมท้งั หลาย มี อริยสัจ 4 เป็ นตน้ ) การเจริญสติตามแนวทางของหลวงพ่อเทียน จิตฺตสุโภ พบว่า เนน้ การสอนให้ผู้ปฏิบตั ิ เจริญสติในหมวดกายานุปัสสนาสติปัฏฐานหมวดอิริยาบถบรรพ คือ การยืน เดิน นั่ง นอน และหมวด สัมปชญั ญะมรณะ คือ การกาหนดอิริยาบถน้อยอ่ืนๆอีก เช่น ดื่ม พูด เหลียวหลงั ยกมือ วิธีการปฏิบตั ิต่อ ความคิด คือ จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน เป็นการสอนใหผ้ ปู้ ฏิบตั ิรู้เท่าทนั ความคิดท่ีเกิดข้ึนในขณะน้นั แตไ่ ม่ ตอ้ งปรุงแต่งไปตามความคิดไม่วา่ จะเป็นความคิดดีความคิดไม่ดีก็ตาม เพียงแต่กาหนดรู้สึกตวั เท่าน้ันก็พอ เม่ือทาไดบ้ ่อยๆแลว้ ปัญญาในการพิจารณาย่อมเกิด จะทาใหผ้ ปู้ ฏิบตั ิไม่ตกเป็นเหยอื่ ของความคิดและไม่เป็น ทุกขเ์ พราะความคิดท่ีเกิดข้ึนน้นั ส่วนการควบคุมอารมณ์และการตรวจสอบการเจริญสติ โดยปกติก็จะเป็ น หน้าท่ีของพระวิปัสสนาจารยผ์ ูม้ ีความชานาญในรูปแบบการเจริญสติแบบเคล่ือนไหวตามแนวทางของ หลวงพ่อเทียน จิตฺตสุโภ เช่น พระอาจารยค์ าเขียน สุวณฺโณ และพระอธิการกุสุม ผาสุโก (เจา้ อาวาสสานกั ปฏิบตั ิธรรมมหาสติปัฏฐาน 4) จากการศึกษายงั พบวา่ สานกั ปฏิบตั ิธรรมเจริญสติของสานกั ปฏิบตั ิธรรมมหา สติปัฏฐาน 4 บา้ นเหล่าโพนทอง ตาบลบา้ นหวา้ อาเภอเมือง จงั หวดั ขอนแก่น เป็ นอีกสานกั หน่ึงที่ได้นา หลักการและวิธีการต่างๆของหลวงพ่อเทียน จิตฺตสุโภไปอบรมส่ังสอนพระภิกษุสามเณรและ พุทธศาสนิกชนในพ้ืนท่ี โดยเป็นการอบรมของพระวิปัสสนาจารยท์ ี่เคยร่วมปฏิบตั ิธรรมกบั หลวงพ่อเทียน จิตฺตสุโภ มาเป็นอย่างดีหรือเป็นผมู้ ีความชานาญในการสอนตามแนวทางรูปแบบการเคล่ือนไหวน้ี ผลการ เจริญสติตามแนวปฏิบตั ิของหลวงพ่อเทียน จิตฺตสุโภ พบว่า ผปู้ ฏิบตั ิสามารถควบคุมอารมณ์ของตนเองไดด้ ี กวา่ เดิม มีสติระลึกรู้ในการทางาน เขา้ ใจคนอื่นไดด้ ีปรับสภาวะทางจิตใหย้ ดื หยุ่นได้ มีความต้งั ใจมนั่ หรือ ทาใหม้ ีสมาธิจิตท่ียาวนานกวา่ เดิม ทาใหเ้ กิดปัญญาในการแกไ้ ขปัญหาต่างๆ ในชีวิตประจาวนั ได้ เช่น เม่ือมี สติก็ไม่ก่อปัญหาอาชญากรรม ไม่ลกั ขโมย ไม่ประพฤติผิดในกาม ไม่พูดเทจ็ ไม่ดื่มสุราและเมรัย ตลอดจน สิ่งเสพติดต่างๆ หลีกเวน้ การก่อปัญหาทางสังคม ตรงกนั ขา้ ม ผูป้ ฏิบตั ิธรรมกลบั มีจิตใจท่ีเมตตาต่อคนอื่น โดยคอยใหก้ ารช่วยเหลืองานสังคมหรือชุมชนตามกาลงั ของตน รู้จกั เสียสละบาเพญ็ ประโยชน์เป็นสาธารณะ หรือมีจิตสาธารณะอนั จะยงั ประโยชนส์ ุขใหเ้ กิดข้ึนแก่ตนครอบครัวและบคุ คลท่ีเก่ียวขอ้ งไดด้ ียงิ่ ข้นึ [31] พระมหาเจษฎา โชติวโส (จุลพนั ธ์)36 (2556) ไดศ้ ึกษาเร่ือง ศึกษำเปรียบเทียบวิธีกำรเจริญสติ ของหลวงพ่อเทียน จิตฺตสุโภ และท่ำนติช นัท ฮันห์ วตั ถุประสงคเ์ พื่อ 1)เพ่ือศึกษาวิธีการเจริญสติของหลวง พ่อเทียน จิตฺตสุโภ 2)เพื่อศึกษาการเจริญสติของท่านติช นัท ฮนั ห์ 3)เพ่ือศึกษาเปรียบเทียบวิธีการเจริญสติ 36 พระมหาเจษฎา โชติวโส (จุลพนั ธ์). 2556. ศึกษำเปรียบเทียบวิธีกำรเจริญสติของหลวงพ่อเทียน จิตฺตสุโภ และท่ำนติช นัท ฮันห์. วิทยานิพนธ์ พุทธศาสนามหาบัณฑิต สาขาวิชาศาสนาเปรียบเทียบ. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย : พระนครศรีอยธุ ยา.

30 ของหลวงพ่อเทียน จิตฺตสุโภ และท่านติช นัท ฮนั ห์ ผลการศึกษาพบว่า การเจริญสติในความหมายพุทธ ศาสนาเถรวาทกบั พระพุทธศาสนามหายานมีนัยเหมือนกันคือการฝึ กสติให้ระลึกรู้อยู่กับปัจจุบนั ขณะท่ี บงั เกิดอยใู่ นกาย เวทนา จิต ธรรม อนั เป็นคุณเครื่องให้กุศลจิตเจริญ ยบั ย้งั อกุศลจิต มีเป้าหมายเพื่อความสุข ในชีวิตท้งั ที่เป็นโลกียะและโลกุตระ ส่วนมหายานมุ่งเนน้ โพธิจิต แนวคิดเร่ืองการเจริญสติในมุมมองของ หลวงพ่อเทียน จิตฺตสุโภ และท่านติช นทั ฮนั ห์ มีนยั ท่ีเหมือนกนั คือ การเจริญสติเพ่ือควบคุมจิตใจที่คิดปรุง แต่งอยู่ตลอดเวลา หรือการอยู่เหนือจิตให้พน้ จากโลภะ โทสะ โมหะ เพื่อเขา้ สูงความพน้ ทุกข์ และบรรลุ จุดมุ่งหมายสูงสุดทางพุทธศาสนา วิธีการเจริญสติของหลวงพ่อเทียน จิตฺตสุโภ และท่านติช นทั ฮนั ห์ มี ความคลา้ ยคลึงกนั คือ กำรใช้สติกำกับพฤติกรรมของตนเอง ให้รู้อยู่กบั ปัจจุบันขณะ ท้งั อิริยาบถใหญ่ และ อิริยาบถย่อยทุกอย่าง หมายถึงการไม่ละสติเป็ นไปในกายตนทุกขณะ มีวิธีการสร้างรูปแบบการปฏิบัติ ต่างกนั โดยหลวงพ่อเทียนเนน้ การใชส้ ติจบั ความเคล่ือนไหวไม่เนน้ คาบริกรรม ส่วนทา่ นติช นทั ฮนั ห์ เนน้ รูปแบบปฏิบตั ิท่ีใชอ้ ุปกรณ์ภายนอกช่วย เช่น ใชเ้ สียงในการบริกรรม กล่าวโศลก บทกลอน สวดมนต์ หรือ กระท้งั ใชเ้ สียงดนตรี เสียงระฆงั เป็นตวั ช่วยเร้าสติให้อยกู่ บั ตน มีเป้ำหมำยเหมือนกนั คือ กำรใช้สติกำหนด อยู่กับปัจจุบันขณะ มุ่งควบคุมจิตเพ่ือให้ปราศจากความทุกข์ และการอยู่เหนือความทุกขอ์ นั เป็ นเป้าหมาย สูงสุด คือ การเขา้ ถึงนิพพาน หรือ การหมดสิ้นจากกิเลสอาสวะท้งั มวลนน่ั เอง [32] สุชาติ หลา้ อภยั 37 (2559) ไดศ้ ึกษาเร่ือง กำรประยกุ ต์ใช้มหำสติปัฏฐำนเพ่ือพฒั นำคุณภำพชีวิต ผู้สูงอำยุ วตั ถุประสงค์ 1) เพ่ือศึกษาหลกั มหาสติปัฏฐานทางพระพุทธศาสนา และกระบวนการฝึ กสติตาม แนวทำงของหลวงพ่อเทียน จิตฺตสุโภ 2) เพื่อศึกษาแนวคิดทฤษฎีเก่ียวกบั ผูส้ ูงอายุและสภาพปัญหาการ พฒั นาคณุ ภาพชีวิตผสู้ ูงอายใุ นเขตพ้ืนที่ตาบลหนองกงุ ธนสาร อาเภอภูเวยี ง จงั หวดั ขอนแก่น 3) เพื่อประยกุ ต์ ใชม้ หาสติปัฏฐานตามแนวทางของหลวงพ่อเทียน จิตฺตสุโภ ในการพฒั นาคุณภาพชีวิตผูส้ ูงอายุในเขตพ้ืนที่ ตาบลหนองกุงธนสาร อาเภอภูเวียง จงั หวดั ขอนแก่น การวิจยั น้ีเป็ นการวิจยั เชิงคุณภาพ ผลการวิจยั พบวา่ หลกั มหาสติปัฏฐานทางพระพุทธศาสนา เป็นหนทางเอกเพื่อความบริสุทธ์ิของเหล่าสัตว์ เพ่ือล่วงโสกะและ ปริเทวะ เพื่อดับทุกข์และโทมนัส เพ่ือบรรลุญายธรรม เพื่อทาให้แจ้งซ่ึงพระนิพพาน มี ๔ ประการ คือ พิจารณาเห็นกายในกายอยู่ พิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาท้งั หลายอยู่ พิจารณาเห็นจิตในจิตอยู่ และพิจารณา เห็นธรรมในธรรมท้งั หลายอยู่ มีความเพียร มีสมั ปชญั ญะ มีสติกาจดั อภิชฌาโทมนสั ได้ และกระบวนการฝึ ก สติของหลวงพ่อเทียน จิตฺตสุโภ เป็ นการฝึ กสติกาหนดรู้ความเคล่ือนไหวของกายและจิตในอิริยาบถต่างๆ ในขณะท่ีกาลงั ทา พดู คิด กใ็ หร้ ู้สึกตวั เมื่อมีความโลภ โกรธ หลง พอใจ ไม่พอใจ สุข ทุกข์ เกิดข้ึนในใจกใ็ ห้ รู้สึกวา่ กาลงั เกิดข้ึน รู้ว่าทุกอยา่ งเป็นส่ิงสมมติ ไม่เที่ยง ต้งั อยู่ ดบั ไป ไม่ควรยดึ มน่ั ถือมนั่ แลว้ ปล่อยวาง จะ ทาใหแ้ จ่มแจง้ เกิดปัญญา จิตใจผอ่ งใส สะอาด สวา่ ง สงบ และมีความสุข แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกบั ผสู้ ูงอายไุ ด้ กล่าวถึงผสู้ ูงอายทุ ่ีมีการเปล่ียนแปลงทางดา้ นร่างกายท่ีเสื่อมลงตลอดเวลา มีกระดูกเส่ือม มีสมองเส่ือม มีเซล 37 สุชาติ หล้าอภัย. 2559. การประยุกต์ใช้มหาสติปัฏฐานเพื่อพฒั นาคุณภาพชีวิตผูส้ ูงอายุ. ว.วิชำกำรธรรมทรรศน์ มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตขอนแก่น. 16(2) : 75-92.

31 ในร่างกายเสื่อม มีผิวหนังเห่ียวย่น มีผมสีขาว มีดวงตาพร่ามวั ฟันร่วง หูฟังเสียงไม่ค่อยได้ยิน ร่างกาย เคลื่อนไหวไดช้ า้ มีโรคเร้ือรังเบียดเบียน มีบทบาททางสังคมลดลง ทางานไม่ได้ มีรายไดไ้ ม่เพียงพอ และ พลดั พรากจากส่ิงอนั เป็นท่ีรัก ส่งผลใหเ้ กิดปัญหาทางดา้ นจิตใจทาให้เป็นโรคเครียด วิตกกงั วล และซึมเศร้า ไม่มีความสุขในชีวิต ท่ีผ่านมาทางภาครัฐไดแ้ กไ้ ขปัญหาโดยทางการแพทย์ แนะนาใหก้ ินอาหารให้ครบ 5 หมู่ และใหอ้ อกกาลงั กายอยา่ งสม่าเสมอ แตก่ ย็ งั ไมส่ ามารถแกป้ ัญหาความทุกขข์ องผสู้ ูงอายเุ หล่าน้ีได้ ทาให้ ผูส้ ูงอายุมีความทุกข์กาย ทุกขใ์ จ อยู่เสมอ กำรประยุกต์ใช้มหำสติปัฏฐำนตำมแนวทำงของหลวงพ่อเทียน จิตฺตสุโภ ในการพฒั นาคุณภาพชีวิตผสู้ ูงอายชุ าวบา้ นหนองกุงธนสาร อาเภอภเู วยี ง จงั หวดั ขอนแก่น การวิจยั พบว่า ผูส้ ูงอายุบา้ นหนองกุงธนสารที่ไดม้ าฝึ กสติแบบเคล่ือนไหวสามารถแกป้ ัญหาความทุกขท์ ี่เกิดจาก ร่างกายเสื่อมเพราะชรา และร่างกายมีโรคเร้ืองรังเบียดเบียนได้ โดยการประยกุ ตใ์ ชห้ ลกั มหาสติปัฏฐาน คือ การฝึ กสติแบบเคล่ือนไหว ไดแ้ ก่ การฝึ กสติทางกาย (กายภาวนา) เขา้ อบรมฝึ กสติ กินอาหารให้ครบ 5 หมู่ และออกกาลงั กาย มเี ดินจงกรมตำมธรรมชำติและกำรนงั่ ฝึ กสติแบบเคลื่อนไหว ทาใหเ้ ป็นการออกกาลงั กาย ของผสู้ ูงอายุมีร่างกายแขง็ แรงและไดเ้ ห็นสจั ธรรมของกายที่ไม่เที่ยงเป็นทุกขเ์ ป็นอนตั ตา การฝึกสติดว้ ยการ รักษาศีล (สีลภาวนา) มีการสารวมกาย วาจา ทาให้มีสติในการบริโภคอาหาร ไดไ้ หวพ้ ระสวดมนตเ์ ช้าเยน็ ไดส้ นทนาธรรม ไดพ้ บปะกบั ผสู้ ูงอายุวยั เดียวกนั ไดร้ ับคาแนะนาในการดารงชีวิตท่ีดี ส่งผลให้จิตใจผ่อน คลาย เบิกบานและไม่ประมาทในชีวิต การฝึ กสติดว้ ยการฝึ กจิต (จิตภาวนา) แบบเคล่ือนไหว ทาให้จิตรู้กาย เวทนา จิต ธรรม รู้สมมติ รู้อารมณ์ รู้ความรู้สึกนึกคิด ทาใหล้ ะความโลภ โกรธ หลงได้ ความทุกขจ์ ะค่อย ๆ จางหายไป และการฝึ กสติข้ันปัญญา (ปัญญาภาวนา) เป็ นการนาวิธีการฝึ กสติมาใช้ในชีวิตประจาวนั สามารถกาหนดรู้อารมณ์ที่มากระทบ แยกแยะความดี ความชว่ั ความสุข ความทุกข์ ของกายและใจ รู้เท่า รู้ทนั รู้จกั กนั รู้จกั แก้ ไดต้ ลอดเวลา ทาใหไ้ มเ่ ผลอตวั ไม่ประมาทในชีวิต จิตใจโลง่ โปร่ง เบา สบาย สามารถ กาจดั ความเครียด ความวิตกกงั วล และความซึมเศร้า อนั เป็ นสาเหตุแห่งทุกขท์ ้งั ปวงได้ ซ่ึงเป็ นไปเพื่อการ พฒั นาคุณภาพชีวติ ผสู้ ูงอายทุ ้งั ทางกาย สงั คม จิต และปัญญา ที่ยงั่ ยนื ตลอดไป [33] เก้ือกลู มลู ทา38 (2560) ไดศ้ ึกษาเร่ือง กำรศึกษำแนวทำงกำรเจริญสติในชีวิตประจำวนั ตำมหลัก คำสอนของหลวงพ่อเทียน จิตฺตสุโภ วตั ถุประสงค์ 1)เพ่ือศึกษาหลกั การเจริญสติในพระพุทธศาสนาเถรวาท 2) เพ่ือศึกษาวธิ ีการการเจริญสติตามหลกั คาสอนของหลวงพ่อเทียน จิตฺตสุโภ 3) เพอ่ื ศึกษาแนวทางการเจริญ สติในชีวิตประจาวนั ตามคาสอนของหลวงพ่อเทียน งานวิจยั เชิงเอกสาร ผลการศึกษาพบวา่ หลกั การเจริญ สติในพระพุทธศาสนาเถรวาท เป็ นหลกั ปฏิบตั ิเพื่อนาสติมากาหนดไวท้ ่ีฐานท้งั 4 เรียกว่าสติปัฏฐาน 4 คือ นาสติมากาหนดไวท้ ่ีกาย นาสติมากาหนดไวท้ ี่เวทนา นาสติมากาหนดไวจ้ ิต และกาหนดสติไวท้ ่ีธรรม เพื่อให้จิตต้งั มน่ั เป็ นสมาธิมีปัญญาดบั ทุกขไ์ ดใ้ นระดบั ต่าง ๆ จนไปถึงพระนิพพาน รูปแบบการเจริญสติ เคล่ือนไหวไม่หลบั ตาตามหลกั คาสอนของหลวงพ่อเทียน จิตฺตสุโภ ตรงกบั หลกั การเจริญสติปัฏฐาน 4 ใน 38 เก้ือกูล มูลทา. 2560.การศึกษาแนวทางการเจริญสติในชีวิตประจาวนั ตามหลกั คาสอนของหลวงพ่อเทียน จิตฺตสุโภ. ว.วชิ ำกำร มจร บุรีรัมย์ มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั วิทยาเขตบุรีรัมย.์ 2(1) : 33-48.

32 หมวดกายานุปัสสนาสติปัฏฐาน ในอิริยาบถบรรพ และสัมปชญั ญะบรรพ จุดมุ่งหมายคือเพื่อเขย่าธาตุรู้ให้ ตื่นข้นึ มาทาหนา้ ท่ีเป็นผสู้ งั เกตการณ์ สมควรนามาใชก้ บั ชีวติ ประจาวนั 2.2.7 ผลงำนวิจยั ที่เกย่ี วข้อง : พระครูภำวนำนุศำสก์ (แป้น ธมฺมธโร) [34] พระครูนิวิฐธรรมานุยุต (เสถียร ถาวโร)39 (2559) ไดศ้ ึกษาเรื่อง ศึกษำวิปัสสนำตำมแนวของ พระครูภำวนำนุศำสก์ (แป้น ธมฺมธโร) มีวตั ถุประสงคเ์ พื่อ 1) ศึกษาหลกั การและวิธีการปฏิบตั ิวิปัสสนาใน คมั ภีร์พระพุทธศาสนาเถรวาท 2) ศึกษารูปแบบและวิธีปฏิบตั ิวปิ ัสสนาในประเทศไทย 3) ศึกษารูปแบบการ สอนและวิธีปฏิบตั ิวิปัสสนาของพระครูภาวนานุศาสก์ (แป้น ธมฺมธโร) เป็ นการวิจยั เชิงคุณภาพโดยใชว้ ิธี การศึกษาขอ้ มูลจากเอกสาร ผลการวิจยั พบว่า หลักในกำรปฏิบัติวิปัสสนำในคมั ภรี ์พระพุทธศำสนำเถรวำท คือแนวทางในการปฏิบตั ิวิปัสสนาตามหลกั สติปัฏฐาน 4 อนั ประกอบดว้ ย 1) การกาหนดพิจารณาเห็นกาย ในกาย 2) การกาหนดพจิ ารณาเห็นเวทนาในเวทนา 3) การกาหนดพิจารณาเห็นจิตในจิต และ 4) การกาหนด พิจารณาเห็นธรรมในธรรม วิธีการปฏิบตั ิวิปัสสนาในคมั ภีร์พระพุทธศาสนาเถรวาท ไดแ้ ก่ การปฏิบตั ิตาม หลกั สติปัฏฐาน 4 ซ่ึงเป็ นแบบอย่างท่ีดีงาม อนั เป็ นเหตุให้เกิดปัญญาอนั บริสุทธ์ิ รู้แจง้ ในปัจจุบนั รูปนาม ไตรลกั ษณ์ มรรค ผล นิพพาน อย่างแทจ้ ริง และดบั อาสวะกิเลสทุกอย่างให้หมดสิ้นไปจากจิตใจได้อย่าง สิ้นเชิง โดยอาศยั ธรรม ที่มีอุปการะมากที่เป็นองคป์ ระกอบของหลกั สติปัฏฐาน 4 คือ วิริยะ ทาให้นกั ปฏิบตั ิ จดจ่อในรูปนามปัจจุบนั ดว้ ยความเพียรทางกายและทางใจ, สติ เป็ นเครื่องระลึกรู้ตามการกาหนดรูปนาม อยา่ งต่อเน่ืองไม่ขาดช่วง, สมาธิ ทาให้จิตแนบชิดต้งั มน่ั อยใู่ นสภาวธรรมท่ีกาหนดรู้ดว้ ยสติ, และปัญญา ทา ให้หยง่ั เห็นลกั ษณะพิเศษของสภาวธรรมแต่ละอย่างได้ชัดเจน, ธรรม ๔ ประการน้ี จึงเป็ นเหมือนกลอ้ ง จุลทรรศนท์ ่ีช่วยใหเ้ หลา่ สัตวร์ ู้เห็นสภาวธรรมตามความเป็นจริง รูปแบบกำรปฏิบตั วิ ปิ ัสสนำในประเทศไทย มี 2 สายใหญ่ๆ คือ สายบริกรรมว่า “พุท-โธ” เป็ นรูปแบบการปฏิบตั ิวิปัสสนาของฝ่ ายธรรมยุติกนิกาย ท่ี เริ่มตน้ ดว้ ยการน่ังสมาธิ เดินจงกรม และการกาหนดอิริยาบถย่อย โดยปฏิบตั ิตามสายหลวงป่ ูมนั่ ภูริทตฺโต และอีกสายหน่ึง คือ สายบริกรรมวา่ “พองหนอ-ยบุ หนอ” เป็นรูปแบบการปฏิบตั ิวปิ ัสสนาของฝ่ายมหานิกาย โดยปฏิบตั ิตามแนวของพระโสภณมหาเถระ หรือพระอาจารยม์ หาสีสยาดอ พระภิกษุชาวพม่าที่ใชร้ ูปแบบ การกาหนดเดินจงกรม 6 ระยะ, การกาหนดนง่ั สมาธิบริกรรม และการกาหนดอิริยาบถต่างๆ ต่อเนื่องท้งั วนั ส่วนสานกั วิปัสสนากรรมฐานในประเทศไทยที่โดดเด่น กรณีศึกษาจาก 5 สานกั ซ่ึงไดแ้ ก่ สานกั วปิ ัสสนาวดั ป่ าบา้ นตาด ใชอ้ งคบ์ ริกรรมวา่ “พุท-โธ” สานกั วิปัสสนาวดั ธารน้าไหล (สวนโมกขพลาราม) ใชว้ ิธีกาหนด สติแบบ “อานาปานสติ” สานกั วปิ ัสสนาวดั อมั พวนั ใชอ้ งคบ์ ริกรรมวา่ “ยบุ หนอ-พองหนอ” สานกั วปิ ัสสนา วดั พระธรรมกายใช้องค์บริกรรมว่า “สัมมา-อะระหัง” และศูนยว์ ิปัสสนาตามแนวทางของอาจารยส์ ัตยา นารายนั โกเอน็ กา้ ไมใ่ ชอ้ งคใ์ นการบริกรรมแต่อยา่ งใด รูปแบบกำรสอนและวิธีปฏบิ ัติวิปัสสนำของพระครู 39 พระครูนิวิฐธรรมานุยตุ (เสถียร ถาวโร). 2558. ศึกษำวปิ ัสสนำตำมแนวของพระครูภำวนำนุศำสก์ (แป้น ธมมฺ ธโร). วทิ ยานิพนธ์ พุทธศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาพระพทุ ธศาสนา มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั : พระนครศรีอยธุ ยา.

33 ภำวนำนุศำสก์ (แป้น ธมฺมธโร) มีวิธีการสอนโดยเน้นท่ีหลักสติปัฏฐาน 4 คือ กาย เวทนา จิต และ สภาวธรรม ส่วนวิธีปฏิบตั ิวิปัสสนากมั มฏั ฐาน คือ การเจริญสติแบบเคลื่อนไหวโดยใชส้ ติกาหนดอิริยาบถ ต่างๆ มีการนง่ั เดิน ยืน นอน และอิริยาบถยอ่ ยต่างๆ คือการเจริญสติในชีวิตประจาวนั โดยการกาหนดสติ ทุกข้นั ตอนท่ีมีการเคล่ือนไหวกาย [35] พระครูอุดมภาวนานุสิฐ (เสถียร จนั ทร์รวม)40 และคณะ (2563) ไดศ้ ึกษาวิจยั เร่ือง กำรศึกษำ วิเครำะห์วิธีกำรปฏิบัติวิปัสสนำกัมมัฏฐำนของพระครูภำวนำนุศำสก์ (แป้น ธมฺมธโร) วตั ถุประสงคเ์ พื่อ 1) ศึกษาวิธีการปฏิบตั ิวปิ ัสสนากมั มฏั ฐานที่ปรากฏในคมั ภีร์ทางพระพทุ ธศาสนาเถรวาท 2) ศึกษาวธิ ีการปฏิบตั ิ วปิ ัสสนากมั มฏั ฐานของพระครูภาวนานุศาสก์ (แป้น ธมฺมธโร) 3) วเิ คราะหว์ ธิ ีการปฏิบตั ิวปิ ัสสนากมั มฏั ฐาน ของพระครูภาวนานุศาสก์ (แป้น ธมฺมธโร) ดาเนินการศึกษาโดยวิธีการวิจยั เชิงคุณภาพ เน้นการศึกษา เอกสาร นาเสนอขอ้ มูลแบบเชิงพรรณนา พบว่า 1) วิธีการปฏิบตั ิวิปัสสนากมั มฏั ฐานที่ปรากฏในคมั ภีร์ทาง พระพุทธศาสนาเถรวาท พบว่า แนวทางในการปฏิบัติวิปัสสนาภาวนา ได้แก่ หลักมหาสติปัฏฐาน 4 ประกอบดว้ ย 1) การกาหนดพิจารณาเห็นกายในกาย 2) การกาหนดพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนา 3) การ กาหนดพิจารณาเห็นจิตในจิต และ 4) การกาหนดพิจารณาเห็นธรรมในธรรม 2) วิธีการปฏิบตั ิวิปัสสนา กมั มฏั ฐานของพระครูภาวนานุศาสก์ (แป้น ธมฺมธโร) พบว่า การนาหลกั การปฏิบตั ิตามหลกั สติปัฏฐาน 4 อนั เป็ นการใช้สติ และปัญญา พิจารณากาหนดรู้ รูป นาม สภาวธรรมทางฐานของสติท้งั 4 ฐาน คือ กาย เวทนา จิต ธรรม ตามความเป็นจริง จนหยง่ั รู้ถึงความเปลี่ยนแปลงของสภาวธรรมท้งั หลายวา่ ไม่เที่ยง เป็น ทกุ ข์ เป็นอนตั ตา 3) วิเคราะห์การสอนวิปัสสนากมั มฏั ฐานของพระครูภาวนานุศาสก์ (แป้น ธมฺมธโร) พบวา่ เนน้ สอนในอิริยาบถ 4 คือ อิริยาบถที่ 1 “การนง่ั สมาธิ” ในอิริยาบถการปฏิบตั ิวิปัสสนาภาวนาการนงั่ สมาธิ กาหนดทาสัมปชญั ญะในการคูแ้ ขนเขา้ และเหยยี ดแขนออกแลว้ ต้งั สติกาหนดท่ีปลายนิ้ว อิริยาบถที่ 2 “การ ยืนสมาธิ” ในอิริยาบถการปฏิบตั ิวิปัสสนาภาวนา การยืนสมาธิ อิริยาบถที่ 3 “การเดินจงกรม” ในอิริยาบถ การปฏิบตั ิวิปัสสนากมั มฏั ฐาน การเดินจงกรมที่ถูกลกั ษณะ อิริยาบถท่ี 4 “การนอนสมาธิ” ในอิริยาบถการ ปฏิบตั ิวปิ ัสสนากมั มฏั ฐานการนอน จุดเด่นของแนวคดิ เนน้ สอนในฐานท้งั 4 2.2.8 ผลงำนวจิ ัยทเี่ กย่ี วข้อง : พระธรรมธีรรำชมหำมุนี (โชดก ญำณฺสิทธิ) [36] พรรณราย รัตนไพฑูรย์ 41 (2544) ได้ศึกษาเรื่อง กำรศึกษำวิธีกำรปฏิบัติกรรมฐำนตำมแนวสติ ปัฏฐำน 4 : ศึกษำแนวสอนของพระธรรมธีรรำชมหำมุนี(โชดก ญำณฺสิทธ)ิ พบว่า สติปัฏฐาน 4 เป็นหนทาง 40 พระครูอดุ มภาวนานุสิฐ (เสถียร จนั ทร์รวม). 2563. การศึกษาวเิ คราะหว์ ธิ ีการปฏิบตั ิวปิ ัสสนากมั มฏั ฐานของพระครู ภาวนานุศาสก์ (แป้น ธมฺมธโร). ว. มหำจฬุ ำนำครทรรศน์ มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั . 7(2) : 67-81 . 41 พรรณราย รัตนไพฑูรย.์ 2544. กำรศึกษำวิธีกำรปฏิบัติกรรมฐำนตำมแนวสติปัฏฐำน 4 : ศึกษำแนวสอนของพระธรรม ธีรรำชมหำมุนี(โชดก ญำณฺสิทธิ). วิทยานิพนธ์ พุทธศาสตร์มหาบณั ฑิต สาขาพระพุทธศาสนา มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราช วทิ ยาลยั : พระนครศรีอยธุ ยา.

34 เอกท่ีจะนาไปสู่การรู้แจ้งสัจธรรมบรรลุนิพพานซ่ึงเป็ นภาวะหมดกิเลสอันเป็ นจุดหมายสูงสุดใน พระพุทธศาสนา พระธรรมธีรราชมหามุนี (โชดก ญาณสิทฺธิ) ใช้หลกั สติปัฏฐาน 4 คือ การพิจารณากาย เวทนา จิต ธรรม เป็นกรอบในการปฏิบตั ิและการสอน ในภาคทฤษฎี พระธรรมธีรราชมหามนุ ี (โชดก ญาณ สิทฺธิ) สอนให้ผูป้ ฏิบตั ิเขา้ ใจท้งั หลกั สมถกรรมฐานและวิปัสสนากรรมฐาน ควบคู่กนั ไป แต่ในภาคปฏิบตั ิ ท่านปฏิบตั ิและสอนโดยเนน้ วิธีการแบบสมถะมีวิปัสสนานา ในการสอนวิปัสสนา พระธรรมธีรราชมหา มุนี (โชดก ญาณสิทฺธิ)แบ่งเป็น 2 ภาคคือ 1)ภาคสมถะหรือปฏิบตั ิศาสนา เป็นหลักการเตรียมตวั ก่อนลงมือ ปฏิบตั ิ ท่ีสาคญั คือ การแผเ่ มตตา การระลึกถึงความตาย 2) ภาควิปัสสนาหรือปฏิเวธศาสนา ว่าดว้ ยวิปัสสนา ญาณ 16 วิสุทธิ 7 และญาณ 18 อุปกิเลส 10 ในการปฏิบตั ิน้ัน ประเด็นสาคญั อยู่ที่การมีสติกาหนดรูปนาม ตามอิริยาบถใหญ่ 4 คือ ยนื เดิน นงั่ นอน และมีสติกาหนดรูปนามตามอิริยาบถย่อยหรือตามอายตนะท้งั 6 คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ผูป้ ฏิบตั ิเร่ิมตน้ ดว้ ยการกาหนดพิจารณาอิริยาบถเดิน คือ เดินจงกรม ภาวนา 2 ระยะวา่ ขวายา่ งหนอ,ซา้ ยยา่ งหนอ เม่ือสติมนั่ คง ญาณแก่กลา้ แลว้ ใหภ้ าวนา 6 ระยะวา่ “ยกสน้ หนอ ยกหนอ ยา่ งหนอ ลงหนอ ถูกหนอ กดหนอ” ต่อไปก็เป็นอิริยาบถนง่ั พิจารณาอาการพองยุบของทอ้ ง พิจารณาตน้ ใจ คอื ความรู้สึก พจิ ารณาทวารท้งั 5 โดยใชว้ ิปัสสนาญาณ 16 เป็นกรอบในการตรวจสอบความกา้ วหนา้ ทางจิต แนวการสอนและการปฏิบตั ิธรรมของพระธรรมธีรราชมหามุนี (โชดก ญาณสิทฺธิ) ดาเนินตามเน้ือหาในมหา สติปัฏฐานสูตร และประยุกต์ให้เขา้ กบั สถานการณ์ โดยอาศยั แนวพระไตรปิ ฎกและแนวที่พระวิปัสสนา จารยแ์ ห่งพม่า เป็นกรอบในการประยกุ ต์ เช่นเร่ือง ระบบหนอ คาบาลีในพระไตรปิ ฎก เช่น “อญฺาสิ วต โภ โกณฺฑญฺโญ” พระอญั ญาโกณฑญั ญะไดร้ ู้แลว้ หนอ ภาษาพมา่ ใชค้ าวา่ “แด่” การเดินจงกรมท่านประยุกต์มา จากพระบาลีว่า “ภิกฺขุ คจฺฉนฺโต คจฺฉามีติ ปชานาติ” ภิกษุเม่ือเดินก็รู้ว่า กาลงั เดิน ส่วนการกาหนดพองยุบ เป็นเพียงอบุ ายวิธี ที่วิปัสสนาจารยส์ อนใหก้ าหนด เพ่อื ใหร้ ู้ธาตตุ ่างๆ ที่อยใู่ นร่างกาย [37] พระพงศกรฐ์ ตวโส (เรืองศิลป์ ประเสริฐ)42 (2554) ไดศ้ ึกษาเรื่อง ศึกษำวิเครำะห์กำรปฏิบัติ วิปัสสนำกรรมฐำนโดยกำรใช้สัมมำสติของพระธรรมธีรรำชมหำมนุ ี (โชดก ญำณสิทฺธ)ิ วตั ถปุ ระสงค์ 1)เพ่ือ ศึกษาการปฏิบตั ิกรรมฐาน 2)ศึกษาการปฏิบตั ิวิปัสสนากรรมฐานโดยใชส้ มั มาสติของพระธรรมธีรราชมหา มุนี (โชดก ญาณสิทฺธิ) 3)วิเคราะห์คุณค่าในการปฏิบตั ิวิปัสสนากรรมฐานโดยใชส้ ัมมาสติของพระธรรมธีร ราชมหามุนี (โชดก ญาณสิทฺธิ) เป็นงานวจิ ยั คุณภาพแบบวิจยั เอกสารท่ีใชศ้ ึกษาวเิ คราะห์ขอ้ มูล พระไตรปิ ฎก อรรถกถา เอกสารงานวิจยั อ่ืนๆท่ีเกี่ยวข้อง และนาเสนอแบบพรรณนา ผลการวิจยั พบว่า การปฏิบัติ วิปัสสนากรรมฐานคือ การฝึ กจิตดว้ ยสติสัมปชญั ญะทาให้จิตสงบและเกิดปัญญาในปัจจุบนั ประเทศไทยมี สานักปฏิบตั ิธรรมหลายแห่ง ที่มีรูปแบบการปฏิบตั ิแตกต่างกนั แต่มีจุดมุ่งหมายเดียวกันคือ การพฒั นา ปัญญาจากการปฏิบตั ิวิปัสสนากรรมฐานซ่ึงจะทาให้เกิดความสงบสุขแก่ตนเองและสงั คม พระธรรมธีรราช 42 พระพงศกรฐ์ ตวโส (เรืองศลิ ป์ ประเสริฐ). 2554. ศึกษำวิเครำะห์กำรปฏบิ ัตวิ ิปัสสนำกรรมฐำนโดยกำรใช้สัมมำสตขิ อง พระธรรมธรี รำชมหำมนุ ี (โชดก ญำณสิทฺธิ). วิทยานิพนธ์ ศาสนศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาพทุ ธศาสน์ศึกษา. มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราช วทิ ยาลยั : นครปฐม.

35 มหามุนี (โชดก ญาณสิทฺธิ) เป็นพระเถระที่เผยแผว่ ิปัสสนากรรมฐานตามหลกั สติปัฏฐาน 4 ท่ีมีการประยกุ ต์ หลกั การหายใจและอิริยาบถต่างๆ มาเป็นวิธีการปฏิบตั ิที่มีคาบรรยายว่า หนอ ตามเสนอท่ีวดั มหาธาตุยุวราช รังสฤษ์ิ ประเทศไทย ต้งั แต่ปี พ.ศ. 2496 มีการสอนภาคทฤษฎีและปฏิบตั ิ การปฏิบตั ิกรรมฐานโดยการใช้ สัมมาสติ มีคุณค่าต่อการนามาประยกุ ตใ์ ชใ้ นชิวิตประจาวนั การพฒั นาคุณภาพชิวติ การแกป้ ัญหาทางสังคม ที่มีสาเหตุมาจากปัจจยั ภายใน คอื อุปทานในขนั ธ์ 5 มีคณุ คา่ ในการนอ้ มนาเขา้ สู่โลกตุ รธรรมตามลาดบั จนถึง การบรรลุมรรคผลนิพพาน [38] ลกั ษณาวดี แก้วมณี43 (2558) ได้ศึกษาเรื่อง เกณฑ์ตัดสินควำมเป็ นวิปัสสนำกัมมัฏฐำนใน สังคมไทยตำมหลักสติปัฏฐำน 4 วตั ถุประสงค์ 3 ประการ คือ 1) เพ่ือศึกษาวิปัสสนากมั มฏั ฐานในคัมภีร์ พระพุทธศาสนา 2) เพื่อศึกษาวิปัสสนากัมมัฐาน 5 สายในสังคมไทย 3) เพื่อศึกษาวิเคราะห์วิปัสสนา กมั มฏั ฐาน 5 สาย ในสังคมไทยตามหลกั สติปัฏฐาน 4 ผลการศึกษาพบวา่ เกณฑต์ ดั สินความเป็นวิปัสสนา ของกมั มฏั ฐานอยู่ที่การเห็นนามรูปว่าไม่เท่ียง คือมีเกิดแลว้ ดบั เป็นทุกขค์ ือถูกความเกิดและความดบั บีบค้นั ให้อยู่ในสภาพเดิมไม่ใด้ และเป็นอนตั ตาคือนามรูป ไม่มีตวั ตนไม่สามารถบงั คบั ใหเ้ ป็นไปตามใจปรารถนา ได้ ดงั น้นั จึงสามารถใชเ้ กณฑน์ ้ีมาเป็ นเกณฑ์ตด้ สินความเป็ นวิปัสนาของกมั มฏั ฐานในสังคมไทยตามหลกั สติปัฏฐาน 4 สรุปได้ ดงั ตอ่ ไปน้ี 1.วิธีแบบพทุ โธ การปฏิบตั ิตามสายพุทโธเป็นวสิ สนากมั มฏั ฐานในข้นั ตอน ท่ี 7 เพราะเป็ นการวิธีพิจารณา โครงกระดูก มีการใชส้ มาธิข้นั สูงเป็ นฐานในการเจริญวิปัสสนาคือการเพ่ง พิจารณากาหนดรู้ เมื่อพจิ ารณาตามวิธีการของสติปัฏฐาน จดั เขา้ ไดก้ บั กายานุปัสสีคอื ตามดูกาย ดูการเกิดดบั ของกาย ในส่วนของกระดูก ซ่ึงเป็นอาการหน่ึงในอาการ 32 จะรู้และสามารถเชื่อมโยงไปถึงอาการส่วนอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวขอ้ งกบั ร่างกายไดห้ มดจนกระทงั่ ปล่อยวางได้ 2.วธิ แี บบอำนำปำนสติ การเจริญวปิ ัสสนาของวิธีแบบ อานาปานสติ ท่ีเริ่มต้งั แต่ข้นั ท่ี 12 และจดั เป็นวิปัสสนาญาณ อยา่ งแทจ้ ริงในข้นั ที่ 13 คือ เห็นความไม่เที่ยง คือเกิดดบั ของปิ ติสุขและฌาน เม่ือพิจารณาตามวิธีของสติปัฏฐาน จดั เขา้ ไดก้ บั เวทนานุปัสสนา พร้อมตามดู ความเกิดดบั ในเวทนาและในฌาน 3.วิธแี บบพอง-ยบุ การปฏิบตั ิตามสายพองยบุ จดั เป็นวิปัสสนากมั มฏั ฐาน เร่ิมตนั ที่การกาหนดพอง-ยบุ ซ่ึงเป็นช่วงที่ผปู้ ฏิบตั ิสามารถจาแนกไดว้ ่า \"อาการพองยบุ นงั่ ถูก\" น้นั เป็ นรูป ส่วนการกาหนดรู้ อาการ พองยบุ นงั่ ถูก เป็นนาม จากน้นั ใชว้ ิธีการกาหนดพองยุบซ่ึงถือว่าเป็นการกาหนด เกิด ดบั เชื่อมโยงไปถึงการกาหนดหรือตามดูเวทนา จิต และธรรมและการเกิดดบั ของสภาวะท้งั 3 ซ่ึง อาศยั ขณิกสมาธิเป็นฐาน และขณิกสมาธิสามารถพฒั นาไปถึงข้นั อปุ จารสมาธิ 4.วิธีแบบสัมมำอะระหัง หรือ วิธีแบบธรรมกาย การปฏิบตั ิสายสัมมาอะระหังหรือแบบธรรมกาย ไม่เป็ นวิปัสสนา แมว้ ่าจะมีการเจริญ วิปัสสนาบา้ ง แต่ไม่ชดั นกั คาอธิบายเกี่ยวกบั ความเป็นวิปัสสนาท่ีมีจุดยดึ สาคญั คือ ธรรมกาย ซ่ึงเป็นกายที่ พนั ไปจากสามญั ญลกั ษณะ และธรรมกายน้ีเองมีวิปัสสนาญาณเป็นตาเห็นสามญั ญ ลกั ษณะ ฉะน้นั หากจะ เทียบกบั สติปัฏฐานแลว้ ไม่ถือวา่ เป็นวิปัสสนา 5.วิธีแบบหลวงพ่อเทียน หรือ วิธีปฏิบตั ิแบบเคลื่อนไหว วิธี 43 ลกั ษณาวดี แก้วมณี. 2558. เกณฑ์ตดั สินความเป็ นวิปัสสนากมั มฏั ฐานในสังคมไทยตามหลกั สติปัฏฐาน 4 . ว.สุทธิ ปริทศั น์ มหาวิทยาลยั ธุรกิจบณั ฑิตย.์ 29(89) : 98-116 .

36 ปฏิบตั ิของสายน้ีจะคลา้ ยกบั วิธีปฏิบตั ิแบบยุบหนอ-พองหนอ คือ ใช้สติกากบั การเคลื่อนไหวอิริยาบถท่ี เคล่ือนไหวซ้าแลว้ ซ้าเล่า จนเกิดมีกาลงั มากข้ึนสามารถเขา้ ไปดูความเกิดดบั ของความคิดและหยุดความคิด ถือว่าเป็นวิปัสสนาท่ีมีสมาธิเป็นฐานเม่ือไดผ้ ่านอารมณ์สมมุติแลว้ พฒั นาเขา้ สู่การรู้อารมณ์ปรมตั ถ์ โดยใช้ สติตามดูความคดิ [39] พระมนตรี อาภทฺธโร (คนทรงแสน)44 (2560) ได้ศึกษาเร่ือง กำรเจริญสติปัฏฐำน 4 กับกำร พัฒนำปัญญำญำณ ตำมหลักปฏิบัติวิปัสสนำกรรมฐำนของพระธรรมธีรรำชมหำมุนี (โชดก ญำณสิทฺธิ) วตั ถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาแนวคดิ การพฒั นาคณุ ภาพจิตตามแนวทางพระพุทธศาสนา และ 2) เพ่ือศึกษาการ พฒั นาคุณภาพจิตตามหลกั ปฏิบตั ิวิปัสสนากรรมฐานของพระธรรมธีรราชมหามุนี (โชดก ญาณสิทฺธิ) การศึกษาน้ีเป็นการศึกษาเชิงคุณภาพประกอบกบั การสัมภาษณ์เชิงลึก ผใู้ หข้ อ้ มลู ในการสมั ภาษณ์ คือ กล่มุ ท่ี 1 ลูกศิษยข์ องพระธรรมธีรราชมหามุนี 3 รูป และกลุ่มท่ี 2 ผูป้ ฏิบตั ิวิปัสสนากรรมฐานท่ีวดั พระธาตุศรี จอมทองวรวิหาร หมู่ 2 ตาบลบา้ นหลวง อาเภอจอมทอง จงั หวดั เชียงใหม่ จานวน 10 คน ผลการศึกษา พบวา่ 1) พระพุทธศาสนาถือวา่ จิตเป็นประธาน คนจะดีหรือชวั่ ข้ึนอยูก่ บั คณุ ภาพจิตเป็นสาคญั จึงควรพฒั นาจิตให้ มีคณุ ภาพอยเู่ สมอโดยการปฏิบตั ิตามหลกั ไตรสิกขาหรือตามหลกั อริยมรรคมีองค์ 8 และหากกลา่ วถึงวิธีการ ที่จะพฒั นาจิตใจกไ็ ดแ้ ก่การปฏิบตั ิตามหลกั สติปัฏฐาน 4 ซ่ึงเป็นการใชส้ ติพจิ ารณากาย เวทนา จิต และธรรม เพื่อใหเ้ ขา้ ใจสรรพสิ่งตามความเป็นจริง 2) หลกั ปฏิบตั ิวปิ ัสสนากรรมฐานเพ่ือพฒั นาจิตใจตามแนวของพระ ธรรมธีรราชมหามุนี(โชดก ญาณสิทฺธิ) คือ การดาเนินตามหลกั สติปัฏฐาน 4 คือ การใช้สติพิจารณากาย เวทนา จิต และธรรม โดยการภาวนาว่ายบุ หนอ-พองหนอประกอบ ซ่ึงผลของการปฏิบตั ิท่ีเกิดจากการใชส้ ติ พิจารณากาย (กายานุปัสสนา) ส่งผลให้มีสติรู้ลมหายใจเขา้ -ออก และการเคล่ือนไหวร่างกาย หรืออิริยาบถ ต่าง ๆ ผลที่เกิดจากการใชส้ ติพิจารณาเวทนา (เวทนานุปัสสนา) ทาใหม้ ีสติรู้ถึงเวทนา คอื ความรู้สึกที่เกิดข้ึน ไม่ว่าจะเป็ นสุข ทุกข์ หรือไม่สุข ไม่ทุกข์ มีสติรู้การเกิด และดับของเวทนาท้งั หลาย ไม่ยึดมน่ั ถือมนั่ ใน ความรู้สึกต่าง ๆ ที่เกิดข้ึน ผลที่เกิดจากการใชส้ ติพิจารณาจิต (จิตตานุปัสสนา) ทาใหจ้ ิตผอ่ งใสมีความมนั่ คง หนกั แน่นยง่ิ ข้ึน และสุขภาพจิตที่ดี และผลท่ีเกิดจากการใชส้ ติพิจารณาสภาวธรรม(ธมั มานุปัสสนา) ทาให้ เกิดการกาหนดรู้สรรพสิ่งว่าลว้ นเป็ นสภาวธรรม ไม่มีสัตว์ บุคคล ตวั ตน เราหรือเขา ผลที่เกิดข้ึนจากการ ปฏิบตั ิตามแนวทางแห่งสติปัฏฐาน 4 เพื่อพฒั นาคุณภาพจิตขา้ งตน้ น้ี สามารถสรุปใหเ้ ด่นชดั ใน 2 ระดบั คือ 1) ระดบั โลกิยะ คือ อานวยประโยชน์ต่อการดาเนินชีวิตประจาวนั เช่น ช่วยใหค้ ลายเครียด มีบุคลิกภาพดี มี จิตใจผอ่ งใส สงบ เยือกเยน็ ทาใหค้ ิดอะไรไดร้ วดเร็วและถกู ตอ้ ง และ 2) ระดบั โลกุตตระ คือ หากปฏิบตั ิได้ กา้ วหนา้ ไม่หยุดนิ่งก็สามารถบรรลุธรรมข้นั ต่าง ๆ และอยเู่ หนือโลก คือ มีจิตไม่หวน่ั ไหวตามโลกธรรม 8 ไม่วา่ จะมีลาภ เส่ือมลาภ มียศ เสื่อมยศ มีสุขทกุ ข์ มีสรรเสริญ หรือนินทากต็ าม 44 พระมนตรี อาภทฺธโร (คนทรงแสน). 2560. กำรเจริญสติปัฏฐำน 4 กบั กำรพัฒนำปัญญำญำณ ตำมหลักปฏิบตั ิวปิ ัสสนำ กรรมฐำนของพระธรรมธรี รำชมหำมุนี (โชดก ญำณสิทฺธิ) . วทิ ยานิพนธ์ พทุ ธศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาพระพทุ ธศาสนา. มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั : พระนครศรีอยธุ ยา.

37 2.2.9 ผลงำนวิจัยทีเ่ กยี่ วข้อง : พระรำชสังวรญำณ (พธุ ฐำนโิ ย) [40] พระมหาวรจกั ร ฉนฺทชาโต (มุ่งเกี่ยวกลาง)45 (2550) ได้ศึกษาเร่ือง กำรศึกษำบทบำทและ วิธีกำรเผยแผ่พระพุทธศำสนำของพระรำชสังวรญำณ (พุธ ฐำนิโย) วตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทและ วิธีการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระราชสังวรญาณ (พุธ ฐานิโย) ในเน้ือหากล่าวถึงหลกั การเผยแผ่ พระพุทธศาสนาของพระพุทธเจา้ พระสงฆ์ในสมยั พุทธกาล และการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระรำช สังวรญำณ (พุธ ฐำนิโย) ผลการวิจยั พบว่า 1. การเผยแผพ่ ระพุทธศาสนาของพระสงฆใ์ นสมยั พุทธกาล องค์ พระสัมมาสัมพุทธเจา้ ทรงแสดงยึดหลกั ประโยชน์ 3 ประการ คือ 1) ทิฏฐธัมมิกตั ถประโยชน์ในชาติน้ี 2) สมั ปรายติ กตั ถประโยชนใ์ นชาติหนา้ 3) ปรมตั ถประโยชน์ ประโยชนอ์ ยา่ งยง่ิ วิธีการเผยแผข่ องพระพุทธเจา้ จาแนกได้ 4 ประการคือ 1) การสอนแบบสากจั ฉา หรือสนทนา โดยวิธีการถามคู่สนทนา เพอื่ ทาใหเ้ กิดความ เขา้ ใจธรรมะและความเลื่อมใส ศรัทธา 2) การสอนแบบบรรยาย พระพุทธเจา้ จะทรงใชใ้ นท่ีประชุมใหญ่ ใน การแสดงธรรมประจาวนั ซ่ึงมีประชาชนและพระสงฆส์ าวกเป็นจานวนมากมารับฟัง 3) การสอนแบบตอบ ปัญหา จะทรงสอนให้พิจารณาดูลกั ษณะของปัญหาและใชว้ ิธีตอบให้เหมาะสมกนั 4) แบบวางกฎขอ้ บังคบั ใช้วิธีการกาหนดหลักเกณฑ์กฎ และขอ้ บงั คบั ให้พระสาวกหรือสงฆ์ปฏิบัติหรือยึดถือปฏิบตั ิด้วยความ เห็นชอบพร้อมกนั เพื่อความสงบสุขแห่งหมู่คณะ 2.การเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระราชสังวรญาณ (พุธ ฐานิโย) ทา่ นจะเนน้ การสอนในเรื่องการเจริญสติวิปัสสนากรรมฐานตามหลกั ของพระพุทธศาสนา คอื หลกั สติปัฏฐำน 4 คือ การพิจารณากาย การพิจารณาเวทนา การพิจารณาจิต และการพิจารณาธรรม นอกจากน้ัน ท่านยงั เนน้ สอนหลกั การทาสติตามรู้ความคิดใหส้ มั พนั ธ์กบั ชีวิตประจาวนั คือให้สามารถทาสติตามรู้การยนื เดิน นงั่ นอน รับประทาน ด่ืม ทา พูด คิด เป็นการฝึ กสติสมาธิไดท้ ุกอริยาบถ พระรำชสังวรญำณ (พุธ ฐำนิ โย) ท่านมีรูปแบบการเผยแผห่ ลายวิธี เช่นการบรรยายธรรม การสนทนา การถามและตอบปัญหาธรรมะ การ อบรมจิตภาวนา โดยเนน้ การปฏิบตั ิหนา้ ที่ของพทุ ธศาสนิกชน ใหม้ ีความเมตตากรุณา มีศีลธรรม มีจริยธรรม และวิธีการเผยแผธ่ รรมะ คาสอนมีท้งั ในรูปแบบของหนงั สือธรรมะ เทปและแผน่ ซีดี โดยทว่ั ไปจะแจกเป็น ธรรมทานไม่จาหน่าย โดยช่ือหนงั สือธรรมะคือ “ฐานิยปูชา” 3.วิธีการประยุกตห์ ลกั ธรรมมาใชใ้ นการสอน ของพระราชสังวรญาณ (พุธ ฐานิโย) การปฏิบตั ิพระกรรมฐาน ผเู้ ขา้ ปฏิบตั ิจะตอ้ งเขา้ ถึงพระรัตนตรัย ทาใจ และกายให้สงบระงบั มีความบริสุทธ์ิโดยอาศยั หลกั ไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ ปัญญา เป็นท่ีต้งั ต่อจากน้นั จึง สอนวธิ ีปฏิบตั ิเนน้ การฝึกสติเป็นสาคญั นอกจากน้ี ผวู้ จิ ยั ยงั พบวา่ พระราชสังวรญาณ (พุธ ฐานิโย) ท่านเป็น พระนกั เผยแผท่ ี่เตม็ เปี่ ยมดว้ ยศรัทธาท่ีมนั่ คงในพระพุทธศาสนาและมีอุดมการณ์ที่แนวแน่ต่องานการเผยแผ่ พทุ ธธรรมเป็นแบบอยา่ งใหพ้ ระนกั เผยแผร่ ุ่นหลงั ไดด้ าเนินรอยตาม 45 พระมหาวรจกั ร ฉนฺทชาโต (ม่งุ เกี่ยวกลาง). 2550. กำรศึกษำบทบำทและวิธีกำรเผยแผ่พระพุทธศำสนำของพระรำช สังวรญำณ (พุธ ฐำนโิ ย). วทิ ยานิพนธ์ ปริญญาพทุ ธศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาพระพุทธศาสนา. มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราช วิทยาลยั : พระนครศรีอยธุ ยา.

38 2.2.10 ผลงำนวจิ ยั ท่ีเกย่ี วข้อง : ท่ำนอำจำรย์สัตยำ นำรำยัน โกเอน็ ก้ำ [41] วลิ าสินี หวงั เกษม46 (2554) ไดศ้ ึกษาเรื่อง แนวคิดเรื่องสมำธิบำบดั ของสัตยำ นำรำยัน โกเอน็ ก้ำ วตั ถุประสงคเ์ พือ่ ศึกษาวิเคราะห์แนวคิดสมาธิบาบดั ตามแนวทางสตั ยา นารายนั โกเอน็ กา้ จาแนกวิธีการวิจยั 2 ส่วน คือ การวิจยั เอกสาร ซ่ึงเป็นการเก็บรวบรวมขอ้ มูลจากเอกสาร บทความ วารสาร งานวิจยั ที่เกี่ยวขอ้ ง และส่วนที่สองคือ การสงั เกตแบบมีส่วนร่วมจากการเขา้ ร่วมปฏิบตั ิธรรมตามแนวน้ี ในหลกั สูตร 10 วนั เป็น เวลา 2 คร้ัง และการสัมภาษณ์เชิงลึก จากกลุ่มตวั อย่างของผูป้ ฏิบตั ิธรรม 11 คน แลว้ นาเสนอในรูปแบบ บรรยายเชิงวิเคราะห์ ผลการศึกษาพบว่า สมำธิตำมแนวทำงของ สัตยา นารายนั โกเอ็นกา้ เป็นการสอนใน รูปแบบของวิปัสสนำกรรมฐำน โดยหลกั สูตร 10 วนั ใน 3 วนั แรก เริ่มจากการกาหนดลมหายใจเขา้ ออกใน รูปแบบอำนำปำนสติเพ่ือทำให้จิตสงบ ต้งั แต่วนั ที่ 4 เป็ นตน้ ไป จึงเป็ นการปฏิบตั ิวิปัสสนา โดยให้สังเกต เวทนาคือ ความรู้ท่ีเกิดข้นึ ตามส่วนตา่ งๆ ของร่างกาย ดว้ ยจิตท่ีเป็นอุเบกขา คอื การปลอ่ ยวาง การปฏิบตั ิวิธีน้ี เป็นการเปลี่ยนพฤติกรรมของจิตที่เกิดจากปรุงต่างโดยธรรมชาติ ผปู้ ฏิบตั ิสมาธิจึงมีสติและคอยเฝ้าพจิ ารณา ความรู้สึกท่ีปรากฏทางกายอย่างต่อเนื่อง มีหลกั สาคญั ท่ีตอ้ งปฏิบตั ิอย่างเคร่งครัด คือ ไม่ควรปรุงแต่งต่อ อารมณ์ความรู้สึกท่ีเกิดข้ึน และทาความเขา้ ใจกฎธรรมชาติที่ว่า สรรพสิ่งลว้ น เกิดข้ึน มีอยู่ ดบั ไป ทุกขงั อนตั ตา เม่ือเราวางใจเป็นอุเบกขาก็จะเป็นการชาระจิตใหบ้ ริสุทธ์ิ แนวคิดสมาธิบาบดั ของสตั ยา นารายนั โก เอ็นกา้ จึงเป็ นกำรนำหลักสมำธิมำประยุกต์ใช้ ผูป้ ฏิบตั ิสามารถปลดเปล้ืองความเครียด บางส่วนออกจาก จิตใจ และมีสุขภาพจิตท่ีดีข้ึน การวางอุเบกขาต่อสิ่งท่ีพบเห็น ปล่อยวางจากอารมณ์ขนุ่ มวั ความโกรธ ความ เจ็บปวด ความทุกข์ ต่าง ๆ ส่งผลใหจ้ ิตใจรู้สึกสงบและผอ่ นคลายจากความตึงเครียด สุขภาพร่างกายจึงดีตาม ไปดว้ ย และกระบวนการวิปัสสนายงั ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงระดบั ลึกอยูภ่ ายในซ่ึงจะยงั คงดาเนินต่อไป เพอื่ สร้างความสงบสุขท่ีแทจ้ ริงในชีวิต [42] บุญเรือง ทิพพอาสน์47 (2554) ไดศ้ ึกษาเร่ือง ศึกษำกำรสอนสติปัฏฐำน 4 ตำมแนวทำงของโค เอ็นก้ำกับพระไตรปิ ฎก ผลการศึกษาพบว่า กำรสอนสติปัฏฐำน 4 ในพระพุทธศาสนาเถรวาท พบวา่ สติปัฏ ฐาน 4 เป็ นวิธีการเดียวเท่าน้ันท่ีจะยงั บุคคลผูป้ ฏิบตั ิวิปัสสนากรรมฐานให้สามารถไปสู่เป้าหมายสูงสุด ในทางพระพุทธศาสนาได้ คือ กำรดับทุกข์ได้อย่างมีประสิทธิภาพและโดยสิ้นเชิง แมว้ ่าระยะเวลาในการ ปฏิบตั ิอาจจะแตกต่างกนั บา้ งซ่ึงกข็ ้ึนอยกู่ บั เหตุปัจจยั ภายในตวั ผปู้ ฏิบตั ิและปัจจยั แวดลอ้ มภายนอก สรุปสติ ปัฏฐาน 4 ประการ คือ (1) กายานุปัสสนา การพิจารณากายในกาย (2) เวทนานุปัสสนา การพิจารณาเวทนา ในเวทนา (3) จิตตานุปัสสนาการพิจารณาจิตในจิต (4) ธมั มานุปัสสนา การพิจารณาธรรมในธรรม โดยผู้ 46 วิลาสินี หวงั เกษม. 2554. แนวคิดเร่ืองสมำธิบำบัดของสัตยำ นำรำยัน โกเอ็นก้ำ. วิทยานิพนธ์ ศลิ ปมหาบณั ฑิต สาขาวชิ า ปรัชญา. มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ : เชียงใหม่. 47 บุญเรือง ทิพพอาสน์. 2554. ศึกษำกำรสอนสติปัฏฐำน 4 ตำมแนวทำงของโคเอ็นก้ำกับพระไตรปิ ฎก. วทิ ยานิพนธ์พทุ ธ ศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาพระพทุ ธศาสนา. มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั : พระนครศรีอยธุ ยา.

39 พจิ ารณาน้นั จะตอ้ งมีองคพ์ จิ ารณาอยเู่ นืองๆ 3 ขอ้ คือ จะตอ้ งมีควำมเพยี ร (อำตำปี ) มสี ตริ ะลกึ รู้อยู่เสมอ (สติ มำ) และสัมปชัญญะ (สัมปชำโน ควำมรู้สึกตัวทุกขณะ) คอยกากบั ซ่ึงเป็นเครื่องมือสาคญั อย่างยิง่ ยวด หาก บุคคลปฏิบตั ิไดอ้ ย่างสม่าเสมอแลว้ ผลที่ไดก้ ็คือ สามารถที่จะกาจดั หรือทาลายอภิชฌาและโทมนสั ท้งั ปวง ออกไปจากจิตใจของตนเองได้ กำรสอนสติปัฏฐำน 4 ตำมแนวคมั ภีร์พระพทุ ธศำสนำเถรวำทของโคเอ็นก้ำ พบวา่ การสอนวิปัสสนากรรมฐานในพระไตรปิ ฎก เบ้ืองตน้ เป็นการกล่าวถึงเป้าหมายสูงสุดหรือผลสัมฤทธ์ิ ของการปฏิบตั ิว่าผทู้ ่ีปฏิบตั ิตามหลกั สติปัฏฐาน 4 พึงบรรลุถึงความหลุดพน้ แห่งทุกขท์ ้งั ปวงไปไดด้ ว้ ยการ พิจารณาในกาย เวทนา จิตและธรรม แต่ข้นั ตอนในการสอนน้นั ไม่ไดเ้ รียงไวต้ ามลาดบั บุคคลพึงปฏิบตั ิใน สติปัฏฐาน 4 หมวดใด หมวดหน่ึงก่อนหรือหลงั ก็ได้ ท้งั น้ี กระบวนการถ่ายทอดวปิ ัสสนาของพระพุทธองค์ จึงเป็ นธรรมชาติมากที่สุดไม่ไดป้ รุงแต่งหรือมีพิธีกรรมใดๆ มาเกี่ยวขอ้ ง ส่วนแนวทางการสอนวิปัสสนา ของโคเอ็นพบว่า ไม่มีข้นั ตอนที่ซับซ้อนและไม่มีพธิ ีกรรมมาเก่ียวขอ้ ง เพียงแต่ผปู้ ฏิบตั ิวิปัสสนากรรมฐาน พึงสาเหนียกกาหนดรู้ในสติปัฏฐาน 4 อยา่ งใดอยา่ งหน่ึง เช่น กาหนดรู้ในอานาปานสติ รู้ลมหายใจเขา้ และ ออก แต่ไม่ต้องมีคำบริกรรม เมื่อผปู้ ฏิบตั ิจนชานาญแลว้ ก็จะเกิดปฏิเวธธรรมข้ึนมาภายในเป็ นเร่ืองเฉพาะ ตน ระยะเวลาท่ีใช้ฝึ กวิปัสสนามีหลกั สูตร 3 วนั และ 10 วนั เหมาะแก่ทุกเพศทุกวยั แต่เมื่อพิจารณาจาก เป้าหมายในการปฏิบตั ิวิปัสสนาแลว้ เหมือนกนั ท้งั ในพระไตรปิ ฎกและของโคเอ็นกา้ คือ การแกป้ ัญหาให้ ตนเองไดแ้ ละสามารถท่ีจะหลดุ พน้ จากทกุ ขท์ ้งั ปวงได้ [43] พวน โฆษติ ศกั ด์ิ และคณะ48 (2559) ไดศ้ ึกษาเรื่อง ศึกษำเปรียบเทยี บกำรปฏิบตั ิกรรมฐำน ตำม แนวอำนำปำนสติของพุทธทำสภิกขุ กับ เอส.เอน.โกเอ็นก้ำ วตั ถุประสงค์ 1) เพ่ือศึกษาหลกั การปฏิบตั ิ กรรมฐานตามแนวอานาปานสติในพระพุทธศาสนาเถรวาท 2) เพ่ือศึกษาอานาปานสติตามแนวคาสอนของ พุทธทาสภิกขุ 3) เพ่ือศึกษาอานาปานสติตามแนวคาสอนของ เอส. เอน. โกเอ็นก้าและ 4) เพื่อศึกษา เปรียบเทียบแนวคาสอนและวิธีการปฏิบัติอานาปานสติของ พุทธทาสภิกขุ กับ เอส. เอน. โกเอ็นก้า ผลการวจิ ยั พบวา่ กำรปฏิบตั กิ รรมฐำนตำมแนวอำนำปำนสติในพทุ ธศาสนาเถรวาท มีปรากฎในหลายๆแห่ง ด้วยกัน ตามแต่เหตุการณ์ สถานท่ี และบุคคลท่ีเก่ียวข้อง อานาปานสติภาวนา เป็ นการเจริญอนุสสติ กัมมฏั ฐานประเภทหน่ึงท่ีใช้สติปรารภลมหายใจเขา้ ออก พระพุทธเจา้ ได้ตรัสสอนอานาปานสติสูตร มี ท้งั หมด 16ข้นั พระพุทธเจา้ ไดต้ รัสถึงอานิสงส์ของอานาปานสติไวว้ า่ อานาปานสติท่ีภิกษุเจริญ ทาใหม้ าก แลว้ ย่อมมีผลมาก มีอานิสงส์มาก ย่อมทาสติปัฏฐาน 4 ให้บริบูรณ์ สติปัฏฐาน 4 ที่ภิกษุเจริญ ทาให้มากแลว้ ย่อมทาโพชฌงค์ 7 ให้บริบูรณ์ โพชฌงค์ 7 ที่ภิกษุเจริญ ทาให้มากแลว้ ย่อมทาวิชชาและวิมุตติให้บริบูรณ์ ผลการวิจัยพบว่า พุทธทาสมองว่า ควำมทุกข์ล้วนเกิดมำจำกควำมยึดมั่นถือมั่น และความอยาก ความ ตอ้ งการท่ีไม่มีวนั ส้ืนสุดของมนุษย์ จึงตอ้ งดิ้นรน เพ่ือใหไ้ ดม้ าซ่ึงส่ิงต่างๆ แต่ก็มีวิธีท่ีจะหยดุ ความอยากได้ ดว้ ยการปฏิบตั ิกรรมฐาน และพุทธทาสไดน้ าเสนอการปฏิบตั ิกรรมฐานโดยใชล้ มหายใจเป็นอุปกรณ์สาคญั 48 พวน โฆษติ ศกั ด์ิ และคณะ. 2559. ศกึ ษาเปรียบเทียบการปฏิบตั ิกรรมฐาน ตามแนวอานาปานสติของพุทธทาสภกิ ขุ กบั เอส.เอน.โกเอน็ กา้ . ว.พทุ ธศำสตร์ศึกษำ มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั . 7(2) : 82-93.

40 มีชื่อเรียกว่า อานาปานสติ พุทธทาสไดน้ าเสนอหลกั การทาอานาปานสติ 16 ข้นั ตรงตาม อานาปานสติสูตร ในพระไตรปิ ฏกมาขยายความเพิ่มเติมเพื่อให้เขา้ ใจไดง้ ่านข้ึน พุทธทาสไดก้ ล่าวว่าอานาปานสติเป็ นระบบ ปฏิบตั ิท่ีเป็นไปตามลาดบั ต้งั แต่ข้นั หยาบ จนไปถึงข้นั ละเอียดสูงสุด หรือต้งั แต่ความเป็นปุถุชนจนถึงความ เป็ นพระอรหันต์บรรลุพระนิพพาน. เอส.เอน. โกเอ็นก้ำ มองว่าการที่เรามีความทุกข์เป็ นเพราะเรามี พฤติกรรมท่ีไม่ถูกตอ้ ง จึงส่ังสมความเครียดเขา้ สู่จิตใตส้ านึกฝังลึกจนกลายเป็ นอนุสัยท่ีนอนเนื่องอยู่ใต้ จิตสานึก การจะกาจดั อนุสัย สามารถทาไดด้ ว้ ยการปฏิบตั ิวิปัสสนากรรมฐาน เร่ิมการปฏิบตั ิดว้ ยการ ทาอา นาปานสติภาวนา เพื่อให้จิตเกิดความสงบเป็ นพ้ืนฐาน เมื่อจิตใจสงบดีแลว้ ก็ให้นาจิตท่ีพฒั นาดีแลว้ มา พิจารณาเวทนาท่ีเกิดข้ึนจากนงั่ ปฏิบตั ิเป็นเวลานานๆ ให้มองเห็นทุกขเวทนาที่เกิดข้นึ ดว้ ยความเป็นอุเบกขา ให้สังเกตุดว้ ยความเป็นกลาง ไม่เขา้ ไปปรุงแต่งใดๆ ใหเ้ วทนาที่เกิดข้ึนเป็นไปตามกฏของไตรลกั ษณ์ และก็ จะดบั ไปเองตามธรรมชาติ เราก็จะหลุดพน้ จากความทุกข์ท้งั ปวงได้ในที่สุด กำรศึกษำเปรียบเทียบกำร ปฏิบัติกรรมฐำนแบบ อำนำปำนสติตำมแนวคำสอนของพุทธทำสภิกขุ กบั เอส.เอน. โกเอ็นก้ำ พบวา่ แนว ทางการปฏิบตั ิของท้งั สองทา่ น มีท้งั ท่ีแตกตา่ งกนั กลา่ วคอื การอธิบายเรื่องการดบั ทกุ ขต์ า่ งกนั พุทธทาส มอง วา่ ตอ้ งดบั ความยดึ มนั่ ถือมน่ั จึงจะดบั ทุกขไ์ ด้ ส่วน เอส.เอน. โกเอน็ กา้ มองวา่ ตอ้ งเดินสายกลาง ละเวน้ ความ ชวั่ ทาแต่ความดี และทาจิตใหบ้ ริสุทธ์ิ, รูปแบบการปฏิบตั ิต่างกนั พุทธทาส เสนอว่า เราตอ้ งทางานด้วยจิต วา่ งในชีวิตประจาวนั และตอ้ งเจริญสติปัฏฐาน ดว้ ยการทาอานาปานสติ 16 ข้นั เป็นประจา และเมื่อถึงวาระ สุดทา้ ยของชีวิตก็ให้เลิกยึดมน่ั ถือมนั่ ในสิ่งท้งั ปวงก่อนตาย ส่วนรูปแบบการปฏิบตั ิของ เอส.เอน. โกเอน็ กา้ น้นั ยึดการปฏิบตั ิที่เป็นทางสายกลางเป็นหลกั คือ อริยมรรคมีองคแ์ ปด คือ ศีล สมาธิ และ ปัญญา เม่ือเห็น ทุกข์อย่างแจ่มแจง้ ก็จะทาให้มองเห็นทุกส่ิงตามความเป็ นจริง และสามารถปฏิบตั ิต่อทุกส่ิงดว้ ยความเป็น อุเบกขา จึงไม่ทุกขอ์ ีกต่อไป ในส่วนที่ท้งั สองท่านมีความเห็นสอดคลอ้ งกนั น้นั ท้งั สองท่าน อธิบายเร่ือง ทุกขส์ อดคลอ้ งกนั เห็นวา่ เป็นความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ ไม่อยากให้เกิดข้ึน มีกระบวนการเกิดทุกขค์ ือ ความยึดมน่ั ถือมนั่ ในตวั ในตน จึงเกิดกิเลสตณั หาความอยาก ทาใหเ้ กิดทุกขข์ ้ึนไม่มีท่ีสิ้นสุด ท้งั สองท่านใช้ สติเป็นบาทฐานในการปฏิบตั ิสอดคลอ้ งกนั กล่าวคือ ใชส้ ติปัฏฐาน ในการปฏิบตั ิกรรมฐานเช่นเดียวกนั และ มีเป้าหมายสูงสุดในการปฏิบตั ิที่สอดคลอ้ งกนั กล่าวคือ ความพน้ ทุกข์ บรรลุถึง มรรคผลนิพพาน เป็นท่ีสุด ของการปฏิบตั ิวิปัสนนากรรมฐานเหมือนกนั [44] บุณชญา วิวิธขจร49 (2559) ไดศ้ ึกษาเร่ือง กำรปฏิบัติและกำรสอบอำรมณ์กรรมฐำนตำมหลัก พระพุทธศำสนำเถรวำทในประเทศเมียนมำร์ วตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาการปฏิบตั ิแนวทางการสอบอารมณ์ กรรมฐานในคมั ภีร์พทุ ธศาสนาเถรวาท เพ่อื ศึกษาการปฏิบตั ิและแนวทางการสอบอารมณ์กรรมฐานในคมั ภีร์ พระพุทธศาสนากับสานักปฏิบัติธรรมในประเทศเมียนมาร์ การปฏิบัติและแนวทางการสอบอา รมณ์ กรรมฐานในคมั ภีร์พุทธศาสนาเถรวาท เป็นแนวทำงหลกั สติปัฏฐำน 4 เร่ิมจากสมถกรรมฐานตามแนวทาง 49 บณุ ชญา วิวิธขจร. 2559. กำรปฏบิ ตั ิและกำรสอบอำรมณ์กรรมฐำนตำมหลกั พระพทุ ธศำสนำเถรวำทในประเทศ เมยี นมำร์. รายงานผลวจิ ยั . มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั วทิ ยาเขตบาฬีศึกษาพทุ ธโฆส : นครปฐม.

41 สมถยานิก และวิปัสสนากรรมฐานตามแนววิปัสสนายานิก การปฏิบตั ิและการสอบอารมณ์กรรมฐานของ พระโสภณมหาเถระ (มหาสีสยาดอ) เป็นการปฏิบตั ิวิปัสสนาภาวนาตามแนวทางวิปัสสนายานิก กำรปฏิบัติ และสอบอำรมณ์กรรมฐำนทำงอำจำรย์โกเอ็นก้ำ เป็ นกำรปฏบิ ตั ิวิปัสสนำภำวนำตำมแนวทำงสมถยำนิก เป็ น อำนำปำนสติไม่มีคำบริกรรม รับรู้ลักษณะของธำตุและเจริญสติปัฏฐำน 4 ส่วนการปฏิบตั ิและการสอบ อารมณ์กรรมฐานของศูนยป์ ฏิบตั ิธรรม นานาชาติพะออ๊ ก ตอยะ เป็นการปฏิบตั ิวิปัสสนาภาวนาตามแนวทาง สมถยานิก เป็นอานาปาสติที่มีคาบริกรรม และปฏิบตั ิสมถภาวนาอีกหลายหมวด และเจริญสติปัฏฐาน 4 ความสอดคลอ้ ง ของการปฏิบตั ิและแนวทางการสอบอารมณ์กรรมฐานตามหลกั พระพทุ ธศาสนา เถรวาทใน ประเทศเมียนมาร์ พบว่า ท้ังสำมสำนักเป็ นแนวทำงที่สอดคล้องกบั พระไตรปิ ฎก เพราะการปฏิบตั ิและการ สอบอารมณ์กรรมฐานของพระโสภณมหาเถระ (มหาสีสยาดอ) เป็นการกาหนดรู้ในธาตกุ รรมฐาน ส่วนการ ปฏิบตั ิและการสอบอารมณ์กรรมฐานของโกเอ็นก้ำ และการปฏิบตั ิและการสอบอารมณ์กรรมฐานของศูนย์ ปฏิบตั ิธรรมนานาชาติพะออ๊ ก ตอยะ เป็ นกำรเจริญอำนำปำนสติและกำรเจริญสตปิ ัฏฐำน 4 2.2.11 ผลงำนวิจยั ทเี่ กย่ี วข้อง : พระธรรมสิงหบรุ ำจำรย์ (จรัญ ฐิตธมฺโม) [45] พลกฤษณ์ โชติศิริรัตน์50 (2554) ไดศ้ ึกษาวิทยานิพนธ์เรื่อง กำรศึกษำวิเครำะห์กำรรักษำโรค ด้วยวิปัสสนำกัมมัฏฐำนตำมแนวทำงของพระธรรมสิงหบุรำจำรย์ (จรัญ ฐิตธมฺโม) ผลการศึกษาพบว่า “โรค” มีความหมายตามคมั ภีร์พระไตรปิ ฎกว่า “ความเสียดแทง”โดยมีสมุฏฐานในการเกิดโรค 8 สมุฏฐาน ประกอบด้วย ธาตุสมุฏฐาน อุตุสมุฏฐาน อายุสมุฏฐานสัตวสมุฏฐาน วิธีสมุฏฐาน อาหารสมุฏฐาน จิต สมุฏฐาน และกรรมสมฏุ ฐาน นบั เป็นพ้นื ฐานในการวเิ คราะห์สาเหตใุ นการเกิดโรคในปัจจุบนั ทาใหส้ ามารถ รักษาโรคไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง วิธีการรักษาโรคในคมั ภีร์พระไตรปิ ฎก แบ่งเป็น 4 วิธีการ ไดแ้ ก่ การรักษาโรค ดว้ ยสมุนไพร ท้งั จากพืช สัตว์ และแร่ธาตุ การรักษาโรคดว้ ยเทคนิค ประกอบดว้ ยการดดั กาย การนวดการ ปล่อยอสุจิ การนตั ถยุ์ า การทายา และการผา่ ตดั การรักษาโรคดว้ ยการเจริญพระพทุ ธมนต์ และการรักษาโรค ดว้ ยการบาเพญ็ เพยี รทางจิตมหาสติปัฏฐานสูตร เป็นวิธีการบาเพญ็ เพียรทางจิต เป็นการฝึ กเจริญสติพจิ ารณา ให้รู้เท่าทนั และรู้แจง้ ในทุกข์ เมื่อเจริญสติไดถ้ ึงพร้อม จะเกิดปัญญาในการพิจารณาเห็นความจริง จนเกิด ความเขา้ ใจและยอมรับในสภาวะท่ีตนเป็ นอยู่ เกิดการปล่อยวาง ไม่ยึดติดในความรู้สึกท่ีเกิดข้ึน ทาให้เกิด ความสงบสุขท้งั ทางร่างกายและจิตใจ ส่งผลถึงสุขภาพของร่างกาย เม่ือทาการศึกษาผลทางวิทยาศาสตร์ การแพทยข์ องผูป้ ฏิบตั ิวิปัสสนากมั มฏั ฐาน ตามแนวทางของพระธรรมสิงหบุราจารย์ ซ่ึงเป็ นไปตามหลกั มหาสติปัฏฐานสูตรน้นั มีผลลดอตั ราการเตน้ ของหัวใจและความดนั โลหิต ช่วยเพิ่มการไหลเวียนเลือดไป 50 พลกฤษณ์ โชติศริ ิรัตน์. 2554. กำรศึกษำวิเครำะห์กำรรักษำโรคด้วยวิปัสสนำกัมมัฏฐำนตำมแนวทำงของพระธรรม สิงหบรุ ำจำรย์ (จรัญ ฐิตธมโฺ ม). วิทยานิพนธ์ พุทธศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาพระพทุ ธศาสนา. มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลยั : พระนครศรีอยธุ ยา.

42 ยงั อวยั วะต่างๆ สามารถควบคุมระดบั น้าตาลในเลือดได้ ช่วยเพ่ิมปริมาณออกซิเจนในร่างกาย มีผลทาให้ ความเครียดลดลง และช่วยเพ่ิมระดบั ภูมิตา้ นทานของร่างกาย ทาให้มีส่วนสาคญั อย่างยิ่งในการร่วมรักษา โรคหัวใจและหลอดเลือดโรคมะเร็ง โรคเบาหวาน และโรคทางจิตเภท นอกจากน้ียงั มีผลปรับเปล่ียน ทศั นคติของผปู้ ่ วย ทาให้มีสติและปัญญาพิจารณาในโรคท่ีตนเป็นอยู่ เกิดการยอมรับและเขา้ ใจจนเกิดความ สงบ มีความรู้สึกเป็นสุขภายในจิตใจ เป็นผลใหค้ ุณภาพชีวติ ผปู้ ่ วยดีข้นึ ได้ [46] ธเนศ ปานหัวไผ่51 (2557) ไดศ้ ึกษาเรื่อง ศึกษำวิเครำะห์ปรัชญำเศรษฐกิจพอเพียงตำมแนว พุทธ: กรณีศึกษำพระธรรมสิงหบุรำจำรย์ (จรัญ ฐิตธมโม) วตั ถุประสงค์ 1) เพ่ือศึกษาวิเคราะห์ปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพุทธ 2) เพ่ือศึกษาวิเคราะห์ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพุทธ จากพระธรรม เทศนาของพระธรรมสิงหบุราจารย์ (จรัญ ฐิตธมโม) วดั อัมพวนั อาเภอพรหมบุรี จังหวดั สิงห์บุรี โดย การศึกษาขอ้ มูลจากเอกสาร ตารา และส่ิงอ่ืนๆ ของพระธรรมสิงหบุราจารย์ (จรัญ ฐิตธมโม) จากน้นั นามา ศึกษาวิเคราะห์ พบวา่ หลกั ธรรมคำสั่สอนของพระธรรมสิงหบุรำจำรย์ (จรัฐ ฐิตธมโม) มคี วำมสอดคล้องกบั หลักปรัชญำเศรษฐกิจพอเพียงตำมแนวพุทธ กล่าวคือ ความพอประมาณสอดคลอ้ งกบั หลกั สันโดษและ มชั ฌิมาปฏิปทา ความมีเหตผุ ลสอดคลอ้ งกบั กฎแห่งกรรมและโยนิโสมนสิการ การมีภมู ิคุม้ กนั ท่ีดีสอดคลอ้ ง กบั สติปัฏฐานส่ี เง่ือนไขความรู้สอดคลอ้ งกบั ปัญญา เงื่อนไขคุณธรรมสอดคลอ้ งกบั สัจจะ ขนั ติ และวิริยะ [ 47] พระบุญจนั ทร์ คุตฺตจิตฺโต52 (2561) ไดศ้ ึกษาเรื่อง ศึกษำวิเครำะห์รูปแบบกำรสอนกรรมฐำน ตำมแนวสติปัฏฐำน 4 โดยเน้นคำสอนเรื่องกรรมของพระธรรมสิงหบุรำจำรย์ (จรัญ ฐิตธมฺโม) วตั ถุประสงค์ 1) เพ่ือศึกษารูปแบบการสอนกรรมฐานตามแนวสติปฏิฐาน 4 2) เพ่ือศึกษารูปแบบการสอนกรรมฐานตาม แนวสติปฏิฐาน 4 โดยเน้นเรื่องกรรมของพระธรรมสิงหบุราจารย์ (จรัญ ฐิตธมฺโม) 3) เพ่ือศึกษาวิเคราะห์ คณุ ค่าการสอนกรรมฐานตามแนวสติปฏิฐาน 4 โดยเนน้ เรื่องกรรมของพระธรรมสิงหบุราจารย์ (จรัญ ฐิตธมฺ โม) ผลการศึกษาพบวา่ 1) รูปแบบกำรสอนกรรมฐำนตำมแนวสติปิ ฏฐำน 4 พบวา่ เป็นแนวทางในการปฏิบตั ิ วิปัสสนากรรมฐานเป็ นทางสายเอกที่องค์พระสัมมาสัมมาพุทธเจา้ ตรัสสอนแก่หมู่ภิกษุสงฆ์ท้งั หลาย เพื่อ เป็ นแนวทางในการเจริญวิปัสสนากรรมฐาน เป็ นฐานที่ต้งั ของสติ ในการระลึกถึงหนทางในการฝึ กฝน ปฏิบตั ิเพื่อกาจดั อุปทวะกิเลสให้สิ้นไป คือ กำรต้ังสติพิจำรณำกำย เวทนำ จิต และธรรม เป็ นหนทาง แห่ง การหลุดพน้ จากทุกข์ท้งั หลาย ผลของการปฏิบตั ิวิปัสสนากรรมฐานทาให้มีอานิสงส์ มีพลงั ในการ เจริญ สมาธิทาให้เกิดความสุขระดบั โลกียสุข และระดบั โลกุตตรธรรมจนถึงพระนิพพาน 2) รูปแบบการสอน กรรมฐานตามแนวสติปฏิฐาน 4 โดยเน้นคาสอนเรื่องกรรมของพระธรรม สิงหบุราจารย์ (จรัญ ฐิตธมฺโม) 51 ธเนศ ปานหวั ไผ.่ 2557. ศึกษาวเิ คราะห์ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพทุ ธ: กรณีศกึ ษาพระธรรมสิงหบุราจารย์ (จรัญ ฐิตธมโม). ว.มนุษยศำสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์. 21(2) : 193-216. 52 พระบุญจนั ทร์ คุตฺตจิตฺโต. 2561. ศึกษาวิเคราะห์รูปแบบการสอนกรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน 4 โดยเนน้ คาสอนเร่ือง กรรมของพระธรรมสิงหบุราจารย์ (จรัญ ฐิตธมฺโม). ว.ปรัชญำปริทรรศน์ คณะศาสนาและปรัชญา มหาวิทยาลยั มหามกุฏราช วิทยาลยั . 23(1) : 24-36.

43 พบวา่ รูปแบบการสอนกรรมฐานของท่านน้นั ไดป้ ฏิบตั ิตามแนวสติปฏิฐาน 4 โดยยึดหลกั ตำมพระไตรปิ ฎก คือ โพธิปิ กขิยธรรม ให้ผู้ปฏิบัติกำหนดอำรมณ์ให้เป็ นปัจจุบัน เป็ นไปตามแนวทางสติปฏิฐาน 4 คือ ให้ กาหนด กาย เวทนา จิต และธรรม ซ่ึงท่านมีหลกั ที่ใช้ในการ ปฏิบตั ิกรรมฐานอยู่ 2 ประการ คือ สติกบั สัมปชญั ญะ คอยควบคุมหรือกาหนดจิต ให้จิตรู้หนา้ ที่การงานโดยถูกตอ้ ง แลว้ เหลืออยูห่ น่ึงเดียว คือควำม ไม่ประมำท เม่ือจิตไม่ประมาทแลว้ ย่อมดาเนินวิถีชีวิต ดว้ ยความถูกตอ้ ง ในการปฏิบตั ิกรรมฐานทานให้ผูเ้ ขา้ ปฏิบตั ิไดเ้ พ่งพิจารณาไปท่ีทอ้ งแลว้ กล่าวตาม การหายใจเขา้ ออก คือ ยุบหนอ พองหนอ ซ่ึงเป็นเอกลกั ษณ์ ของสานกั วดั อมั พวนั ในขณะที่สอน กรรมฐานท่านจะบรรยำยธรรมเก่ียวกบั เรื่อง กฎแห่งกรรม ท้งั อานิสงส์ การสวดมนต์บทพาหุงมหากา ซ่ึงเป็ นเคร่ืองเจริญสติอย่างหน่ึงท่ีชาวพุทธนิยมสวดกนั อย่างแพร่หลาย 3) วิเคราะห์คุณค่าการสอนกรรมฐำนตำมแนวสตปิ ฏฐิ ำน 4 โดยเน้นคำสอนเรื่องกรรมของ พระธรรมสิงหบุรา จารย์ (จรัญ ฐิตธมฺโม) พบว่า มีคุณค่าดา้ นการเผยแผ่หลกั ธรรมและคาสอน คุณค่า ดา้ นบุคลิกลกั ษณะ และ คุณค่าดา้ นการปฏิบัติตนเป็ นแบบอย่ำงที่ดี นบั ไดว้ ่าคุณค่าทุกดา้ นของท่านมี คุณค่าอย่างยิ่ง ท่านจึงได้รับ ความนิยมอยา่ งแพร่หลายและมีผูศ้ รัทธำเข้ำปฏบิ ตั ิวปิ ัสสนำกรรมฐำนทวั่ ประเทศในการปฏิบตั ิกรรมฐานน้นั มีคุณค่า และประโยชน์มากมายเท่าท่ีรู้จากประสบการณ์ของ หลวงพ่อและจากการสอบอารมณ์ของผูท้ ่ีมา ปฏิบตั ิกรรมฐาน สรุปได้ 3 ประการ ดงั น้ี 1) ระลึกชำติได้ 2) เห็นกฎแห่งกรรม และ 3) เกิดปัญญำในกำร แก้ปัญหำชีวิตได้ [48] พระบุญจนั ทร์ คุตฺตจิตฺโต53 (2562) ไดศ้ ึกษาเรื่อง ศึกษำวิเครำะห์รูปแบบกำรสอนกรรมฐำน ตำมแนวสติปัฏฐำน 4 โดยเน้นคำสอนเรื่องกรรมของพระธรรมสิงหบุรำจำรย์ (จรัญ ฐิตธมฺโม) วตั ถุประสงค์ 1) เพ่ือศึกษารูปแบบการสอนกรรมฐานตามแนวสติปฏิฐาน 4 2) เพื่อศึกษารูปแบบการสอนกรรมฐานตาม แนวสติปฏิฐาน 4 โดยเนน้ เรื่องกรรมของพระ ธรรมสิงหบุราจารย์ (จรัญ ฐิตธมฺโม) 3) เพ่ือศึกษาวิเคราะห์ คุณค่าการสอนกรรมฐานตามแนวสติปฏิฐาน 4 โดยเน้นเรื่องกรรมของพระธรรมสิงหบุราจารย์ (จรัญ ฐิตธมฺ โม) กลมุ่ ตวั อยา่ งที่ใชไ้ ดแ้ ก่ พระไตรปิ ฏก อรรถกถา ตารา และเอกสารงานวจิ ยั ท่ีเก่ียวขอ้ ง เป็นการศึกษาวจิ ยั เชิงคุณภาพเอกสารโดยรวมรวมขอ้ มูลระหว่างมกราคม 2560-กนั ยายน 2560 ขอ้ มูลนาท่ีไดน้ ามาวิเคราะห์ เน้ือหาและวิเคราะห์แบบสร้างขอ้ สรุปอุปนยั [49] ธิดารัตน์ สนธ์ิทิม และ สมบูรณ์ วฒั นะ54 (2562) ไดศ้ ึกษาเรื่อง ทัศนคติของประชำชนที่มีต่อ กำรสอนวิธีปฏิบัติวิปัสสนำกรรมฐำนตำมแนวของ พระธรรมสิงหบุรำจำรย์(หลวงพ่อจรัญ ฐิตธัมโม) วตั ถุประสงค์ 1) เพ่ือศึกษาทศั นคติของประชาชนที่มีต่อกำรสอนวิธีปฏิบัติวิปัสสนำกรรมฐำนตามแนวของ 53 พระบุญจนั ทร์ คุตฺตจิตฺโต. 2562. ศึกษาวิเคราะห์รูปแบบการสอนกรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน 4 โดยเนน้ คาสอนเร่ือง กรรมของพระธรรมสิงหบุราจารย์ (จรัญ ฐิตธมฺโม). ว.สิรินทรปริทรรศน์ มหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลยั วิทยาเขตสิรินธรราช วิทยาลยั . 20(1) : 101-108. 54 ธิดารัตน์ สนธ์ิทิม และ สมบูรณ์ วฒั นะ. 2562. ทศั นคติของประชาชนที่มีตอ่ การสอนวิธีปฏิบตั ิวปิ ัสสนากรรมฐานตาม แนวของ พระธรรมสิงหบุราจารย(์ หลวงพอ่ จรัญ ฐิตธมั โม). ว.พุทธศำสน์ศึกษำ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . 26(1) : 70-89.

44 พระธรรมสิงหบุราจารย์ (จรัญ ฐิตธมฺโม) ของวดั ตาลเอน สานกั ปฏิบตั ิธรรมประจาจงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา แห่งที่ 15 2) เพ่ือศึกษาปัจจยั ท่ีมีความสัมพนั ธ์กบั ทศั นคติการปฏิบตั ิวิปัสสนา กรรมฐานตามแนวของพระ ธรรมสิงหบุราจารย์ (จรัญ ฐิตธมฺโม) ของวดั ตาลเอน สานักปฏิบตั ิธรรมประจาจงั หวดั พระนครศรีอยุธยา แห่งที่ 15 กลุ่มตวั อย่างที่ใช้ การ ศึกษา คือ ผูเ้ ขา้ ปฏิบตั ิธรรมวดั ตาลเอน สานักปฏิบตั ิธรรมประจาจงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา แห่งท่ี 15 อาเภอบางปะหนั จงั หวดั พระนครศรีอยธุ า จานวน 120 คน ซ่ึงไดม้ าจากการสุ่ม ตวั อย่างแบบบงั เอิญ เก็บรวบรวมขอ้ มูลโดยใชแ้ บบสอบถาม การวิเคราะห์ขอ้ มูลใชโ้ ปรแกรมคอมพิวเตอร์ สาเร็จรูป สถิติท่ีใชใ้ นการวิเคราะห์ ไดแ้ ก่ ค่าสถิติร้อย ละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ ความแปรปรวนทางเดียว โดยค่านยั สาคญั ทางสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์คร้ังน้ี กาหนดไวท้ ี่ ระดับ 0.05 พบว่า ผู้เข้าปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานวัดตาลเอน สานัก ปฏิบัติธรรมประจาจังหวัด พระนครศรีอยธุ ยา แห่งที่ 15 มีทัศนคตติ ่อกำรสอนวิปัสสนำกรรมฐำนตำมแนวของพระธรรมสิงหบุรำจำรย์ (จรัญ ฐิตธมฺโม) ในระดบั มากเท่ากับ 3.91 และค่าเบ่ียงเบนมาตรฐานท่ี 0.532 จากการทดสอบสมมุติฐาน พบว่าตัวแปรทางดา้ นเพศและอายุที่แตกต่างกนั มีผลต่อทศั นคติในการปฏิบตั ิวิปัสสนากรรมฐาน ตวั แปร ทางดา้ นประสบการณ์การปฏิบตั ิและระยะเวลาการปฏิบตั ิธรรมที่แตกต่างกนั ไม่มีผลต่อทศั นคติในการ ปฏิบตั ิวิปัสสนากรรมฐานตามแนวของพระธรรมสิงหบุราจารย์ (จรัญ ฐิตธมฺโม) ของวดั ตาลเอน สานัก ปฏิบตั ิธรรมประจา จงั หวดั พระนครศรี อยธุ ยา แห่งท่ี 15 อาเภอบางปะหนั จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา 2.2.12 ผลงำนวิจยั ที่เกย่ี วข้อง : สมเดจ็ พระพทุ ธโฆษำจำรย์ (ประยทุ ธ์ ปยุตฺโต) [50] กาญจนา ตน้ โพธ์ิ55 (2556) ไดศ้ ึกษาเร่ือง กลวิธีกำรใช้ภำษำในงำนประพันธ์ของพระพรหม คุณำภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต) วตั ถุประสงคเ์ พื่อศึกษาเชิงวิเคราะห์กลวิธีการใช้ภาษาในงานประพนั ธ์ของพระ พรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) ผลการศึกษาพบว่า มีกลวิธีการใช้ภาษาเพื่อนาเสนอสารธรรมที่น่าสนใจ หลายประการ คือ การซ้าเพอื่ สื่อความหมาย การซ่อนคาเพ่ือส่ือความหมายการเล่นคำสัมผสั คล้องจอง กลวธิ ี การขนำนควำมและกลวิธีการนาเสนอเน้ือหา พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) นากลวิธีการใช้ภาษา เหล่าน้ีมาใช้ในงานประพนั ธ์เพื่อส่ือความหมายของเน้ือหาสาระสู่ผูอ้ ่านให้เขา้ ใจชัดเจนมากข้ึน อีกท้งั กล วธิ ีกำรใช้ภำษำของพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยตุ ฺโต) ยงั มีความงดงามทางวรรณศิลป์ ท่ีเด่นชดั อีกดว้ ย [51] กาญจนา ตน้ โพธ์ิ56 (2556) ไดศ้ ึกษาเรื่อง กำรศึกษำเชิงวิเครำะห์สำรัตถะในงำนประพนั ธ์ของ พระพรหมคุณำภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) พบวา่ พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) นาเสนอสารัตถะที่น่าสนใจ คือ สารัตถะที่เก่ียวกบั การปรับประยกุ ตใ์ ชพ้ ุทธธรรมในดา้ นต่างๆ ไดแ้ ก่ ดา้ นครอบครัว ดา้ นการดาเนินชีวิต 55 กาญจนา ตน้ โพธ์ิ. 2556. กลวธิ ีการใชภ้ าษาในงานประพนั ธข์ องพระพรหมคณุ าภรณ์ (ป.อ.ปยตุ ฺโต). ว. มหำวทิ ยำลัย ศิลปำกร ฉบบั ภาษาไทย . 33 (2) : 11-30. 56 กาญจนา ตน้ โพธ์ิ. 2556. การศึกษาเชิงวิเคราะห์สารัตถะในงานประพนั ธ์ของพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). ว. Veridian E-Journal ฉบบั มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร. 6(1) : 479-492 .

45 ดา้ นปัญญา ดา้ นการเมืองการปกครอง ดา้ นการศึกษา และสารัตถะอีกประการ คือ สารัตถะท่ีเก่ียวกบั ความ ห่วงใยพระพุทธศาสนา ได้แก่ การปกป้องพระธรรมวินัย การพฒั นาสถาบนั สงฆ์ไทยซ่ึงสารัตถะท่ีพระ พรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) นาเสนอในงานประพนั ธ์ลว้ นมีความสาคญั และสร้างประโยชน์ให้กบั สังคมไทยเป็นอยา่ งมาก [52] สมเจตน์ ผิวทองงาม57 (2559) ไดศ้ ึกษาเรื่อง กำรแนะแนวเพื่อชีวิตที่ดีงำมในคำสอนของพระ พรหมคุณำภรณ์ (ป.อ.ปยุตโต) พบว่า ชีวิตที่ดีงามในทศั นะของพระพุทธศาสนาน้ัน เกิดจากการท่ีบุคคล เขา้ ใจชีวิตอย่างถูกตอ้ งตามเหตุปัจจยั และพยำยำมหม่ันฝึ กฝนพัฒนำตนอยู่ตลอดเวลาตามแนวทางของ ไตรสิกขาเพ่ือบรรลุเป้าหมายหรือประโยชน์ของชีวิตในแต่ละระดบั ต้งั แต่ระดบั ข้นั ตน้ จนถึงระดบั สูงสุด พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต) เป็นพระนกั วิชาการชาวไทยท่ีมีผลงานการเผยแพร่พระพุทธศาสนาโดด เด่นเป็ นที่ประจกั ษช์ ดั ท้งั ในประเทศไทยและต่างประเทศ ท่านไดเ้ ผยแผ่คาสอนของพระพุทธศาสนาเพ่ือ พฒั นาสังคมไทยมาเป็ นเวลาช้านาน หลกั พุทธธรรมท่ีท่านใช้ในการแนะแนวทางการดาเนินชีวิตให้กับ บุคคลต่าง ๆ ในสังคมตามที่ปรากฏอย่ใู นคาสอนของท่านลว้ นเป็ นไปเพื่อการมีชีวิตท่ีดีงามของมนุษยชาติ ครอบคลมุ ในทกุ มิติท้งั ในเร่ืองการศึกษา อาชีพและส่วนตวั และสงั คม [53] พระศิลาศกั ด์ิ สุเมโธ (บุญทอง)58 (2562) ได้ศึกษาเร่ือง กำรสังเครำะห์แนวคิดทำงสังคม กำรเมืองของสมเด็จพระพทุ ธโฆษำจำรย์ (ประยทุ ธ์ ปยุตฺโต) วตั ถุประสงคเ์ พ่ือศึกษาแนวความคิดทางสังคม กำรเมืองของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ประยทุ ธ์ ปยตุ ฺโต) การวิจยั เอกสาร และการสัมภาษณ์ แหล่งขอ้ มูล 1) เอกสารช้นั ตน้ ไดแ้ ก่ งานเขียน งานรวบรวมปาฐกถา พบว่า แนวคิดทำงกำรเมืองของสมเด็จพระพุทธ โฆษาจารย์ (ประยุทธ์ ปยตุ ฺโต) ไดร้ ับ อิทธิพลจำกพระพุทธศำสนำโดยตรงท่านมองการเมืองว่าการเมืองคือ งานของรัฐหรืองานของแผ่นดินโดยเฉพาะ ได้แก่ การบริหารราชการแผ่นดินเป็ นงานที่มีวตั ถุประสงคเ์ พื่อ รักษาความสงบเรียบร้อยของสังคม ให้สังคมอยู่อย่ำงมีควำมสุขมีความสงบเรียบร้อย ภายใตก้ ารบริหารของ รัฐซ่ึงมีนกั การเมืองทาหนา้ ที่นานโยบายของรัฐไปพฒั นากิจการบา้ นเมืองให้เกิดประโยชนต์ ่อประชาชน ใน กิจการทางการเมืองน้นั ตอ้ งอาศยั หลกั การทางการเมืองที่ดีนอกเหนือจากท่ีมีหลกั กฎหมายอยแู่ ลว้ ทา่ นยงั ให้ ความสาคญั ในหลักจริยธรรมคุณธรรมเพื่อใชใ้ นการตรวจสอบตนเองของนกั การเมือง หรือเพื่อให้สังคม ตรวจสอบ ความชอบธรรมแนวคิดทางการเมืองของท่านแบ่งออกได้ 2 ประการ คือ ประการแรกมีคุณค่า ทางดา้ นจริยธรรมการเมืองจะตอ้ งก่อใหเ้ กิดประโยชน์กบั มนุษยแ์ ละสรรพส่ิงอื่น คอื เกิดประโยชน์ต่อตนเอง ต่อผูอ้ ่ืนและเป็ นประโยชน์ต่อสังคม ระบบการเมืองตอ้ งมีจุดมุ่งหมายเพ่ือรักษาผลประโยชน์ของรัฐและ ประชาชนอยู่ดว้ ยกนั อย่างสันติสุข ประการท่ีสอง รูปแบบการปกครองท่านเห็นว่ารูปแบบกำรปกครองใดก็ 57 สมเจตน์ ผิวทองงาม. 2559. การแนะแนวเพื่อชีวิตที่ดีงามในคาสอนของพระพรหมคณุ าภรณ์ (ป.อ.ปยตุ โต). ว.วชิ ำกำร มนุษยศำสตร์และสังคมศำสตร์ มหาวทิ ยาลยั บรู พา. 24(46) : 173-187. 58 พระศิลาศกั ด์ิ สุเมโธ (บุญทอง) และคณะ. 2562. การสังเคราะห์แนวคิดทางสังคมการเมืองของสมเด็จพระพุทธโฆษา จารย์ (ประยทุ ธ์ ปยตุ ฺโต). ว.วิชำกำรธรรมทรรศน์ มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตขอนแก่น. 19(4) : 129-141.

46 ตำมจะต้องอิงหลกั ธรรม จึงจะเป็นการปกครองท่ีดีที่สุด ไม่วา่ จะเป็นแบบราชาธิปไตยที่เป็นธรรมาธิปไตย หรือแบบประชาธิปไตยที่เรียกว่า ประชาธิปไตยแบบธรรมาธิปไตยก็ตาม ท่านเห็นว่าถ้ำเป็ นระบบกำร ปกครองแบบประชำธิปไตยทีเ่ ป็ นธรรมำธปิ ไตยคือกำรปกครองแบบคนดีหลำยคนดีกว่ำกำรปกครองท่ีมีคน ดีเพียงคนเดียวถือว่ำเป็ นกำรปกครองท่ีดีที่สุด ซ่ึงแนวคิดของท่านมีเจตนารมณ์ที่มีจุดมุ่งหมายคือสร้างสันติ สุขใหเ้ กิดข้นึ ในหมมู่ วลมนุษย์ [54] พระภาณุวฒั น์ จนฺทวฑฺฒโน (จนั ทาพูน) และคณะ59 (2563) ไดศ้ ึกษาเรื่อง กำรศึกษำวิเครำะห์ เรื่องทุกข์ที่ปรำกฎในงำนประพันธ์ทำงพระพุทธศำสนำของสมเด็จพระพุทธโฆษำจำรย์ (ป.อ.ปยุตฺโต) ผล การศึกษาพบวา่ วตั ถุประสงคเ์ พอ่ื 1) ศึกษาเร่ืองทุกขท์ ่ีปรากฏในคมั ภีร์พระพทุ ธศาสนาเถรวาท 2) ศึกษาเรื่อง ทุกข์ในทศั นะของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต) 3) ศึกษาวิเคราะห์วิธีอธิบายเรื่องทุกข์ของ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต) การศึกษาเชิงเอกสารพบว่า ทุกข์ หมำยถึง สภาวะบีบค้นั กดดนั เป็นหลกั ธรรมท่ีปรากฏมีอยมู่ ากมายในคมั ภีร์ทางพระพุทธศาสนา ท้งั น้ีพระพุทธเจา้ ก็ไดเ้ นน้ ย้าวา่ ทรงสอน เพยี งเรื่องทกุ ขแ์ ละความดบั ทกุ ข์ ท้งั น้ีทกุ ขถ์ ูกจาแนกออกเป็น 2 ประเภทหลกั ไดแ้ ก่ กำยิกทกุ ข์ คือ ทุกขท์ าง กาย และเจตสิกทุกข์ คือ ทุกข์ทางใจ ชีวิตมนุษยล์ ้วนแล้วแต่ตกอยู่ในทุกขสภาวะ มีความเสื่อม ความ เปลี่ยนแปลงเป็ นปกติธรรมดา ดงั น้นั พระพุทธศาสนาจึงมุ่งให้ศึกษา กาหนดรู้ความทุกข์ สมเด็จพระพุทธ โฆษาจารย์ (ป. อ. ปยุตฺโต) ไดม้ องความทุกขผ์ ่านปัญหาของชีวิตมนุษย์ โดยนิยามความทุกขไ์ วส้ องบริบท ดว้ ยกนั คือ ทุกในระดบั สังขาร คือ ทุกข์ที่เกี่ยวเน่ืองดว้ ยชีวิต มีความเจ็บไขค้ วามทุกข์ โทมนัส ความเดือด เน้ือร้อนใจ เป็นตน้ ไดน้ ิยามความทุกขใ์ นบริบทของสังคมผา่ นคาว่าปัญหา ซ่ึงมีผลตอ่ มนุษยท์ ้งั โดยตรงและ โดยออ้ ม พบว่า ควำมทุกข์ตำมนัยอธิบำยของสมเด็จพระพุทธโฆษำจำรย์ (ป.อ.ปยุตฺโต) มีความเช่ือมโยง กนั ระหว่างมนุษยก์ บั สังคมอย่างเป็ นระบบ หมายรวมถึงระบบนิเวศวิทยา ส่ิงแวดลอ้ มท้งั หมดโดยปัจจยั สามารถควบคุมได้คือมนุษย์ เป็ นปัจจัยสาคัญที่พระพุทธศาสนามุ่งเน้นพฒั นาที่ตัวบุคคลมากกว่าวตั ถุ เอ้ืออานวยความสะดวก และการจะบาบัดทุกข์ได้ด้วยวิธีการเรียนรู้ตามหลักอริยสัจในปัญญำระดับ สัมมำทฏิ ฐิ [55] พระครูปริยตั ิกิตติวิมล (กิตฺติสาโร) และคณะ60 (2564) ได้ศึกษาเรื่อง กำรประกอบสร้ำงอุป ลักษณ์มโนทัศน์ในวรรณกรรมของสมเด็จพระพุทธโฆษำจำรย์ (ป.อ.ปยุตฺโต) วตั ถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษา สารัตถะของอุปลกั ษณ์มโนทศั น์ในวรรณกรรม 2) เพ่ือศึกษาการประกอบสร้างอุปลักษณ์มโนทัศน์ใน 59 พระภาณุวฒั น์ จนฺทวฑฺฒโน (จนั ทาพูน) และคณะ. 2563. การศึกษาวิเคราะห์เรื่องทุกขท์ ่ีปรากฎในงานประพนั ธ์ทาง พระพุทธศาสนาของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยตุ ฺโต). ว. สถำบันวิจัยพิมลธรรม วิทยาเขตขอนแก่น มหาวิทยาลยั มหาจุฬา ลงกรณราชวิทยาลยั . 7(2) : 75-84. 60 พระครูปริยตั ิกิตติวิมล (กิตฺติสาโร) และคณะ. 2564. การประกอบสร้างอปุ ลกั ษณม์ โนทศั นใ์ นวรรณกรรมของสมเด็จ พระพทุ ธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยตุ ฺโต). ว.มหำจฬุ ำลงกรณนำครทรรศน์ วทิ ยาเขตนครศรีธรรมราช มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราช วิทยาลยั : นครศรีธรรมราช. 8(3) หนา้ 15-24.

47 วรรณกรรม) การวจิ ยั เชิงเอกสารขอ้ มูลจากวรรณกรรมพุทธธรรมของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺ โต) ต้งั แต่พุทธศักราช 2531 - 2561 นามาวิเคราะห์ข้อมูลการการประกอบสร้างมโนอุปลักษณ์ เพื่อหา ลกั ษณะการประกอบสร้างมโนทศั นอ์ ปุ ลกั ษณ์และมโนอุปลกั ษณ์ในแวดวงความหมายตามคานิยามของท่าน พุทธทาส ผลการวิจยั พบวา่ สารัตถะการเขยี นวรรณกรรมมี 5 กลมุ่ คือ 1) บนั ทึกจากการเล่าเรื่องที่พบเห็น 2) บนั ทึกจากการเดินทางและการใช้ชีวิตกลางแจง้ 3) บนั ทึกจากทศั นะต่อประเด็นต่าง ๆ 4) บนั ทึกจากการ ทบทวนวเิ คราะห์และอธิบายเกี่ยวกบั ตนเอง 5) บนั ทึกจากประเด็นชีวิตปรัชญาและจิตวิญญาณ และยงั พบวา่ 1) สำรัตถะของมโนอุปลกั ษณ์ในวรรณกรรมของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยตุ ฺโต) พบวา่ มี ลกั ษณะ ที่เป็ นโลกิยธรรมหรือโลกุตตรธรรมมี 6 ประเด็น ไดแ้ ก่ 1) ความเหมือน 2) ความต่าง 3) ความขดั แยง้ 4) ความคลอ้ ยตาม 5) ความเป็นเหตผุ ล 6) อื่น ๆ นอกจากน้ี 2) ลกั ษณะการประกอบสร้างอุปลกั ษณ์มโนทศั น์ใน วรรณกรรมของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยตุ ฺโต) ในแวดวงความหมายธรรมะตามแนวคิดของท่าน พุทธทาส พบว่ามี 4 ประเภท ไดแ้ ก่ 1) มโนอุปลกั ษณ์ธรรมชาติ มี 38 อุปลกั ษณ์ 2) มโนอุปลกั ษณ์กฎของ ธรรมชาติ มี 11 อุปลกั ษณ์ 3) มโนอุปลกั ษณ์หนา้ ที่ของธรรมชาติ มี 78 อุปลกั ษณ์ 4) มโนอุปลกั ษณ์ผลของ ธรรมชาติ มี 79 อปุ ลกั ษณ์ จากการทบทวนวรรณกรรมท่ีเก่ียวขอ้ ง ควำมหมำย สตปิ ัฏฐำน 4 หมายถึง ท่ีต้งั ของสติ หรือ การต้งั สติกาหนดพจิ ารณาส่ิงท้งั หลายใหร้ ู้เห็นตามความเป็นจริง คอื ตามที่สิ่งน้นั ๆ มนั เป็นของมนั เอง จาแนกเป็น สติปัฏฐาน การต้ังสติ 4 อย่าง ได้แก่ 1) ต้ังสติพิจำรณำกำยในกำย เห็นกายในกายอยู่ มีความเพียร มี สัมปชัญญะ มีสติกาจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกได้ พิจารณากาย 6 ส่วน กาหนดลมหายใจเข้าออก อิริยาบถ เช่น ยืน เดิน น่ัง นอน รู้ตวั ในความเคล่ือนไหวต่าง ๆ ความน่าเกลียดของร่างกาย ความเป็ นธาตุ ร่างกายท่ีเป็นศพ ลกั ษณะต่างๆ 2) ต้ังสติพจิ ำรณำเวทนำในเวทนำ ความรู้สึกอารมณ์ เห็นเวทนาในเวทนา ท้ังหลายอยู่ มีความเพียร มีสัมปชัญญะ มีสติ กาจดั อภิชฌาและโทมนัสในโลกได้ การพิจารณาเวทนา (ความรู้สึกอารมณ์) พิจารณาเวทนา 9 อยา่ ง สุข ทุกข์ ไม่ทุกขไ์ ม่สุข สุขประกอบดว้ ยอามิส (เหยอื่ ล่อ) สุข ไม่ประกอบด้วยอามิส ทุกข์ประกอบดว้ ยอามิส ทุกข์ไม่ประกอบด้วยอามิส ไม่ทุกข์ไม่สุขประกอบดว้ ย อามิส ไม่ทกุ ขไ์ ม่สุขไมป่ ระกอบดว้ ยอามิส 3) ต้งั สตกิ ำหนดพจิ ำรณำจิตในจิต เห็นจิตในจิตอยู่ มีความเพียร มีสัมปชญั ญะ มีสติกาจดั อภิชฌาและโทมนสั ในโลกได้ พิจารณาจิต 16 อย่าง จิตมีราคะ จิตปราศจากราคะ จิตมีโทสะ จิตปราศจากโทสะ จิตมีโมหะ จิตปราศจากโมหะ จิตหดหู่ จิตฟ้งุ สร้าน จิตใหญ่(จิตในฌาน) จิต ไม่ใหญ่(จิตไม่ถึงฌาน) จิตมีจิตอ่ืนยิ่งกว่า จิตไม่มีจิตอื่นย่ิงกว่า จิตต้งั มน่ั จิตไม่ต้งั มน่ั จิตหลุดพน้ จิตไม่ หลุดพน้ 4) ต้ังสติกำหนดพจิ ำรณำธรรมในธรรม ท้งั หลายอยู่ มีความเพียร มีสัมปชญั ญะมีสติ กาจดั อภิชฌา และโทมนสั ในโลกได้ พจิ ารณาธรรม 5 ส่วน เรียกวา่ นวิ รณ์ 5 ขันธ์ 5 คือ รูป เวทนา สัญญา สงั ขาร วญิ ญาณ อำยตนะภำยใน 6 คอื ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ องคแ์ ห่งการตรัสรู้ 7 เรียกวา่ โพชฌงค์ อริยสัจ 4

48 จากวเิ คราะห์ผลงานวิจยั ตามแนวทางครูบาอาจารยเ์ กี่ยวขอ้ ง 12 รูป/คน กลุม่ ตวั อยา่ งเป็นผลงานวิจยั จานวน 55 เรื่อง จาแนกเป็นฐานกาย ฐานเวทนา ฐานจิต และฐานธรรม สรุปไดว้ า่ 1) ฐำนกำยำนุปัสสนำ เป็ นการพิจารณาเฝ้าดูกาย ดว้ ยลมหายใจ ด้วยอิริยาบถ การมีสัมปชัญญะ พิจารณาส่ิงน่ารังเกียจ การพิจารณาธาตุ การสังเกตป่ าช้า 9 ตรงกบั แนวทำงปฏิบัติหลวงป่ ูมั่น ภูริทตฺโต วิธีการกาหนดคาบริกรรมภาวนาพทุ โธเป็นกรรมฐาน ฝึ กสติเพื่อเกิดสมาธิ ปัญญา ตามหลกั อานาปานสติต้งั สติไวล้ มหายใจ จิตสงบน่ิงพฒั นาองค์ธรรมเพ่ือเกิดสมาธิเป็ นบาทฐานวิปัสสนาตามดูอาการกายเกิดดบั เช่ือมโยงรู้อาการส่วนอื่นเห็นรูปนามไม่เที่ยง วิธีการกาหนดจิตฐานคือ จมูก หนา้ ผาก กลางกระหม่อมขา้ ง นอก ในสมองตรงกลาง กะโหลกศรีษะและทรวงอก เนน้ ฐานกายเป็นสาคญั นาทางฝึ กสติเพื่อสร้างสมาธิให้ มีปัญญา เป็นอานาปานสติต้งั สตินาทาง อาศยั เทคนิคคาบริกรรมภาวนาพุทโธ ฐานกายนาตามแนวทางของ พระธรรมโกศำจำรย์ (พุทธทำสภิกขุ) เนน้ กรรมฐานแบบอานาปานสติสาคญั ใชห้ ลกั อานาปานสติสูตรเป็น หลกั การสอนใจความ 16 อารมณ์ ขยายอธิบายเขา้ ใจง่ายเหมาะปฏิบตั ิ แบบส้ันและแบบแผน การระลึกหรือ กระทาสิ่งหน่ึงทุกลมหายใจเขา้ ออก ศึกษาความหมายนิพพาน เป็นภาวะที่จิตดบั เยน็ ว่างจากกิเลส ตวั กูของกู ไมเ่ กิดข้ึนมา เป็นตามอานาปานบรรพเป็นที่สุดสาคญั การฝึกลมหายใจสาคญั อธิบายอารมณ์ 16 ข้นั ตอนตาม รู้ลมหายใจเขา้ ออก ไม่มีคาบริกรรมนาไปสู่ฐานธรรม คิดพิจารณาหลกั ธรรม ส่วนพระครูภำวนำนุศำสก์ (แป้น ธมฺมธโร) ปฏิบตั ิตามหลกั สติปัฏฐานใชส้ ติและปัญญาพิจารณากาหนดรู้ รูปนาม สภาวธรรมทางฐาน สติ 4 ฐาน ตามความเป็นจริงจนหยง่ั รู้ถึงความเปลี่ยนแปลง วิธีการปฏิบตั ิวิปัสสนาเจริญสติแบบเคลื่อนไหว โดยใชส้ ติกาหนดอิริยาบถต่าง ๆ มีการนั่ง เดิน ยืน นอน จดจ่อในรูปนามปัจจุบนั ดว้ ยความเพียร สติเป็ น เคร่ืองระลึกรู้ตามกาหนดรูปนามต่อเน่ืองไม่ขาดช่วง สมาธิทาใหจ้ ิตแนบชิดต้งั มนั่ อยใู่ นสภาวธรรมที่กาหนด ดว้ ยสติ ปัญญาหยง่ั เห็นลกั ษณะพิเศษของสภาวธรรมตามความเป็นจริง ฐานกายนาทางฝึกสติ อิริยาบถต่างๆ นาทางไปสู่ฐานอื่นๆ ครบทุกฐาน แนวคิดหลกั การเป็นไปตามหลกั มหาสติปัฏฐาน ส่วนแนวทางพระธรรม ธีรรำชมหำมุนี (โชดก ญำณฺสิทธิ) สอนเทคนิคการใช้สติพิจารณากาย เวทนา จิต ธรรม เป็ นวิปัสสนา กมั มฏั ฐาน วิธีการกาหนดพองยบุ เห็นเกิดดบั เช่ือมโยงไปตามดู เวทนา จิต ธรรม อาศยั ขนิกสมาธิเป็ นฐาน พฒั นาเป็นอุปจารสมาธิ กรอบการใชร้ ะบบหนอเป็นเพียงอุบายวิธี สอนใหก้ าหนดเพ่ือรู้ธาตุต่างๆ การมีสติ กาหนดรูปนามตามอิริยาบถใหญ่ 4 อิริยาบถย่อย อายตนะ 6 อิริยาบถน่ัง พิจารณาตน้ ใจคือความรู้สึก ใช้ วิปัสสนาญาณ 16 สอนตามเน้ือหาในมหาสติปัฏฐานสูตรประยุกตก์ ารหายใจและอิริยาบถต่าง ๆ มาเป็นวิธี ปฏิบตั ิ โดยคาว่า “หนอ” ฐานกายเป็ นหลกั นาทาง หลกั คาสอนท่านจะครบทุกฐานต้งั แต่ฐานกายไปฐาน ธรรม อธิบายเทคนิควิธีการเป็ นข้ันตอนละเอียดเป็ นท้ังแนวคิด และเทคนิควิธีการครบข้ันตอนเป็ น กระบวนการแบบแผน เป็ นท้งั แนวทางภาคทฤษฎีและปฏิบตั ิ ส่วนแนวทางของพระธรรมสิงหบุรำจำรย์ (จรัญ ฐิตธฺมโม) กาหนดกาย เวทนา จิต ธรรม อาศยั หลกั ปฏิบตั ิกรรมฐาน 1)สติ 2)สัมปชญั ญะ ควบคุมและ กาหนดจิตโดยกาหนดอารมณ์เห็นปัจจุบนั ให้ปัญญารู้ทนั จิต มีสติควบคุมกาย วาจา ใจ วิธีพฒั นาจิตใจบน พ้ืนฐานหลกั ธรรมสติปัฏฐาน 4 องค์ประกอบอาตาปี สัมปชาโน สติมา มีความเพียร มีสัมปชัญญะ มีสติ ระลึกตามฐานท้งั 4 ต้งั แห่งการทางานจิต บาเพ็ญเพียรจิต ฝึ กสติพิจารณาให้รู้เท่าทนั รู้แจง้ ทุกข์ เกิดปัญญา

49 เห็นความจริงยอมรับรู้แจง้ ทุกข์ เทคนิควิธีเป็นการหายใจเขา้ ออกบริกรรมยุบหนอพองหนอเป็ นเอกลกั ษณ์ เนน้ ฐานกายนาทางปฏิบตั ิแลว้ ไปสู่ครบทุกฐาน เป็นหลกั ปฏิบตั ิกรรมฐาน อาตาปี สมั ปชาโน สติมา อาศยั คา บริกรรมยบุ หนอพองหนอ เป็นเครื่องมือฝึกมหาสติปัฏฐานใหค้ วามสาคญั แทบทกุ ฐาน 2) ฐำนเวทนำนุปัสสนำ การพิจารณาเวทนาซ่ึงเป็ นความรู้สึก สุขเวทนา ทุกขเวทนา สอดคลอ้ ง แนวทางปฏิบตั ิ ท่านสัตยา นารายนั โกเอน็ กา้ (ท่านโกเอน็ กา้ ) ฝึ กทาอานาปานสติใหจ้ ิตสงบเป็นพ้นื ฐาน นา จิตพฒั นาแลว้ พิจารณาเวทนา สังเกตเวทนาให้มองเห็นเป็ นอุเบกขา ความรู้สึกเกิดข้ึนตามร่างกายด้วยจิต อุเบกขา คือ ปล่อยวาง พิจารณาองค์ธรรม อาตาปี (มีความเพียร) สติมา(มีสติระลึกรู้อยู่เสมอ) สัมปชาโน (รู้สึกตวั ทุกขณะ) คอยกากบั วางจิตอุเบกขามองเห็นตามเป็ นจริง ไม่ปรุงแต่งให้เวทนาเกิดดบั ตามกฎไตร ลกั ษณ์ ไม่ตอ้ งบริกรรม เน้นเทคนิควิธีฐานเวทนานาทางปฏิบตั ิไปสู่ฐานอ่ืนๆ ฐานเวทนาเป็ นเครื่องมือ นาไปสู่ฐานอ่ืนครบทุกฐาน การทาความรู้สึกใหเ้ ป็นอุเบกขา ไม่ปรุงแต่งเวทนาความรู้สึกทางกาย ไปสู่การ พจิ ารณาทกุ สิ่งเป็นอเุ บกขาจิต ตรงกรอบพระสูตรมหาสติปัฏฐาน 4 ครบทุกฐาน 3) ฐำนจิตตำนุปัสสนำ การพิจารณาจิต แนวทางพระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) ภาวนาพน้ จาก ทุกข์ คน้ พบวิธีปฏิบตั ิธรรมวิชาธรรมกายซ่ึงพิสูจน์หลกั คาสอนหลกั ปฏิบตั ิเป็ นรูปแบบพฒั นาจิต อธิบาย พฒั นาจิต ในรูปกระบวนการระบบ ฐานจิตนาทางและเป็ นเป้าหมาย ฐานจิตอธิบายไดย้ ากและความเป็ น นามธรรมสูง ส่วนแนวทางของพระรำชพรหมยำน(หลวงพ่อฤำษีลงิ ดำ) สอนกรรมฐานวิชามโนยทิ ธิ การมี ฤทธ์ิทางใจ ลกั ษณะรู้เห็น สัมผสั ความจริงดว้ ยการใช้ใจ เป็ นกาลงั ใจ การเพ่งจิต สมถกรรมฐานบาทฐาน มโนมยทิ ธิ หรือกสิณเป็นบาทฐานมโนมยิทธิเป็นการฝึกปฏิบตั ิเพ่งกสิณ องคฌ์ านเป็นอารมณ์มโนมยิทธิ ทา ฌานใหเ้ กิดข้ึนเป็นการเขา้ ฌานใชก้ าลงั ฌานเตรียมจิตใหอ้ ยู่ในสภาพท่ีดีพร้อมปัญญาที่พิจารณาใหเ้ ห็นความ จริง เนน้ จุดหมายปลายทางการฝึ กกรรมฐานคือฐานจิต เห็นไดว้ ่าเนน้ รูปแบบมโนยิทธินาทาง กระบวนการ ฝึกจิตใจ อาศยั การฝึกฌานเป็นหลกั เพอื่ นาไปสู่ปัญญา 4) ฐำนธรรมำนุปัสสนำ การสังเกตสิ่งท่ีอยู่ในจิตเป็ นความคิด ประกอบด้วย นิวรณ์ 5 ขันธ์ 5 อายตนะ 6 โพชฌงค์ 7 และอริยสัจ 4 ความจริงของทุกข์ เหตุเกิดทุกข์ ความดบั ทุกข์ และทางดาเนินไปสู่ ความดบั ทุกข์ สอดคลอ้ งแนวทาง หลวงพ่อเทียน จติ ฺตสุโภ นาสติมากาหนดไวท้ ่ีกาย เวทนา จิต ธรรม เพอ่ื ให้ จิตต้งั มน่ั เป็นสมาธิ รูปแบบการฝึ กสติแบบเคลื่อนไหว ไม่หลบั ตา เนน้ ใชส้ ติจบั ความเคล่ือนไหว ไม่เนน้ คา บริกรรม ใชส้ ติอยูก่ บั ปัจจุบนั ขณะ ฝึ กเป็นอิริยาบถบรรพ สัมปชญั ญะบรรพ ฝึ กสติแบบเคลื่อนไหวเพื่อตดั ตวั ความคิดปรุงแต่งท้งั หลายทาให้เขา้ ใจอริยสัจ 4 กาหนดรู้อิริยาบถน้อยใหญ่ในกายทาความรู้สึกตวั ฝึ ก กาหนดรู้เคล่ือนไหวกายและจิต เน้นตวั สัมปชญั ญะ ตวั สติ ตวั สัมปชญั ญะ รู้สึกทุกอาการที่เกิดข้ึน สอนผู้ ปฏิบตั ิรู้เทา่ ทนั ความคิดท่ีเกิดข้นึ เป็นธรรมานุปัสสนา การสังเกตความคิดหรือสิ่งที่อยใู่ นจิต ไม่ตอ้ งปรุงแต่ง ความคิด ฝึ กสติดว้ ยการฝึ กจิต (จิตภาวนา) แบบเคลื่อนไหว ทาให้จิตรู้ กาย เวทนา จิต ธรรม รู้สมมติ รู้ อารมณ์ รู้ความรู้สึกนึกคิด การดูจิตเท่าทนั ความคิด เป็นจิตตานุปัสสนา สังเกตจิต จิตธรรมชาติเดิมบริสุทธ์ิ ปรุงแต่งดว้ ยกิเลส งานของจิตหวงั ผลการหลุดพน้ จากเคร่ืองผูกพนั ธการกิเลสตณั หา ทาให้แนวทางแบบ

50 เคลื่อนไหวเป็ นการประยุกตใ์ ช้ชีวิตประจาวนั ไดเ้ หมาะสมเพียง ฝึ กสร้างความรู้สึกตวั และการตดั ความคิด ปรุงแต่งไม่ให้เกิดข้ึน แลว้ พฒั นาความคิดเป็ นหลกั การฐานธรรม ส่วนแนวทางสมเด็จพระญำณสังวร สมเด็จพระสังฆรำช สกลมหำสังฆปริณำยก (เจริญ สุวฑฺตโน) เป็ นขอ้ ธรรมที่ควรปฏิบตั ิ การระลึกถึง พระพุทธเจา้ แห่งพุทธบารมีท่ีมีการนอ้ มนาไปปฏิบตั ิเป้าหมายสงบเยน็ เป็ นฐานธรรมมานุปัสสนานาทาง อาศยั ขอ้ ธรรมเป็นหลกั คิดเพื่อการปฏิบตั ิ พระรำชสังวรญำณ(พุธ ฐำนิโย) พิจารณากาย เวทนา จิต ธรรม เนน้ สอนทาสติตามรู้ความคิด ให้สัมพนั ธ์กับชีวิตประจาวนั สติตามรู้ ยืน เดิน นั่ง นอน ฝึ กสติทุกอิริยาบถ ประยกุ ตใ์ ชห้ ลกั ธรรมสอนผปู้ ฏิบตั ิเขา้ ถึงพระรัตนตรัย หลกั ไตรสิกขา ทากายใหส้ งบระงบั รูปแบบการแผย แผ่ หลายวิธี ไดแ้ ก่ บรรยาย สนทนา การตอบปัญหาธรรม อบรมจิต ฐานธรรมานุปัสสนานาทาง เป็ นการ สังเกตความคิดหรือสิ่งท่ีอย่ใู นจิตทาสติตามรู้ความคิด แนวทางสมเด็จพระพุทธโฆษำจำรย์ (ประยุทธ์ ปยุตฺ โต) สอนเรื่องความทุกขก์ ายทุกข์ใจ สอนวิธีการเรียนรู้ตามหลกั อริยสัจ 4 ปัญญาระดบั สัมมาทิฏฐิ ชีวิตท่ีดี งามถูกตอ้ งตามเหตุปัจจยั พยายามฝึ กฝนพฒั นาตามแนวทางไตรสิกขา ตามแนวทางฐานธรรมนาทาง หลกั อริยสัจ 4 มรรค 8 ให้มีความรู้และความเขา้ ใจเพ่ือนาไปสู่การปฏิบตั ิตามหลกั มหาสติปัฏฐานเน้นฐานธรรม นาทางไปสู่ฐานอ่ืนๆ ฐานธรรมเป็นความคิดในจิต บนกาย แสดงออกเวทนารู้สึกทางกาย

51 2.3 กรอบแนวคดิ งำนวจิ ัยเรื่อง กำรสกดั หลกั คำสอนเร่ืองมหำสติปัฏฐำน 4 วตั ถปุ ระสงค์ ขอ้ 1 วตั ถปุ ระสงค์ ขอ้ 2 เพ่ือสกัดหลักคำสอนเรื่องมหำสตปิ ัฏฐำน 4 เพื่อศึกษำควำมรู้เรื่องสติปัฏฐำน 4 จำกอดตี ปัจจุบนั สู่ควำมเป็ นอนำคต ตำมแนวทำงของครูบำอำจำรย์ (หลักควำมเป็ นสำกล) ภำพท่ี 2.1 กรอบแนวคดิ งำนวิจัยเร่ือง กำรสกดั หลกั คำสอนเรื่องมหำสติปัฏฐำน 4

52 บทท่ี 3 ระเบียบวธิ ีวจิ ยั การออกแบบระเบียบวิธีการวิจยั เร่ือง การสกดั หลกั คาสอนเรื่องมหาสติปัฏฐาน 4 อาศยั ผลงานวิจยั เรื่องเดิมของผูว้ ิจยั เองท่ีผ่านมาสืบต่อประเด็นโจทยว์ ิจยั ประกอบดว้ ย 1) การสังเคราะห์วิทยานิพนธ์เรื่อง มหาสติปัฏฐาน 4 ของมหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั ระหว่างปี พุทธศกั ราช 2540-2555 2) การ สังเคราะห์วรรณกรรมเร่ืองมหาสติปัฏฐาน 4 3)รูปแบบการเขา้ ถึงปัญญาเรื่องมหาสติปัฏฐาน 4 กาหนด เน้ือหาสาระเรื่องสติปัฏฐาน 4 ในพระสูตรพระไตรปิ ฏกภาษาไทยเป็นกรอบ เป็นฐานวางแผนออกแบบการ ดาเนินงานวิจยั ท้งั ประเด็นสาระและการออกแบบงานวิจยั โดยใชว้ ิธีการเก็บขอ้ มูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Research Methodology) เสนอขอ้ มลู ใชว้ ิธีการวิเคราะห์เชิงการพรรณนา (Descriptive Analysis) จาแนกตาม วตั ถปุ ระสงคง์ านวจิ ยั ขอ้ 1)เพอื่ สกดั หลกั คาสอนเรื่องมหาสติปัฏฐาน 4 ตามแนวทางของครูบาอาจารย์ ขอ้ 2) เพือ่ ศึกษาองคค์ วามรู้เร่ืองสติปัฏฐาน 4 จากอดีต ปัจจุบนั สู่ความเป็นอนาคต 3.1 ประชำกรและกลุ่มตวั อย่ำง ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง (ตอบวตั ถุประสงค์ขอ้ 1) เป็ นการศึกษาจากธรรมบรรยายหรือเทศนา ธรรมด้วยน้าเสียงคาสอนจาก จากครูบาอาจารยย์ ุคสมยั อดีตจนถึงปัจจุบันโดยเลือกจากการอ้างถึงจาก รายงานผลการวิจยั ของผศู้ ึกษาวิจยั ท่ีผา่ นมา กลุ่มตวั อยา่ งแบบเจาะจง (Purposive Samping) โดยจาแนกการ คน้ หาคาสาคญั พิมพ์คาสาคญั ว่า “มหำสติปัฏฐำน 4” และพิมพร์ ายช่ือครูบาอาจารย์ตามกาหนดไว้ โดย สารวจออนไลนช์ ่องทาง you tube เป็นคลิปขอ้ มลู แสดงดงั ตารางที่ 3.1 ตารางที่ 3.1 แสดงกลุ่มตัวอย่างรายชื่อครูบาอาจารย์จานวน 12 รูป/คน จาแนกตามระหว่างปี พทุ ธศกั ราช

53 จากตารางที่ 3.1 แสดงกลุ่มตัวอย่างเป็ นรายชื่อครูบาอาจารย์ จานวน 12 รูป/นาม จาแนกตาม ช่วงเวลาการเกิดและมรณภาพของครูบาอาจารยเ์ รียงตามลาดบั 1 ถึง 12 รูป/นาม พบวา่ 1) หลวงป่ มู ั่น ภูริทตฺโต ระหวา่ งวนั ที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2413 - 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2492) อายุ 79 ปี 2) พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) ระหว่างวนั ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2427 ถึง 3 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ.2502 อายุ 74 ปี 3) พระธรรมโกศำจำรย์ (พุทธทำสภิกข)ุ ระหวา่ งวนั ที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2449 ถึง 8 กรกฏาคม พ.ศ. 2536 อายุ 87 ปี 4)สมเด็จพระญำณสังวร สมเด็จพระสังฆรำช สกลมหำสังฆปริณำยก (เจริญ สุวฑฺตโน) ระหวา่ งวนั ท่ี 3 ตุลาคม พ.ศ. 2456 ถึง 24 ตุลาคม พ.ศ. 2556 อายุ 100 ปี 5) พระรำชพรหมยำน (หลวงพ่อ ฤำษีลิงดำ) ระหว่างวนั ที่ 8 กรกฏาคม พ.ศ. 2459 ถึง 30 ตุลาคม พ.ศ. 2535 อายุ 76 ปี 6) หลวงพ่อเทียน จิตฺตสุโภ ระหว่างวนั ที่ 5 กนั ยายน พ.ศ. 2454 ถึง 13 กันยายน พ.ศ. 2531 อายุ 77 ปี 7) พระครูภำวนำ นุศำสก์ (แป้น ธมฺมธโร) ระหว่างวนั ท่ี 6 มีนาคม พ.ศ. 2457 ถึง 9 ตุลาคม พ.ศ.2548 อายุ 91 ปี 8)พระ ธรรมธรี รำชมหำมุนี (โชดก ญำณสฺ ิทธ)ิ ระหวา่ งวนั ท่ี 16 เมษายน พ.ศ.2461 ถึง 30 มิถุนายน พ.ศ. 2531 อายุ 70 ปี 9) พระรำชสังวรญำณ (พุธ ฐำนโิ ย) ระหวา่ งวนั ท่ี 8 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2465 ถึง 15 พฤษภาคม พ.ศ.2542 อายุ 78 ปี 10) ท่ำนสัตยำ นำรำยัน โกเอ็นก้ำ (ท่ำนโกเอ็นก้ำ) ระหว่างวนั ท่ี 30 มกราคม พ.ศ. 2467 ถึง 29 กนั ยายน พ.ศ.2556 อายุ 90 ปี 11) พระธรรมสิงหบุรำจำรย์ (จรัญ ฐิตธฺมโม) ระหว่างวนั ท่ี 15 สิงหาคม พ.ศ. 2471 ถึง 25 มกราคม พ.ศ.2559 อายุ 87 ปี 12) สมเด็จพระพุทธโฆษำจำรย์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต) ระหวา่ งวนั ท่ี 12 มกราคม พ.ศ. 2481 ถึง ปัจจุบนั ภาพที่ 3.1 รูปภาพกลุ่มตวั อยา่ งศึกษาการสกดั หลกั คาสอนของครูบาอาจารยจ์ านวน 12 รูป/คน แนวทางปฏบิ ตั เิ ร่ืองมหาสตปิ ัฏฐาน 4

54 กลุม่ ตวั อยา่ งที่ 2 (ตอบตามวตั ถุประสงคข์ อ้ 2) เป็นการศึกษาคาบรรยายเก่ียวกบั เรื่องมหาสติปัฏฐาน 4 ในนยั คาสาคญั วา่ “Mindfulness” สติ หรือ “Meditation” สมาธิ เพอื่ เป็นการสารวจขอ้ มูลศึกษาและคน้ หา หลกั การความเป็ นสากล เป็ นคลิปขอ้ มูลออนไลน์บนช่องทาง You tube จานวน 27 คลิปขอ้ มูล ดงั แสดง รูปภาพที่ 3.1 ภาพที่ 3.2 การคน้ หาขอ้ มูลออนไลนผ์ า่ นช่องทาง Youtube จากคาสาคญั “Mindfulness” หรือ “Meditation” จาแนกตามรหสั ชื่อเรื่องบรรยาย ภาพท่ี 3.3 รูปภาพกลุม่ ตวั อยา่ งจากคลิปขอ้ มลู ออนไลน์ช่องทาง YouTube

55 3.2 เครื่องมือในกำรวจิ ยั เครื่องมือเก็บขอ้ มูลวจิ ยั แยกตอบตามวตั ถุประสงคเ์ พื่อจาแนกลกั ษณะประเด็นต่าง ๆ ใหข้ อ้ สรุป เป็นการศึกษาแบบคขู่ นานขอ้ มลู เคร่ืองมือในการวจิ ยั คือ แบบการบนั ทึกการเกบ็ ขอ้ มูล ดงั ต่อไปน้ี แบบเคร่ืองมือท่ี 1 เก็บขอ้ มูลตามวตั ถุประสงคข์ อ้ ที่ 1 สายครูบาอาจารย์ จานวน 12 รูป/คน เพ่ือ สกัดคาสอนเร่ืองมหาสติปัฏฐาน 4 ในภาพรวมสร้างแบบบนั ทึก จาแนกประเด็นหลกั แบ่งออกเป็ น 1) แนวคดิ 2) หลกั กำร 3) วธิ กี ำร 4) ผล อธิบายเป็นความหมาย ดงั ต่อไปน้ี แนวคดิ หลกั กำร วธิ กี ำร ผล ภาพรวมการปฏิบตั ิตาม การวางหลกั การตามพระ วธิ ีการหรือกระบวนการ ผลท่ีเกิดจากการปฏบิ ตั ิจากท้งั ปฏิบตั ิ มหาสติปัฏฐาน 4 จากแนวคดิ ทฤษฎี หลกั การ พระสูตรมหาสติปัฏฐาน 4 สูตรมหาสติปัฏฐาน 4 เป็นลกั ษณะเฉพาะการ วธิ ีการ ประสิทธิภาพและ ปฏิบตั ิ กรรมวิธี ประสิทธิผล พระสูตรมหาสติ เป็นแนวคดิ ทฤษฎี นาไปสู่ แนวทางปฏบิ ตั ิ หลกั การ กระบวนการและข้นั ตอน ปัฏฐาน 4 การปฏิบตั ิ คิด และหลกั การปฏิบตั ิ เป็ นกรอบเช่ือมโยง แนวคดิ ไปสู่การปฏิบตั ิ ประเด็นรอง นามาจากกรอบสาระพระสูตรมหาสติปัฏฐาน 4 แบ่งออกเป็น 1) ดา้ นกายานุปัสสนา สติปัฏฐาน 2) ดา้ นเวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน 3) ดา้ นจิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน 4) ดา้ นธรรมานุปัสสนา สติปัฏฐาน ภำพท่ี 3.4 เคร่ืองมือการเก็บรวบรวมขอ้ มลู วิจยั ตามวตั ถปุ ระสงคข์ อ้ ที่ 1 ประเดน็ การเขยี นผลการวเิ คราะห์ จดั กล่มุ ขอ้ มูลเป็นแผนภาพความคดิ นาไปสรุปผลการศกึ ษา

56 แบบเครื่องมือท่ี 2 เก็บขอ้ มูลตามวตั ถุประสงค์ขอ้ ท่ี 2 นาหลกั การวิเคราะห์ขอ้ มูล 27 คลิปขอ้ มูล สร้างแบบบนั ทึกโดย ต้ังคาถามเพื่อค้นหาคาตอบ ดงั ต่อไปนี้ 1) นาเสนอประเดน็ สาระอะไร? 2) เป้าหมาย หลกั ผูบ้ รรยาย เป็ นอย่างไร? เพื่ออะไร ? น้าเสียง ? 2.1)เพ่ือให้ความรู้ 2.2)เพ่ือช้ีแนะหรือแนะนา 2.3) เพอ่ื ใหแ้ นวทางปฏิบตั ิ 2.4)เพ่อื ใหไ้ ดร้ ับผลจากการปฏิบตั ิ 3) ผบู้ รรยายเป็นใคร? ผา่ นประสบการณ์อยา่ งไร ? 4) สรุปผลการศึกษาผวู้ ิจยั เป็นอยา่ งไร 5) พสิ ูจน์ไดอ้ ยา่ งไร ภำพที่ 3.5 เครื่องมือการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลวจิ ยั ตามวตั ถปุ ระสงคข์ อ้ ที่ 2 3.3 วิธกี ำรเกบ็ รวบรวมข้อมูล 1. รวบรวมเอกสารช้ันรอง (Secondary Source) ท้ังหมดโดยการสืบค้น รวบรวม วิเคราะห์ สังเคราะห์ เอกสารที่เกี่ยวขอ้ ง (Documentary Research) ไดแ้ ก่ ประวตั ิครูบาอาจารย์ งานเขียน งานหนงั สือ เกี่ยวขอ้ ง งานวิทยานิพนธ์ งานวิจยั เพื่อเป็นการตอบวตั ถุประสงค์ และขอ้ มูลบนออนไลน์ท้งั หมดโดยการ สารวจเป็ นเบ้ืองตน้ 2.วิธีเก็บรวบรวมขอ้ มูล (ตอบตามวตั ถุประสงค์ข้อ 1) ดังต่อไปน้ี สารวจข้อมูลออนไลน์จาก ช่องทาง YouTube ถอดคาธรรมบรรยายคาสอนเร่ือง “มหาสติปัฏฐาน 4” จากขอ้ มูลคาบรรยายจากน้าเสียง ของท่านครูบาอาจารยช์ ่องทาง YouTube จานวน 12 รูป/คน จดบนั ทึกจากการบรรยายไวเ้ ป็นลายมือก่อน แลว้ จึงนามาพิมพ์ นามาจดบนั ทึกเป็ นลายลกั ษณ์อกั ษร รวมท้งั พิมพพ์ ร้อมกบั การฟังเสียงและตรวจสอบ ภายหลงั แลว้ ดาเนินการฟังซ้าเพื่อทบทวนความถูกตอ้ งอีกคร้ัง ทบทวนส่ิงท่ีจะบนั ทึกแลว้ พิมพแ์ ลว้ นามา แยกแยะเฉพาะหลกั การ 3. วิธีเก็บรวบรวมขอ้ มูล (ตอบตามวตั ถุประสงค์ขอ้ 2) ดังต่อไปน้ี สารวจข้อมูลออนไลน์จาก ช่องทาง Youtube จานวน 27 คลิปขอ้ มูล Download คลิปขอ้ มูลท่ีสารวจได้ จดั ทาเป็ นตาราง และทาการ พิมพ์ Subtitle เป็ นภาษาองั กฤษ และฟังจาก Subtitle เป็ นภาษาไทย อาศยั เครื่องมือจาก Google ในการใช้

57 แปลความเบ้ืองตน้ และสอบถามจากการฟังดว้ ยตวั เองอีกคร้ังเป็นการบรรยาย และนาเน้ือหาสรุปเป็นตาราง นาเสนอประเดน็ สาคญั 3.4 กำรวิเครำะห์ข้อมูล ตอบวตั ถุประสงคข์ อ้ 1) เพ่ือสกดั หลกั คาสอนเร่ืองมหาสติปัฏฐาน 4 ตามแนวทางของครูบาอาจารย์ จาแนกตามช่วงเวลาของครูบาอาจารย์ แลว้ จดั เรียงลาดบั คน้ หาและนาเสนอขอ้ มูล ข้นั ตอนที่ 1 จาแนกการวิเคราะหอ์ อกตามวตั ถุประสงค์ ดงั ต่อไปน้ี การวิเคราะหข์ อ้ มูลตอบวตั ถปุ ระสงคข์ อ้ 2 เพอ่ื ศึกษาองคค์ วามรู้เร่ืองสติปัฏฐาน 4 จากอดีต ปัจจุบนั สู่ความเป็นอนาคตการบรรยายเป็นภาษาองั กฤษผา่ นช่องทางส่ือสังคมออนไลน์ สืบองคค์ วามรู้เร่ืองมหาสติ ปัฏฐาน 4 คาสาคญั ว่า “Mindfulness” สติ หรือ “Meditation” สมาธิ จากความเป็ นอดีต สู่ปัจจุบนั เพ่ือ นาไปสร้างนวตั กรรมหรือรูปแบบการฝึ กฝนเร่ืองมหาสติปัฏฐานเพื่ออนาคต คน้ หาความเป็น “หลกั สากล” เร่ืองมหาสติปัฏฐาน 4 เทียบเคียงความคิดเป็นของต่างประเทศ การศึกษาวิจยั เชิงคุณภาพ โดยใชว้ ิธีการเก็บ ข้อมูลเชิงคุณภาพจากคลิปขอ้ มูลออนไลน์บนช่องทาง Youtube เสนอขอ้ มูลใช้วิธีการวิเคราะห์เชิงการ พรรณนา (Descriptive Analysis) ข้นั ตอน 2 นามาสรุปเป็นขอ้ หมายความวา่ สกดั หลกั คาสอนสายครูบาอาจารยเ์ ป็นแกนหลกั ส่วน การศึกษาคาบรรยายท่ีเป็นภาษาองั กฤษเพอื่ หาความเป็นสากล จากการใชส้ ติ สมาธิ เป็นตวั เชื่อมโยง ความ เขา้ ใจในอีกรูปแบบ เทียบเคียง เพื่อหาโจทยแ์ ละสร้างบริบทความรู้ความเขา้ ใจ ต่อไป ข้นั ตอนที่ 3 สรุปผลการศึกษาจากเชื่อมโยงเน้ือหาหลกั การมหาสติปัฏฐาน นาสาระจากการเขา้ ใจไป เชื่อมโยงความทนั สมยั ทาความเขา้ ใจจากฐานราก เพ่ือนาไปสู่การสกดั หลกั อย่างเป็ นสากล เท่าที่สกดั หลกั ความเขา้ ใจของผศู้ ึกษาวิจยั ได้ โดยใชข้ อ้ มูลการฟังจานวนหลายขอ้ มูล จนกวา่ เขา้ ใจหลกั การ เรื่อง สติ เป็น การบรรยายเสียงภาคภาษาองั กฤษและอาศยั การแปลจากระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อเป็นความคิดทางตะวนั ออก สู่ตะวนั ออก อาศยั หลกั ธรรมเร่ืองมหาสติปัฏฐานท่ีเป็นสากล โดยการเทียบเคียงหลกั การนาไปสู่ความเป็น สากล โดยอาศยั แนวคิดทฤษฎี ในการอธิบายความ เพื่อนาไปสู่การสกดั หลกั ท่ีเป็นเน้ือหาแทจ้ ริง จากความ ยากไปสู่ความง่าย จากอดีตไปสู่ความเป็ นสากล โดยอาศยั องคค์ วามรู้ท้งั หลายที่ปรากฎในสังคมออนไลน์ เชื่อมโยงโลกเขา้ ถึงง่ายดว้ ยเทคโนโลยี เป็ นการสกดั หลกั คาสอนครูบาอาจารยใ์ นอดีตสู่การเป็ นหลกั การ สากลในอานาคต ไมม่ ีองคค์ วามรู้น่าภาคภมู ิใจเทา่ กบั การฝึกสติ การวิเคราะห์ขอ้ มูล การทาความเขา้ ใจเร่ืองมหาสติปัฏฐาน 4 ตามวตั ถุประสงคข์ อ้ 1 จากเสียงคา บรรยายท้งั สายครูบาอาจารยค์ วามยากเป็ นคาบาลีซ่ึงท้งั ภาษาเขียนและภาษาพูดทาความเขา้ ใจยากในการ วิเคราะห์ ส่วนวตั ถุประสงค์ขอ้ 2 เสียงคาบรรยายเป็ นภาษาองั กฤษทาความเขา้ ใจยากอีกระดบั หน่ึง ท้งั น้ี

58 เน่ืองจากนักวิจัยไม่ได้มีความเชี่ยวชาญท้งั สองด้าน ถือเป็ นข้อจากัดความถูกตอ้ งและความเชื่อถือของ งานวิจยั ดงั แสดงรูปภาพ 3.6

59 ภำพท่ี 3.6 กระบวนการวิเคราะหข์ อ้ มูลงานวิจยั สอดคลอ้ งกบั วตั ถปุ ระสงคง์ านวจิ ยั กระบวนการวเิ คราะห์ขอ้ มูลวิจยั โดยอาศยั ท้งั ระบบการพมิ พเ์ สียงผ่าน Google และการฟังเสียงแลว้ จดบนั ทึกดว้ ยตวั เอง การคน้ หาความหมายคาจากพจนานุกรมเพ่ือหาความหมายของคาที่ไดม้ าจากการฟัง การซ้าๆ ในการฟังขอ้ มูลประกอบการนาเสนอเป็ นงานบทความวิจยั ควบคู่กนั ไป เพื่อไดป้ รับปรุงคุณภาพ งานวจิ ยั ข้นั ตอนท่ี 4 นามาสรุปเป็นขอ้ หมายความวา่ สกดั หลกั คาสอนสายครูบาอาจารย์ เป็นแกนหลกั ส่วน การศึกษาคาบรรยายท่ีเป็นภาษาองั กฤษเพื่อหาความเป็นสากล จากการใช้ “สติ” เป็นตวั เช่ือมโยง ความเขา้ ใจ ในอีกรูปแบบ เทียบเคียง เพ่ือหาโจทยแ์ ละสร้างบริบทความรู้ความเขา้ ใจ ต่อไป ตลอดจนคาบรรยายของ ท่านที่ปรากฏอยู่ในส่ิงพิมพต์ ่างๆ รวมไปถึงที่ปรากฏในสื่อออนไลน์ ขอ้ จากดั การทางานวิจยั เนื่องจาก นักวิจยั ไม่ได้เป็ นผูม้ ีความเช่ียวชาญท้งั ภาษาบาลี และภาษาองั กฤษ ทาให้งานวิจัยตอ้ งใช้เวลา หรือใช้ เครื่องมือในการศึกษา ไดแ้ ก่ ข้นั ตอนที่ 5 นาเสนอผลงานวิจัยเป็ นบทความวิจัยระหว่างการดาเนินงานวิจัย เพื่อตรวจสอบ ความคิดศึกษา ทดสอบความเขา้ ใจผูว้ ิจยั ตลอดจนกระบวนการทางานวิจยั โดยการนาเสนองานประชุม วิชาการด้วยวาจาตามโอกาสเวลาเอ้ืออานวยตามช่วงระยะเวลาเขียนรายงานผลการวิจยั ฉบับสมบูรณ์ ตรวจสอบกรอบแนวคดิ งานวิจยั วางโครงสร้างเพอื่ นาเสนอเป็นบทความเร่ืองหลงั แลว้ เสร็จงานวิจยั ตอ่ ไป ประเด็นนาเสนอเป็นบทความวิจยั ไดแ้ ก่ การสกดั หลกั คาสอนเรื่องมหาสติปัฏฐาน 4 ตามแนวทาง ปฏิบตั ิของ 1) หลวงป่ ูมนั่ ภูริทตฺโต 2) พระธรรมโกศาจารย์ (พุทธทาสภิกข)ุ 3)พระครูภาวนานุศาสก์ (แป้น ธมฺมธโร) 4) พระธรรมธีรราชมหามุนี (โชดก ญาณฺ สิทธิ) 5) พระธรรมสิงหบุราจารย์ (จรัญ ฐิตธฺมโม) 6) ท่านสัตยา นารายนั โกเอน็ กา้ 7) พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) 8) พระราชพรหมยาน(หลวงพ่อฤาษีลิง ดา) 9) สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก (เจริญ สุวฑฺตโน) 10) หลวงพ่อ เทียน จิตฺตสุโภ 11) พระราชสงั วรญาณ(พธุ ฐานิโย) 12) สมเด็จพระพทุ ธโฆษาจารย์ (ประยทุ ธ์ ปยตุ ฺโต)

60 บทที่ 4 ผลกำรศึกษำ การนาเสนอผลการศึกษาจาแนกวตั ถปุ ระสงคข์ องการวิจยั ขอ้ 1) เพ่อื สกดั หลกั คาสอนเร่ืองมหาสติ ปัฏฐาน 4 ตามแนวทางของครูบาอาจารย์ ขอ้ 2) เพ่ือศึกษาความรู้เร่ืองสติปัฏฐาน 4 จากอดีต ปัจจุบนั สู่ ความเป็นอนาคต จาแนกผลการศึกษา ดงั ต่อไปน้ี ตอนท่ี 4.1 หลกั คาสอนเรื่องมหาสติปัฏฐาน 4 ตามแนวทางของครูบาอาจารย์ ตอนท่ี 4.2 หลกั ความเป็นสากลเร่ืองมหาสติปัฏฐาน 4 ตอนที่ 4.1 หลกั คำสอนเรื่องมหำสตปิ ัฏฐำน 4 ตำมแนวทำงของครูบำอำจำรย์ การศึกษาหลกั คาสอนเรื่องมหาสติปัฏฐาน 4 มาจากแหล่งขอ้ มูล YouTube ที่ไดเ้ ผยแผ่คาสอนผ่าน ธรรมบรรยายจากน้าเสียงครูบาอาจารย์ โดยผูศ้ ึกษาไดศ้ ึกษาจากงานวิจยั เร่ืองท่ีผ่านมาทาให้เห็นว่า ครูบา อาจารยท์ ่านมีแนวคาสอนเป็นที่น่าสนใจ และหลกั การปฏิบตั ิท่ีแมว้ า่ เวลาล่วงผา่ นไปยงั คงไดร้ ับการกล่าวถึง และสืบทอดคาสอนยงั ปฏิบตั ิอยู่เป็ นปัจจุบนั ไม่ว่าจากหนงั สือ หรืองานวิทยานิพนธ์หลายเรื่องศึกษาเป็ น ปัจจุบนั จึงไดน้ ามาศึกษาจานวน 12 รูป/คน เป็นการครอบคลุมต้งั แต่อดีตจนถึงปัจจุบนั รำยชื่อครูบำอำจำรย์ จำแนกตำมจำนวนคลปิ ข้อมูล วิธีกำรวธิ ีเครำะห์ข้อมูล 1.หลวงป่ ูมนั่ ภรู ิทตโฺ ต 2.พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) 3.พระธรรมโกศำจำรย์ (พทุ ธทำสภกิ ข)ุ จานวน 4 คลิปขอ้ มูล จานวน 2 คลิปขอ้ มลู จานวน 15 คลิปขอ้ มลู วิธีการ : ไม่มีคาบรรรยายน้าเสียง วิธีการ : ฟังน้ าเสี ยงการบรรยาย วิธีการ : ฟังเสี ยงจากน้ าเสี ยงธรรม ท่านอาจารยโ์ ดยตรง เป็ นเสียงอ่าน โดยตรง มีท้งั ภาพและเสียงประกอบ บรรยายโดยตรง มีการถอดข้อความ หนังสื อหาเอกสารเกี่ ยวกับคา มีเอกสารประกอบการศึกษา บนั ทึก เสี ยง เอกสารเผยแพร่ ในออนไลน์ บรรยาย และหาความสัมพันธ์กัน ไวเ้ ป็นจานวนมาก หากตอ้ งการศึกษา จานวนมาก หนังสือเอกสารคาสอนมี เพิ่มเติมขยายการศึกษาต่อ ศึกษา เพม่ิ เติม หาหนงั สืออ่านศึกษาเพ่มิ เติม จานวนมาก ความยากภาษาบาลี และ เอกสารการสืบทอดแนวทางปฏิบตั ิ ไดอ้ ีกจานวนมาก การใชภ้ าษาเป็นเฉพาะ 4.สมเดจ็ พระญำณสังวร สมเด็จ 5. พระรำชพรหมยำน (หลวงพ่อฤำษี 6.หลวงพ่อเทยี น จติ ฺตสุโภ พระสังฆรำช สกลมหำสังฆปริณำ ลิงดำ) จานวน 16 คลิปขอ้ มลู จานวน 10 คลิปขอ้ มูล ยก (เจริญ สุวฑฺตโน) วิธีการ : ฟังเสียงธรรมบรรยายน้าเสียง วิธีการ : ฟังเสียงธรรมบรรยายจาก จานวน 18 คลปิ ขอ้ มูล โดยตรง บรรยายเกี่ยวกบั เร่ืองมหาสติ น้าเสียงท่านอาจารยโ์ ดยตรง บางคลิป วิธี การ : ฟังเสี ยงธรรมบรรยาย ปัฏฐาน 4 โดยตรง และมีประกอบ เป็ นภาพวิดิโอเคลื่อนไหว ประกอบ น้าเสียงโดยตรง จานวนคลิปคาสอน หนังสือการถอดความบรรยายเร่ือง การศึกษาหนังสือที่เกี่ยวข้อง หาได้ จานวนมาก หาเอกสารประกอบ มหาสติปัฏฐาน 4 ประกอบ จานวนมากเพ่ือประกอบศึกษาเพิ่มเติม ศึกษาไดจ้ านวนนอ้ ย

61 7.พระครูภำวนำนุศำสก์ 8.พระธรรมธรี รำชมหำมนุ ี 9.พระรำชสังวรญำณ (แป้น ธมมฺ ธโร) (โชดก ญำณฺสิทธ)ิ (พุธ ฐำนโิ ย) จานวน 8 คลิปขอ้ มูล จานวน 10 คลิปขอ้ มูล จานวน 11 คลิปขอ้ มลู วิธีการ : ฟังเสียงธรรมบรรยายจาก วิธีการ : ฟังเสียงธรรมบรรยายจาก วิธีการ : ฟังเสียงธรรมบรรยายจาก น้ าเสียงท่านโดยตรง และเคยลง น้าเสียงท่าน ความยากอยู่การใช้คา น้าเสียงท่านโดยตรง มีการถอดขอ้ ความ พ้ืนท่ีเก็บขอ้ มูลวิจยั ปี 2561 และได้ บาลีแสดงธรรมมาก ยากแก่การจด เสี ยง เอกสารเผยแพร่ ในออนไลน์ สัมภาษณ์เจ้าอาวาสองค์ปัจจุบัน บนั ทึกเขา้ ใจ ศึกษาเพิ่มเติมประกอบ จานวนมาก ภาษาธรรมเป็ นปัจจุบัน ความตรงแนวทางปฏิบัติเร่ืองมหา หนงั สือจานวนมาก และผลงานวิจยั ท่ี ภาษาเป็ นปัจจุบันทาให้ง่ายต่อการทา สติปัฏฐาน 4 ประกอบเอกสารคู่มือ เกี่ยวขอ้ งประกอบการศึกษางาน งาน ความเขา้ ใจ แนวทางปฏิบตั ิเป็ นสาระกล่าวตรง เอกสาร วิชาการมีจานวนมาก มหาสติปัฏฐาน 10.ท่ำนสัตยำ นำรำยัน โกเอน็ ก้ำ 11.พระธรรมสิงหบรุ ำจำรย์ 12.สมเด็จพระพุทธโฆษำจำรย์ (ท่ำนโกเอน็ ก้ำ) (จรัญ ฐิตธฺมโม) (ประยุทธ์ ปยุตฺโต) จานวน 9 คลิปขอ้ มูล จานวน 9 คลปิ ขอ้ มูล จานวน 15 คลิปขอ้ มลู วิธีการ : ฟังเสียงธรรมบรรยายจาก วิธีการ : ฟังเสียงธรรมบรรยายจาก วิธีการ : ฟังเสียงธรรมบรรยายจาก หลกั สูตรเร่ืองมหาสติปัฏฐาน 4 เป็น น้าเสียงท่านโดยตรง บางส่วนเป็ น น้าเสียงท่านโดยตรง ภาษาธรรมร่วม ภาคภาษาไทย ลงพ้ืนที่การปฏิบตั ิ ภาพเคลื่อนไหว แสดงธรรม ด้วย สมัย เป็ นท้ังความสมดุลด้านวิชาการ ห ลั ก สู ต ร ม ห า ส ติ ปั ฏ ฐ า น 4 ความเป็นยคุ สมยั ในปัจจุบนั ผวู้ ิจยั เคย และทางการปฏิบตั ิ ครบถว้ นเหมาะสม ประกอบหนังสือเรี ยบเรี ยงธรรม ไปปฏิบตั ิธรรม จานวน 2 คร้ัง ๆ ละ 7 ยุคปัจจุบนั ท้งั ความรู้สูงดา้ นวิชาการ มี บรรยาย เกี่ยวกับมหาสติปัฏฐาน วนั ตามแนวทางหลวงพอ่ จรัญ ศึกษา หนังสือเอกสาร เพ่ิมเติมเพ่ือศึกษาเป็ น โดยตรง หนงั สือ เอกสารเพม่ิ เติม จานวนมาก สรุปขอ้ มูลเพื่อนามาวิเคราะห์ตอบตามวตั ถุประสงค์ ขอ้ 1 ประกอบดว้ ย 1) หลวงป่ ูมนั่ ภูริทตฺโต จานวน 4 คลิปขอ้ มูล 2) พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) จานวน 2 คลิปขอ้ มูล 3) พระธรรมโกศาจารย์ (พุทธทาสภิกขุ) จานวน 15 คลิปขอ้ มูล 4) สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณา ยก (เจริญ สุวฑฺตโน) จานวน 18 คลิปขอ้ มูล 5) พระราชพรหมยาน (หลวงพ่อฤาษีลิงดา) จานวน 16 คลิป ขอ้ มูล 6) หลวงพอ่ เทียน จิตฺตสุโภ จานวน 10 คลิปขอ้ มลู 7) พระครูภาวนานุศาสก์ (แป้น ธมฺมธโร) จานวน 8 คลิปขอ้ มูล 8.พระธรรมธีรราชมหามุนี (โชดก ญาณฺสิทธิ) จานวน 10 คลิปขอ้ มูล 9.พระราชสังวรญาณ (พุธ ฐานิโย) จานวน 11 คลิปขอ้ มูล 10.ท่านสัตยา นารายนั โกเอ็นกา้ (ท่านโกเอ็นกา้ ) จานวน 9 คลิป ขอ้ มูล 11) พระธรรมสิงหบุราจารย์ (จรัญ ฐิตธฺมโม) จานวน 9 คลิปขอ้ มูล 12) สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ประยทุ ธ์ ปยตุ ฺโต) จานวน 15 คลิปขอ้ มลู รวมท้งั หมดจำนวน 127 คลปิ ข้อมูล

62 [1] หลวงป่ ูมัน่ ภูริทตฺโต 4.1.1 ประวตั ิครูบำอำจำรย์ : หลวงป่ มู น่ั ภูริทตฺโต หลวงป่ มู ่ัน ภูริทตฺโต (ระหวา่ งวนั ท่ี 20 มกราคม พ.ศ. 2413 - 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2492 อายุ 79 ปี ) สรุปประวตั ิโดยยอ่ หลวงป่ ูมนั่ ภรู ิทตฺโต เกิดท่ีบา้ นคาบง ตาบลโขงเจียม อาเภอโขงเจียม จงั หวดั อบุ ลราชธานี พระอาจารยใ์ หญ่สายพระป่ า หลวงป่ ูมน่ั ภูริทตฺโต เป็นพระอาจารยใ์ หญ่ฝ่ ายวิปัสสนาธุระหรือสายวดั ป่ าใน ยุคปัจจุบนั ท่านไดร้ ับการเทิดทูนบูชา จากบรรดาศิษยานุศิษย์ และพุทธศาสนิกชนท่ีสนใจในการปฏิบตั ิ ธรรมวา่ เป็นพระอาจารยว์ ิปัสสนาช้นั เยย่ี มในยคุ สมยั ก่ึงพุทธกาล คอื ยคุ สมยั ปัจจุบนั จากจริยาวตั รขอ้ ปฏิบตั ิ ของท่าน รวมท้งั ของลูกศิษย์ ลูกหาท่ีไดร้ ับการส่ังสอนอบรมตามแนวทางของท่าน ลว้ นแต่มีความงดงาม และเคร่งครัดในพระธรรมวินยั อยา่ งเสมอตน้ เสมอปลาย และจากเน้ือธรรมที่หลวงป่ ไู ดแ้ สดงในโอกาสต่างๆ เป็ นธรรมข้นั สูง ถึงแก่นธรรม ถึงใจของผูไ้ ดฟ้ ังไดร้ ู้ตลอดมา ถา้ เราไดศ้ ึกษาติดตามขอ้ วตั รปฏิบตั ิ และคา สอนของทา่ นอยา่ งใคร่ครวญ จะไม่มีความเคลือบแคลงสงสัยใดๆ ในองคท์ ่านวา่ สมควรจะต้งั อยใู่ นภมู ิธรรม ข้นั ใด รวมท้งั ไม่สงสัยกบั คากล่าวที่ว่า “หลวงป่ ูมั่น ภูริทตฺโต เป็ นพระอรหันต์ในยุคกึ่งพุทธกำล” ท้งั การ ปฏิบตั ิ และคาสอนของท่านเป็นหลกั ฐานยนื ยนั ใหผ้ ปู้ ฏิบตั ิธรรมมน่ั ใจไดว้ ่า มรรค ผล นิพพาน จะไม่หมด สิ้นไปตราบเท่าที่ยงั มีผูป้ ฏิบตั ิตรงตามแนวคาสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า การออกธุดงค์ แสวงหาวิเวก พระอาจารย์ม่ัน ภูริทตฺโต61 มีชีวิตอยู่ในช่วงศตวรรษสุดท้ายก่อนก่ึงพุทธกาล เป็ นพระธุดงค์ กมั มฏั ฐำนในยุคที่เทคโนโลยีเกีย่ วกับกำรบันทึกยงั ไม่แพร่หลำยเช่นทุกวนั น้ี การเผยแผธ่ รรมในยคุ น้นั ใช้กำร สอนกันต่อหน้ำโดยตรง และกำรศึกษำสืบค้นกันต่อมำก็อำศัยคำเล่ำของศิษย์ที่เคยได้ฝึ กปฏิบตั ิเรียนรู้อยูกบั ท่ำนเป็ นหลัก เร่ืองเล่าขานถึงท่านบางส่วนเตม็ ไปดว้ ยเร่ืองอภินิหารเหนือจริง สาหรับโลกปัจจุบนั ที่ถือการ พิสูจน์ทางวทิ ยาศาสตร์เป็นขอ้ การันตีความจริง ท้งั เร่ืองการมีหูทิพย์ ตาทิพย์ การหยงั่ รู้จิตผอู้ ื่น การส่งกระแส จิตออกไปสื่อสารคนอ่ืน ฯลฯ ซ่ึงท่านเองก็เน้นว่าสิ่งเหล่าน้ันไม่ใช่ทางพน้ ทุกข์ และท้งั หมดน้ันอาจไม่ สลกั สาคญั และไมน่ ่าสนใจเทา่ กบั การดาเนินในเพศบรรพชิตของท่าน ซ่ึงเคร่งครัดดว้ ยวตั รตามปฏิปทาของ พระธุดงคกัมมฏั ฐาน ความเพียรในการบาเพ็ญสมณธรรมอย่างอุกฤษ์จนบรรลุธรรมช้นั สูงสุด กับความ ปราดเปร่ืองแตกฉานทางธรรมและอุบายวิธีอนั หลกั แหลมแยกคายในการส่ังสอนธรรม รวมท้งั แบบอย่าง แห่งการฝึ กปฏิบตั ิอนั เฉียบขาดจริงจงั ของท่าน เป็ นผลให้เกิดพระภิกษุสายวิปัสสนากมั มฏั ฐานผูป้ ฏิบัติดี ปฏิบตั ิชอบสืบตอ่ มาในแผน่ ดินจนถึงทกุ วนั น้ี 4.1.2 ธรรมบรรยำยคำสอน : หลวงป่ มู นั่ ภูริทตั โต 61 วีระศกั ด์ิ จนั ทร์ส่งแสง. 2562. พระอำจำรย์ม่ัน ภูริทตั โต อริยสงฆ์แห่งยคุ สมัย. พิมพค์ ร้ังที่ 4 บริษทั วริ ิยะธุรกิจ จากดั (สานกั พมิ พส์ ารคดี) . นนทบรุ ี.

63 ตารางท่ี 4.1 ขอ้ มูลธรรมบรรยาเก่ียวกบั เรื่องมหาสติปัฏฐาน 4 ตามแนวทางปฏิบตั ิหลวงป่ ูมน่ั ภรู ิทตั โต ผา่ นช่องทาง YouTube จาแนกตามรหสั รูปภาพ และรายละเอียดแหลง่ ที่มาขอ้ มูล [รหสั M1-M4] รหสั รูปภาพ แหลง่ ขอ้ มลู M1 https://www.youtube.com/watch?v=aE9y-C3pgLY วธิ ีทำสมำธิแบบหลวงป่ ูม่นั เล่ำโดยหลวงตำมหำบัว ความยาว : 1 ชว่ั โมง 32 นาที วนั ที่เผยแพร่ : 29 พ.ค. 2014 จานวนการดู : 272,307 คร้ัง วนั ที่คน้ หา : 5 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2564 M2 https://www.youtube.com/watch?v=Eh7jYEDlapI ประสบกำรณ์โลกทพิ ย์ในกำรออกธุดงค์ ความยาว : 30 นาที วนั ท่ีเผยแพร่ : วนั ท่ี 6 ส.ค. 2020 จานวนการดู : 100,040 คร้ัง วนั ท่ีคน้ หา : 5 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2564 M3 https://www.youtube.com/watch?v=PJOk66u-qBo มตุ โตทยั (ฉบับรวม) ความยาว : 47 นาที วนั ท่ีเผยแพร่ : วนั ที่ 2 ก.พ. 2012 จานวนการดู : 712,677 คร้ัง วนั ที่คน้ หา : 5 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2564 M4 https://www.youtube.com/watch?v=zTzOXuupAz0 แนะนำให้ฟังเป็ นอย่ำงยิ่ง หลวงป่ มู ั่นสอนปฏบิ ัติ กรรมฐำนแบบเร่ิมต้นจนถงึ ละเอยี ด ความยาว : 1 ชวั่ โมง 4 นาที วนั ที่เผยแพร่ : 12 ส.ค. 2019 จานวนการดู : 269,601 คร้ัง วนั ท่ีคน้ หา : 17 มีนาคม พ.ศ.2564 จากตารางท่ี 4.1 แสดงขอ้ มูลธรรมบรรยายเก่ียวกบั เร่ืองมหาสติปัฏฐาน 4 ตามแนวทางปฏิบตั ิหลวง ป่ ูมน่ั ภูริทตั โต ผ่านช่องทาง YouTube จาแนกตามรหัส รูปภาพ และรายละเอียดแหล่งที่มาขอ้ มูล จานวน 4 คลิป ไดแ้ ก่ ธรรมบรรยายเรื่อง “วิธีทาสมาธิแบบหลวงป่ ูมนั่ เล่าโดยหลวงตามหาบวั ” “ประสบการณ์โลก

64 ทิพยใ์ นการออกธุดงค”์ “มุตโตทยั (ฉบบั รวม)” “แนะนาใหฟ้ ังเป็นอย่างยงิ่ หลวงป่ ูมน่ั สอนปฏิบตั ิกรรมฐาน แบบเริ่มตน้ จนถึงละเอียด” ผลการศึกษาพบวา่ ตารางที่ 4.1.1 การสกดั หลกั คาสอนจากธรรมบรรยายเร่ือง “วิธที ำสมำธิแบบหลวงป่ มู ่นั เล่ำโดยหลวงตำมหำบัว” ตามแนวทางปฏิบตั ิหลวงป่ มู น่ั ภรู ิทตั โต จาแนกตามแนวคิด หลกั การ วิธีการ และผล [รหสั N1] สกดั หลกั ประเด็นคำสอน แนวคดิ N1-1การเดินจงกรม นงั่ สมาธิภาวนา คือ กำรกลั่นกรองหำส่ิงที่เป็ นสำรคุณในตัวเรำ เป็นงาน การเดินจงกรม นง่ั สาคญั มีผลเกินคาดยง่ิ กวา่ งานอื่นใด จึงไม่ควรยอมให้กิเลสตณั หาอวิชชามาหลอกเล่นให้ สมาธิภาวนา คอื เห็นเป็ นล่อลวงล่มจมป่ นป้ี ไม่มีชิ้นดี ควำมจริงคือตัวกิเลสเสียเองน้ันแล เป็ นผูท้ าคน การกลน่ั กรอง และสัตวใ์ หฉ้ ิบหายป่ นป้ี เร่ือยมา ถา้ หลงกลอุบายมนั จนไม่สานึกตวั บา้ ง 2กำรกล่ันกรองจิต การกลน่ั กรองจิต ด้วยสมำธิภำวนำ คอื การกลน่ั กรองตวั เราออกเป็นสดั เป็นส่วน เพ่อื ทราบวา่ อนั ไหนจริงอนั ดว้ ยสมาธิภาวนา คอื ไปปลอม อนั ไหนจะพาให้เกิดทุกข์ อนั ไหนจะพาให้เกิดสุข อนั ไหนจะพาไปนรก อนั ไหน การกลน่ั กรองตวั เรา จะพาไปสวรรคแ์ ละอนั ไหนจะพาไปนิพพานสิ้นทุกขท์ ้งั มวลนน่ั เอง 3กำรเดินจงกรมซ่ึงเป็ น ออกเป็นสดั เป็นส่วน ทำงธรรมก็มีแบบฉบับไปทำงธรรมเช่นกัน 4หัดคิดหัดอ่ำนตัวเองมำกๆ ผูน้ ้ันจะทราบ เพอ่ื ทราบว่าอนั ไหน หนทางหลบหลีกปลีกทุกข์ ไม่เหมากนั ไปตลอดกาล ควำมเห็นภัยในทุกข์ไม่เหมากันไป จริงอนั ไปปลอม ตลอดกาลดงั ที่เคยเป็นมา ความเห็นภยั ในทุกขท์ ี่มีอยกู่ บั ตวั ก็นบั วนั จะเห็นไปโดยสม่าเสมอ มีหนทางหลบหลีกภยั ไปเร่ือยๆ พน้ ไปไดโ้ ดยลาดบั การเห็นทุกขก์ เ็ ห็นอยกู่ บั ตวั ไปทกุ ระยะ การเดินจงกรมซ่ึง ท่ีทุกขเ์ กิดข้ึน แมก้ ารพ้นทุกข์ก็ทรำบว่ำพ้นอยู่กับตัวด้วยกำลังสมำธิสติปัญญำ พูดถึงทุกข์ เป็ นทางธรรมก็มี ความเป็ นความตายและภพชาติที่จะเผชิญกันมากน้อยเพียงไรก็ไม่วิตกกังวล เพราะได้ แบบฉบบั ไปทาง ธรรม ประมวลมำรู้เห็นในขันธ์เฉพำะหน้ำท่ีรวมรับรู้อยู่กับดวงใจเดียวที่กำลังฝึ กซ้อมตัวอยู่ ขณะน้ีแลว้ ยงั เป็นอยกู่ ็เยน็ ใจเพราะคุณธรรมอยกู่ บั ตวั แมต้ ายไป มีสุคโตเป็นที่อย่เู สวย คือ ใครหดั คดิ หดั อ่าน ผลกำรทำสมำธิเดนิ จงกรมภำวนำ สามารถยงั ผบู้ าเพญ็ ใหเ้ กิดความร่ืนเริงอาจหาญไดผ้ ิดคาด ตวั เองมากๆหนทาง หลบหลกี ปลกี ทกุ ข์ ไดป้ ระมวลมารู้เห็น ในขนั ธ์เฉพาะหนา้ ท่ี รวมรับรู้อยกู่ บั ดวงใจเดียว ผิดหมาย จึงเป็นกิจท่ีควรทาเพื่อตวั เราเองไม่ควรประมาทซ่ึงอาจเป็นภยั อยา่ งคาดไมถ่ ึง หลกั กำร 5กำรพจิ ำรณำควำมเพยี รทา่ ตา่ ง ๆ น้ี เคยพจิ ำรณำมำนำนและทราบมานานแลว้ จึงกลา้ นามา การพจิ ารณาความ ส่ังสอนด้วยควำมแน่ใจ เม่ือเห็นความฝ่ าฝื นจึงทาให้อดสลดสังเวชใจไม่ไดว้ ่า ต่อไปจะเห็น เพียรทา่ ต่าง ๆ ของปลอมเต็มวัดเต็มวำเต็มศำสนำและเต็มพระเณรชีพุทธบริษทั เพราะความชอบใจความ นามาส่งั สอนดว้ ย สะดวกใจพาให้เป็นไป มิใช่ความไตร่ตรองดูเหตุดูผลดว้ ยดีพาใหเ้ ป็นไป ศาสนาน้นั จริงไม่ ความแน่ใจ มีที่ตอ้ งติ แต่ศำสนำจะถูกต้องติเพรำะผู้ปฏิบัติดึงศำสนำมำเป็ นเคร่ืองมือของกิเลสที่มีเต็ม หัวใจ อนั น้ีกลวั ตรงน้ีเอง 6ตอนเร่ิมฝึ กหัดควำมเพียร ตอนกิเลสโมโหพยายามบีบบงั คับ เริ่มฝึกหดั ความ หลายดา้ นหลายทาง พยายามทาให้ข้ีเกียจบา้ ง ทาให้เจ็บท่ีนัน่ ปวดที่นี่บา้ ง ทาให้ง่วงเหงา เพียร จิตกระวน หาวนอนบา้ ง ทาหาเรื่องว่าไม่มีเวลาภาวนาบา้ ง จิตกระวนกระวำยน่ังภำวนำไม่ได้บา้ ง บุญ กระวายนงั่ ภาวนา น้อยวาสนาน้อยทาไม่ไดม้ ากนงั่ ไม่ไดน้ านบา้ ง ทาให้คิดวา่ มนั แต่น่ังหลับตำมภำวนำจะไม่ ไมไ่ ด้ แย่ไปละหรือ อะไรๆ ก็ไม่ทนั เขา รายไดจ้ ะไม่พอกบั รายจ่ายบา้ ง ราวกบั วา่ ก่อนแต่ยงั ไม่ได้ ขอให้มสี ติเป็นพ่ี เล้ยี งรักษา สติเป็น

65 ผนู้ าทาหนา้ ท่ีแฝง ฝึ กหดั ภาวนาเคยมีเงินเป็ นลา้ น ๆ พอจะเร่ิมภำวนำเข้ำบ้ำงตัว “เริ่มจะ” เอำไปกินเสียหมด ไปกบั จิต ความเพียรดว้ ยท่า ย่ิงถ้ำได้ภำวนำเข้ำจริง ๆ ตัวกิเลสจะไม่ท้องใหญ่ปำกกว้ำงยิ่งกว่ำยักษ์ใหญ่เอำไปกินหมดละ ต่างๆ โดยเร่ิมต้งั หรือ พอถูกกิเลสเท่าน้ีเขา้ เกิดคันกำยเจ็บปวดระบมไปท้ังตัว สุดทา้ ยยอมให้มนั พาเถลไถล สติต่อความเพียร ไปทางท่ีเขา้ ใจว่าไม่มียกั ษม์ ีมาร แต่เวลากลบั กระเป๋ ามีเท่าไรเรียบวุธ ไม่ทราบอะไรมาเอา สังเกตกิเลสตวั พา ไป 7เริ่มแรกแต่การอบรม ขอให้มีสติเป็ นพเ่ี ลีย้ งรักษำเถิด ความรู้สึกตนและรู้สึกผิดถูกชว่ั ดี ใหเ้ ผลอ ความต้งั ที่เกิดกบั ตนและผูอ้ ่ืนน้ันอย่างไรต้องทราบไดต้ ามลาดบั ที่สติอยู่กบั ตวั ไม่ยอมพล้งั เผลอ สติกบั เผลอสติรบ ปล่อยให้กิเลสฉุดลากและลว้ งเอาของดีไปกินเสีย ย่อมมีหวงั แน่นอนโดยมาปฏิบัติธรรม กนั ให้ผูป้ ฏิบตั ิดู กลำยเป็ นนกั ตำหนิธรรม วา่ ไม่ใหผ้ ลเทา่ ที่ควรหรือไม่ให้ผลแก่ตนในเวลาบาเพญ็ น้นั เพราะ เดินจงกรมก็สกั แต่ กิเลสตวั พาให้เผลอน้นั แลแอบมาทาหน้าท่ีก่อนสติซึ่งเป็ นผู้นำ และแอบทำหน้ำท่ีแฝงไปกับ กิริยาว่าเดิน ถา้ นง่ั จิต ท้งั เวลาประกอบความเพียรและเวลาธรรมดา จึงทาให้ผิดหวงั ไม่ไดด้ งั ใจหมาย แล้ว สมาธิอยกู่ ็สักแต่ แทนที่จะตาหนิตวั ผเู้ สียท่าใหก้ ิเลส แต่กลบั ตาหนิธรรมวา่ ไร้ผลไปเสีย จึงมีแต่เร่ืองขาดทุน กิริยาว่านงั่ ถา้ เดิน โดยถา่ ยเดียว ในขอ้ น้ีเป็นเพราะผปู้ ฏิบตั ิไม่สนใจสังเกตกเิ ลสตัวพำให้เผลอน้นั เป็ นภัยต่อตน จงกรมกส็ ักแต่ และควำมเพยี ร เจา้ ตวั น้ีจึงไดโ้ อกาสออกหนา้ ออกตาอยกู่ บั นกั ปฏิบตั ิ โดยผนู้ ้นั ไมร่ ู้สึกวา่ ตน กิริยาว่าเดิน ไดถ้ ูกมนั ลากจูงอย่ตู ลอดเวลา 8ถา้ เป็นนกั สังเกตอยบู่ า้ งทราบไดใ้ นช่วงระยะเวลาไม่ถึงนาที สติท่ีเป็นองคค์ วาม คือ ขณะเร่ิมประกอบควำมเพียรด้วยท่ำต่ำงๆ โดยเริ่มต้ังสติต่อควำมเพียร เป็ นขณะที่จะ เพียรอนั จะยงั ทราบไดว้ ่าควำมต้ังสติกับควำมเผลอสติจะรบกันให้ผู้ปฏิบัติดู และไม่นานเลยความเผลอ ผลไดเ้ กิด สติอนั เป็ นฝ่ ายกิเลสท่ีคอยจดจอ้ งมองทีอยู่จะเป็ นฝ่ ายชนะ และฉุดลากจิตหายเงียบไปเลย จากนาทีน้นั ก็มีแต่ร่ำงของนักปฏิบัติผู้ไม่มีสติทำควำมเพียรอยู่เปล่ำ ๆ 9ถา้ เดินจงกรมก็สัก วิธีกำร แต่กิริยาว่าเดิน ถ้ำนั่งสมำธิอยู่ก็สักแต่กิริยำว่ำน่ัง ถา้ เดินจงกรมก็สักแต่กิริยาว่าเดิน ถา้ น่งั สมาธิอยกู่ ส็ ักแตก่ ิริยาวา่ นงั่ ถา้ ยนื เป็นท่าราพงึ ธรรมกส็ ักแต่กิริยาวา่ ยืนอย่เู ท่าน้นั เหมือนหุ่น การเดินจงกรมเดิน หรือตุ๊กตำเราดี ๆ น้ีเอง หาเป็นความเพียรตามองคข์ องผบู้ าเพญ็ อย่างแทจ้ ริงไม่ 10เพราะสติ ไปตามแนว ท่ีเป็ นองค์ควำมเพียรอันจะยังผลน้ัน ๆ ไดเ้ กิด ไดถ้ ูกกิเลสตวั เผอเรอเอาไปกินเสียส้ินแล้ว กาหนดเอาเอง เหลือแตร่ ่างซ่ึงเป็นเพยี งกิริยาแห่งความเพยี รอยเู่ ท่าน้นั พอสมควร 11การเดินจงกรมเดินไปตามแนวท้งั สามท่ีกาหนดไวใ้ นแนวใดแนวหน่ึงความส้ันยาวของ การมาอยกู่ บั ครูบา การเดินจงกรม แต่ละสายน้ัน ท่านว่าตำมแต่ควรสำหรับรำยน้ัน ไม่ตำยตัว กำหนดเอำเอง อาจารย์ เห็น พอสมควร แต่อย่างส้ันท่านว่าไม่ควรส้ันกวา่ 10 กา้ ว สาหรับเวลาอยใู่ นที่จาเป็นหาทางเดิน ความสาคญั ไม่ได้ ทางเดินจงกรมขนาดธรรมดายาวราว 20 กา้ ว ขนาดยาวราว 25 กา้ ว ถึง 30 กา้ ว เป็ น ตกั เตือนสั่งสอน ความเหมาะสมทวั่ ๆ ไป 12กำรมำอยู่กับครูบำอำจำรย์ที่เราเคารพนบั ถือ เห็นความสาคญั ใน ความจริงธรรมที่ การตกั เตือนสั่งสอนอยู่แลว้ ก็เท่ากบั จะเริ่มสร้างสิ่งทาลายตนข้ึนในเวลาเดียวกนั นี่แลเป็ น นามาส่งั สอนได้ ส่ิงที่ไมท่ าใหส้ นิทตายใจกบั หมคู่ ณะที่มาอาศยั 13ควำมจริงธรรมท่ีนำมำสั่งสอนได้พจิ ำรณำ พจิ ารณากลนั่ กรอง กล่ันกรองแล้วเป็นที่แน่ใจ มิไดส้ อนดว้ ยความพรวดพราด หลุดปากก็พูดออกมาทานองน้นั แลว้ แต่สอนดว้ ยความพิจารณาแลว้ ท้งั สิ้น ท้งั ส่วนหยาบส่วนละเอียด 14การเดินจงกรมครองผา้ ก็ ไดไ้ ม่ครองผา้ ก็ได้ ตามแต่สถำนท่ีควรปฏิบัติอย่ำงไรเหมาะ ท้งั ทิศทางของสายทางสาหรับ

66 การเดินจงกรมสอน เดินจงกรมและวิธีเดินจงกรม ท้งั การครองผา้ หรือไม่ครองในเวลำเดินจงกรมท้ังขณะยืน ให้เดินไปตามตะวนั รำพึงที่หัวจงกรม เวลาจะทาความเพียรในท่าเดินจงกรม ท่านอาจารยม์ น่ั กาหนดดูตามอริย หรือเยอ้ื งตะวนั ประเพณีทราบโดยละเอียดและไดป้ ฏิบตั ิตามที่กาหนดทราบแลว้ เรื่อยมา คอื กำรเดนิ จงกรม วธิ ีเดินจงกรม ท่ำนสอนให้เดินไปตำมตะวันหรือเยื้องตะวัน ไปทางทิศเหนือหรือทิศใต้ ท่านว่าการเดิน ภาวนา เดิน ตามตะวนั เป็นที่หน่ึง เย้อื งตะวนั ท้งั สอนสายเป็นอนั ดบั รองมา ส่วนการเดินตดั ตะวนั หรือไม่ กลบั ไปกลบั มาไม่ ตามทิศเหนือทิศใตไ้ ม่เห็นทา่ นเดิน นอกจากไมเ่ ห็นทา่ นเคยเดินแลว้ ยงั ไม่ยนิ ทา่ นวา่ ไม่ควร ชา้ ไม่เร็วพองามตา เดินดว้ ย แต่จะเป็ นเหตุไรน้ันลืมคาอธิบายท่านเสียสิ้น 15วิธีเดินจงกรมภำวนำ กำรเดิน เปล่ียนวิธีจากนงั่ จงกรมกลับไปกลับมำไม่ช้ำไม่เร็วนัก พองำมตำ งำนมรรยำท ตามเยี่ยงอย่างประเพณีของ สมาธิภาวนา พระผูท้ าความเพียร ท่าเดินในคร้ังพุทธกาล เรียกว่า เดินจงกรมภำวนำ เปลี่ยนวิธีจำกนั่ง เปล่ยี นจากเดินมา สมำธิภำวนำเป็ นเดินจงกรมภำวนำ เปล่ียนจากเดินมายนื เรียกวา่ ยนื ภาวนา เปลี่ยนจำกยืน ยนื เรียกวา่ ยนื มำเป็ นท่ำนอน เรียกว่า สีหไสยาสน์ภาวนา เพราะฝังใจว่าจะภาวนาดว้ ยอิริยาบถนอนหรือ ภาวนา เปลีย่ นจาก สีหไสยาสน์ การทาความเพียรในท่าใดก็ตาม แต่ควำมหมำยม่ันป้ันมือก็เพื่อชำระกิเลสตัว ยืนมาเป็ นท่านอน เดียวกันดว้ ยเคร่ืองมือชนิดเดียวกัน มิได้เปลี่ยนเคร่ืองมือ คือ ธรรมที่เคยใช้ประจำหน้ำที่ เครื่องมือ คือ และนิสัยเดิม ก่อนเดินจงกรมพีงกาหนดทางที่ตนจะพีงเดินส้ันหรือยาวเพียงไรก่อนวา่ เรา ธรรมที่เคยใช้ จะเดินจากที่นี่ไปที่นัน่ หรือถึงท่ีโน้น หรือตกแต่งทางจงกรมไวก้ ่อนเดินอย่าเรียบร้อย ส้ัน ประจาหนา้ ท่ีและ หรือยาวตามต้องการ 16วิธีเดินจงกรม ผูจ้ ะเดินจงกรมกรุณาไปยืนท่ีต้นทางจงกรมท่ีตน นิสัยเดิม กาหนดหรือตกแต่งไวแ้ ลว้ น้นั พึงยกมือท้ังสองขึน้ ประนมไว้เหนือระหว่ำงคิว้ ระลึกถึงคุณ พระรัตนตรัย คือ พระพุทธเจ้ำ พระธรรม และพระสงฆ์ ท่ีตนถือเป็ นสรณะคือท่ีพ่ึงที่ยึด วธิ ีเดินจงกรมไป ยืนที่ตน้ ทางจงกรม เหนีย่ วของใจ และระลึกถึงคณุ บดิ ำมำรดำอปุ ัชฌำย์อำจำรย์ ตลอดท่ำนผู้เคยมพี ระคุณแก่ตน ที่ตนกาหนด ยก จบแลว้ ราพึงถึงความมุ่งหมายแห่งควำมเพียรที่กำลังจะทำด้วยควำมต้ังใจเพ่ือผล น้นั ๆ มือท้งั สองข้นึ เสร็จแล้วปล่อยมือลงเอำมือขำวทับมือซ้ำยทำบกันไวใ้ ตส้ ะดือตามแบบพุทธราพึงเจริญ ประนมไวเ้ หนือ พรหมวิหาร 4 จบแลว้ ทอดตาลงเบ้ืองต่า ท่าสารวม ต้ังสติกำหนดจิตและธรรมท่ีเคยนำมำ ระหว่างควิ้ ระลกึ บริกรรมกำกับใจหรือพิจำรณำธรรมท้ังหลำย ตามแบบที่เคยภาวนาในท่าอ่ืนๆ เสร็จแล้ว ถึงคณุ พระ รัตนตรัย คอื ออกเดินจงกรมจำกต้นทำงถึงปลำยทำงเดินจงกรมท่ีกำหนดไว้ เดินกลับไปกลับมำในท่ำ พระพทุ ธเจา้ พระ ธรรม และ สำรวม มีสติอยู่กับบทธรรมหรือสิ่งที่พจิ ำรณำโดยสม่ำเสมอ ไม่ส่งจิตไปอ่ืนจำกงำนท่ีกำลัง พระสงฆ์ ที่ตนถอื ทำอยู่ในเวลำน้นั 17การเดินไมพ่ งี เดินไกวแขน ไม่พึงเดินเอามือขดั หลงั ไม่พึงเดินเอามือกอด เป็ นสรณะคือท่ีพ่งึ อด ไม่พึงเดินมองโน่นมองนี่เป็ นท่าไม่สารวม กำรยืนกำหนดราพึงหรือพิจารณาธรรม ยนื ยึดเหนี่ยวใจ ระลกึ ไดโ้ ดยไม่กาหนดว่าเป็ นหวั จงกรมหรือยา่ นกลางจงกรม ยืนนานหรือไม่ตามแต่กรณี ท่ีควร ถึงคุณบิดามารดา หยุดหรือกา้ วต่อไป เพราะการราพึงธรรมมีความลึกต้ืนหยาบละเอียดต่างกนั ควรอนุโลม อปุ ัชฌายอ์ าจารย์ ผู้ ตามความจาเป็ นจนกว่าจะเขา้ ใจแจ่มแจง้ เลว้ เดินกา้ วต่อไป บางคร้ังตอ้ งยืนพิจำรณำร่วม มพี ระคุณ ปลอ่ ย ชั่วโมงก็มีถึงเขา้ ใจแจ่มแจง้ แล้วก้าวเดินต่อไป กำรเดินกำหนดคำบริกรรมหรือพิจำรณำ มือลงเอามือขาว ธรรมไม่นับก้ำวเดิน นอกจากจะถือเอากา้ วเดินน้ันเป็ นอารมณ์แห่งความเพียรก็นับกา้ วได้ ทบั มือซา้ ยทาบกนั การทาความเพียรในท่าใด สติเป็ นสิ่งสาคญั ประจาความเพียรท่าน้นั ๆ การขาดสติไปจาก ต้งั สติกาหนดจิต และธรรมนามา บริกรรมกากบั ใจ หรือพิจารณาธรรม ท้งั หลายออกเดิน จงกรมจากตน้ ทาง ถึงปลายทางเดิน จงกรมท่ีกาหนดไว้

67 เดินกลบั ไปกลบั มา งานท่ีทาเรียกวา่ ขำดควำมเพยี รในระยะน้นั ๆ การขาดสติไปจากงานที่ทาเรียกวา่ ขาดความ ในทา่ สารวม มีสติ เพียรในระยะน้นั ๆ ผบู้ าเพญ็ พงึ สนใจสติให้มำกเท่ำกับสนใจต่อธรรมท่ีนำมำบริกรรม การ อยกู่ บั บทธรรม ขาดสติ แมค้ าบริกรรมภาวนาจะยงั ติดต่อกนั ไปเพราะความเคยชินของใจก็ตามแต่ผลคือ การเดินกาหนดคา ความสงบของจิตจะไมป่ รากฏตามความมุ่งหมาย 18กำรเดนิ จงกรมเดนิ เป็ นเวลำนำนหรือไม่ บริกรรมหรือ เพยี งไร ตำมแต่ละกำหนดเอง กำรทำควำมเพยี รในท่าเดินก็ดี ทา่ ยนื ก็ดี ท่านอนก็ดี ท่านง่ั ก็ดี พจิ ารณาธรรมพึง อาจเหมาะกบั นิสัยบางท่านที่ต่างกนั การทาความเพียรในท่าต่างๆ น้นั เพื่อเปลี่ยนอิริยำบถ สนใจสติใหม้ าก ไปในตวั ดว้ ย ไม่เพียงมุ่งกาจดั กิเลสโดยถา่ ยเดียว เพราะธำตุขันธ์เป็ นเคร่ืองมือทำประโยชน์ เทา่ กบั สนใจต่อ จำเป็ นต้องมีกำรรักษำ เช่น การเปลี่ยนอิริยาบถท่าต่างๆ เป็ นความเหมาะสมสาหรับธำตุ ธรรมท่ีนามา ขนั ธ์ที่ใช้งำนอยู่เป็ นประจำ ถา้ ไมม่ ีการรักษาดว้ ยวธิ ีต่าง ๆ ธาตุขนั ธ์ตอ้ งกลบั มาเป็นขา้ ศึกแก่ บริกรรม เจา้ ของจนได้ คือ ตอ้ งพิกลพิการไปต่าง ๆ สุดทา้ ยก็ทางานไม่ถึงจุดที่มุ่งหมาย 19พระธุดงค์ เวลานานเพียงไร ท่ำนถือกำรเดินจงกรมเป็ นงำนประจำชีวิตจิตใจจริง ๆ โดยมากท่านเดินคร้ังละหน่ึงชวั่ โมง กาหนดเอง การทา ข้ึนไป ตอนเขา้ หลงั จงั หนั แลว้ ทา่ นเร่ิมเขา้ ทางจงกรม กวา่ จะออกก็ 11 นาฬิกา หรือเที่ยงแลว้ ความเพยี ร เปลยี่ น พกั เลก็ นอ้ ย บ่ายหน่ึงโมงหรือสองโมงก็เขา้ ทางและเดินจงกรม ต่อไปอีกจนถึงเวลาปัดกวาด อริ ิยาบถ เพราะธาตุ ท่ีพกั อาบน้า เสร็จแลว้ เขา้ เดินจงกรมอีกจนถึงหน่ึงถึงสองทุม ถา้ ไม่ใช้หน้าหนาวก็เดิน ขนั ธเ์ ป็นเคร่ืองมอื ต่อไปจนถึงสี่ถึงห้าทุมถึงจะเขา้ ที่พกั ทาสมาธิภาวนาต่อไป อยา่ งไรก็ตามกำรเดินจงกรมกบั ทาประโยชน์ จาเป็นตอ้ งมกี าร นั่งสมำธิท่านตอ้ งเดินนานน่ังนานเสมอเป็ นประจาไม่ว่าจะพกั อยู่ในท่ีเช่นไรและฤดูใด รกั ษา ความเพียรทา่ นเสมอตวั ไม่ยอมลดหยอ่ นผอ่ นตวั ให้กิเลสเพ่นพ่ำนก่อกวนทำควำมรำคำญแก่ พระธุดงคถ์ ือการ ใจท่านนกั ท่านพยายามห้าห่ันอยูท่ ุกอิริยาบถ จึงพอเห็นผลจากความเพียรบา้ งต่อไปเห็นผล เดินจงกรมเป็ นงาน ไปโดยลาดบั 20คราวน้ีไม่บ่นเพราะไม่รู้จกั ตวั ผมู้ าขโมย ไม่ทราบวา่ เป็นใครเพราะกระเป๋ าก็ ประจาชีวิตจิตใจ ติดอยกู่ บั ตวั ไม่เผลอไผลวางทิ้งไวท้ ่ีไหนพอขโมยมาลกั ไปได้ เป็นอนั วา่ เรียบตามเคยโดยไม่ ขโมยสมาธิจิตจน รู้จักต้นสายปลายเหตุ วนั หลังไปใหม่ก็เรียบร้อยกลบั มาอีก แต่จับตัวขโมยไม่ได้ น่ีแล ไมม่ สี มาธิ ทางเดินของกิเลสมนั ชอบเดินแตม้ สูง ๆ อย่างน้ีแล จึงไม่มีใตรจบั ตวั มนั ไดง้ ่าย ๆ แม้พระ วปิ ัสสนาติดตวั ธุดงค์ไม่มีสมบัติ อะไรก็ยังถูกมันขโมยได้ คือ ขโมยสมำธิจิตจนไม่มีสมำธิวิปัสสนำติดตัว กาหนดสติกบั คา น่นั แล ท่านเคยถกู มาแลว้ จึงไดร้ ีบเตือนพน่ี ้องชาวพุทธท้งั หลายโปรดพากนั ระวงั ตวั เวลาเริ่ม บริกรรมให้ เขา้ วดั เขา้ วาหาศีลธรรมหาสมาธิภาวนา กลวั ว่ามนั จะมาขโมยหรือแย่งเอาตวั ไปต่อหน้าต่อ กลมกลนื เป็นอนั ตาแล้วจบั ตวั ไม่ไดไ้ ล่ไม่มีวันจนดงั พระท่านถูกมาแล้ว ถา้ ทราบไวก้ ่อนบา้ งจะพอมีทาง เดียวกนั ประคอง ระวงั ตวั ไม่ส้ินเน้ือประดาตวั ไปเปล่าแบบไม่มีปี่ มีขลุ่ยขบั กล่อมใหอ้ าณตั ิสัญญาณวา่ กิเลส ความเพียรดว้ ย มากอบโกยเอาของดีไปใชไ้ ปทานเสียจนหมดตวั 21ท่านท่ีเริ่มฝึ กหัดใหม่ กรุณากำหนดใน สติสัมปชญั ญะ กำรเดินจงกรมเอำเอง แต่กรุณากาหนดเผื่อไวบ้ ้าง เวลากิเลสตวั ร้อยเลห์พนั ลวงมาแอบ ขโมยเอาสิ่งของ จะได้เหลือคำภำวนำติดตัวไว้บ้ำงขณะเดินจงกรม พึงกำหนดสติกับคำ กาหนดสติกบั คา บริกรรมให้กลมกลืนเป็ นอนั เดยี วกันประคองควำมเพยี รด้วยสติสัมปชัญญะ มีใจแน่วแน่ต่อ บริกรรมให้ ธรรมท่ีบริกรรม เช่น กำหนดพุทโธให้จิตรู้อยู่กับพุทโธ ทุกระยะที่ก้าวเดินไปหรือถอย กลมกลืนเป็ นอนั กลบั มา ช่ือว่าผมู้ ีความเพียรในท่าน้นั ๆ ไม่ขาดวรรคขาดตอนไปในระหวา่ งตามท่ีตนเขา้ ใจ เดียวกนั ประคอง ความเพียรดว้ ย สติสมั ปชญั ญะ กาหนดพุทโธให้ จิตรู้อยกู่ บั พทุ โธ จะไดธ้ รรมมาสงั่ สอน ลม้ ลุก คลกุ คลานมาดว้ ย ความลาบาก ทรมาน ความเพยี ร

68 อนั แรงกลา้ การ วา่ บาเพญ็ เพียร ผลคือควำมสงบเย็น ถ้ำจิตไม่เผลอตัวไปสู่อำรมณ์อื่นในระหวา่ งเสียก่อน ผู้ ยอมเสียสละ ภาวนาตอ้ งหวงั ไดค้ รองความสุขใจในขณะน้ันหรือขณะใดขณะหน่ึงแน่นอน ขอ้ น้ีกรุณา เชื่อไวก้ ่อนกไ็ ดว้ า่ พระพุทธเจา้ และครูอาจารยท์ ี่ทา่ นสอนจริง ๆ ดว้ ยความเมตตาอนุเคราะห์ ควรฝึกหดั คิดอ่าน ท่านไม่โกหกให้เสียเวลาและเปล่าประโยชน์แน่นอน 22ก่อนท่านจะได้ธรรมมำสั่งสอน ตวั บา้ ง ประชำชน ท่ำนคือผ้ลู ้มลกุ คลกุ คลำนมำด้วยควำมลำบำกทรมำนผหู้ น่ึงก่อนเราผูก้ าลงั ฝึ กหัด จึงไม่ควรสงสยั ทา่ นวา่ เป็นผลู้ า้ งมือคอยเปิ บมาก่อนทา่ เดียวโดยไม่ลงทุนลงรอนมาก่อน ทนุ กาหนดจิตต้งั สตใิ น ของพระพุทธเจ้ำก็คือ ความสลบไสลไปสามหน ทุนของพระสาวกบางองคก์ ็คือฝ่ าเทา้ แตก เวลาเดินจงกรม เป็น และเสียจกั ษุไปก็มีต่างๆ กนั แต่ไดผ้ ลท่ีพึงท้งั เลิศท้งั ประเสริฐท้งั อศั จรรยเ์ หนือโลกเป็ น การแสวงหาของดี เคร่ืองสนองตอบแทนส่ิงที่เสียไป และควำมเพียรอนั แรงกล้ำน้นั ๆ ท่านขา้ มโลกไปไดโ้ ดย ควรพยายามทาจิตใจ ตลอดปลอดภยั ไร้ทุกขท์ ้งั มวล ท้งั น้ีเพราะกำรยอมเสียสละส่ิงที่โลกรักสงวนกนั ถา้ ท่านยงั ให้สงบในเวลา มวั หึงหวงควำมทุกข์ควำมลำบำกอยู่ ก็ตอ้ งงมทุกขบ์ ุกโคลนโดนวฏั ฏะอยเู่ ช่นเราท้งั หลายน้ี เหลือแต่ “ธรรม” แล จะไม่มีใครแปลกต่างกนั ในโลกมนุษย์ 23เอาแบบไหนดิ้นวธิ ีใดบา้ ง จึงจะหลดุ พน้ จากสิ่ง เป็นสมมตขิ ้นั สูงสุด ไมพ่ ึงปรารถนาท้งั หลายท่ีมีเกล่ือนอยู่ในท่านในเราเวลาน้ี ควรฝึ กหดั คิดอ่ำนตัวบ้ำงในขณะ เป็นหลกั ใหญ่ของ พอคิดไดอ้ ่านได้ เมื่อเขา้ สู่ที่คบั ขนั และสุดความสามารถจะด้ินรนไดแ้ ลว้ ไม่มีใครสำมำรถ โลกผูห้ วงั พ่งึ ธรรม เข้ำไปน่ังทำบุญให้ท่ำนรักษำศีลทำสมำธิภำวนำอยู่ในกองฟื นกองฟอนในเตาแห่งเมรุได้ คาว่า “จติ ” ปกคลุม เห็นมีแต่ไฟทางานแตผ่ เู้ ดียว จนร่างกายเป็นเถา้ เป็นถ่านไปถ่ายเดียวเทา่ น้นั เราเคยเห็นอยตู่ ่อ คละเคลา้ พิสูจน์ หนา้ ต่อตาดว้ ยกนั ซ่ึงควรสลดสงั เวชและน่าฝังใจไปนาน 24กำรกำหนดจติ ต้ังสตใิ นเวลำเดิน ไมไ่ ดว้ ่าจิตเดิมมา จากภพชาติ จงกรมกรุณาทาเป็ นล่าเป็ นสันสมท่ีเจตนามุ่งหน้าหาของดี การเดินจงกรมภาวนาเป็ นกำร อะไรบา้ ง มีอะไรปก คลุมหุม้ ห่อมากทส่ี ุด แสวงหำของดีที่ถูกทางไม่มีขอ้ ควรตาหนิ นักปราชญ์ชมเชยกนั ทว่ั โลก ควรพยำยำมทำ จิตใจให้สงบในเวลำน้นั จนได้ อย่าสักแต่ว่าทำจะเหน็ ควำมประเสริฐอศั จรรย์ของตัวเอง คือ การเดินจงกรม จึง จิตทีถ่ กู ห่อหุ้มด้วยของเศษเดนท้งั หลำย จนขาดความสนใจวา่ สิ่งที่ถูกหุม้ ห่อนน่ั ไม่สาคญั ย่ิง เป็ นวิธีหน่ึงท่ีจะ กว่าสิ่งเศษเดนที่หุ้มห่อ จึงมกั พากนั หลงไปกบั สิ่งน้นั จนลืมสานึกตวั 25ความจริง พระพุทธ สามารถทากิเลส พระธรรม พระสงฆ์ ที่กระเดื่องเลื่องลือในไตรภพตลอดมาน้นั ก็ออกจากใจที่เป็ นท้งั เหตุ ให้หลดุ ลอยออก และผลอศั จรรยด์ งั กล่าวมา คือ ใจดวงหลุดลอยจากเศษเดนท้งั หลายออกมาแลว้ นน่ั แลที่มี จากใจได้ จึงควร พระนามว่าพระพุทธบา้ ง พระสงฆบ์ า้ ง ตามอาการของผทู้ รง เมื่อปราศจากผทู้ รงแลว้ ก็เป็น สนใจฝึกหดั ทา ธรรมลว้ น ๆ ไม่มีคาว่า จิต ว่าพระพุทธเจา้ อนั เป็นสมมติข้นั สูงสุดอยใู่ นนน่ั อีกเลย เหลือแต่ “ธรรม” พระนำมนี้เป็ นสมมติข้ันสูงสุดอีกพระนามหน่ึงแต่จาตอ้ งทรงพระนามน้ีไวเ้ ป็ น วิธีนงั่ สมาธิภาวนา หลกั ใหญ่ของโลกผู้หวงั พง่ึ ธรรมจนกวา่ ไดบ้ รรลุถึงความไมห่ วงั พ่ึงสิ่งใดแลว้ คาวา่ ธรรมกบั ตอ้ งมีแบบฉบบั ผนู้ ้นั กท็ ราบกนั เองไม่มีทางสงสัยแมไ้ ม่เคยทราบมาก่อน 26ดงั น้นั คาวา่ “จิต” ท้งั จิตท่านเรา เป็นหลกั เกณฑ์ ย่อมเป็นเช่นเดียวกนั ท้งั โลก แต่ส่ิงท่ีทาให้จิตผิดกนั ไปต่างๆจนคาดไม่ออกบอกไม่ถูกมอง นงั่ ขดั สมาธิ เอาขา ไม่เห็น พิสูจน์ไม่ได้ในสังคมสามญั ของคนมีกิเลสน้นั เพราะสิ่งแวดลอ้ มท้งั หลายซ่ึงมีมาก ขวาทบั ขาซา้ ย มอื และต่าง ๆ กนั จนพรรณนาไม่จบเขา้ เกี่ยวขอ้ งพวั พนั จิตท่ีถูกสิ่งเหล่าน้นั ปกคลุมคละเคล้ำ ขาวทบั มอื ซ่าย จนเป็ นอันเดียวกันจึงเป็ นจิตที่ผิดกันมำก จนไม่อาจทราบไดว้ า่ จิตน้นั มีความหนาบางจาก วางมือท้งั สองไว้ บนตกั ต้งั กายให้ ตรงธรรมดา อยา่ ใหก้ ม้ นกั เงยนกั อยา่ เอียงซ้ายเอียง ขาว ไม่กดเกร็ง อวยั วะส่วนใดส่วน หน่ึง อนั เป็นการ บงั คบั กายปล่อย วางอวยั วะทกุ ส่วน ไวต้ ามปกติ ธรรมดา

69 เร่ิมตน้ จิตตภาวนา สิ่งดงั กล่าวมากน้อยเพียงไร และพสิ ูจน์ไม่ได้ว่ำจิตของผู้น้ันเดิมมำจำกภพชำติอะไรบ้ำง มี ไม่ควรเป็นกงั วลกาย อะไรปกคลมุ หุ้มห่อมำกท่สี ุด บรรดามีนามวา่ กิเลสหรือของเศษเดนแห่งทา่ นผวู้ เิ ศษท้งั หลาย ต้งั หนา้ ทางานทาง 27กำรเดินจงกรม จึงเป็ นวิธีหน่ึงท่ีจะสำมำรถทำกิเลสให้หลุดลอยออกจำกใจได้ เช่น วิธี จิตถึงวาระสุดทา้ ย ท้ังหลาย มีการนั่งสมาธิภาวนา เป็ นต้น จึงควรสนใจฝึ กหัดทาแต่บัดน้ีเป็ นต้นไป แห่งการออกจาก เช่นเดียวกับงำนทำงโลกอันเป็ นงำนอำชีพ และงานเพื่อเกียรติแห่งสังคมมนุษยท์ ่ีนิยมกัน สมาธิภาวนา ส่วนงานคือ การทาความดีมีการเดินจงกรมเป็ นตน้ ดงั กล่าวมา เป็ นงำนพยุงตนท้ังภำยใน และภำยนอกและเป็ นงำนพยุงเพ่ือนมนุษย์และสัตว์ในโลกอีกด้วย ตำมแต่กำลังควำมดีของ เร่ิมตน้ จิตตภาวนาพึง แต่ละท่ำนละคน จะแผ่ความสุขให้โลกไดร้ ับมากน้อยเพียงไร เช่น พระพุทธเจ้าแต่ละ ต้งั ความรู้สึก จิตลง พระองค์ทรงทาความร่มเย็นแก่โลกท้งั สามไดม้ าก ไม่มีท่านผูใ้ ดกลา้ เป็ นคู่แข่งได้ พระ เฉพาะหนา้ ปัจจุบนั อรหนั ตแ์ ต่ละองคท์ าความร่มเยน็ ใหแ้ ก่โลกไดม้ ากพอประมาณรองพระพุทธเจา้ ท้งั หลายลง ธรรมเป็ นความรู้ความ มาและมากกว่าสามญั ชนทาต่อกัน 28วิธีน่ังสมำธิภำวนำ การกล่าววิธีเดินจงกรมก็มาก เคล่อื นไหวทางจิตของ พอควรจึงเริ่มอธิบายวิธีน่ังสมำธิภำวนำต่อไป พอเป็ นหลักของผู้เริ่มฝึ กหัด เพราะงำนทุก ธรรมารมณ์ แขนงทุกชนิดย่อมมีแบบฉบับเป็ นเคร่ืองดำเนิน งานสมาธิภาวนาจาตอ้ งมีแบบฉบบั เป็ น วธิ ีต้งั สตเิ ฉพาะหนา้ หลักเกณฑ์ วิธีนั่งสมำธิภำวนำท่านสอนไว้ว่า พึงน่ังขัดสมำธิ คือ นั่งขัดสมำธิแบบ จิตเป็นผูร้ ู้โดย ธรรมชาติ เป็นรู้คิด รู้ พระพุทธรูปองค์แทนศำสดำ เอำขำขวำทับขำซ้ำย มือขำวทับมือซ่ำย วำงมือท้ังสองไว้บน นึก รู้เยน็ รู้ร้อน จากสิ่ง สัมผสั ต่างๆ ไมร่ ู้จดั ผิด ตกั หรือบนสมำธิ ต้งั กำยให้ตรงธรรมดำ อย่ำให้ก้มนกั เงยนัก อย่ำให้เอยี งซ้ำยเอยี งขำวจนผิด ถกู ชวั่ ดีโดยลาพงั ตอ้ ง อาศยั สตแิ ละปัญญาตวั ธรรมดำ ไม่กดหรือเกร็งอวัยวะส่วนใดส่วนหน่ึงอันเป็ นกำรบังคัยกำยให้ลำบำกปล่อยวำง รู้วนิ ิจฉยั ใคร่ครวญ อวัยวะทุกส่วนไว้ตำมปกติธรรมดำ 29แต่เวลาทาหน้าท่ีภาวนาต่อไปแล้ว กรุณาทาความ สตปิ ัญญามีอานาจ สนใจกบั หน้าท่ีน้นั อย่างเดียว ไม่พึงกลบั มาทาความกังวลรักษาท่าสมาธิท่ีกาหนดไวเ้ ดิม เหนือจิต โดยเกรงท่าน่ังน้ันจะเคลื่อนจากอาการเดิม เป็ นการกม้ เกินไปหรือเงยเกินไป เอียงซ้าย เกินไป เอียงขาวเกินไปซ่ึงเป็ นกำรกังวลกับอำกำรทำงกำยมำกกว่ำทำงจิต สมำธิภำวนำจะ วธิ ีนึกคาบริกรรม ดำเนินไปไม่สะดวก ดงั น้นั พอเร่ิมตน้ ทางจิตตภาวนาแลว้ จึงไม่ควรเป็ นกงั วลทางกาย ต้งั ภาวนา จะนึกกบั หน้าทางานทางจิตต่อไปจนถึงวาระสุดทา้ ยแห่งการออกจากท่ีสมาธิภาวนา 30กำรเริ่มต้น ธรรมบทใดบท ทำงจิตตภำวนำพึงต้ังควำมรู้สึก คือ จิตลงเฉพำะหน้ำ ที่เรียกว่า ปัจจุบันธรรม อนั เป็ น หน่ึงตามนิสัยชอบ ความรู้ควำมเคล่ือนไหวทำงจิตของธรรมำรมณ์ต่ำง ๆ ดีชว่ั ไดด้ ีในเวลาน้นั มากกวา่ เวลาอื่นๆ พุทโธ ธมั โม คือ ต้ังจิตลงเฉพำะหน้ำ มีสติ คือ ควำมระลึกรู้อยู่กับใจอันเป็ นกำรเตือนตนให้รู้ว่ำจะเริม สงั โฆ 3 คร้ัง ให้มี ต้องทำงำนในขณะน้ัน กรุณาระวังไม่ให้จิตส่งออกไปสู่อำรมณ์ต่ำงๆ ท้ังอดีต อนำคต ท้ังดี คาบริกรรมภาวนา และช่ัว ท่ีนอกจากงำนบริกรรมภำวนำซ่ึงกาลงั ทาอยู่ในเวลาน้นั 31วิธีต้ังสติเฉพำะหน้ำ จิต กากบั ใจเพอื่ เป็น เป็ นผูร้ ู้โดยธรรมชาติเท่าน้ัน ไม่มีความแยบคายใคร่ครวญในตวั เอง เป็ นเพียงรู้คิด รู้นึก รู้ อารมณ์เคร่ืองยึด เย็น รู้ร้อน จำกสิ่งสัมผัสต่ำงๆ เท่าน้นั ไม่มีความแยกคายใคร่ครวญไม่รู้การพินิจพิจารณา ของใจเน่ืองจากจิต และตดั สินวา่ อะไรถูกอะไรผิดลงไปได้ คือ ไม่รู้จัดผิดถกู ช่ัวดโี ดยลำพงั ตนเอง จึงต้องอำศัย ไม่เป็นตวั ของตวั สตแิ ละปัญญำตวั รู้วินจิ ฉัยใคร่ครวญกำกบั รักษำ เพราะสตปิ ัญญำมอี ำนำจเหนือจิต สำมำรถ โดยสมบรู ณ์ รู้เท่ำทันจิตท่ีคดิ ไปในอำรมณ์ต่ำงๆ ไดด้ ี ฉะน้นั พีงกาหนดเอาสติ คือ ความระลึกรู้ชนิดหน่ึง จาตอ้ งมบี ทเป็นคา บริกรรมเพือ่ ผูกใจ หรือเพอ่ื เป็น อารมณ์ของใจ การบริกรรม ภาวนาในธรรมบท อยา่ คาดหมายผล จะพึงเกิดข้นึ ควรต้งั จิตกบั สตไิ ว้ เฉพาะหนา้ มีคา บริกรรมเป็ นอารมณ์

70 ของใจ ทาความ ท่ีมีอำนำจเหนือจิตน้นั มาไวเ้ ฉพาะหน้า ทาหนา้ ท่ีกาหนดรู้ชนิดหน่ึงที่มีอานาจเหนือจิตน้นั รู้สึกตวั อยกู่ บั คา มาไวเ้ ฉพาะหนา้ ทาหน้ำท่ีกำหนดรู้และรักษำจิตไม่ให้ส่งไปอื่นจำกอำรมณ์ท่ีภำวนำ การมี บริกรรม เช่น สติรักษำจิตอยู่ทุกระยะน้ัน สติสัมปชัญญะจะพึงเป็ นสมบตั ิท่ีควรได้รับในวาระน้ันหรือ พทุ โธๆ สืบเนื่องกนั วาระตอ่ ไปแน่นอน กำรภำวนำด้วยบริกรรมด้วยธรรมบทใดบทหน่ึงน้ัน พงึ ให้เป็ นตำมจริต ไปดว้ ยความมีสติ ไม่ควรฝื น ธรรมบทใดเป็ นท่ีสบำยใจในเวลำน้ัน พึงนาธรรมบทน้ันมาบริกรรมภาวนาสืบ การรกั ษาจิตกบั คา ต่อไปดงั ที่เคยอธิบายมาแลว้ 32วิธีนึกคำบริกรรมภำวนำ การนึกคาบริกรรมภาวนาน้นั จะ บริกรรมไวไ้ ดด้ ว้ ย นกึ กับธรรมบทใดบทหนึ่งตำมนิสัยชอบดงั กลา่ วแลว้ กไ็ ด้ เช่น พทุ โธ ธมั โม สังโฆ ๆๆ 3 จบ สติ แลว้ กาหนด เอาเพียงบทเดียวติดต่อกนั ไปดว้ ยความมีสติ แต่จะกาหนดธรรมาบทใดก็ตาม ควรระวงั ในขณะ นอกจากสามบทน้ี ก่อนจะเจริญธรรมบทน้นั ๆ ทกุ คร้ัง ควรเจริญรำลกึ ธรรมบทสำมบท คือ ภาวนาดนู ครสวรรค์ พุทโธ ธัมโม สังโฆ 3 คร้ัง อนั เป็ นองค์พระรัตนตรัยก่อน จากน้ันค่อยบริกรรมบทท่ีตน ดกู รรมดูเวรของตน ตอ้ งการต่อไป เช่น อานาปานสติ หรือ อฐั ิ หรือ ตโข เป็ นต้น กำรที่ท่ำนให้มีคำบริกรรม และผูอ้ น่ื ควรระวงั ภำวนำเป็ นบท กำกับใจในเวลำน้ันหรือเวลำอื่นก็เพ่ือเป็ นอำรมณ์เคร่ืองยึดของใจในเวลา อยา่ ใหม้ ขี ้นึ ตอ้ งการความสงบ เพราะใจเป็ นของละเอียดตามธรรมชาติ ท้งั ยงั ไม่สามารถพ่ึงตวั เองได้ จิตเป็ นของละเอียด เนื่องจำกจิตยังไม่เป็ นตัวของตัวโดยสมบูรณ์ดังพระพุทธเจ้ำและพระอรหนั ต์ท่ำน จำต้องมี มาก บรรดาอารมณ์ บทเป็ นคำบริกรรมเพ่ือผูกใจหรือเพ่ือเป็ นอำรมณ์ของใจเวลำน้ัน 33กำรบริกรรมภำวนำใน จิตเกาะเกี่ยวว่าเป็ น ธรรมบทใดก็ตำม กรุณำอย่ำคำดหมำยผลท่ีจะพงึ เกดิ ขนึ้ ในเวลาน้นั เช่นความสงบจะเกิดข้ึน อารมณด์ ีหรือชว่ั ยงั ในลกั ษณะนนั่ นิมิตต่าง ๆ จะเกิดข้ึนในเวลาน้นั หรืออาจจะเห็นนรกสวรรคข์ มุ ใดหรือช้นั ใด ทะนงถอื ความรู้ ในเวลาน้นั เป็ นตน้ น้ันเป็ นการคาดคะเนหรือคน้ เดาซ่ึงเป็ นการก่อความไม่สงบให้แก่ใจ ความเห็นของตวั วา่ เปล่าๆ ไม่เกิดประโยชน์อะไร จากการวางภาพน้ันเลย และอาจทาใจให้ท้อถอยหรือ เป็นส่ิงที่ถูกตอ้ งอยู่ หวาดกลวั ไปตา่ งๆ ซ่ึงผิดจากความมงุ่ หมายของการภาวนาโดยถูกทางที่ท่านสอนไว้ 34ท่ีถูก และพร้อมสอนผอู้ น่ื ควรต้งั จติ กับสติไว้เฉพำะหน้ำ มคี ำบริกรรมเป็ นอำรมณ์ของใจเพยี งอยา่ งเดียวเทา่ น้นั โดยมี ใหเ้ ป็นไปใน ใจกบั สตสิ ืบต่ออยู่กบั คำบริกรรม เช่น พทุ โธๆ สืบเน่ืองกนั ไปด้วยควำมมสี ติ และพยำยำมทำ แนวทางตน ควำมรู้สึกตัวอยู่กับคำบริกรรมน้นั ๆ อยา่ งให้จิตเผลอตวั ไปสู่อารมณ์อื่น ระหว่างจิตสติกบั คาบริกรรมมีความสืบต่อกลมกลืนกนั ไดเ้ พียงไร ยิ่งเป็นความมุ่งหมายของการภาวนาเพียง แสดงออกความ น้นั ผลคือ ควำมสงบเย็นหรืออ่ืนๆ ที่แปลกประหลำดไม่เคยพบเคยเห็นอันจะพงึ เกิดขึน้ ให้ เขม้ ขน้ มน่ั ใจ ชมตำมนิสัยวำสนำในเวลำน้ัน จะเกิดข้ึนเองเพราะอานาจของกำรรักษำจิตกับคำบริกรรมไว้ ความรู้ความเห็น ได้ด้วยสตินัน่ แล จะมีอะไรมาบนั ดาลให้เป็ นข้ึนไม่ได้ 35ขอ้ ควรสังเกตและระวังในขณะ อยา่ งจบั ใจและ ภาวนาโดยมากมกั คิดและพูดกนั เสมอวา่ ภาวนาดูนครสวรรค์ดูกรรมดูเวรของตนและผูอ้ ่ืน หายสงสยั เกิด ขอ้ น้ีท่านที่มุ่งต่ออรรถธรรมสาหรับตัวจริงๆ กรุณาสังเกตขณะภาวนาว่า จิตได้มีส่วน ความรื่นเริงใน เก่ียวขอ้ งผูกพนั กบั เรื่องดงั กล่าวเหล่าน้ีบา้ งหรือไม่ ถา้ มีควรระวังอย่ำให้มีขึ้นได้สาหรับผู้ ธรรม ภาวนา เพ่ือความสงบเยน็ เห็นผลเป็ นความสุขแก่ใจ โดยถูกทางจริงๆ เพราะสิ่งดงั กล่าว เหลา่ น้นั มใิ ช่ของดีดังที่เข้ำใจแต่เป็นความคิดที่ริเร่ิมจะไปทางผิด เพราะจิตเป็ นส่ิงที่น้อมนึก ลงไปงมกองมูตร เอำสิ่งต่ำงๆ ท่ีตนชอบไดแ้ มไ้ ม่เป็ นความจริง นานไปส่ิงน้อมนึกน้ันอำจปรำกฏเป็ นภำพ กองคถู อยทู่ าไม ความรู้ดา้ นภาวนา น้ีไมส่ ้ินสุดอยกู่ บั ผใู้ ดท่ีพอจะยนื ยนั ได้ ท่านแกค้ วามรู้ ความเห็นทางดา้ น ภาวนาท่ีตนสาคญั ผิด แลว้ กลบั ยอม เห็นตามทา่ น ด้ ดว้ ยเหตแุ ละผล ความรู้ภายในจาการ ภาวนาเป็ นความ สลบั ซบั ซอ้ นมาก

71 ยากจะกาหนดไดว้ ่า ขึน้ มำรำวกับเป็ นของจริงก็ได้ น่ีรู้สึกแก้ยำกแมผ้ สู้ นใจในทางน้นั อยู่แลว้ จนปรากฏสิ่งที่ตน อนั ไหนถกู อนั ไหน เขา้ ใจวา่ ใช่และชอบข้ึนมาดว้ ยแลว้ กย็ งิ่ ทาความมนั่ ใจหนกั แน่นข้ึนไมม่ ีทางลดละจะไม่ยอม ผิด ผูป้ ฏบิ ตั ิไมม่ คี รู ลงกบั ใครง่าย ๆ เลย 36จึงไดเ้ รียนไวก้ ่อนวา่ ควรสงั เกตระวงั อยา่ งใหจ้ ิตนึกน้อมไปทางน้นั จะ อาจารยต์ อ้ งลูบคลา กลายเป็นนักภาวนาท่ีน่าทุเรศเวทนา ท้งั ท่ีผนู้ นั่ ยังทะนงถือควำมรู้ควำมเห็นของตัวว่ำเป็ น ผิดกค็ ลา ถกู ก็คลา สิ่งท่ีถูกต้องอยู่และพร้อมจะส่ังสอนผู้อ่ืนให้เป็ นไปในแนวทำงของตนอีกดว้ ย จิตถา้ ไดน้ ึก พร้อมไปในสิ่งใดแลว้ แมส้ ิ่งน้นั จะผิดก็ยงั เห็นวา่ ถูกอยนู่ นั่ เอง จึงเป็นการลาบากและหนกั ใจ นึกคาบริกรรม แก่การแกไ้ ขอยู่ไม่นอ้ ย เพราะจิตเป็ นของละเอียดมำกยากท่ีจะทราบไดก้ บั บรรดำอำรมณ์ที่ ภาวนาท่เี ป็นความ ถกู ตอ้ งควรสนใจกบั จิตเข้ำเกำะเก่ียววา่ เป็ นอำรมณ์ดีหรือชั่วประกำรใด นอกจากท่านที่เช่ียวชาญทางดา้ นภาวนา คาบริกรรมของตน โดยเฉพาะในขณะ ซ่ึงเคยผ่านเหตุการณ์ต่าง ๆ มาแลว้ อย่างโชกโซน เช่น พระอาจารยม์ นั่ เป็นตน้ น้นั ท่านพอ นง่ั บริกรรมภาวนา ตวั เสียทึกอยา่ งไมว่ า่ ภายในภายนอก ท่านคลี่คลายดูโดยละเอียดถึงไมม่ ีทางสงสยั จึงสมนาม ไมค่ วรเป็นกงั วลกบั ท่านงั่ กาหนด จิตขอ ที่ท่านเป็ นอาจารยห์ รือครูช้ันเอกกำรสอนกรรมฐำนแก่บรรดำศิษย์ 37ท่านผู้ใดมีควำมรู้ อยา่ ใหเ้ อียงไปจาก อารมณภ์ าวนาเป็น ควำมเห็นในด้ำนภำวนำมำกน้อย ท้งั ภำยในภำยนอกมาเพียงไร เวลาเล่าถวายท่านจบลงแลว้ การดี จะไดย้ ินเสียงท่านแสดงออกดว้ ยความเขม้ ขน้ มน่ั ใจในความรู้ความเห็นของท่านอย่างจบั ใจ และหายสงสยั ท้งั ท่านที่เมาเล่าถวายและบรรดาศิษยท์ ่ีแอบฟังอยทู่ ี่น้นั ท้งั เกิดควำมร่ืนเริงใน ขณะท่ีจิตสงบรวมลงสู่ ธรรมน้ันสุดจะกล่าว แม้ผูน้ ้ันจะยงั สงสัยในบางแขนง ขณะท่านอธิบายจบลงแล้วได้ ภวงั ค์คือทพ่ี กั ผ่อน แยกแยะเรียนความรู้ความเห็นของตนให้ท่านฟังซ้าอีก ท่านจะช้ีแจงเหตุผลของสิ่งน้นั ให้ เพอื่ ใหจ้ ิตไดท้ าหนา้ ที่ ฟังทนั ทีดว้ ยความมน่ั ใจที่ท่านเคยผา่ นมาแลว้ 38 ท่ำนลงไปงมกองมูตรกองคูถอยู่ทำไม ผม เต็มไมค่ วรกงั วลภาย เคยงมมาก่อนทา่ นแลว้ และลา้ งมือดว้ ยสิ่งซกั ฟอกตา่ งๆ ต้งั สามวนั กย็ งั ไมห่ ายกลิ่น และท่าน ภายนอก แต่ควรทา ยงั ขยนั นาสิ่งน้นั มาทาตวั ชโลมศรีษะโดยเขา้ ใจว่าเป็นน้าหอมอยหู่ รือ นนั่ คือ กองมูตรคูถท่ี ความจดจ่อต่อคา เขาถ่ายมาไดส้ องสามวนั แลว้ ซ่ึงกาลงั ส่งกล่ินฉุนเต็มท่ี ท่านอย่ากลา้ หาญอวดเก่งไปสูดดม ภาวนาอยา่ งเดียว จน เล่นเด๋ียวน้าในบ่อจะหมด แต่ส่ิงที่ท่านนึกว่าหอมนน่ั จะยงั ไม่หายกลิ่นจะวา่ ผมไม่บอก ผม จิตสงบ เคยโดนมาแลว้ จึงไดเ้ ขด็ และรีบบอก กลวั ท่านจะโดนเขา้ ไปอีก ถา้ ไม่มีน้าลา้ งอาจร้ายกว่า ผมท่ีเคยโดนมา ท้งั ที่มีน้าลา้ งยงั แย่และเข็ดอยู่จนป่ านน้ี ดงั น้ี ซ่ึงเป็ นคาท่ีออกรสอย่างยิ่ง ที่ต้งั ฐานสูงต่าแห่ง สาหรับผเู้ ขียนซ่ึงมีนิสยั หยาบ ทา่ นผมู้ ีนิสยั ละเอียดอาจเกิดความขยะแขยงไม่น่าฟัง แต่การที่ อารมณข์ องจิต ทา่ นแสดงเช่นน้นั เป็นคายืนยนั อยา่ งหนกั แน่แม่นยาในใจท้งั ทางผิดและทางถูกที่เคยผ่านมา กรรมฐานบาง ใหผ้ มู้ าศึกษาฟัง และหายสงสัยในส่ิงที่ตนยงั เห็นวา่ ถูกวา่ ดีน้นั แลว้ พยายามติดตามทา่ นดว้ ย ประเภทอนั เป็น ความแน่ใจ จะไม่โดนกองมูตรกอุงคูถอีก ซ่ึงร้ายกว่าคาท่ีท่านช้ีแจงใฟ้ฟังท่ีคิดว่าเป็ นคา อารมณข์ องจิตยอ่ ม หยาบเสียอีก 39กำรยกธรรมท่านมาแทรกบา้ ง ก็เพื่อท่านนกั อบรมท้งั หลายจะไดน้ าไปเป็ น มีฐานเป็นตวั อยู่ ขอ้ คดิ วา่ ควำมรู้ด้ำนภำวนำน้ีไม่สิ้นสุดอยู่กบั ผใู้ ดท่ีพอจะยนื ยนั ไดท้ ีเดียว โดยมิไดไ้ ตร่ตรอง แลว้ กาหนดอาการ หรือไต่ถามผูร้ ู้มาเสียก่อน นอกจากท่านที่ชานิชานาญมาอย่างเต็มภูมิแลว้ น่นั ไม่นับเขา้ ใน ใดเป็ นอารมณ์แห่ง จาพวกที่กาลงั เห็นกองมูตรคูถท่ีท่านตาหนิว่าเป็นของดี แลว้ ชื่นชมในควำมรู้ควำมเห็นของ กรรมฐานและ ต้งั อยใู่ นที่เช่นไร เ ตน แมผ้ ูเ้ ขียนเองก็เคยอวดเก่งในความหางอ่ึงของตนและถกเถียงท่านแบบตาแดงมาแลว้ เวลากาหนดอาการ ใดเป็ นอารมณ์ จนไม่อาจนบั ไดว้ า่ ก่ีคร้ังก่ีหนเพราะทาอยเู่ สมอ รู้ข้ึนมาอยเู่ สมอและสาคญั ตวั ว่าถูกอยเู่ สมอ ขณะภาวนา พงึ คาถกเถียงท่านทุกประโยคที่ตนเขา้ ใจว่าถูกตอ้ งดีแลว้ เหมือนยน่ื ไมแ้ ต่ละวิน้ ให้ท่านตีเอาๆ กาหนดเฉพาะ อาการน้นั เพ่งสิ่ง น้นั เป็นอารมณ์ จน ปรากฏเห็นเป็ น ภาพชดั เจน เหมือนกบั ดูดว้ ยตา เน้ือ

72 ควรกาหนดอาการ จนแทบศรีษะไม่มีผมเหลือคา้ งอยนู่ ่ันแล จึงจะไดค้ วามฉลาดอนั แหลมคมและความดีจาก ให้อยใู่ นความรู้สึก ปัญหาขยุ ไมไ้ ผ่ (ปัญหาฆ่าตวั เอง) ของตนท่ีถือวา่ ถูกว่าดีมาท่ีไหน นอกจากท่านตีเอาอย่าง หรือความเห็นภาพ ถนดั มือ แลว้ ยงั ย่ืนยาใส่แผลท่ีถูกตีมาให้ไปใส่แผลเอาเองเท่าน้ัน จะไดด้ ีกรีอะไรมาจาก แห่งอาการน้นั ๆ ความฉลาดหางอ่ึงน้ันเล่า 40ที่ท่านย่ืนยามาให้ไปใส่แผลเอาเองน้ัน ได้แก่ท่ำนแก้ควำมรู้ ดว้ ยความรู้สึกทาง ควำมเหน็ ทำงด้ำนภำวนำที่ตนสำคัญผิดไปน้ัน แล้วเรำกลับยอมเหน็ ตำมท่ำน กวา่ จะยอมลง สติไปตลอดสาย ไดด้ ว้ ยเหตุและผล ก็ถูกท่านเข่นเอาเจ็บพอเขด็ หลาบท่ีเรียกวา่ ถูกตีนน่ั แล ฉะน้นั จึงเรียนไว้ เพื่อทราบว่าคนท่ีรู้แล้วกับคนที่ยังหลงอยู่ในกองกิเลสน้ันผิดกันอยู่มำก ถ้ำไม่ใช่ผู้รู้มำแก้ การกาหนดลม หายใจและฐาน ควำมรู้ควำมเห็นผิดน้นั ปล่อยให้เฉพำะพวกทีเ่ ก่งๆ แก้กนั เอง ที่น้นั จะตอ้ งกลายเป็นเวทีมวย ท่ีต้งั ของลม พึงทา ฝี ปากที่ไม่ยอมลงกนั ได้ แบบไม่มีใครกล้าจองตว๋ั เขา้ ฟังดว้ ยได้แน่นอนเพราะกลวั จะไป ความรู้ในกองลม เยียบน้าลายของนกั มวยฝี ปากบนเวทีเสียตนลื่นและเลอะไปท้งั ตวั โดยไม่มีผลดีอะไรติดตวั ผา่ นเขา้ ผา่ นออก มาบา้ งเลย 41ท้งั น้ีเพราะควำมรู้ภำยในจำกำรภำวนำเป็ นความสลบั ซับซ้อนมาก ยำกจะ ดว้ ยสติทกุ ระยะไป กำหนดได้ว่ำอันไหนถูกอันไหนผดิ ผูป้ ฏิบัติท่ีไม่มีครูอำจำรย์คอยอบรมสั่งสอนต้องลบู คลำ จนถงึ ท่ีสุดของลม ผิดก็คลำ ถูกก็คลำ คลาท้งั น้าท้งั เน้ือ ท้งั เปลือกท้งั กระพ้ี ท้งั รากแกว้ รากฝอย ท้งั ก่ิงท้งั ใบเอา แมฐ้ านของลม ไปทาบา้ นเรือน คือเครื่องอยขู่ องจิตที่ภาคภมู ิใจดว้ ยไมท้ ้งั ตน้ แลว้ ก็ชมว่าสวยงามเอาเองท้งั ปรากฎวา่ สูงต่า ที่คนอ่ืนดูไม่ได้ กำรปฏิบัติภำวนำท่ีไม่ใช้วิจารญาณก็เป็นทานองน้ีเหมือนกนั อะไร ๆ ก็จะ ลมหายใจดบั ไปใน เหมาเอาเสียวา่ ถกู ไปหมด เวลาระบายออกมาใหผ้ อู้ ่ืนฟังกบั ปากกบั หูตวั เองซ่ึงอยใู่ กลๆ้ แทบ ความรู้สึกท่ีสุดลม ติดกนั ก็ไม่ยอมฟังว่าที่พูดไปน้ันถูกหรือผิดประการใดบา้ ง แต่เขา้ ใจว่าถูกและพูดฟุ้งไป คอื ดบั ไป ท่สี ุดของ ทีเดียว ควำมเสียหำยจึงไม่เปื้ อนเฉพำะผู้ไม่พิจำรณำสำรวมให้รอบคอบและรู้จักประมำณ ใจคือรวมลงสนิท เพียงเท่าน้นั ยงั มีส่วนแปดเปื้ อนเลอะเลือนแก่วงศำสนำอันเป็ นจุดส่วนรวมอีกดว้ ยจึงควร หมดความ สำรวมระวังไว้ให้มำกเป็ นกำรดี 42ขณะนึกคำบริกรรมภำวนำท่ีเป็ นควำมถูกต้อง ท่านนัก รับผิดชอบกบั ลม ภาวนาควรสนใจกบั คาบริกรรมของตน โดยเฉพาะในขณะนั่งบริกรรมภำวนำไม่ควรเป็ น ต้งั อยเู่ ป็นเอกจิต คอื กังวลกับท่ำนั่งท่ีกำหนดไว้ถูกต้องแต่ต้นแล้ว คือ ขณะภาวนาที่กาลงั ทาควำมกำหนดจดจ่อ มอี ารมณเ์ ดียวเพยี งรู้ กับงำนท่ีทำน้นั กายอาจเอียงหนา้ เอียงหลงั เอียงซา้ ยเอียงขวาไปบา้ ง เพราะขาดความสนใจ อยา่ งเดียวไมเ่ กี่ยวกบั กบั กาย เวลาน้นั มีควำมสนใจกบั กำรภำวนำโดยเฉพำะ ดงั น้นั แมก้ ายจะเอียงไปบา้ งก็ตามแต่ ส่ิงใดตอ่ ไปอกี จิตขออย่ำให้เอียงไปจำกอำรมณ์ภำวนำเป็ นการดี เพราะจุดสาคญั ที่ตอ้ งการจริง ๆ อยู่กับ การภาวนาเพ่ือเห็น ภาวนา ถ้ำจิตมำกังวลกับกำยอยู่เร่ือยๆ กลัวจะเอนหน้ำเอียงหลังทำให้จิตเผลอตัวจำกคำ ความจริงกบั ลมใน ภำวนำ ไม่อาจเขา้ สู่ความละเอียดเท่าท่ีควร อานาปานสติ 43 เพ่ือให้จิตได้ทำหน้ำท่ีเต็มควำมสำมำรถของตนในเวลำน้ัน จึงไม่ควรกังวลกับภำย กาหนดลมดว้ ยสติ จนถึงสุดของลม ภำยนอก แต่ควรทำควำมจดจ่อต่อคำภำวนำอย่ำงเดียว จนจิตสงบและรู้เหตุรู้ผลของตนได้ และของจิต ตำมควำมมุ่งหมำยแมข้ ณะที่จิตสงบรวมลงสู่ภวงั คค์ ือท่ีพกั ผ่อน ตวั หมดความรู้สึกกบั ส่ิง ความรู้สึกคือใจยงั ภายนอกมีกายเป็นตน้ ก็ตามเวลาจิตถอนข้ึนมาแลว้ เห็นกายเอนเอียงไปในลกั ษณะต่าง ๆ ก็ ครองตวั อยใู่ นร่าง ไมค่ วรสงสัยขอ้ งใจวา่ กายนนั่ ไม่เที่ยงตรงตามท่ีกาหนดไว้ การกงั วลทางกายและกงั วลทาง ใจ นอกจากก่อความวุน่ วายให้แก่จิตท่ีไม่รู้หนา้ ท่ีของตนแลว้ ผลท่ีจะพึงไดร้ ับเวลาน้นั จึงไม่ จิตจะตดั ความกลวั มีอะไรปรากฎยิ่งไปกว่า กายกบั ใจเกิดยุ่งกนั ในเวลาภาวนาโดยไม่รู้สึกตวั จึงควรทาความ และกงั วลต่างๆ สงบลงถงึ ฐานของ สมาธิ ภาวนาอานา ปานสติ จิตตภวงั ค์ คอื อวิชชารวมตวั เขา้ ไปอยใู่ นท่ีแห่ง เดียว ไมท่ างาน

73 และไม่ใชส้ มุนให้ เขา้ ใจไวแ้ ต่ขณะเร่ิมลงมือภาวนา 44ที่ต้ังฐำนสูงต่ำแห่งอำรมณ์ของจิต กรรมฐานบาง ออก ประเภทอนั เป็นอารมณ์ของจิตยอ่ มมีฐานเป็นตวั อยแู่ ลว้ เช่น ผม ขน เล็บ ฟัน มีฐำนเป็ นตัว อยู่โดยเฉพำะ ส่วนหนงั บางส่วนที่ถูกกำหนดเป็ นฐำน ย่อมทราบวา่ อยู่ในที่เช่นไร สิ่งที่ถูก ขณะจิตตกภวงั ค์ กาหนดน้นั ๆ พึงทราบไวว้ ่ามีอยู่ อำรมณ์แห่งกรรมฐำนในที่เช่นน้นั ๆ สูงหรือต่ำประกำรใด ดว้ ยกาลงั ของ ส่ิงน้นั ๆ มีฐำนของตนที่เป็ นอยู่ตำยตัว เช่น ฟันมีอยใู่ นมุขทวาร ผมต้งั อยบู่ นศรีษะมีส่วนสูง สมาธิ อวิชชาพกั เป็นที่อยู่ นอกน้นั เช่น หนงั ผม ขน เอน็ กระดูก มีอยใู่ นท่ีทวั่ ไปตามแต่จะกาหนดเอาอำกำร งานสมาธิภาวนา ใดเป็ นอำรมณ์แห่งกรรมฐำนและอำกำรน้ัน ๆ ต้งั อยู่ในที่เช่นไร เวลากาหนดส่ิงน้นั ๆ เป็ น จึงเป็นเครื่องมอื ตดั อารมณ์ตามฐานของตนที่ต้งั อยู่สูงหรือต่าประการใด กรุณาทราบไวต้ ามฐานของส่ิงน้นั ๆ 45 กาลงั อวิชชาไดด้ ี เวลำกำหนดอำกำรใดอำกำรหน่ึงท่ีกล่ำวมำเป็ นอำรมณ์ในขณะภำวนำ พึงกำหนดเฉพำะ อำกำรน้นั เป็ นสำคญั กวา่ ความสูงหรือต่าที่กาหนดไวเ้ ดิม เช่นเดียวกบั ท่านง่ั สมาธิที่เอนเอียง อวชิ ชา คือ การ ไปบา้ งไม่สาคญั ความสูงหรือต่าที่เรากาหนดไวเ้ ดิมอย่างไร ก็ปล่อยตามสภาพเดิม อยา่ ยก สร้างภพชาติบน กรรมฐานท่ีเคยกาหนดแลว้ า่ อยู่ในท่ีเช่นน้นั มาต้งั ใหม่เรื่อยๆ โดยเขา้ วา่ เคล่ือนจากที่เดิม ถา้ หวั ใจสัตวโ์ ลกอยู่ ยกมาต้งั ใหม่ตามความสาคญั ของใจ จะทาให้เป็นกงั วลไปกบั ฐานน้นั ๆ ไม่เป็นอนั กาหนด ตลอดไป ภาวนากบั กรรมฐานบทน้นั ไดอ้ ยา่ งถนดั ชดั เจน เช่น กาหนดกระดูกศรีษะและเพ่งสิ่งน้นั เป็ น อำรมณ์ จนปรากฏเห็นเป็ นภำพชัดเจนเหมือนกบั ดูดว้ ยตาเน้ือ แตแ่ ลว้ เกิดความสาคญั ข้ึนวา่ ตอ้ งการหลดุ พน้ กระดูกศรีษะน้ันได้เคลื่อนจำกฐำนบนมำอยู่ฐำนล่ำงซ่ึงผิดกับควำมจริงแลว้ กาหนดใหม่ ตอ้ งสร้างสติปัญญา ดงั น้ีเป็นตน้ ซ่ึงเป็นการสร้างความลูบคลาสงสัยใหแ้ ก่ใจอยู่เลยไม่มีเวลาพิจารณาอาการ ข้ึนกบั ใจคล่องแคลว่ น้นั ๆ ให้แนบสนิทลงได้ 46ที่ถูกควรกาหนดอาการน้นั ๆ ใหอ้ ยใู่ นความรู้สึกหรือความเห็น ทาลายภวงั คจิตจะ ภาพแห่งอาการน้ันๆ ดว้ ยความรู้สึกทางสติไปตลอดสายแมภ้ าพของอาการน้ันๆ จะแสดง ทราบภวงั คจิตได้ อาการใหญ่ข้ึนหรือเล็กลงหรือแสดง อาการแตกสลายไป ก็ควรกาหนดรู้ไปตามอาการของ ตอ้ งเป็นผมู้ ีสมาธิอนั มนั โดยไม่คานึงความสูงต่าท่ีเคยกาหนดไวเ้ ดิม การทาอยา่ งน้ีจะทาใหจ้ ิตแนบสนิทและเกิด มน่ั คงและมี ความสลดสังเวชไปกบั อาการท่ีกาหนด ซ่ึงแสดงอาการแปรสภาพใหเ้ ห็นอย่างเตม็ ใจ 47กำร สตปิ ัญญาอนั แหลม กำหนดลมหำยใจและฐำนที่ต้ังของลมก็เหมือนกนั เม่ือกาหนดลมทีแรกไดก้ าหนดไวท้ ี่เช่น หลกั เขา้ การเขตข่าย ไร เช่น กาหนดที่ต้งั จมูกเป็นตน้ เวลาดูลมเพลินไปดว้ ยความสนใจอาจเกิดความสงสัยข้ึนมา แห่งมหาสตมิ หา ในเวลาน้นั ไดว้ า่ ลมได้เคลื่อนจำกต้ังจมูกไปอยู่ในฐำนอ่ืนเป็ นตน้ แลว้ ต้งั ลมที่ต้งั จมูกใหม่ ปัญญา เครื่องมือ คือ ดงั น้ี เรียกวา่ ก่อกวนตวั เองดว้ ยความสาคญั จะเกิดผลไดเ้ ลย เพราะความสงสัยมาแยง่ เอาไป มหาสติมหาปัญญา เสียหมด เพ่ือความถูกตอ้ งและหายกงั วลในฐานต่าง ๆ จึงควรปฏิบตั ิตามที่กล่าวมาในอาการ เป็ นเครื่องมือสังหาร อ่ืนๆ คือพึงทำควำมรู้ในกองลมที่ผ่ำนเข้ำผ่ำนออกด้วยสติทุกระยะไปจนถึงที่สุดของลมแม้ ทาลายภวงั คจิตภวงั ค์ ฐำนของลมปรำกฎว่ำสูงตำ่ หรือผดิ ฐานเดิมไปตามความเขา้ ใจก็ตาม จะไมท่ าใหก้ ารกาหนด อวิชชา น้นั เสียไปแมแ้ ต่นอ้ ยเลย ยงิ่ จะทาใหจ้ ิตกบั ลมสนิทแนบตอ่ กนั ไปตลอดที่สุดของการภาวนา อธิบายวิธีเดิน หรือที่สุดของลม 48ลมหำยใจดับไปในควำมรู้สึก ขณะภำวนำอำนำปำนสติในบางคร้ัง ที่สุด จงกรมกบั วธิ ีนง่ั ของลมคือดับไป ที่สุดของใจคือรวมลงสนิทหมดควำมรับผิดชอบกับลม ต้ังอยู่เป็ นเอกจิต สมาธิ ความเกี่ยว คือ มีอำรมณ์เดียวเพียงรู้อย่ำงเดียวไม่เกี่ยวกับส่ิงใดต่อไปอีก ท่ีเรียกว่ำ จิตรวมสนิท ทาง โยงแห่งแขนง สมาธิภาวนา แต่ผู้ภำวนำอำนำปำนสติ แม้เขา้ ถึงลมละเอียดกับลมดับไปในความรู้สึก ธรรมตา่ งๆควร อธิบายมสี ัมผสั กนั เป็นตอนๆถา้ เห็น ว่าการเดินทาง จงกรมเหมาะกบั นิสัย และไดร้ ับ ความสงบหรือเกิด อุบายต่าง ๆ ข้นึ มา กวา่ วิธีนง่ั สมาธิ ก็ ควรเดินมากกว่า นง่ั ถา้ การนงั่ จิต ไดร้ ับผลมากกวา่ ก็ ควรนง่ั มากกว่า

74 เดิน แตไ่ มค่ วรปิ ด ขณะน้นั เกิดตกใจเดว้ ยความคิดหลอกตวั เองวา่ “ลมดบั ตอ้ งตาย” เพียงเท่าน้ีลมก็กลับมีมำ ทางของการเปล่ยี น และกลำยเป็ นลมหยำบไปตำมเดิม จิตก็หยำบ สุดทา้ ยการภาวนาก็ไม่กา้ วหน้าไปถึงไหนคง อริ ิยาบถ ซ่ึงเป็น ได้เพียงข้นั กลวั ตายแล้วถอยจิตถอยลมข้ึนมาหาท่ีท่ีตนเขา้ ใจว่า จะไม่ตายน้ีเท่าน้ัน การ ความสาคญั ภาวนาแบบน้ีมีมากรายในวงปฏิบตั ิ จึงไดเ้ รียนไวบ้ า้ ง เพราะอาจเกิดมีแก่ท่านที่ภาวนาอานา สาหรับกายเป็ น ปานสติเป็ นบางรายแลว้ อาจเสียทาให้กบั ความหลอกลวงน้ีได้ 49กำรภำวนำเพื่อเห็นควำม เคร่ืองมือทางาน จริงกับลมในอำนำปำนสติ กรุณากำหนดลมด้วยสติจนถึงสุดของลมและของจิต จะเห็น สนใจกบั จิตซ่ึงเป็น ความอศั จรรยอ์ ย่างเด่นชดั ขณะผ่านความกลงั ตายในระยะท่ีเขา้ ใจว่า ลมดบั ไปแลว้ ด้วย สิ่งสาคญั จิตไดร้ ับ การอบรมพอ มี ควำมกล้ำหำญ คือ ขณะเจริญอำนำปำนสติไปถึงลมละเอียดและลมดับไปในควำมรู้สึก เครื่องมอื ป้องกนั ขณะน้นั โปรดทาความเขา้ ใจว่า แมล้ มจะดบั ไปจริงๆ ก็ตาม เม่ือความรู้สึกคือใจยงั ครองตวั เวลาดบั ขนั ธ์ ขณะ อยู่ในร่างน้ี อย่างไรก็ไม่ตายแน่นอน ลมจะดบั ก็จงดบั ไปหรืออะไรๆ ในกำยจะดับไปตำม จิตท่ีรวมลงเป็ น ลมก็จงดับไปตำมธรรมชำติของตน สาหรับในผไู้ มด่ บั ไมต่ ายไปกบั สิ่งเหลา่ น้นั จะกาหนดดู สมาธิมหี ลายขณะ ใหร้ ู้ทกุ อยา่ งบรรดาท่ีผา่ นเขา้ มาในความรู้สึกขณะน้ี แตจ่ ะไม่เป็ นกงั วลกับอะไรทเ่ี ป็ นสภำพ ตา่ งๆ กนั ตามนิสยั เกิดๆ ดบั ๆ 50เพียงเทา่ น้ีจิตจะตัดควำมกลัวและกังวลต่ำงๆ ที่เคยสงั่ สมไวอ้ อกไดอ้ ยา่ งไรไม่ วธิ ีเดินจงกรมและ คาดฝัน และสงบลงถึงฐำนของสมำธิโดยไม่มีอะไรมากีดขวางไดเ้ ลย สิ่งที่เป็นอุปสรรคกีด นงั่ สมาธิภาวนา ขวางขณะลมจะดบั หรือขณะลมดบั ไป กม็ ีเฉพาะความกลวั ตายเทา่ น้นั เอง พอผา่ นอุปสรรค ความสงบของจิต น้ีไปด้วยอุบายดังกล่าวเพียงคร้ังเดียวเท่าน้ัน คร้ังต่อไปความกลวั หายหน้าไปเลยไม่อาจ รวมลงไปถงึ ท่ีแลว้ กลบั มาหลอกไดอ้ ีก เราจึงพอมองเห็นเล่ห์เหล่ียมของกิเลสไดช้ ดั ตอนน้ีแล คร้ันแลว้ เราก็ไม่ จิตเป็ นหน่ึงมี เห็นตายดงั ความคาดคดิ ก็ยง่ิ ทาใหเ้ ห็นตวั มารที่แสนป้ันเร่ืองข้นึ หลอกไดช้ ดั เจน ฉะน้นั ท่าน อารมณ์เดียวกนั ที่ภำวนำอำนำปำนสติ กรุณาจาหนา้ มารตวั น้ีไวด้ ว้ ยดี เวลาเจอกนั ในวนั ขา้ งหนา้ จะไดท้ ราบ การปฏิบตั ิตนดว้ ย วธิ ีหลบหลีกแกไ้ ข และดาเนินไปไดโ้ ดยสะดวกจนถึงฝ่ังแห่งความปลอดภยั ไร้ทุกขท์ ้งั มวล มรรคโดยชอบ ดงั องคศ์ าสดาทา่ นทรงดาเนินธรรมบทน้ีมาก่อนจนไดต้ รัสรู้และนิพพานตวั ธรรมน้ีเป็นบาท ธรรม มรรคคอื ฐาน 51ภวงั คจิต คาวา่ “จติ ตกภวังค์” บางท่านอาจไมเ่ ขา้ ใจจึงขออธิบายไวบ้ า้ งเล็กน้อย คาวา่ ธรรมแกก้ ิเลสกอง “ภวังค์” แปลอย่ำงป่ ำ ๆ ตำมนิสัยท่ีถนัดใจ จึงขอแปลว่า องคแ์ ห่งภพ หรือเรือนพกั เรือน ทุกขท์ างใจ นอนของอวิชชามาต้งั แตด่ ึกดาบรรพแ์ สนกปั นบั ไม่ถว้ น คาวา่ จิตตภวังค์ คือ อวิชชำรวมตัว เข้ำไปอยู่ในท่ีแห่งเดียว ไม่ทำงำนและไม่ใช้สมุนให้ออกเท่ียวล่ำเมืองขึน้ ตำมสำยทำงต่ำงๆ ธาตขุ นั ธอ์ นั เป็น นนั่ แล ทางออกทางเขา้ ของสมุนอวิชชา คือ ตำ หู จมูก สิ้น กำย เมืองข้ึนของอวิชชา คือ รูป เรือนของทุกข์ ร้อยแปด เสียงร้อยแปด กล่ินร้อยแปด รสร้อยแปด เครื่องสัมผสั ร้อยแปด ซ่ึงลว้ นเป็ นที่รัก โดยตรงอยแู่ ลว้ ชอบของอวิชชาท้งั สิ้น สมุนของอวิชชา คือ ราคะตณั หาโดยอาศยั สัญญา สังขาร วิญญาณ ขนั ธก์ ็เป็นขนั ธ์ เหลา่ น้ี เป็นเคร่ืองมือช่วยจดั การงานตา่ งๆ ใหเ้ ป็นไปตามความหวงั 52ขณะที่จติ ตกภวังค์ด้วย และทุกขก์ เ็ ป็น กำลังของสมำธิ อวชิ ชำกพ็ กั งำนไปช่ัวระยะหน่งึ พอจิตถอนข้ึนมาก็เร่ิมทางานอีกตามหน้าที่ ทุกขไ์ ป ของตนแต่ไม่รุนแรงเหมือนที่ยงั ไม่ถูกแขง้ หักหาจากสมาธิภาวนา ดงั น้นั สมำธิภำวนำจึง การออกจากสมาธิ เป็ นเคร่ืองมือตัดกำลังของอวิชชำได้ดี เพื่อปัญหาจะไดท้ าการกวาดลา้ งไปโดยลาดบั จนไม่ ภาวนา พงึ ออก มีอวิชชาเหลืออยู่ภายในใจ คาว่า ภวงั คจิต น้ี เริ่มทราบไดจ้ ากการภาวนาเม่ือจิตรวมสงบตัว ดว้ ยความมีสติ ประคองใจ ถา้ จิต ยงั สงบอยใู่ นภวงั ค์ ขณะออกควรมีสติ ไมค่ วรออกแบบ พรวดพราดไร้ สติสปั ชญั ญะ ซ่ึง เป็ นธรรมประดบั

75 ตวั ตามกิริยาท่ี ลงไปพอถอดออกมำ เรียกว่ำ จิตออกจำกภวังค์ และเร่ิมยงุ ไปกบั เรื่องร้อยแปดทอ่ี วชิ ชำเป็ น เคลื่อนไหว ผู้บงกำร ไม่มีวนั สาเร็จเสร็จสิ้นลงไป ฉะน้นั จึงไม่มีงานใดจะยึดยาวจนสืบสาวราวเร่ืองหา เหตุผลตน้ ปลายไม่ไดเ้ หมือนงานของอวิชชาท่ีแผก่ ระจายไปทุกแห่งหนตาบลหม่บู า้ นตลอด ออกจากสมาธิมาแลว้ โลกสงสาร และกลา้ ไดก้ ลา้ เสียต่องานของตน 53ภวังคจิตจะสูญสิ้นไปไดเ้ มื่อไร ภวงั คจิตไม่ สตทิ ี่เคยประคองจิต มีวนั สูญส้ินไปโดยลาพงั เพราะเป็ นแหล่งสร้ำงภพสร้ำงชำติสร้างกิเลสตณั หามานานและ ไม่ควรปลอ่ ยวางใน ทางเดินของอวิชชำก็คือ กำรสร้ำงภพชำติบนหัวใจสัตว์โลกอยู่ตลอดไป ไม่มีวนั เกียจคลา้ น อริ ิยาบถตา่ งๆ คอื ยืน และอ่ิมพอ ผูป้ ฏิบตั ิถา้ ยงั รักสงวนภวงั คจิตและรักฐานแห่งสมาธิของตนอยู่ ไม่คิดหาทาง เดิน นง่ั นอน และทา ขยบั ตวั เขา้ สู่ปัญญาเพ่ือสอดส่องอวิชชาที่เปรียบเหมือนนางบงั เงาอย่ใู นจิตหรือในภวงั คจิต ขอ้ วตั รหรือทางาน ในสมาธิ ก็เท่ากบั เป็นสมุนของภพชาติอยเู่ ร่ือยไป ไม่มีวนั พน้ ไปได้ 54ถา้ ต้องกำรหลุดพ้น ก็ อะไรอยกู่ ็ควรมสี ติ ต้องสร้ำงสติปัญญำขนึ้ กับใจจนคล่องแคลว่ แกลว้ กลา้ สามารถทาลายภวงั คจิตอนั เป็นตวั ภพ กากบั คาบริกรรม หรือ ชาติน้ันเสีย ภวังคจิตก็สลายหายซากไปเอง ผูจ้ ะทราบภวงั คจิตได้ตอ้ งเป็ นผูม้ ีสมาธิอัน มีสติสมั ปชญั ญะอยกู่ บั มนั่ คงและมีสติปัญญาอนั แหลมหลกั เขา้ การเขตขา่ ยแห่งมหำสตมิ หำปัญญำนน่ั แล นอกนน่ั ตวั ไมป่ ลอ่ ยใจให้ส่าย ไม่สามารถทราบได้ แม้เรียนจบพระไตรปิ ฎก ก็ไม่พ้นจำกควำมพกเอำควำมรู้อวิชชำไว้ แส่ไปตามอารมณต์ ่าง อย่างเต็มพุงไปได้ เคร่ืองมืออนั ยอดเยีย่ มคือ มหำสติมหำปัญญำ นี่แล เป็ นเครื่องมือสังหำร ทำลำยภวังคจิตภวังค์อวิชชำ พระป่ าก็เขียนไปตามนิสัยป่ าอย่างนั่นเอง กรุณาอยา่ ไดถ้ ือสา การรักษาจิตไดท้ ุก และยดึ เป็นหลกั เป็นเกณฑน์ กั เลย เพราะพูดไมม่ ีแบบมีฉบบั เป็นเครื่องมือยนื ยนั รับรองเวลา เวลา เป็นการบารุง ปฏิบตั ิก็อยู่ในป่ า เวลาเรียนก็เรียนในป่ า ธรรมจึงเป็นธรรมป่ ารวมแลว้ มีแต่เร่ืองป่ า ไม่มีคา สติและจิตเพอื่ ควร ว่า คมั ภีร์แฝงอยู่บา้ งเลย 55กำรอธิบำยวิธีเดินจงกรมกบั วิธีน่ังสมาธิก็ไม่ค่อยเป็ นแถวเป็ น แกง่ านดา้ นสมาธิ แนว เน่ืองจากควำมเก่ียวโยงแห่งแขนงธรรมต่ำงๆ ท่ีควรอธิบำยมีสัมผัสกันเป็ นตอนๆ จึง ภาวนาและงาน เขียนวกเวียนซ้าซากไปตามความจาเป็น ผเู้ ร่ิมฝึ กหดั ใหม่อาจเป็นปัญหาและทาให้เกิดความ อน่ื ๆ ไดด้ ี ราคาญอยู่บา้ ง แต่อาจเกิดผลในวาระต่อไป จึงขอสรุปวิธีการท้งั สองลงว่า ถา้ เห็นว่ากำร ย่งิ ผมู้ ีภมู ิจิตภมู ิ เดินทำงจงกรมเหมำะกับนิสัย และได้รับควำมสงบหรือเกิดอุบำยต่ำง ๆ ขึน้ มำกว่ำวิธีน่ัง ธรรมสูงมาก สมำธิ ก็ควรเดินมำกกว่ำนั่ง ถ้ำกำรนั่งจิตได้รับผลมำกกว่ำก็ควรนั่งมำกกว่ำเดิน แต่ไม่ควร เพียงไร สติกย็ งั ปิ ดทำงของกำรเปลี่ยนอิริยำบถ ซ่ึงเป็ นควำมสำคัญสำหรับกำยที่เป็ นเครื่องมือทำงำน ท้งั เป็ นธรรมจาเป็ น สองน้ีจะเป็นวิธีในก็คือการทางานกิเลสส่ิงพอกพูนภพชาติ และกองทุกขท์ ้งั มวลภายในใจ ทุกระยะโดย อนั เดียวกนั นน่ั แล 56กรุณาทาความสนใจกบั จิตซ่ึงเป็นส่ิงสาคญั ของโลกดว้ ย โลกกบั เราจะ ปราศจากไมไ่ ด้ อยดู่ ว้ ยกนั เป็นผาสุก ไมอ่ ยดู่ ว้ ยความเดือดร้อนนอนครางนกั เพราะจิตได้รับกำรอบรมพอ มี เคร่ืองมือป้องกนั หลบซ่อนบา้ งดีกวา่ ที่ไม่มีอะไรในตวั เลย เวลำดบั ขันธ์จะไดอ้ าศยั พ่ึงร่มพ่ึง ทาสมาธิภาวนา เงาควำมดีภำยในตัวท่ีส่ังสมไว้ สัตว์โลกเป็ นไปกับกรรมดีกรรมชั่ว และเสวยผลเป็นสุขเป็น และพจิ ารณาธรรม ทุกข์บา้ งตลอดเวลา ไม่เคยมีสัตว์ในหรือผูใ้ ดหลีกพน้ ไปได้โดยไม่ยอมเสวยผลที่ไม่พึง ท้งั หลายดว้ ยแลว้ ปรารถนา แมใ้ นโลกมนุษยเ์ ราก็รู้เห็นกนั อยอู่ ย่างเต็มตาเต็มใจท้งั ท่านและเราตลอดสัตว์ ซ่ึง สติกบั ปัญญาตอ้ ง มีสุขบา้ งทุกขบ์ า้ งเจือปนกนั ไปเป็นคราวๆ ในรายหน่ึงๆกำรอบรมควำมดีมีศีลสมำธิปัญญำ กลมกลนื เป็นอนั เป็ นตน้ เพ่ือเป็ นเรือนใจอนั เป็ นส่ิงที่ผูบ้ าเพ็ญจะพึงรู้เห็นในปัจจุบนั วนั น้ีชาติน้ีไม่สงสัย เดียวกนั ไปโดย ตลอดไม่ยอมให้ ขาดวรรคขาดตอน ได้ บรรลุธรรมชา้ หรือเร็วแมจ้ ะ ต่างกนั ตามนิสัย วาสนา ก็ยงั ข้ึนอยู่ กบั สติปัญญาเป็น ของสาคญั อยดู่ ว้ ย ผเู้ ร่งรัดทางสติมาก สมาธิก็ปรากฏได้

76 เร็วมาก คดิ อา่ น เช่นเดียวกบั สมยั พทุ ธกาล ส่วนขณะจิตท่ีรวมลงเป็นสมาธิซ่ึงมีหลายขณะตา่ งๆ กนั ตามนิสัย ทางปัญญากไ็ ปได้ น้นั ไมข่ อแสดงไว้ ณ ที่น้ี เกรงวา่ ทา่ นที่เร่ิมปฏิบตั ิจะคิดคาดหมายไปตา่ งๆ ซ่ึงมิใชค้ วามจริง เร็ว ที่เป็ นเองจากสมาธินิสัยของตน 57อธิบำยวิธีเดินจงกรมและน่ังสมำธิภำวนำ อธิบายเป็ น กลางๆ นาไปปฏิบตั ิไดท้ ้งั พระและฆราวาส ส่วนผลคอื ความเป็นจิตท่ีเกิดจากการเดินจงกรม ส่งั สอนเนน้ หนกั หรือนั่งสมาธิน่ัน ส่วนใหญ่คือควำมสงบของจิต เวลำรวมลงไปถึงที่แล้ว จิตเป็ นหนึ่งมี เรื่องสติมาก ไม่ว่า อำรมณ์เดียวกัน ส่วนย่อยท่ีอาจเป็ นไปตามนิสัยน้ันผิดกนั ผูป้ ฏิบตั ิจึงไม่ควรกงั วลเมื่อได้ ความเพยี รในทา่ ใด รับทราบจากเพื่อนฝงู เลา่ ใหฟ้ ังวา่ จิตเขาเป็นอยา่ งน้นั รู้อยา่ งน้นั เห็นอยา่ งน้นั และเห็นนิมิต อริ ิยาบถใด เพื่อภูมิ ต่างๆ อย่างน้นั โปรดถือหลกั ใหญ่คือ ความสงบ ขณะที่จิตรวมลงเป็ นคำสำคัญเป็ นหลัก จิตภูมิธรรม รับรองผลของสมำธิโดยท่ัวไป ท่านที่มีควำมเพียรพยำยำมอยู่แลว้ ไม่นิยมว่าเป็ นนักบวช หรือสาธุชน ยอ่ มจะเห็นความอศั จรรยข์ องจิตจากสมาธิภาวนาในวนั หน่ึงแน่นอน 58ข่าวที่ เคยอ่านในประวตั ิของอริยสาวกท้งั หลาย จะหลายมาเป็ นข่าวของตนในวนั หน่ึงจนได้ เพราะส่ิงท่ีเป็นกิเลสบาปกรรมและธรรมเครื่องแกก้ ิเลสน้นั มีอยกู่ บั ทุกคนและท้งั คร้ังโน้น คร้ังน้ีไม่ลาเอียง ผปู้ ฏิบตั ิเป็นสามีจิกรรมชอบในสมาธิวิธี ผลเป็นท่ีพอใจเหมือนอริยสาวก ในคร้ังพุทธกาลไดร้ ับ ตนจะพึงไดร้ ับเช่นกนั ขอ้ สาคญั อยา่ คาดกาลสถานที่วา่ เป็นท่ีเกิดแห่ง มรรคผลนิพพานยิง่ ไปกวา่ กำรปฏิบัติตนด้วยมรรคโดยชอบธรรมเถิด นี่แลเป็ นเคร่ืองปลด เปลื้องกิเลสกองทุนทำงใจออกไดโ้ ดยสิ้นเชิง และมรรคน่ีแลคือธรรมแกก้ ิเลสกองทุกข์ทาง ใจออกไดโ้ ดยส้ินเชิงและมรรคน่ีคอื ธรรมแกก้ ิเลสโดยตรงเรื่อยมาแต่คร้ังโนน้ ถึงตรงน้ีไมม่ ี การเปลี่ยนแปลง กรุณานามาแกจ้ ิตซ่ึงเป็นที่เกิดท่ีอยแู่ ห่งกิเลศท้งั มวลใหเ้ ห็นประจกั ษข์ ้ึนกบั ใจ ว่าใจไดเ้ ปล่ียนตวั จากความเคยเป็ นภาชนะแห่งกิเลสท้งั หลายมาเป็ นภาชณะแห่งธรรม โดยลาดบั จนเป็นธรรมท้งั ดวง 59ใจถา้ ลงไดเ้ ป็นธรรมท้งั ดวงแลว้ อยทู่ ี่ไหนๆ ก็อยเู่ ถิด ความ เกิดทุกขท์ างใจจะไมม่ ีมาเยย่ี มมาผา่ นอีกเลย นอกจากธาตุขนั ธ์อนั เป็นเรือนของทุกขโ์ ดยตรง อยแู่ ลว้ ขันธ์ก็เป็ นขันธ์และทุกข์ก็เป็ นทุกข์ไปตามเคย จนถึงวนั สุดทา้ ยปลายแดนแลว้ ก็สิ้น ซากจากความเป็ นขนั ธ์เป็ นทุกขไ์ ปตามกัน คาว่า อวิชชำ ท่ีเคยเรืองอานาจบนหัวใจก็ส้ิน อานาจขาดความหมายไป ในขณะที่จิตกลายเป็ นธรรมท้งั ดวงไปแลว้ แลงานของธรรมมี ความส้ินสุดยตุ ิและหลุดพน้ ไปไดไ้ ม่เหมือนงานของอวิชชาซ่ึงแผก่ ระจายไปทว่ั โลกสงสาร ไม่มีประมาณ และเวลาจบส้ินจงได้ จึงพอนาผลมาเทียบกนั ดูว่างานหน่ึงไม่มีประมาณและ เวลาจบส้ินลงได้ แมจ้ ะทาไปก่ีกปั ก่ีกลั ป์ ก็พาให้หมุนเวียนอยู่ตลอดไป แต่งานหน่ึงมีทาง เสร็จสิ้นลงได้ ไมต่ อ้ งวกวนขนทุกขไ์ ปแบกหามอยเู่ ร่ือยไป ท้งั สองงานน้ี ผเู้ คยผา่ นมาพอจะ ทราบผลที่ผิดกนั เป็นคนละโลก ถา้ ให้เลือกดว้ ยความเป็นธรรมจะเอางานไหน เพียงเท่าน้ีก็ พอมีทางออกได้ ไม่ติดจมอยู่กับงานวนงานเวียนน้ัน จนลืมสนใจคิดถึงธรรมสมบตั ิเพ่ือ ตนเองในกาลต่อไป 60กำรออกจำกสมำธิภำวนำ เวลาออกจากที่ภาวนา พึงออกด้วยควำมมี สติประคองใจ ถ้ำจิตยังสงบอยู่ในภวังค์ นน่ั มิใช่ฐานะจะบงั คบั ใหถ้ อนข้ึนมาแลว้ ออกจากที่ ภาวนา แมถ้ ึงเวลาจะตอ้ งไปทางานการหรือออกบิณฑบาติก็ไม่ควรรบกวน ปล่อยให้รวม สงบอยู่จนกว่าจะถอนข้ึนมาเอง งานภายนอกแม้จาเป็ นก็ควรพกั ไวก้ ่อนในเวลาเช่นน้ัน

77 เพราะงานภวงั คจิตสาคญั กว่ามากมายจนนามาเทียบกนั ไม่ได้ หากไม่ไดห้ ากไปบงั คบั ให้ ถอนข้ึนมาท้งั ท่ีจิตยงั ไม่ชานาญในการเขา้ การออกจะเป็นความเสียหายแก่จิตในวาระตอ่ ไป คือจิตจะไม่รวมสงบลงไดอ้ ีกดงั ที่เคยเป็นแลว้ จะเสียใจภายหลงั เพราะเรื่องทานองน้ีเคยมี เสมอในวงปฏิบตั ิ จึงควรระมดั ระวงั อยา่ ให้เรื่องซ้ารอยกนั อีก 61การออกถา้ จิตรวมสงบอยกู่ ็ ตอ้ งออกในเวลาที่จิตถอนข้ึนมาแลว้ หรือเวลาที่รู้สึกเหน่ือย ขณะออกก็ควรมีสติ ไม่ควร ออกแบบพรวดพรำดไร้สติสัปชัญญะ ซ่ึงเป็นธรรมประดบั ตวั ตามกิริยาที่เคลื่อนไหว ก่อน ออกควรนึกถึงวิธีทาท่ีตนเคยไดผ้ ลในขณะท่ีทาสมาธิก่อนว่า ไดต้ ้งั สติกาหนดจิตอย่างไร นึกคาบริกรรมบทใดชา้ หรือเร็วขนาดใด ใจจึงรวมสงบลงได้ หรือเราพิจารณาอย่างไรดว้ ย วิธีใด ใจจึงมีความแยกคายไดอ้ ยา่ งน้ี เม่ือกาหนดจดจาท้งั เหตุและผลท่ีตนทาผา่ นมาไดท้ ุก ระยะแลว้ ค่อยออกจากสมาธิภาวนาการที่กาหนดอย่างน้ีเพ่ือวาระหรือคราวต่อไปจะทาให้ ถูกตอ้ งตามรอยเดิมและง่ายข้ึน 62เฉพาะนกั บวชท่ีเป็ นนักปฏิบัติอยู่แลว้ แมอ้ อกจำกสมำธิ มำแล้ว สติท่ีเคยประคองจิต ก็ไม่ควรปล่อยวำงในอิริยำบถต่ำงๆ คือ ยืน เดิน น่ัง นอน และ ทำข้อวัตรหรือทำงำนอะไรอยู่ก็ควรมีสติกำกับคำบริกรรม หรือ มีสติสัมปชัญญะอยู่กับตัว ไม่ปล่อยใจให้ส่ำยแส่ไปตำมอำรมณ์ต่ำง ตำมนิสัยของจติ ทเ่ี คยต่ออำรมณ์ กำรมสี ตอิ ยู่กับคำ บริกรรมหรือมีสติอยู่กับตัว กิริยำที่แสดงออกต่ำงๆ ทำงกำยวำจำย่อมไม่ผิดพลำด และเป็น ความงามไมแสลงหูแสลงตาผอู้ ื่น แมจ้ ะมีนิสัยเช่ืองชา้ หรือรวดเร็วประการใด ก็อยใู่ นกรอบ แห่งความร่าดูน่าฟังและงามตา ขณะทาสมาธิภาวนาจิตก็สงบลงไดเ้ ร็วเพราะสติเคร่ือง ควบคุมใจและงานที่ตนกระทาอยู่กบั ตวั ถา้ เป็ นสัตวก์ ็อยู่ในความอารักขาจะจบั มาใชง้ าน เม่ือไรก็ง่าย ภยั ก็ไม่ค่อยเกิดไดง้ ่ายเหมือนปล่อยไปตามยถากรรม 63จิตพยายามรักษาอย่ทู ุก เวลาแมไ้ ม่รวมสงบลงไดด้ งั ใจหวงั ก็ไม่ค่อยเทียวก่อกรรมทาเข็ญใส่ตวั เหมือนที่ปล่อยไป ตามยถากรรม กำรรักษำจิตได้แทบทุกคร้ังหรือได้ทุกเวลำน้นั เป็ นกำรบำรุงสติและจิตเพ่ือ ควรแก่งำนด้ำนสมำธภิ ำวนำและงำนอ่ืนๆ ได้ดี งานใดก็ตามท่ีผทู้ าทาดว้ ยความจงใจ มีสติจด จ่ออยกู่ บั งาน งานน้นั ยอ่ มเป็นที่น่าดูไมค่ ่อยผดิ พลาด ตวั เองกไ็ ม่เป็นคนเผอเรอ เป็นคนหรือ พระท่ีอยใู่ นระดบั ไม่ลดฐานะและการงานใหเ้ ป็นของน่าเกลียด 64ท่ีวา่ “สติจำต้องปรำรถนำ ในที่ท้ังปวง” น้ัน ถูกตอ้ งเหมาะสมอย่างยิ่งหาที่คดั คา้ นไม่ได้ ท้งั น้ีเราจะเห็นความจาเป็ น ของสตใิ นเวลำทำสมำธิภำวนำ หรือ การพิจารณาธรรมภาคทวั่ ไป สติจาตอ้ งตามกิจการ น้นั อยทู่ กุ ระยะ จึงจะทราบเรื่องราวของจิตของธรรมไดล้ ะเอียดลออสมความม่งุ หมาย ย่งิ ผู้มีภูมิ จิตภูมิธรรมสูงมำกเพยี งไร สติก็ยังเป็ นธรรมจำเป็ นทกุ ระยะโดยปรำศจำกไม่ได้เลย ปัญญา จะคมกลา้ สามารถเพียงไร สติก็ยงั เป็นธรรมจาเป็นทุกระยะ โดยปราศจากไม่ไดเ้ ลย ปัญญา จะคมกลา้ สามารถเพียงไร ย่อมข้ึนอยู่กบั สติเป็ นเคร่ืองพยุงส่งเสริม แมป้ ัญญาจะกา้ วข้ึนสู่ ภูมิมหาปัญญาก็เป็ นการแสดงถึงสติว่ำ ต้องก้ำวขึ้นสู่มหำสติเช่นเดียวกนั เพราะสติเป็ น ธรรมเครื่องนาทางของงานทุกชนิด คนเราธรรมดาสามญั เพียงขาดสติไปบา้ งบางเวลา กิริยา ท่ีแสดงออกไม่น่าดูเลย ยิ่งปล่อยใหข้ าดไปมากแบบไม่สนใจในเลยแลว้ ก็นบั ว่าจวนจะเขา้ แน่นนอนไม่สงสัย 65นักปฏิบตั ิท่ีบรรลุธรรมชา้ หรือเร็วแมจ้ ะต่างกนั ตำมนิสัยวำสนำ ก็ยงั

78 ผล ข้ึนอยู่กบั สติปัญญาเป็นของสาคญั อย่ดู ว้ ย ผูเ้ ร่งรัดทำงสติมำก สมำธิก็ปรำกฏได้เร็วมำก คิด อ่านทางปัญญาก็ไปไดเ้ ร็วผิดกนั เราคิดเพียงงานเขยี นหนงั สือก็พอทราบได้ คือถา้ วนั ใดสติ พยงุ ส่งเสริมจิตใจ เลื่อนลอยเพราะความคิดสับสนมาก วนั น้นั เขียนหนงั สือก็ผิดๆ ถูกๆ ท้งั ขดี ท้งั ฆ่ายงุ ไปหมด กายวาจา แต่ถา้ วนั ใดใจไม่ย่งุ สติมีอยู่กบั ตวั บา้ ง วนั น้นั เขียนหนงั สือก็ถูกดีไม่ค่อยขีดฆ่าอะไรนกั เลย เพอ่ื สติปัญญาจะ ท่านที่มีชื่อเสียงกิตติศพั ทก์ ิตติคุณในทำงจิตทำงธรรมโดยมำกมักเห็นควำมสำคัญของสติ ไดต้ วั ทราบว่าเวลา ท่านพยายามต้ังสติอยู่ตลอดมาไม่ยอมให้พล้ังเผลอไปได้ ย่ิงเวลาทาสมาธิภาวนาและ น้ีตกอยใู่ นสภาพ พิจารณาธรรมท้งั หลายดว้ ยแลว้ สติกับปัญญำต้องกลมกลืนเป็ นอนั เดียวกันไปโดยตลอดไม่ เช่นไร ยอมให้ขำดวรรคขำดตอนได้ ผูเ้ ช่นน้นั ทาอะไรอยู่ที่ใด ก็คือผมู้ ีชาครธรรมเคร่ืองต่ืนอยู่กับ การหดั อ่านตวั เอง ตวั เป็นผมู้ ีเคร่ืองป้องกนั ตวั อยา่ งแน่หนา มน่ั คง ขา้ ศึกยากจะเขา้ ถึงได้ ภยั ทางใจจึงไม่มี ผิด ดว้ ยสมาธิภาวนา กบั ผไู้ ม่มีสติซ่ึงเป็นพวกกอบโกยทุกขเ์ ป็นไหนๆ มีเทา่ ไรรับเหมาจนหมด 66ท่ำนอำจำรย์ม่ัน ทราบตวั เองกต็ อ้ ง ทราบเร่ืองทกุ ขท์ ่ี ท่ำนส่ังสอนเน้นหนักเรื่องสติมำก ไม่ว่าความเพียรในท่าใด อิริยาบถใด ไม่ว่าผูเ้ ริ่มอบรม เกิดกบั ตวั ใหม่หรือเก่า ท่านเป็ นตอ้ งสอนสติตำมไปกับโอวำทเพ่ือภูมิจิตภูมิธรรมของผู้มำศึกษำน้นั ทรงเสวยและเสวย ไม่ลดละเลย ท่านวา่ ท่านเคยเห็นโทษแห่งความขาดสติและเห็นคุณในความมีสติท้งั ในระยะ วมิ ุตตสิ ุขการสอน เริ่มตน้ แห่งความเพยี รตลอดไปถึงที่สุดจุดหมายปลายทางมาแลว้ วา่ เป็นส่ิงสาคญั ดว้ ยกนั ท้งั ธรรมจึงสอนลงทจี่ ิต สองอยา่ ง ประมาทไม่ได้ โดยให้ความมนั่ ใจแก่นกั ปฏิบตั ิวา่ นกั ปฏิบตั ิในเพศใดวยั ใดก็ตาม ดว้ ยธรรมปฏิบตั ิคือ ถ้าเป็ นผูส้ นใจกับสติอยู่เสมอไม่ให้ขาดวรรคขาดตอนในอิริยาบถและอาการต่าง ๆ นัก ศีล สมาธิ ปัญญา อนั ปฏิบตั ิน้นั จะพึงมีหวงั ไดช้ มสมาธิสมาบตั ิมรรคผลนิพพานไมพ่ น้ มือไปได้ เป็ นหลกั 67มิไดม้ ุ่งติเตียนทาลายท่านสุภาพชนท้งั หลายดว้ ยอรรถธรรมท่ีกล่าวมา แต่กล่าวมาเพ่ือช่วย ยงิ่ มผี ูใ้ หญเ่ ป็นคน พยุงส่งเสริมจิตใจกำยวำจำที่กาลงั ถูกส่ิงลามกตกโคลนมาทาหน้าที่เป็นนายเขยี งสบั ยา เป็น ดีจานวนมาก อาหารอนั อร่อยของมนั ต่างหาก 68เพ่ือสติปัญญำจะได้สะดุดตัวทรำบว่ำเวลำนี้เรำตกอยู่ใน เพียงไร ก็เป็นการ สภำพเช่นไร จึงพยายามดว้ ยอุบายที่เห็นว่า 69จะพอเป็นเคร่ืองช่วยใหพ้ น้ ภยั จากมนั บา้ งสม เป็ นพุทธศาสนิกชนทางที่พอจะทราบได้คือ กำรหัดอ่ำนตัวเองด้วยสมำธิภำวนำ ซ่ึงเป็ น อุบายที่ควรทราบไดง้ ่ายกวา่ วิธีอ่ืนเพราะกิจน้ีอยู่กบั ตวั ทาหน้าที่ อยู่ในตวั และคิดอ่านเร่ือง ของสัตวโ์ ลกไปในตวั โดยตรง ผิดกบั ถูก ดีกบั ชวั่ สุขกบั ทุกขก์ ็มีอยูก่ บั ตวั เม่ืออ่านบ่อยๆ ก็ ค่อยทราบไปเอง เมื่อทราบตวั เองก็ตอ้ งทราบเรื่องทุกขท์ ่ีเกิดกบั ตวั จิตใจกน็ บั วนั จะเด่นดวง และมีคณุ ค่าข้ึนรราวกนั สินคา้ ข้ึนราคานน่ั แล 70ทา่ นผใู้ ดพยำยำมชำระแก้ไขสิ่งดงั กลา่ วออก ไดม้ ากนอ้ ยเพียงไรยอ่ มไดร้ ับความสุขมากน้อยตามเหตุที่ชาระได้ ถึงขึน้ บริสุทธ์ิก็เป็ นผ้สู ิ้น ทุกข์ทางใจในท่ามกลางแห่งขนั ธ์ท่ีกาลงั ครองอยู่ ดงั พระพุทธเจา้ และพระอรหตั ท์ ่านท่ีตรัส รู้และบรรลุธรรมแลว้ ยอ่ มทรงเสวยและเสวยวิมุตติสุขในขณะน้นั โดยไม่อา้ งกาลสถานท่ีเลย ขอแต่กเิ ลสท่ีเป็ นตัวข้ำศึกแก่จิตใจได้สิ้นสูญไปก็พอแลว้ ฉะน้นั จึงมีเพียงกิเลสอยา่ งเดียวก้นั กางมรรคผลนิพพานไม่ให้จิตบรรลุถึงได้ นอกน้นั ไม่มีอะไรหรือผูใ้ ดมีอานาจก้ันกางได้ การสอนธรรมจึงสอนลงที่จิตซ่ึงเป็ นที่ซ่องสุมของกิเลสท้งั มวล ด้วยธรรมปฏิบัติคือ ศีล สมำธิ ปัญญำ อนั เป็ นหลกั ในบรรดาธรรมแกไ้ ขบุกเบิก 71สุภาพชนถา้ เป็ นผูใ้ หญ่มีอานาจ วาสนามาก ก็ทาประโยชน์แก่ประชาชนราษฏรไดม้ าก ราษฎรเคารพนบั ถือและยกยอ่ มเป็น


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook