Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 64 รายงานผลการวิจัย

64 รายงานผลการวิจัย

Published by วิจัย แม่โจ้, 2022-06-10 04:17:13

Description: 64 รายงานผลการวิจัย

Search

Read the Text Version

679 สติสัมปชญั ญะ รู้พร้อมอยู่ท่ีเทา้ เดิน ยืน นั่งสมาธิ นอน รับประทานอาหาร จิตรู้อวยั วะอาการ 32 ครบถว้ น ฐานท่ีต้งั ฐานสร้างพลงั จิต กาหนดรู้ในอาการ 32 เป็นสมาธิที่เป็นเองโดยธรรมชาติ ใชพ้ ลงั งานสมาธิรักษา โรค เอาพลงั จิตมองในกาย มองเห็นอวยั วะ 2) ต้ังใจทำสติรู้ที่จิต จิตเป็ นผู้สั่ง จิตผู้รู้ชัดผู้ส่ัง ประกอบดว้ ย จิตเขา้ มารู้กาย ทาสมาธิ อาศยั คาบริกรรม ภาวนาเป็นหลกั สอนใหภ้ าวนาพุทโธ จิต ติดกบั คาวา่ “พุทโธ” มา บริกรรมภาวนา ภำวนำพุทโธ จิตสงบ คาบริกรรมภาวนาเป็นอุบาย ทาใหจ้ ิตสงบ จิตอยกู่ บั พุทโธท้งั ตวั สติ ตามรู้ไปเรื่อยๆ จิตนึกพุทโธอยู่ ปลอ่ ยใหฝ้ ึกอยนู่ ึกพุทโธ กาหนดคดิ อ่าน เรียกวา่ จิตตานุปัสสนา อารมณ์จิต เป็นส่ือนาจิตไปสู่ความสงบเป็นสมาธิ เป็นอปั ปนาสมาธิ จิตกา้ วหนา้ อยูใ่ นฌานสมาบตั ิได้ กาหนดจิตอยา่ ง เดียว รู้หมดทุกอย่าง เป็ นผูร้ ับความคิด จิตเดียว รู้อย่างไม่มีภาษา ความตายพิจารณาดูจิตออกจากร่าง จิต สารวจร่างกาย ที่สุดร่างกายสลายตวั ไมม่ ีอะไรเลย เหลือความวา่ ง ประสบการณ์ในจิตผภู้ าวนา จิตข้นั สมถะ จิตอยใู่ นฌาน ไมม่ ีความรู้ ต้งั ใจกาหนดรู้จิต ต้งั ใจปฏิบตั ิสมาธิจริงใจ ฝึกสมาธิคลอ่ งในฌาน จิตธรรมชาติ จิต ผูม้ ีสมาธิ อุปจารสมาธิได้ฌานได้ญาณ จิตสงบลงไป ละเอียดลงไป คาบริกรรมภาวนาหายไป เกิดปี ติ ความสุข 3) สภำวธรรม ศำสตร์ควำมรู้ ส่ิงรู้โดยจิตใจ โดยสภำวะ จิตคิดไปสุด จิตตดั กระแสไปสู่ความ สงบน่ิง เป็ นไปสู่อปั ปนาสมาธิ อุบำยวิธี จิตเดินทำงสำยกลำง 1)บริกรรมภาวนาบ่อย 2) พิจารณาบ่อย ให้ ชานาญ จิตมีความคดิ ข้ึนมา อารมณ์ต่างๆ ใหม้ ีสติ สัมปชญั ญะ ความรู้ไปทุกขณะจิต จติ แนวแน่ จติ อยู่ในพุท โธ สัมมำสมำธิ จิตสงบต้ังมั่น ควำมรู้เห็นผู้เห็นอำรมณ์จิต ดูจิตในขณะปฏิบตั ิเป็นกลาง เฉยๆ จิตรู้สมาธิ มี สติ รู้ต่ืน เบิกบาน มีพลงั งาน จิตดวงสว่าง ไม่มีร่างกายตวั ตน ปฏิบตั ิตามสมถะ จิตดาเนินสงบ เป็ นอุปจาร สมาธิและอปั ปนาสมาธิ ไดฌ้ าน จิตอยใู่ นสมาธิเพื่อกาหนดรู้ กาหนดดูจิต สักแต่วา่ เป็นความคิดเอกคั คตา รมณ์เที่ยงธรรม สุขไม่ปรากฏ ทุกขไ์ ม่ปรากฏ ยินดียินร้ายไม่มี มีจิตเป็ นหน่ึง กายเป็ นจิตพุทธะ ผูร้ ู้ ผูต้ ่ืน ผู้ เบิกบาน ร่างกายหายไปหมด จิตปล่อยวาง ฝึ กเป็นอิสระ พุทโธ กบั จิต จิตนึกพุทโธ โดยไม่ต้งั ใจ จิตติดกบั พุทโธ บริกรรมภาวนา พุทโธ เกิดความคิด ให้พิจารณา อนิจจงั ทุกขงั อนตั ตา เป็นจริงจงั เอาความคิดเป็ น อารมณ์กรรมฐาน ใช้คาบริกรรมนึกทาในใจ จิตสงบเพียงอุปจารสมาธิ ท่อง “พุทโธ” ทุกขณะจิต ยืน เดิน นงั่ นอน ด่ืม ท่องพุทโธใดต้ ลอดเวลา 4) จิตเพ่งจิต เกิดสติปัญญา ตามความเป็นรู้พระไตรลกั ษณ์ จิตฝึ กฝน อบรม สงบ รู้อนิจจงั กาหนดรู้ที่จิต ให้สติ ตามรู้ความคิด ปัญญำรู้ว่ำนอกจำกทุกข์ไม่มีอะไรเกิด นอกจำก ทุกข์ไม่มีอะไรดับ ให้จิตชานาญการพิจารณา จิตปฏิบตั ิไดเ้ อง อตั โนมตั ิ จิตเป็ นตวั รู้ สติสัมปชญั ญะ เป็ น ปัญญา อะไรเกิดดบั จิตเกิดจิตดบั กาหนดหมาย ความเกิดดบั เป็นอารมณ์ เป็นฐานที่ต้งั ของสติ จิตมีสติรู้ทนั จิตเป็นผคู้ ิด สติเป็นผกู้ าหนดรู้ สักแต่วา่ “คิด” คิดแลว้ ปล่อยว่างไป หยดุ คิดเกิดความวา่ ง คิดรู้ อยทู่ ี่ความคิด สลบั ไปเป็นการภาวนา จิตเขา้ สู่ภาวะ “พุทธะ”จิตรู้ต่ืน เบิกบาน คาบริกรรมภาวนาหายไป เป็นอุปจารสมาธิ จิตตามกาหนดคิดอา่ นจิต ธรรมสติกากบั ปฏิบตั ิ หลกั คาสอนธรรม ศีล สมาธิ ปัญญา 4) ฐำนธรรมำนุปัสสนำ สรุปไดว้ ่า 1) ธรรมะคืออะไร กำยกับใจ หลักธรรมคำสั่งสอน ศีล สมำธิ ปัญญำ รูปกบั จิต ประกอบดว้ ย ใหร้ ู้เร่ืองกายกบั ใจ กาย เวทนา จิต ธรรม ต้งั ใจปฏิบตั ิตามแบบแผนตารา ครู บาอาจารย์ ไม่ยึดวิธีการเกินไป ตอ้ งปฏิบตั ิ อย่างจริงจงั ตามคาแนะนาของอาจารย์ ปฏิบัติวิปัสสนำ ความคิด เกิดข้ึน มีสติรู้ ยกอารมณ์วิปัสสนากรรมฐาน รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ พิจารณาอนิจจงั ทุกขงั

680 อนตั ตา กำรฝึ กสมำธิคือ การทาจิตใหม้ ีส่ิงรู้ และการทาสติใหม้ ีสิ่งระลึก สร้างพลงั เขม้ แขง็ อารมณ์จิตเป็ นผู้ สง่ั การ สติเป็นเครื่องมือ สาคญั สงั่ ใหส้ ติตามรู้ทางาน ปลอ่ ยใหค้ ิด มีสติตามไป 2) ภำวนำ คือ กำรอบรม กำย วำจำ ใจ กาหนดดว้ ยจิต เป็นธรรมารมณ์ รู้ดว้ ยจิต สิ่งน้นั คือ ธรรม กาหนดอุกุศล กุศล เป็นธรรมานุปัสสนา สติพิจารณาทาสติสัมปชญั ญะ เอาความคิดเป็ นอารมณ์กรรมฐาน ความคิด คิดไป สติตามรู้ตามไปไม่หยุด การภาวนา 3 ข้นั ตอน 1)บริกรรม พุทโธ จนจิตบริกรรมจิตเป็ นสมาธิ 2)ฝึ กหัดจิต พิจารณากา้ วเดิน จิตเกิด สติปัญญารู้เท่าทนั 3)ตามรู้กาหนดรู้ ความรู้สึกตวั รู้เท่าทนั จิต วิธีการอาศยั หลกั บริกรรมภาวนา ตามรู้ ความคดิ ทอ่ งคาถาไวใ้ นใจ กาหนดรู้ ศีล อบรมสมาธิ สมาธิอบรมปัญญา ปัญญาอบรมจิต ปัญญาเกิดข้ึน คอื ความคิดข้ึนมาส่วนลึกของจิต วิธีการ “องค์บริกรรมภาวนา” นึกในใจท่องบริกรรม อะไรก็ได้ ที่ถนัด ปฏิบตั ิสมถะแบบสากล เอางานเป็นอารมณ์ เอาสติสัมผสั ปฏิบตั ิทุกขณะจิต ความรู้ความคิดจดั เป็น ธรรมา นุปัสสนาสติปัฏฐาน 3) อริยสัจ 4 กฎธรรมชำติเป็ นสภำวธรรม อยู่ในกฎอนิจจัง ทุกขัง อนัตตำ ประกอบด้วย ทุกขอริยสัจ สติสัมปชัญญะ ย่อมรู้ทุกข์ ภายในจิต สติสัมปชัญญะเป็ นตัวปัญญา ถ้ามี สติสมั ปชญั ญะ คอื อริยสจั ดวงตาเห็นธรรม ส่ิงใดสิ่งหน่ึงเกิดข้นึ เป็นธรรมดา ส่ิงน้นั ดบั ไปเป็นธรรมดา ทุก ขอริยสัจ ไดค้ วามรู้ปรากฏแก่จิต รู้ธรรมเห็นธรรม ความคิดเป็นอารมณ์ สิ่งรู้สติ มีสติกาหนดความคดิ เกิดดบั ในปัจจุบนั สติ จิต ความคิด เกิดข้ึน ให้มีสติกาหนดรู้ อยู่ตลอดเวลา มีสติตามรู้ไป กาหนดรู้จิตอตั โนมัติ ญาณหยง่ั รู้ไดก้ าเหนิดข้ึน ปัญญาเกิดข้ึน คือ ความรู้ความคิด รู้แลว้ ปล่อยว่าง อาศยั ความรู้แจง้ เห็นจริง จิต ยอมรับสภาพความเป็นจริง 4) สติสัมปชัญญะเป็ นตัวปัญญำ กำหนดหมำยรู้ควำมคิด “ไม่เท่ียง” จุดเริ่มต้น วิปัสสนำ ต้ังใจให้มีสัจจะ รู้แจ้งเห็นจริงตำมควำมเป็ นจริง ประกอบดว้ ย สร้างพลงั จิต กาจดั นิวรณ์ 5 จิต กาหนดรู้เป็นธรรมานุปัสสนาสติปัฏฐาน การทางานสมาธิเขา้ ใจเป็นสัมมาสมาธิ ความคดิ เป็นเครื่องรู้ของจิต เป็ นอุบายจิต กาหนดรู้จิตเกิดตลอดเวลา อาศัยจิตเป็ นเครื่องรู้ ตามสติตามรู้ความคิด ความคิดเป็ นอารมณ์ กรรมฐาน ภาวนาพุทโธ เอาจริงจงั ใจอยกู่ บั “พุทโธ” ตลอดเวลา 24 ชว่ั โมง “พุทโธ” ต้งั ใจบริกรรม ใจอยกู่ บั พทุ โธ 24 ชวั่ โมง ทอ่ ง “พุทโธ” ใจทอ่ งพุทโธโดยไม่ต้งั ใจ ทุกส่ิงพร้อมอตั โนมตั ิ หมน่ั นึก “พทุ โธ” มากๆ อภปิ รำยผลกำรวจิ ยั : พระรำชสังวรญำณ (พุธ ฐำนโิ ย) จากการทบทวนวรรณกรรม พระราชสังวรญาณ (พุธ ฐานิโย) งานวิจยั 1 เรื่อง ของพระมหาวรจกั ร ฉนฺทชาโต(มุ่งเก่ียวกลาง) “การศึกษาบทบาทและวิธีการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระราชสังวรญาณ(พุธ ฐานิโย)” ผลการศึกษาพบว่า โจทยว์ ิจยั เก่ียวกับวิธีการเผยแผ่ แนวทางปฏิบตั ิพบว่า หลักสติปัฏฐาน 4 พิจารณากาย เวทนา จิต ธรรม เนน้ สอนทาสติตามรู้ความคิดใหส้ ัมพนั ธ์กบั ชีวิตประจาวนั สติรู้ ยนื เดิน นง่ั นอน ฝึ กสติทุกอิริยาบถ ประยุกตใ์ ชห้ ลกั ธรรมสอนผูป้ ฏิบตั ิเขา้ ถึงพระรัตนตรัย หลกั ไตรสิกขา ทากายให้ สงบระงบั รูปแบบการแผยแผ่ หลายวิธี ไดแ้ ก่ บรรยาย สนทนา การตอบปัญหาธรรม อบรมจิต พระราช สังวรญาณ(พุธ ฐานิโย) พิจารณากาย เวทนา จิต ธรรม เน้นสอนทาสติตามรู้ความคิด ให้ สั มพันธ์กับ ชีวิตประจาวัน สติตามรู้ ยืน เดิน น่ัง นอน ฝึ กสติทุกอิริยาบถ ประยุกต์ใช้หลักธรรมสอนผู้ปฏิบัติเข้าถึงพระ รัตนตรัย หลักไตรสิกขา ทากายให้สงบระงับ รูปแบบการแผยแผ่ หลายวิธี ได้แก่ บรรยาย สนทนา การตอบ

681 ปัญหาธรรม อบรมจิต ฐานธรรมานุปัสสนานาทาง เป็ นการสังเกตความคิดหรือสิ่งท่ีอยู่ในจิตทาสติตามรู้ ความคิด 5.9.3 ข้อเสนอแนะกำรวิจยั : พระรำชสังวรญำณ (พุธ ฐำนิโย) การศึกษาลกั ษณะเป็ นผลงานวิจยั เกี่ยวกบั ท่านถึงจะมีจานวนไม่มาก แต่ความน่าสนใจอยู่ท่ีความ เป็ นภาษาร่วมสมยั ในคาสอนของท่าน เป็ นเรื่องน่าสนใจในการศึกษา ประเด็นธรรมบรรยายเก่ียวกบั การ บรรลุธรรมของพระพุทธเจา้ ในขณะท่านตรัสรู้ธรรมน้นั เป็นประเด็นน่าในใจ ท่านอธิบายโดยใชค้ วามเป็น ภาษาธรรมท่ีเขา้ ใจง่าย และเหมือนเป็ นความเป็ นไปไดใ้ นการเขา้ ถึงการบรรลุธรรมได้ ไม่ได้มีเรื่องราว อิทธิฤทธ์ิ ปาฏิหาริย์ ประการใด ทาให้ผูว้ ิจยั เก่ียวกับแนวคาสอน จะได้ประโยชน์เป็ นอย่างย่ิง ร่วมสมยั ปัจจุบนั ประกอบกบั ภาษาท่ีเขา้ ใจงา่ ย ในคาอธิบายดว้ ย จึงมีความน่าสนใจ คาสอนที่เป็นภาษาธรรมดาเขา้ ถึง และเขา้ ใจงา่ ยๆ มีความรู้ในการปฏิบตั ิเหมาะสมสาหรับยคุ สมยั ปัจจุบนั หนงั สือคาสอนทา่ น ยงั คงมีใหศ้ ึกษา เก่ียวกบั คาสอนเพือ่ การคน้ ควา้ ประเดน็ ที่มีความน่าสนใจ [10] ท่ำนสัตยำ นำรำยัน โกเอน็ ก้ำ (ท่ำนโกเอ็นก้ำ) 5.10.1 สรุปกำรสกดั หลกั คำสอนจำกธรรมบรรยำยเรื่องมหำสติปัฏฐำน4 ท่ำนสัตยำ นำรำยนั โกเอน็ ก้ำ จากผลการวิเคราะห์จากตารางที่ 4.10.1 ถึง 4.10.8 ซ่ึงเป็ นการสกดั หลกั คาสอนจากธรรมบรรยาย แนวทางปฏิบตั ิท่านสัตยา นารายนั โกเอน็ กา้ (คาบรรยายภาษาไทย) จาแนกตามแนวคิด หลกั การ วิธีการ ผล ไดส้ รุปผลการศึกษาเป็นแผนท่ีความคิดจากการสกดั หลกั คาสอนมหาสติปัฐานจากการบรรยายโดยท่านสัต ยา นารายนั โกเอน็ กา้ แสดงภาพที่ 5.10.1 ถึง 5.10.4 ผลการศึกษาพบวา่

682 ภาพท่ี 5.10.1 แผนท่ีความคดิ จากการสกดั หลกั คาสอนมหาสติปัฐานธรรมบรรยายโดย ทา่ นสัตยา นารายนั โกเอน็ กา้ : ดา้ นแนวคดิ ด้ำนแนวคิดของท่ำนสัตยำ นำรำยัน โกเอ็นก้ำ พบว่า 1) กฎธรรมชำติ คือ ธรรมะ เป็ นกฎสากล เส้นทางสากล เป็นสายกฎเดียว เป็นกฎธรรมชาติ ธรรมะคือกฎสากล ธรรม คือ กฎธรรมชาติอนั เป็นสากล ส่ิงท่ีอยภู่ ายในใจ ลกั ษณะตามธรรมชาติ สติต้งั มน่ั อยู่สัจธรรม ไม่มีอะไรอื่น มีธรรมะ ไม่มีการยึดมน่ั ถือมนั่ ตรวจสอบวิธีการปฏิบตั ิกบั คาสอนพระพุทธองคโ์ ดยตรงได้ หนทางยาวไกลอยา่ ทอ้ ถอยแต่ละกา้ วเดินไป 2) มหำสติปัฏฐำน เป็ นพระสูตรใหญ่ เป็ นพระพุทธพจน์ จากคาบอกเล่าคาสอนพระพุทธเจา้ การรับฟังพุทธ พจน์โดยตรง ชาระจิตให้บริสุทธ์ิเกี่ยวกบั วิธีการปฏิบตั ิ ตอ้ งปฏิบตั ิเองจึงเขา้ ใจไดเ้ ม่ือปฏิบตั ิลึกลงไปย่ิงข้ึน พระพุทธพจน์จะกระจ่างในใจเรื่อย ๆ เป็ นหนทางเพียงทางเดียวเพ่ือความบริสุทธ์ิของสัตวท์ ้งั หลาย เพ่ือ ความกา้ วล่วงจากความเศร้าโศกคร่าครวญ เพ่ือความดบั ทุกข์และโทมนัส เพ่ือกา้ วเดินไปบนมรรคาแห่ง สจั จะ เพ่อื การทาพระนิพพานใหแ้ จง้ หนทางสติปัฏฐาน 4 ทานิพพานใหแ้ จง้ นามรูปสู่สภาวะนิพพาน เลือก พระสูตรไม่ศึกษาพระไตรปิ ฎกท้งั หมด พระสูตรเดียวถ่องแทส้ ู่ความหลุดพน้ ไดโ้ ดยแท้ ความหมายคาวา่ “ภิกษุ” ในพระสูตร ใหห้ มายถึง ผทู้ ่ีปฏิบตั ิธรรมทกุ คน หลกั สูตรมหาสติปัฏฐาน เขา้ ใจเทคนิควิธีการปฏิบตั ิ จงปฏิบตั ิ เพราะคาตอบไดจ้ ากปฏิบตั ิเท่าน้ัน เป็ นคาตอบแทจ้ ริงทาให้ท่านหมดความสงสัย ตอ้ งสารวจ สภาวะสิ่งประสบดว้ ยตนเองแทจ้ ริง ไม่ใช่แค่เชาว์ปัญญา กระจ่างชัดแก่ใจ ปฏิบตั ิไปมีคาถามเกิดข้ึนครู อาจารยต์ อบคาถามพอใจคาตอบ ความสงสัยหมดไปแค่ใชจ้ ินตนาการ ทาความเขา้ ใจไม่ไดป้ ระจกั ษก์ บั ดว้ ย ตนเอง ปฏิบตั ิด้วยการเดินไปเดินมา หรืออาจกล่าวคาซ้าไปซ้ามาทาให้จิตต้งั มน่ั เป็ นสมาธิได้ แมจ้ ะไม่มี ปัญญาเกิดข้ึน เขา้ ใจความจริงและหลุดพน้ จากความทุกข์ มหาสติปัฏฐาน 4 แบ่ง 3 ข้นั ปริยตั ิ ปฏิบตั ิ ปฏิเวธ

683 ปริยตั ิเป็นความรู้ทางทฤษฎี ปริยตั ิใหแ้ นวทางประโยชน์แทจ้ ริงจากการปฏิบตั ิ ปฏิเวธ คือ ปัญญาแทงทะลุ อวิชชา ถึงความจริงสูงสุด สุตมยปัญญาฟังเร่ืองราวปัญญาผูอ้ ื่น จิตตามยปัญญา ไดเ้ ชาวป์ ัญญาคิดเหตุผล เขา้ ใจส่ิงไดย้ ินไดฟ้ ัง ภาวนามยปัญญา ปัญญาประจกั ษ์ความจริงเอง 3) มหำสติปัฏฐำน 4 อยา่ ง คือ “กายา กาเยนปุ สฺสี วิหรติ เวทนานุ เวทนานุปสฺสี วิหรติ จิตฺเต จิตฺตานปุ สฺสี วิหรติ ธมฺเมสุ ธมฺมานุปสฺสี วิหรติ” การ สารวจสาเหตุแห่งความยึดมน่ั ถือมนั่ เป็ นกาย (ร่างกาย) จิต (จิตใจ) ฝึ กอานาปานสติ รับรู้ความรู้สึกกาย พฒั นาอุเบกขา พฒั นาสมาธิดว้ ยการมีสติอยกู่ บั ลมหายใจพฒั นาปัญญา การมีสติอยู่กบั เวทนาในกายและมี อุเบกขาเวทนา กฎควบคุมปฏิสัมพนั ธ์เกิดข้ึนอยู่ตลอดเวลาระหว่างกายและจิตแต่ละบุคคล ชาระจิตให้ บริสุทธ์ิและสลายอตั ตา สังเกตธรรมในธรรมคือ อริยสัจ 4 รู้ อริยสัจ 4 แทจ้ ริง ตอ้ งหยง่ั รู้อริยสัจดว้ ย ญาณ การเขา้ ใจดว้ ยปัญญาอยา่ งที่เป็นอยู่ เกิดข้ึนตามความเป็นจริง รู้ชดั เขา้ ใจชดั ในส่ิงท่ีประสบกบั ตวั เอง ปฏิบตั ิ กายานุปัสสนา เวทนานุปัสสนา จิตตานุปัสสนา หรือ ธมั มานุปัสสนา จะปฏิบตั ิอะไรก่อน ได้ เม่ือกา้ วหนา้ ไปเรื่อยๆ จะมารวมเขา้ ดว้ ยกนั เอง อริยสัจ 4 ปฏิบตั ิไปลึก จะรวมกนั เขา้ เป็นหน่ึง เช่นเดียวกบั สติปัฏฐาน 4 เม่ือปฏิบตั ิไปลึก ๆ แลว้ ในท่ีสุดรวมเขา้ ดว้ ยกนั สติปัฏฐำน คือ ธรรมอันเป็ นที่ต้ัง สติร่วมกับปัญญำสติ ร่วมกับสัมปชัญญะ อาตาปี สัมปชาโน สติมา สติสาคญั ทุกองคป์ ระกอบระลึกไดต้ ลอดเวลา ปฏิบตั ิตรง ตามคาสอนปฏิบตั ิหนกั พฒั นา สติ สัมปชญั ญะ อาตาปี สมฺปชาโน สติมา 4) ทุกเส้นทำงปฏิบัติรวมกันที่ เวทนำได้เข้ำไปสู่จดุ มุ่งหมำยสูงสุด เวทนำ ควำมรู้สึกทำงกำยมีบทบาทสาคญั ท่ีสุดในสติปัฎฐานท้งั สี่ สอน ใหว้ างอุเบกขาต่อเวทนาทุกชนิด เพื่อเปล่ียนแบบแผนพฤติกรรมจิตระดบั ลึก หากไม่เขา้ ใจอนิจจงั ใชว้ ิธีชกั นาจิต ซ้า ๆ ให้จิตสงบ ภายในส่วนลึกจิตทาปฏิกิริยาปรุงแต่งตอบโตม้ ีอยู่เช่นเดิม รากเหงา้ กิเลสไม่ถูกขดุ ลอก พัฒนาอุเบกขา พัฒนาอุเบกขาต่อเวทนาเกิดข้ึนท่ีร่างกายสัมปชัญญะเริ่มต้นด้วยความเข้าใจใน ธรรมชาติ เกิดดบั เวทนาหรือความรู้สึกทางกาย ตอ้ งตระหนกั รู้เวทนาและการเกิดดบั ของเวทนาร่างกายตน ต้องมีประสบการณ์เกิดดับแสดงออก ทางเวทนาหรือความรู้สึกทางกาย “สติ” กล่าวถึงสติปัฏฐาน 4 สัมปชญั ญะ คอื การประจกั ษต์ ่อการเกิดดบั ของเวทนาจะตอ้ งมีอยดู่ ว้ ยเสมอไมม่ ีเวทนา ไม่มีสมั ปชญั ญะ ไมม่ ี ปัญญา ขาดปัญญาไม่มีวิปัสสนา ไม่มีสติปัฏฐาน เวทนาทาให้ประจกั ษ์อนิจจงั ชดั เจน ความเขา้ ใจเวทนา จาเป็ นที่สุด การรู้เขา้ ใจทุกข์ ความรู้เขา้ ใจเวทนาดว้ ยสัมปชญั ญะ โดยตลอดทว่ั ท้งั ขอบเขตจนสามารถอยู่ เหนือเวทนาได้

684 ภาพท่ี 5.10.2 แผนที่ความคดิ จากการสกดั หลกั คาสอนมหาสติปัฐานธรรมบรรยายโดย ท่านสัตยา นารายนั โกเอน็ กา้ : ดา้ นหลกั การ ด้ำนหลกั กำรของท่ำนสัตยำ นำรำยัน โกเอ็นก้ำ พบวา่ 1) “เอกายโน อย ภิกฺขเว มคฺโค” เป็ นหนทำง เดียวเท่าน้นั เส้นทำงหมำยถึงกฎธรรมชำติเป็ นกฎตำยตัวท่ีเกิดกับคนทุกคนเป็ นหนทำงเดียว เส้นทางกฎ ธรรมชาติ “เอกายโน อย ภิกฺขเว มคฺโค” เป็นหนทางเดียว กฎธรรมชาติ คือธรรมะ เป็นกฎสากล เส้นทาง สากล กฎมีเพียงกฎเดียว เส้นทางการเดินตามกฎธรรมชาติ และกฎธรรมชาติมีกฎเดียว ธรรมะคือปัญญา ธรรมะที่บริบูรณ์ บริสุทธ์ิ บนเส้นทางอนั สูงสุดคือ อริยมรรคนาสู่ความหลุดพน้ เป็นนิพพานโดยความจริง ละเอียดที่สุดเกี่ยวกบั นามรูป ส่ิงเกิดข้ึนในจิตคือไดพ้ บกบั สัจธรรมดว้ ยตวั เอง เขา้ ใจความจริงกฎธรรมชาติ ดว้ ยประสบการณ์ตรง 2) กฎธรรมชำติ คือธรรมะ คือสิ่งท่ีพระบรมศาสดาทรงสอน เป็นกฎสากล กฎมีเพยี ง กฎเดียว วิถีกฎธรรมชาติขจัดกิเลสจากจิต ขจัดความเคยชินเก่าๆ คอยปรุงแต่งตอบโต้ต่อเวทนาด้วย ความชอบ ความชงั ชาระจิตส่วนลึก ตอ้ งเฝ้าสังเกตดูความจริงที่เกิดข้ึนร่างกาย จิตใจ ความจริงสมมติสัจจะ ลึกลงไปปรมตั ถสัจจะ รูปนาม คือกาย จิต “ญายสฺส อธิคมาย” ทางเดินไปบนเส้นทางแห่งความจริงใช้ จินตนาการ คิดแยกแยะเอาเอง ได้เพียงชาระจิตพ้ืนผิว ทางเดินเป็ นเส้นทางประสบการณ์โดยตรง เป็ น หนทางเดียวชาระจิตใหบ้ ริสุทธ์ิ ขจดั โศกเศร้า ร้องไหค้ ร่าครวญ “นิพฺพานสฺส สจฺฉิกริ ิยาย” ทานิพพานให้ แจง้ เดินบนเส้นทางแห่งความจริง 2) มหำสติปัฏฐำน 4 คือ วิปัสสนำ พบว่า 1)ปฏิบัติวิปัสสนำกรรมฐำนได้ประจักษ์กบั ตนเองภำยใน โครงสร้ำงร่ำงกำย อานาปานบรรพเป็นเคร่ืองมือรวบรวมสติไดส้ มาธิข้นั ลึก ขนั ธ์ 5 คือการที่กายรูป และใจ นามรวมตวั กนั เขา้ เป็ นหมวด เป็ นกอ้ น รูปขนั ธ์ การรวมตวั กนั ของอนุปรมาณูเล็ก ๆ นามขนั ธ์ มี วิญญาณ สัญญา เวทนา สังขาร อุปาทานขนั ธ์ 5 คือการยดึ มนั่ อยกู่ บั ขนั ธ์ 5 คือ ขนั ธ์ 5 เป็นท่ีต้งั แห่งอุปาทาน พละ 5

685 ธรรมอนั เป็นกาลงั มิตร 5 คือ อินทรีย์ 5 มี ศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปัญญา อายตนะ คือทวารรับรู้ความรู้สึก มีตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ท้งั หกทวารอยู่ที่ภายในร่างกาย ประจกั ษค์ วามรู้สึกท่ีร่างกายตนดว้ ยตนเอง สร้าง กิเลสในใจเท่ากบั ทาร้ายตวั เอง 2)ศึกษำส่วนลึกจติ ใจคือวิธีกำรปฏิบตั ิ ส่วนลึกจิตอนุสยั กิเลสฝังอยใู่ นระดบั ลึกได้ ปราศจากสัมปชัญญะชาระกิเลสได้เพียงแค่ส่วนพ้ืนผิว อนุสัยกิเลสเกิดชาติภพยงั อยู่เป็ นเหตุต้อง วนเวยี นสังสารวฏั สมาธิหรือการทาจิตใหต้ ้งั มนั่ แน่วแน่อยแู่ ลว้ ฌานไม่มีสัมปชญั ญะอยดู่ ว้ ย 3)สำรวจธรรม สิ่งอยู่ในจติ สิ่งท่ีใจนึกคิด จิต ธรรมตอ้ งไปดว้ ยกนั ทกุ ขฺ นโิ รธ ความดบั ทกุ ขต์ อ้ งทาใหไ้ ดป้ ระจกั ษแ์ จง้ ทุกข สมุทยั สาเหตุให้เกิดทุกข์ คือ ตณั หา ไดฌ้ านข้นั สูงภายในจิตมิไดเ้ ปล่ียนแปลงเลย กิเลสลึกมีอยู่ ประจกั ษ์ ความจริงประเสริฐสี่ประการดว้ ยประสบการณ์เอง “ยถาภูต ปชานาติ” มิใช่ดว้ ยการไตร่ตรอง ครุ่นคิด อวิชชาจะมีปฏิกิริยาตอบโตก้ บั เวทนาดว้ ย ตณั หาทาให้ความทุกขเ์ กิดข้ึน หนทางควรปฏิบตั ิซ้าแลว้ ซ้าเล่า โพชฌงค์ ธรรมที่เป็นองคแ์ ห่งการตรัสรู้ 4) สติปัฏฐำน 4 ให้สังเกตกำยในกำย ให้สังเกตเวทนำในเวทนำ ให้ สังเกตจิตในจิต ให้สังเกตธรรมในธรรม พฒั นาธรรมตอ้ งรู้บาลี ศึกษาเทคนิควิธีการปฏิบตั ิ จากพระธรรม เทศนา ฟังพระพทุ ธพจน์โดยตรงจากองคพ์ ระศาสดาเก่ียวกบั การปฏิบตั ิ ยง่ิ ปฏิบตั ิมากข้นึ จะเขา้ ใจคาสอนได้ อยา่ งถูกตอ้ งข้นึ อาจารยผ์ ชู้ ้ีแนวทางเจริญกา้ วหนา้ ในธรรม นาธรรมะไปใชช้ ีวิตประจาวนั เผยแพร่ธรรมะให้ ผอู้ ื่นไดป้ ฏิบตั ิ 5) กำรฝึ กวิปัสสนำ กำลงั ทำอยู่ สังเกตอยู่ คือควำมจริงภำยในกำย ควำมจริงนำมรูป “ปัฏฐาน” หมายถึงต้งั มนั่ ดว้ ยภาวนามยปัญญา เกิดจากประสบการณ์ พฒั นาสติเขา้ ใจความจริงตามท่ีเป็ นสติเป็ นสิ่ง สาคญั มากในการปฏิบตั ิธรรม สติความรู้อยู่กบั ปัจจุบนั กาลงั ฝึ กอานาปานสติให้ไปสังเกตลมหายใจดว้ ย ความจริง เฝ้าดูลมหายใจเขา้ ออกเริ่มรู้สึกถึงเวทนาและเฝ้าสังเกตดู เวทนา เกิดความเขา้ ใจการเกิดดบั โลกีย ฌาน แปลว่า ฌานวิสัยโลก ไปเป็ นโลกุตตรฌาน ไดป้ ระจกั ษก์ ารเกิดดบั รับผลแห่งนิพพานอยู่เหนือโลก ฌานสมาบตั ิข้นั สูงเป็ นธรรมดา จิตได้รับการชาระให้บริสุทธ์ิมาก ลึกยงั คงมีกิเลสในส่วนลึกของจิตใจ “อนุสัยกิเลส” การปฏิบตั ิวิปัสสนา คือ การละความชอบและความชัง “วิเนยฺย โลเก อภิฌชาโทมนสฺส” วิปัสสนา เห็นชดั แจง้ ปราศจากสมมติ พบกบั สัจธรรม ดว้ ยตวั เอง ดว้ ยประสบการณ์เอง ดบั สิ้นความทุกขก์ าย ทุกขใ์ จ มองผา่ นความจริงโดยบญั ญตั ิไดเ้ ห็นมองเห็นความจริงสภาวะ คือ ความจริงแท้ ภาพที่ 5.10.3 แผนท่ีความคดิ จากการสกดั หลกั คาสอนมหาสติปัฐานธรรมบรรยาย โดยทา่ นสัตยา นารายนั โกเอน็ กา้ : ดา้ นวิธีการ

686 ด้ำนวธิ ีกำรของท่ำนสัตยำ นำรำยัน โกเอน็ ก้ำ พบวา่ 1) “กาเย กายานุปสฺสี วิหรติ อาตาปี สัมปชาโน สติมา วิเนยฺยโลเก อภิชฺฌาโทมนสฺนํ” เฝ้ำดูควำม จริงกำยในกำย เพียร อำตำปี ด้วยปัญญำ สัมปชำโน ให้รู้ถึงกำรเกิดดับด้วยสติมำคือมีสติระลึกรู้ด้วยปัญญำ กำรเฝ้ำสังเกตดูควำมจริงภำยในร่ำงกำย ด้วยตัวเอง พบว่า 1.1)อำนำปำนสติ กำรสังเกตลมหำยใจเข้ำออก ต้องปฏิบัติคนเดียว ต้งั สติอยูบ่ ริเวณรอบปาก ที่ทางเขา้ ช่องจมูกเหนือริมฝี ปากบน เฝ้าสังเกตดูลมหายใจเขา้ ออกเป็นความจริงที่กาลงั ประสบอยู่ จงมีสติอยูก่ บั ลมหายใจ อำนำปำนสติต่อเวทนำนุปัสสนำ ปฏิบตั ิตอ้ งมี สมั ปชญั ญะตลอดเวลา รู้ชัดเข้ำใจชัดไดป้ ระจกั ษถ์ ึงลมหายใจหายใจเขา้ ออกอยา่ งมีสติ กายสงั ขารสงบระงบั ร่างกายไม่เคลื่อนไหว มีแต่ลมหายใจเคลื่อนไหว มีสติอย่ตู ลอดเวลา คือต้งั มนั่ สติ เม่ือเปล่ียนเป็นวิปัสสนา ตอ้ งมีสติอย่กู บั อนิจจงั อนิจจงั อนิจจงั สติอย่กู บั เกิดข้ึนดบั ไป รู้ชดั วา่ ลมหายใจเขา้ ส้ัน เม่ือหายใจออกส้ัน ปฏิบตั ิไป จิตค่อยๆ สงบลงสังเกตลมหายใจอย่างมีสติ บนผิวร่างกาย ยงั อยู่ภายในโครงสร้างร่างกาย สติต้งั มนั่ ร่างกายเป็นกลุ่มกอ้ นของคลื่นเล็กๆ เกิดข้ึนแลว้ ดบั ไป ไม่ใช่ตวั ไม่ใช่ตน สังเกตลมหายใจเบา ๆรู้สึกถึง ลมหายใจที่ละเอียดแผ่วเบาได้อย่างชัดเจน 1.2) สัมปชัญญะต้องมีอยู่ตลอดเวลำ ไม่ว่ำท่ีไหน เมื่อไร สัมปชญั ญะ มีความรู้เขา้ ใจชดั ในความไม่เท่ียงอย่ตู ลอดเวลา ชดั ว่า กาลงั เดิน ยืน นง่ั นอน รู้ชดั วา่ ตนเองอยู่ ในอิริยาบถไม่ใช่ตวั ตนของตน 1.3)ร่ำงกำยเป็ นธำตุท้ัง 4 ประกอบเข้ำ เรียกว่ำ “ ร่ำงกำย” ร่างกายกลายเป็น เพียงกลุ่มกอ้ นของอนุภาคปรมาณู การพิจารณา ร่างกายประกอบไปดว้ ยธาตุดิน (ปฐวีธาตุ) แสดงออกดว้ ย ความเป็นกลมุ่ กอ้ น เช่น กระดูก เน้ือ ธาตนุ ้า (อาโปธาตุ) คอื สภาพที่เหลวเป็นน้า เช่น เลือด เหง่ือ น้าปัสสาวะ เป็ นตน้ ธาตุลม (วาโยธาตุ) คือลมท่ีเคลื่อนไหวอยู่ในร่างกาย ธาตุไฟ (เตโชธาตุ) คืออุณหภูมิร่างกาย 1.4) “ภำยในกำย” “บนผิวกำยตนเอง” มีควำมรู้สึกเกิดขึ้นดับไปของเวทนำ ติดต่อกันไปอย่ำงรวดเร็ว สังขาร ปรุงแตง่ มีสาเหตุจากความรู้สึกทางกายเวทนา จิตระดบั ลึกที่สุดคอยเฝ้าทาปฏิกิริยาปรุงแต่งตอบโตก้ บั เวทนา ทว่ั ทุกอณูของร่างกาย อยู่ตลอดเวลา ขจดั สังขารนาความสุขมาให้ 1.5) ปฏิกูลมนสิกำร พิจารณาส่ิงท่ีน่า รังเกียจ พิจารณาจากฝ่ าเทา้ ข้ึนไปจากเส้นผมบนศีรษะลงมา หนงั หุ้มโดยรอบไม่สะอาด แทจ้ ริงน่ารังเกลียด เฝ้าดูร่างกายอยา่ งเป็นอย(ู่ ยถาภตู ) เพียงร่างกายมีเวทนาเกิดดบั อยู่ 1.6) ข้อคดิ จำกกำรดซู ำกศพในป่ ำช้ำมีอยู่ 9 อย่ำง นวสีวิกา ว่าดว้ ยขอ้ สังเกต 9 ประการเก่ียวกบั ป่ าชา้ สังเกตดูซากศพ ตอ้ งเร่ิมตน้ การสังเกตสิ่งที่อยู่ ภายนอกกายประจกั ษค์ วามจริงตนเอง การคิดเปรียบเทียบ ตวั เราเอง จะตอ้ งตกอย่ใู นสภาพเดียวกนั ร่างกาย อนั เป็นท่ียดึ มนั่ ถือมน่ั หลุดพน้ จากอปุ ทาน ท้งั มวล แต่ละคร้ังที่ไดเ้ ห็นคิดวา่ สิ่งเดียวกนั น้ียอ่ มเกิดกบั ร่างกาย ของตนเช่นกนั จาเป็นตอ้ งไดพ้ บเห็นความจริงดว้ ยตาตนเอง 2) “เวทนาสุ เวทนานุปสฺสี วิหรติ อาตาปี สมฺปชาโน สติมา วิเนยฺย โลเก อภิชฺฌา โทมนสฺสํ” จงเฝ้ำ สังเกตควำมจริงเวทนำในเวทนำ ต้องเห็นในระดับประสบกำรณ์ ด้วยควำมเพียรปัญญำ ด้วยสติ ละ ควำมชอบ ควำมชังต่อปรำกฏกำรณ์ท่เี กดิ ขนึ้ ต่อเวทนำ จาแนกเป็น 2.1) เวทนำจงึ มบี ทบำทสำคญั ยง่ิ ในกำร

687 ปฏบิ ตั สิ ตปิ ัฏฐำน ใชค้ วามรู้สึกทางกายหรือ เวทนา เป็นเครื่องมือในวธิ ีการปฏิบตั ิ ทกุ บรรพ คือ การรู้เวทนา ภายในกาย เวทนาภายนอกกาย ตลอดโครงสร้างร่างกาย วิธีปฏิบตั ิ จริตแตล่ ะคน เร่ิมการปฏิบตั ิการสงั เกตลม หายใจ สังเกตเวทนาความรู้สึกทางกาย ประสบการณ์อย่างแทจ้ ริงการเกิดดบั ได้ ความสาคญั แก่เวทนา หลุด พน้ กิเลสตณั หา เวทนาเป็นมูลฐานที่สาคญั ยิง่ ของการปฏิบตั ิในวิธี การปฏิบตั ิวิธีน้ีเน้นความสาคญั ที่เวทนา 2.2) รู้ชัดกำลังประสบควำมรู้สึกสุขเวทนำ ทุกขเวทนำ อทุกขมสุขเวทนำ เรียนรู้ตามรู้เวทนาตลอดทว่ั ร่างกาย จากศรีษะไปถึงเทา้ หายใจออกคร้ังหน่ึง และจากเทา้ ไปถึงศรีษะ หายใจเขา้ คร้ังหน่ึง มีสุขเวทนา ผู้ ปฏิบตั ิ รู้ชดั ว่าตนกาลงั มีสุขเวทนาที่มีความอยากความพอใจหรือความยึดติด (สามิส) อยู่ หรือกาลงั มีสุข เวทนาท่ีปราศจากความอยากความพอใจหรือความยึดติด (นิรามิส) เวทนาชนิดต่าง ๆ เกิดข้ึนภายในร่างกาย เมื่อเกิดข้ึนแล้ว จะผ่านไป ดับไป รู้เวทนาที่ร่างกายของตนเอง การรู้เวทนาท่ีกายผูอ้ ่ืนไม่อาจยอมรับ คาอธิบายได้ เวทนาหมายเฉพาะความรู้สึกทางใจ เป็นส่วนหน่ึงนามขนั ธ์ ส่วนประกอบนามหรือจิต เวทนา นุปัสสนา ควรหมายถึง เวทนาทางจิต สุขและทุกข์ ฐานะเป็ นเวทนาทางกาย โสมนสั โทมนสั ฐานะเป็ น เวทนาทางใจ สภำวะท่ีมีควำมสะเทือนส่ันไหวอย่างแผ่วเบา อทุกขมสุขเวทนา คือไม่ทุกข์และไม่สุข ตรวจสอบอายตนะหก เขา้ ใจอนิจจงั สภาวะกาลงั ประสบอยู่ ควำมเจ็บปวด รู้สึกไดถ้ ึงกระแสส่ันสะเทือน เป็นคล่ืนถูกพลงั สั่นสะเทือนแบ่งย่อยแยกกระจายมนั ออกไป กระแสสัน่ สะเทือนไหลเวียนอยใู่ นร่างกายเกิด สภาวะปี ติ ทุกส่ิงทุกอย่ำงถูกควบคุมโดยธรรมะ การเคลื่อนความสนใจเป็นสิ่งเดียวทาไดเ้ พื่อหลุดพน้ ตวั เอง ปรุงแตง่ ตอบโตก้ บั เวทนา ธรรมะจะผกู รัดทา่ นไวก้ บั กิเลส 2.3) สตมิ ำ” คือกำรมีสติ “สมฺปชำโน” คือ กำรมี ปัญญำรู้แจ้งในอนจิ จัง อนั เกดิ จำกกำรที่ได้ประจักษ์กบั ควำมไม่เทยี่ งของเวทนำ สัมปชัญญะ คอื ความเขา้ ใจ ดว้ ยปัญญาท่ีถูกตอ้ งสมบูรณ์ รู้สึกวา่ เวทนากาลงั เกิดข้ึน ต้งั อยู่ และดบั ไป ตอ้ งไม่ขาดสัมปชญั ญะ ลกั ษณะ จิตเดียว ตอ้ งมีสติรู้การเกิดดบั ของเวทนาอยู่ตลอดทุกขณะ การค่อยๆ ทาไปทีละส่วนทีละส่วนก่อน กลุ่ม กอ้ นแขง็ ทึบอยคู่ ่อย ๆ อ่อนตวั ลง จนสลายไป เวทนำเป็ นเพียงควำมรู้สึกทำงใจ สัมปชญั ญะ คือการรู้สึกถึง เวทนาท่ีกาลงั เกิดข้ึนและดบั ไป ฝึ กตนเองตำมรู้เวทนำตลอดทว่ั ร่างกายหายใจเขา้ ออกรู้เวทนา 2.4 ) กำร ประเมินค่ำของสัญญำ ควำมรู้สึกหรือเวทนำ จะเปล่ียนเป็ นสุขเวทนาหรือทุกขเวทนา เกิดเวทนำ การ ประเมินค่า การจาได้หมายรู้รูป เสียง กล่ิน รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ์ วิญญำณรับรู้ สัญญาประเมินค่า เวทนา เกิดข้ึนสังขาร ปรุงแต่งตอบโต้ มีความทุกขเ์ พิ่มพนู ข้ึน เวทนำสักแต่เป็นเพียงเวทนา สักแต่เป็นเพียง ความรู้สึก ไม่มีสัญญา 2.5) สฬำยตนะ พบว่ำกำรกระทบกันของท้ังสองทำให้เกิดเวทนำหรือควำมรู้สึกที่ ร่ำงกำย ตณั หาหรือความชอบชงั จะเกิดข้ึนภายหลงั จากเวทนาไดเ้ กิดข้นึ แลว้ มีความเข้ำใจในเวทนำครบถ้วน ชาระจิตปราศจากอาสวะ ต้งั มนั่ อยใู่ นธรรม มีความรู้เขา้ ใจในเวทนาทุกชนิด ภังคำนุปัสสนำญำณ คือ ญาณ เห็นความดบั สลาย เวทนาความรู้สึกทางกายเป็นกระแสส่ันสะเทือนเกิดดบั อย่างรวดเร็วทวั่ ร่างกาย โดยไม่มี ช่องวา่ ง กำรกระทบหรือสัมผัส (ผัสสะ) เกิดข้ึน เพราะทวารรับรู้ที่ร่างกาย (สฬายตนะ) เวทนาความรู้สึกที่

688 ร่างกายเกิดข้ึนเพราะผสั สะหรือการกระทบน้นั และตณั หาเกิดข้ึนเพราะเวทนา 2.6) กำรมีสติรู้เวทนำและไม่ ปรุงแต่งตอบโต้ตอบเวทนำ ทุกขเวทนำ ความรู้สึกไม่สบายเกิด เพียงแต่เฝ้าดูมนั ไป ดว้ ยความเขา้ ใจและ ยอมรับอย่างท่ีเป็นอยู่ เกิดความรู้สึกเฉยๆ ไม่ทุกขไ์ ม่สุข บทบำทของเวทนำ เส้นทางก่อใหเ้ กิดทุกข์ เส้นทาง นาไปสู่ความดบั ทุกขส์ ิ้นเชิง สุขเวทนำจากผลปฏิบตั ิวิปัสสนาอย่างถูกตอ้ ง เฝ้าดูไปไม่ปรุงแต่งตอบสนอง พอใจยดึ ติดสุขเวทนานาไปสู่ความบริสุทธ์ิ 3) “จติ เฺ ต จติ ฺตานปุ สฺสี วหิ รติ อาตาปี สมปฺ ชาโน สตมิ า วิเนยฺย โลเก อภชิ ฺฌาโทมนสฺสํ” ให้เฝ้ำสังเกต ควำมจริงเกี่ยวกับจิตในจิต พบวา่ 3.1)จิตตำนุปัสสนำ กำรสังเกตจิต ตอ้ งมีส่ิงหน่ึงเกิดข้ึนในจิตแลว้ ดบั ไป ปรากฏออกมาเป็ นความรู้สึกหรือเวทนา สิ่งท่ีอยู่ในจิต เรียกว่า ธรรม แปลว่า สิ่งที่ทรงอยู่ภายในธรรม คือ สิ่งท่ีทรงไวส้ ภาพของตนเอง สตปิ ัฏฐำนท้งั 4 สังเกตควำมจริง ความรู้ที่เกิดข้ึนในกาย ความจริงท่ีเกิดข้ึนใน จิต ตอ้ งเป็ นความจริงที่ประสบด้วยตนเอง ประสบกำรณ์เกิดขึ้นดับไปของนามขันธ์ ความรู้สึกทางกาย (เวทนา) กาหนดหมาย (สญั ญา) ปรุงแต่งตอบโต้ (สังขาร) ความรู้อารมณ์ (วิญญาณ) สังเกตควำมจริงเก่ียวกบั จิต ท้งั โทสะ มีหรือไม่มี ดบั ไป รู้วา่ จิตปราศจากโทสะ จิตโมหะความหลง สังเกตเห็นความจริง จิตท่ีมีโมหะ โมหะหมดไปจากจิต มีสติเพียงรู้จิตที่ปฏิบัติกำรอยู่ ส่วนที่เป็ นความรู้อารมณ์ หรือ วิญญาณ เท่าน้นั 3.2) ภำยในโครงสร้ำงร่ำงกำยกระทบกับจิต รู้สึกถึงการกระทบอยู่ภายในร่างกาย เรียกว่าจิตภำยใน ส่วนจิต ภายนอกคือการท่ีจิตกระทบกบั ส่ิงที่อยู่ภายนอกร่างกาย จิตต้ังม่ันอยู่ในสมาธิ จิตไม่หลุดพน้ รู้ชดั และเฝ้า สังเกตดูจิตต้งั มน่ั แน่วแน่รวมกนั อยู่ จิตฟุ้งซ่าน เพียงแต่เฝ้าดูและยอมรับ ความรู้สึกทางกายร่างกายไม่มี ความรู้สึกไดด้ ว้ ยตวั มนั เอง ตอ้ งอาศยั ส่วนหน่ึงของจติ ทำหน้ำท่ีในกำรรู้สึก แต่ตอ้ งมีร่างกายเป็นฐานใหร้ ู้สึก ได้ จิตเป็ นแต่เพียงจิต ไม่ใช่ “ ฉัน” การไดป้ ระจกั ษก์ บั การเกิดข้ึนดบั ไป จิตท่ียงั ไม่ถึงภาวะสูงสุด อยู่ใน ภาวะท่ียอดเย่ียมไม่มีจิตอ่ืนย่งิ กว่า รู้ชดั เฝ้าสังเกตดู ถา้ ควำมยินดีในกำมรำคะเกิดข้ึนในจิต เพียงเฝ้าสังเกตดู เม่ือดบั ไป จิตปราศจากราคะ เพียงแต่สังเกตดู รู้วา่ ราคะไดเ้ กิดข้ึนและดบั ไปแลว้ จิตกรุณำคือจิตสงสาร คิด อยากช่วยใหพ้ น้ ทุกข์ มีความกรุณาเกิดในใจใหค้ วามกรุณาคือตวั เราเอง จงเมตตาตวั เอง จงรักตวั เอง 3.3)จิต เป็ นอุเบกขำต่อควำมรู้สึก หรือเวทนาทุกชนิดที่ไดพ้ บ หนทางนาไปสู่ความหลุดพน้ สัมปชญั ญะ คือปัญญา เขา้ ใจธรรมชาติเกิดดบั จิตวางอุเบกขาได้ สังเกตดูด้วยจิตอุเบกขำไม่มีปฏิกริ ิยำโต้ตอบใด ๆ เฝ้าดูเวทนาดว้ ย อุเบกขาเพ่ิมมากข้ึนไป คือกฎธรรมชาติ คือ ปชานาติ หมายถึงการเพียงแต่เฝ้าดูโดยมีปัญญากากบั รับรู้ว่ำ กำลังมีอะไรเกิดขึน้ ในจิต ใหส้ ังเกตดูเวทนาท่ีกาลงั ครอบงาอยู่ เฝ้าสังเกตดูดว้ ยความเขา้ ใจในการเกิดการดบั 3.4) ปฏิบัติลึกฌำน 4 อุเบกขำ สติ ชำระจิตบริสุทธ์ิ ฌาน 4 พร้อมสภาวะนิพพาน ปฐมฌาน ขาดจากกาม ขาดจากอกุศลธรรม การท่ีจิตต้งั มน่ั อยู่ท่ีอำรมณ์กรรมฐำนและมีสติจดจ่ออยู่กับอารมณ์ มีความวิเวก มี ความรู้สึกเอิบอิ่ม ไม่มคี วำมคดิ ใด ๆ มีแตค่ วามรู้สึกสุขทางกายและความผอ่ งใสในจิต คือฌานข้นั ท่ี 2 และใน ข้นั ที่ 3 ความเอิบอ่ิมใจ ฌานข้นั สามจะมี สมั ปชญั ญะ คอื รู้ความจริงของการเกิดข้ึนดบั ไปเพิ่มเขา้ ไป จติ สงบ

689 มีความสมดุลขา้ มพน้ ขอบเขตแห่งนามรูปไดส้ ภาวะนิพพาน ได้ฌำนข้ันสูงจะสามารถจินตนาการให้จิตแผ่ ขยายใหญ่ออกไป ไดญ้ าณสูง ๆ แลว้ อาจพฒั นาสามารถ ในการอ่านจิตของผูอ้ ื่นได้ 3.5) เรียนรู้วิธีควบคุม จิตใจ กำรฝึ กหดั กำรควบคุมจิตใจ คือ กำรฝึ กสมำธิ ฝึกดูลมหายใจ กายจิต เร่ือยๆ เห็นความไมบ่ ริสุทธ์ิ กิเลส ต่างๆ สร้างส่วนลึกจิตใจ รู้ว่ามี ไม่มีความอยากความพอใจในกามารมณ์อยู่ในจิต ปฏิบัติเพ่ือหลุดพน้ ตาม มรรคองค์ 8 ตอ้ งรักษาศีลเจริญสมาธิ แลว้ ใช้จิตต้งั มนั่ แน่วแน่เป็ นสมาธิเฝ้าสังเกตดูความจริงอนั ละเอียด ลึกซ้ึง ควำมเห็นชอบ (สมฺมำทิฏฺ ฐิ) การมีปัญญารู้ประจกั ษด์ ว้ ยตนเอง แทงทะลุถึงลึกสุดของจิต ขจดั ออกไป เห็นความจริงแท้ 4) “ธมเฺ มสุ ธมฺมานปุ ัสฺสี” เฝ้ำสังเกตควำมจริงธรรมำรมณ์ อำรมณ์ทำงใจ สิ่งทเ่ี กดิ ขนึ้ ในใจ ใจนกึ คดิ เพียรปัญญำ สติ ละควำมชอบควำมชัง พบว่า 4.1) “สังโยชน์” คือกิเลสเครื่องผกู รัดท้งั หลาย จะถูกขจดั ไป (ปหาน) ทีละช้นั ทีละช้นั ขจดั ออกอย่างแทจ้ ริงเป็ นการขจดั อย่างถอนรากถอนโคน สังโยชน์ เฝ้าสังเกต สังโยชน์ คือกิเลสเครื่องผกู รัด ที่เกิดข้ึน พฒั นาอุเบกขาได้ และเฝ้าสังเกตดูอยู่ สังโยชน์เก่า ๆ ที่เริ่มหลุดลอย ข้ึนมาและถูกขจดั ออกไป 4.2) เฝ้าสังเกตธรรมในธรรมคือขนั ธ์ 5 กามฉันทะ การมีสติรู้ความจริงตามท่ี เป็นอยู่ตลอดทุกขณะ ปฏิบตั ิธมั มานุปัสสนาดว้ ยอุปสรรคส่ิงปิ ด คือ นิวรณ์ ควำมง่วงเหงำซึมเซำ ความข่นุ เคอื งราคาญใจ และ ความเคลือบแคลงสงสยั ถูกขจดั ออกไป ตัณหำเกดิ ขึน้ ภำยในร่ำงกำย มีสุขเวทนา เกิดข้ึน ตณั หาเกิดจาก ความพอใจรักใคร่ มากระทบทางตา สิ่งท่ีพอใจ มากระทบหู จมูก ลิ้น กาย ใจ ตณั หาย่อม เกิดข้ึนและต้งั อยู่ เหน็ ธรรมในธรรมคอื นิวรณ์ 5 ดว้ ยประสบการณ์ของตนเอง ขันธ์ 5 เป็นตวั ตนเป็นเราเป็น เขา ความจริงโดยสภาวะในระดบั ปรมตั ถ์ สติต้ังมั่นอยกู่ บั ความเป็ นจริงว่าท้งั หมดเป็ นเพียงแค่ขนั ธ์ 5 จิต หรือ วิญญำณ โดยตวั ของเองน้นั บริสุทธ์ิมาก การไหลต่อเนื่องกนั ไปของกระแสแห่งนำมและรูป สังขารเป็น ปัจจยั วญิ ญาณ ใชป้ ัญญาสงั เกตเกิดข้ึน ต้งั อยู่ ดบั ไปปรากฎการณ์ เวทนา (ความรู้สึกทางกาย) สญั ญา (ความ กาหนดหมาย) และวิตก (ความตรึกในส่ิงท่ีมากระทบทวารรับรู้) สัญญำประเมินค่ำผิดอยู่ตลอดเวลา เมื่อ เวทนา เกิดข้ึน สังขารปรุงแต่งเกิดข้ึนกระบวนการทาให้จิตไม่บริสุทธ์ิ รู้ชัดเข้ำใจชัดเมื่อมี ไม่มีความ พยาบาทเคืองใจอยใู่ นจิต เฝ้าสังเกตดู 4.3) อุปำทำนขันธ์ 5 ยึดติดมี รูป เวทนำ สัญญำ สังขำร วิญญำณ คือ ควำมทกุ ข์ ตัณหำเกิดข้นึ และต้งั อยู่ในโลกนามรูป ตณั หำเกดิ ขึน้ ได้ที่ วญิ ญำณ คือ การรับรู้ตามช่องทางใด ช่องทางหน่ึงที่อายตนะภายนอกมากระทบกบั อายตนะภายใน ตัณหำ 3 ชนิด คือ เหตุให้เกิดทุกข์ ตณั หา เกิดข้ึน และต้งั อยู่ โลกอนั เป็นที่รักใคร่พอใจ โลกหมายถึง ภายในร่างกายคนเรา กำมตณั หำ ความปรารถนา ทางกาม ภวตณั หา ความทะยานอยากในภพ วิภวตณั หา ส่ิงกระทบทวำร 6 อนั มีรูป เสียง กล่ิน รส โผฏฐพั พะ และธรรมารมณ์ พอใจตณั หาเกิดข้ึน ต้งั อยู่ ตัณหำควำมทะยำนอยำก เป็นเหตุให้มีภพใหม่ คือ เกิดแลว้ เกิด อีก เหตุให้เกิดทุกข์ อาจพูดตามความเขา้ ใจโดยทวั่ ๆ ไปว่าเหตุแห่งทุกข์ คือ ตณั หาความทะยานอยาก ดับ ตัณหำสิ้นเชิง ท่ีอายตนะเริ่มจาก วิญญาณ คือการรับรู้ท่ีทวาร ถึง สัมผสั การกระทบกนั ของอายตนะภายใน

690 นอก ถึง เวทนา เป็นผลการสัมผสั ต่อดว้ ย สัญญา ท้งั หกที่ประเมินค่าของ เวทนา และ วิตก คือการเร่ิมตน้ ของความคดิ ที่เกิดจากการสัมผสั อายตนะคิดถึงอนาคตท่ีสัมผสั ตามมาดว้ ย วิจาร คือการเฝ้าวนเวียนคดิ ถึงสิ่ง ท่ีมาสัมผสั อวิชชำสร้ำงสังขำร สังขารทาให้อวิชชาทาให้มีโลกนามรูป จิตประกอบข้ึนดว้ ยนามขนั ธ์ส่ีส่วน คือ วิญญาณ สัญญา เวทนา สังขาร วิญญำณ หรือการรับรู้ของแต่ละทวาร วิญญาณหรือการรับรู้ของส่วน หน่ึงส่วนใดหรือท้งั หกน้นั อาจหยุดทางานได้ มโนวิญญำณ คอื การรับรู้ทางใจจะยงั อยู่ต่อเม่ือการรับรู้ทางใจ น้นั หยุดลงเมื่อน้นั จะถึงสภาวะนิพพาน สภำวะอนิจจัง มีการเกิดข้ึนดบั ไป เป็ นภงั คะ ทาให้เห็นความดบั สลายแห่งสังขาร รู้ความจริง ว่าโครงสร้างรูปเป็ นอนุปรมาณูเกิดดับอยู่ตลอดเวล า ปฏิบัติไปเรื่อย ๆ ความรู้สึกทางกามารมณ์ลดนอ้ ย และหมดไป ควำมรู้สึกกำยท่ีหยาบ แขง็ แน่นทึบ เจ็บปวดตอ้ งเฝ้าดูอยเู่ ฉย ๆ ทาปฏิกิริยาตอบโตเ้ ขา้ ความทุกขเ์ พ่ิมพูนอุเบกขาความเจ็บปวดค่อย แยกสลาย 4.4) สังเกตธรรมในธรรม คืออำยตนะภำยใน 6 และอำยตนะภำยนอก 6 การปฏิบตั ิดว้ ยอายตนะ 6 เป็นการปฏิบตั ิอย่ภู ายในขอบเขต ของนามและรูป กำรกระทบหรือสัมผัส “สมฺผสฺโส” ท่ีชอบท่ีพอใจที่ อายตนะ 6 หรือทวาร 6 คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ จะทาใหเ้ กิดตณั หาและการต้งั อยู่ของตณั หา เข้ำใจกลไกขันธ์ท้ัง 5 ตลอดจนอายตนะ 6 ประจกั ษ์ กบั ความจริงดว้ ยตนเอง กระทบกันของอำยตนะภายนอกกบั อายตนะภายในจะทาใหเ้ กิดพลงั ส่ันสะเทือน รู้ ชัดเห็นชัดตามความเป็นจริงสังโยชน์อนั เกิดการกระทบกนั รู้ชัดเห็นชัดตำมควำมเป็ นจริง เรื่องจมกู กบั กลิ่น ลิ้นกบั รส กายกบั ส่ิงท่ีมาตอ้ งกายและใจกบั ธรรมารมณ์ วิเครำะห์อำยตนะแต่ละส่วน คนเป็นเพียงกองแห่ง สงั ขาร กระบวนการปฏิสัมพนั ธ์ต่อกนั ของอายตนะ อำยตนะ หมายถึง ตาคือ เห็น สี รูป หรือแสง หูคอื เสียง จมูกคือกล่ิน ลิ้นคือรส กายคือส่ิงที่มาสัมผสั กาย และใจคือความคิด อารมณ์จินตนาการหรือความฝัน ทำ ควำมเข้ำใจ กระบวนการอายตนะ ภายใน (ทวาร 6) ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ เม่ือมีอายนะภายนอกมากระทบ 4.5) โพชฌงค์ คือธรรม 7 ประกำรอันเป็ นองค์แห่งกำรตรัสรู้เป็ นธรรม ที่จะต้องเจริญให้เต็มบริบูรณ์ โพชฌงค์ คือการเฝ้าสังเกตดูว่าธรรม 7 ประการ อนั เป็ นองคป์ ระกอบแห่งการตรัสรู้ ธรรมวิจัย จะอยู่ใน ระดบั เชาวน์ปัญญาก่อนการกระทบกนั ของอายตนะภายในและภายนอก ความกระจ่างเชาวน์ปัญญานาไป วิปัสสนา คอื ศึกษาความจริงตามสภาวะแทจ้ ริง ปี ติ คือควำมอม่ิ ใจ พฒั นาเป็นองคป์ ระกอบแห่งความรู้แจง้ ดู คลื่นปัสสัทธิ อนั เป็นความสงบลึกซ้ึงเงียบเยน็ อยภู่ ายใน วิริยะ ควำมเพยี ร ไมท่ าปฏิกิริยาตอบโต้ เฝ้าสงั เกต การเกิดดบั เฝ้าสังเกตดูดว้ ยความเขา้ ใจในธรรมชาติอนั ไม่เท่ียงแท้ ปฏิบัติไป มีสติ มีธรรมวิจยั มีวิริยะ เกิด ปี ติ มีสุขเวทนา ท่วงทน้ สั่นสะเทือน อนั อ่อนละเอียด สมำธิ หมำยถึงความต้งั มนั่ ของจิตหรือความมีอารมณ์ หน่ึงเดียว สัมมาสมาธิ นาใหข้ า้ มพน้ ไปสู่ความหลุดพน้ ความทกุ ข์ เขา้ ถึงไดด้ ว้ ยสัมปชญั ญะ คือมีสติระลึกรู้ ในปรากฏการณ์ของนามรูป และประจกั ษร์ ู้ในธรรมชาติ วิริยะ (ควำมเพียร) ปี ติ (ความด่ืมด่า ความเอิบอ่ิม ใจ) ปสฺสทฺธิ (ความสงบระงบั ) สมาธิ (ความต้งั มน่ั ของจิต) และอเุ บกขา (ความวางเฉย) กำรกระทำชอบ (สมฺ มำกมฺมนฺโต)การฆ่าสัตว์ การลกั ทรัพย์ และประพฤติผิดในกาม ปัสสัทธิ ความสงบกายสงบใจ เป็นสภาวะที่

691 สงบอยา่ งลึกซ้ึง ไม่เที่ยง เป็นสภาวะที่ยงั คงอยู่ภายในขอบเขตแห่งนามรูป สติองค์ประกอบสาคญั สุดในการ รู้แจง้ สติเฝ้าสังเกตดูความจริงดว้ ยใจเป็ นกลาง “ปชำนำติ” ส่ิงต่าง ๆ เกิดข้ึนไม่ช้ามนั จะผ่านไปดบั ไป สัมมำสมำธิ ให้ได้ อริยผล ต้งั แต่ข้นั โสดาบนั สกทาคามี อนาคามี อรหันต์ อุเบกขำ จะตอ้ งมีอยู่ตลอดทุก ข้นั ตอน สติอุเบกขา คือ การวางเฉย เข้ำใจชัดเจนว่ำ ธรรมทุกชนิดเกิดขึ้นในจิต ความคิดเพียงชว่ั แล่น จะ เล่ือนไหลไปกบั ความรู้สึกทางกายหรือเวทนา องค์ประกอบแห่งควำมรู้แจ้งหรือ โพชฌงคน์ าไปถึงจุดหมาย ปลายทางคอยเฝ้าสังเกตความไม่บริสุทธ์ิคอื กิเลสต่าง ๆ โดยกฎธรรมชาติ กิเลสจะหลุดลอยข้ึนมาบนพ้ืนผวิ จิต วิจัย คือกำรแยกแยะ การเลือกเฟ้น การสืบคน้ ความจริงอย่างที่วิปัสสนาตอ้ งการให้ทา ธรรมวิจัย หรือ กำรเลือกเฟ้นธรรมส่วนลึกของจิตซ้าแลว้ ซ้าเล่า มีหรือไม่มีอยู่ภายในจิตขณะน้ัน ผูเ้ ฝ้าสังเกตดูและรู้ชัด ธรรมวิจยั 4.6) ทกุ ขนิโรธอริยสัจ–ควำมจริงอนั ประเสริฐของควำมดบั ทุกข์ ทกุ ขสมทุ ยั อริยสจั –เหตุเกิดแห่ง ทุกข์ “ชาติ” ความเกิด ใด “ชรา” ความแก่ “พยาธิ” โรค “มรณะ” ความตายความแตกสลายแห่งขนั ธ์ “พยาธิ” โรค “มรณะ” ความตาย “โสกะ” ความเศร้าเสียใจ “ปริเทวะ” คือความคร่าครวญ “โสกะทุกขะ” ความเจ็บปวดทางกาย “โทมนัสสะ” ความทุกข์ใจ “อุปายาส” ความคบั แคน้ ใจ ทุกขอริยสัจ-ความจริง เก่ียวกบั ความทุกข์ อธิบายปรากฏการณ์ของความทกุ ขแ์ ต่ละชนิด ทุกข์ระดับละเอียด ประสบสิ่งท่ีไม่รักไม่ ชอบ ตอ้ งพลดั พรากจากสิ่งอนั เป็นท่ีรักท่ีพอใจ ควำมทุกข์อนั เกิดจากการไม่สมประสงคใ์ นสิ่งที่ปรารถนา กำรรู้อริยสัจหรือความจริงอนั ประเสริฐ การสารวจและประจักษ์ทุกข์โดยตลอดท้งั ขอบเขตด้วยตนเอง “ธรรม” แบ่ง 2 อย่าง คือ กุศล อกุศล มัคคสัจ ความจริงอนั ประเสริฐ ของทางดาเนินไปสู่ความดบั ทุกข์ มรรคมีองค์ 8 เจรจำชอบ (สมฺมาวาจา)เวน้ กล่าวเท็จ เวน้ กล่าววาจาส่อเสียด เวน้ กล่าววาจาหยาบ เวน้ เจรจา เพอ้ เจอ้ ควำมเพยี รชอบ (สมฺมาวายาโม) สร้างฉนั ทะ ระดมความเพียร เร้าจิตไว้ และมุ่งมนั่ ควำมดำริชอบ (สมฺมาสงฺกปฺโป) ความดาริที่จะออกจากกาม ความดาริในความไม่โกรธ ไม่พยาบาท ความดาริในการไม่ เบียดเบียนทาร้าย กำรเลยี้ งชีพชอบ (สมฺมาอาชีโว) ควำมต้ังม่ันชอบ (สมฺมาสมาธิ) คือ การปฏิบตั ิสมาธิตาม แนวฌาน 4 5) ทำงคือธรรมอันเป็ นท่ีต้ังแห่งสติ 4 อย่ำง พบวา่ 5.1) ตอ้ งไปดูคาสอนที่แทจ้ ริงของพระพุทธเจา้ โดยคน้ หาเอาจาก พระพุทธพจน์ในพระไตรปิ ฎก วิธีกำรปฏิบัติ อาศยั พระพุทธพจน์เป็ นหลกั แตกต่าง เกิดข้ึนระหว่างประสบการณ์ ท่ีไดป้ ฏิบตั ิกบั วิธีการอ่ืน ๆ คน้ หาคาตอบจากพระไตรปิ ฎก ซ่ึงเป็ นพระพุทธ พจน์โดยตรง ศึกษำพระพุทธพจน์ท้งั หมดโดยใชเ้ คร่ืองมือและเทคโนโลยสี มยั ใหม่ ปฏิบัติไป จะเข้ำใจได้ เองว่าพระพุทธเจา้ ทรงหมายความว่ากระไร สิ่งใดท่ีขา้ พเจา้ ประสบสิ่งใดท่ีเขา้ ใจจากพระพทุ ธพจน์ คือส่ิงท่ี พูด และส่ิงท่ีพูด เป็นสิ่งเดียวกบั ที่ครูอาจารยส์ อน สิ่งที่เรำสอนกนั อยู่น้ีถูกตอ้ งตามท่ีพระพุทธเจา้ ทรงสอน ใหท้ ่านปฏิบตั ิมากข้ึน เป็นทางเดียวทาใหห้ ายสงสัย ครูอำจำรย์ท่ีปฏิบัติไปถึงข้ันสูง ๆ หลายท่าน ลว้ นแต่มี ประสบการณ์อย่างเดียวกนั พระพุทธเจ้ำทรงสอนอยู่แถบลุ่มน้าคงคา ในประเทศอินเดียตอนเหนือ ศึกษำ

692 ภำษำบำลีพอเขา้ ใจ อ่านพระพุทธพจน์ ทุกส่ิงทุกอยา่ งกระจ่างชดั ราวกบั พระพุทธเจา้ ไดต้ รัสสอนโดยตรง ดว้ ยประสบการณ์ตรงของตนเอง ปริยัติเป็ นควำมรู้ระดบั เชาวน์ปัญญา เกี่ยวกบั คาสอน รับฟังพุทธวจน โดยตรง เกิดความบนั ดาลปฏิบตั ิ รู้และเข้ำใจ รู้บำลมี ากข้ึนพฒั นาธรรมมากข้ึน เรียนรู้ศพั ทบ์ าลี ปฏเิ วธการ แทงทะลุผ่านความจริง โดยสมมติที่ปรากฏได้เขา้ ถึง ความจริงตามสภาวะท่ีเป็ นจริง ผ่ำนข้ันตอนแบบ เดียวกนั วิธีการปฏิบตั ิเร่ิมตน้ แลว้ แต่สภาวะจิต ภมู ิหลงั แตล่ ะคนทกุ คนตอ้ งผา่ นสถานีสาคญั ต่าง ๆ เหมือนกนั หมด เวลำชั่วขณะหนง่ึ ท่ีเราจะไดส้ งั เกตดู ซ่ึงเท่ากบั วา่ ไดห้ ยดุ กระบวนการเพ่ิมพูนกิเลสไวช้ วั่ ขณะหน่ึง 5.2) สติปัฏฐำน คือ สติมีปัญญากากบั ท่ีต้งั สติ มีปัญญาท่ีรู้อนิจจงั เกิดดบั มีปัญญารู้ทุกขขงั คือ ความทุกข์ เป็ น ปัญญารู้อนตั ตา ไม่มีตวั ตน ทำสติปัฏฐำนตลอดเวลำสติอยู่ท่ีลมหายใจ กาลงั นงั่ ยืน เดิน นอน สติควบคู่ ปัญญำ ขาดปัญญาที่จะรู้ถึงความจริงแทต้ ามสภาวะ สติเป็นสติไม่สมบูรณ์ เฝ้ำดแู ต่รู้ได้ แต่เขา้ ใจเฝ้าดูอยู่เฉย ๆไม่มีความยดึ มน่ั ถือมนั่ ไม่ยดึ ติดอะไร ๆ ในโลก จงเฝ้ำสังเกตดูอย่ำงถ่ีถ้วน โครงสร้างของนาม และรูป ไม่ เที่ยงแทถ้ าวรเกิดข้ึนดบั ไป ยอมรับควำมจริงว่ำ มีตณั หาเกิดข้ึนในใจ สังเกตดูโดยไม่ทาปฏิกิริยาปรุงแต่ง ตอบโต้ เหน็ สักแต่ว่ำเห็นไม่มีการประเมินค่า ไม่มีปฏิกิริยาโตต้ อบใดๆ รู้สึกแต่รู้ เท่าน้นั ธรรมะ คือ ควำม จริงที่เกิดข้ึนภายในร่างกาย เวทนา(ความรู้สึกหยาบทึบ รุนแรง) เกิดข้ีนดบั ไป ฝึ กฝนพบกบั ควำมจริงดว้ ย ตวั เองซ้าแลว้ ซ้าเล่า เป็นการพฒั นาปัญญา ประจักษ์จริงแทส้ ่วนลึกที่ถูกปิ ดก้นั อยู่ ปัญญำเข้ำใจ สังเกตดูอยู่ ไม่ติดยดึ อยกู่ บั สิ่งใด มีประสบกำรณ์กบั ความทุกข์ อนั เป็นลกั ษณะพ้ืนฐานของทุกสิ่ง สำรวจกำยและจิตได้ ตอ้ งมีสิ่งใดสิ่งหน่ึงเกิดที่กายและจิต ควำมรู้สึกกลำง ๆ ไม่ทุกข์ไม่สุข เฝ้าดูต่อไปเรื่อย ๆ 5.3) กำรปฏิบัติ วิปัสสนำ คือ กำรละท้งั ควำมชอบควำมชัง “วเิ นยยฺ โลเก อภิชฺฌาโทมนสฺสํ” วิปัสสนำ คือ กำรสังเกตภำยใน ร่ำงกำยของเรา หมายถึง พ้ืนผวิ ร่างกาย ยงั อยภู่ ายในโครงสร้างร่างกาย พฒั นำสมำธิ ทาจิตใจแน่วแน่สังเกต ความจริงภายในร่างกาย ความจริงที่ปรากฏของรูปนาม คิดพิจารณาไม่อาจจะนาบุคคล ให้ไปสู่จุดหมาย ปลายทางได้ ไม่ยึดถือคัมภีร์ ว่าถูกต้องเป็ นจริง พิสูจน์ได้หรือไม่ เห็นประจกั ษ์ได้ด้วยตนเองหรือไม่ พฒั นำโลกตุ ตรฌำน สภาวะนิพพาน เป็นการดบั สัญญา และเวทนา สังขำรที่จะนาเราไปสู่ชีวิตใหมพ่ ลงั แรง กลา้ ในจิตสุดทา้ ยเกิดเป็นพลงั สนั่ สะเทือน เกิดกระแสดึงดูดเเขา้ ไปท่ีภพ ข้ำมพ้นขอบเขตแห่งนำมรูป ไม่มี อะไรในโลกใหย้ ึดถืออีก กำรปฏิบัติวิปัสสนำ การขจดั กิเลสในส่วนที่ลึกท่ีสุดของจิตใจ สติมีอยู่ รู้ชัดสติ ไม่มีอยู่ ยอมรับในความจริง วิปัสสนำพำไปสู่ควำมจริงอันสูงสุดคือควำมจริงโดยสภำวะ วิปัสสนาเจาะลึก เขา้ แยกสลายหยาบไปสู่ละเอียด จากสมมติสัจจ์ไปสู่ ปรมตั ถ์สัจจะ วิปัสสนำคือ กำรแยกแยะส่วนต่ำง ๆ ออกมำ เพอื่ สังเกตดูความจริงอยา่ งท่ีเป็นอยู่ เพื่อจะไดห้ ลดุ พน้ จากความยดึ ติดถือมนั่ หรือ อปุ าทาน วปิ ัสสนำ เป็นการเฝ้าดูประจกั ษค์ วามจริงดว้ ยตนเอง จาเป็นตอ้ งพบเห็นความจริงดว้ ยตาตนเอง ได้ ฌำน 8 เป็ นภำวะที่ มีสัญญำ ก็ไม่ใช้ ไม่มีสัญญาก็ไม่ใช่ สัญญา ยงั มีหลงเหลืออยู่ สภำวะนิพพำนคือความตาย เป็ นศิลปะ วิปัสสนาจะสอนให้หยุดสร้างกิเลส และมีชีวิตที่ดีงาม บุคคลบรรลุธรรมเป็ นสภำวะท่ีพน้ จากโลกแห่งนาม

693 รูป เป็ นสภาวะสูงสุดรู้ได้เม่ือประสบดว้ ยตนเอง กำรปฏิบัติวิปัสสนำยงั ไม่แพร่หลายปฏิบตั ิกนั อยู่แค่ข้นั อนุบาล กำรปฏิบัติอยู่ระดับสูงมำก จะรับรู้ควำมรู้สึกผู้อ่ืน รับรู้กระแสสั่นสะเทือนของสิ่งที่มีชีวิตและไม่มี ชีวติ ท้งั หลายได้ ปฏิบตั ิธรรมข้นั สูงสามารถพฒั นาดวงตำทิพย์ จนมองเห็นสิ่งภายในร่างกายอนั มีหนงั หุ้มอยู่ โดยรอบไดท้ ุก ๆ ส่วน กำรเฝ้ำสังเกตดูควำมจริงภายในร่างกายของตนเอง การสวดแต่ละคาตอ้ งมีสติรู้ เวทนา พร้อมท้งั รู้อนิจจงั และสัมปชญั ญะชดั เจน สร้างกระแสส่ันสะเทือนเต็มพลงั ธรรมะ จะกลายเป็นส่วน หน่ึงของการปฏิบัติ เน่ืองจากสัมปชัญญะมีอยู่ตลอดเวลา พระพุทธเจ้าทรงสอนอยู่แถบลุ่มน้าคงคา ใน ประเทศอินเดียตอนเหนือ 5.4) ธัมมำนุปัสสนำ กำรสังเกตส่ิงทอ่ี ยู่ในจิต ธรรม หมายถึงสภาพที่ทรงอยใู่ นใจ ลกั ษณะของส่ิงท่ีทรงไวใ้ นใจ หรือกฎธรรมชำติ คือกฎแห่งจักรวำล การเฝ้าดูธรรมท้งั ภายใน ภายนอก ท้งั ท่ี เกิดข้ึน ดบั ไป เป็นเพียงกฎธรรมชาติ กฎธรรมชำติ อะไรเกิดข้ึนในจิต เพียงแต่เฝ้า สังเกตดูเฉยๆ เป็นการ ปฏิบตั ิที่ถูกตอ้ งแลว้ ธรรม คือ ธรรมชำติ หรือ ลกั ษณะ เฝ้ำสังเกตธรรมะภำยในภำยนอก และท้ังภำยใน ภำยนอก เกิดข้นึ ดบั ไป และเกิดดบั เกิดดบั ติดต่อกนั รู้ชดั เขา้ ใจชดั สติเคยสะสมอยใู่ นอดีตจะช่วยผปู้ ฏิบตั ิ เพียงไดเ้ ฝ้าสังเกตดูและรู้ชดั ดว้ ยปัญญา สติเพ่มิ พูนมากข้ึนจนเด่นสมบูรณ์ โลกท้ังหมดน้ันอย่ภู ำยในร่ำงกำย ของเราเอง การเกิด การดบั และหนทางไปสู่การดบั ของโลก อยภู่ ายใน ควำมเข้ำใจอนิจจังระดบั ลึกลงไปเกิด จากการที่มีสติรู้ถึงกระแสสั่นสะเทือนเบา ๆ ท่ีเกิดอยู่ภายในและทาให้เขา้ ใจว่าความรู้สึกกลาง ๆ มีความ เปล่ียนแปลงแปรปรวน เกิดดบั เกิดดบั อยทู่ ุกขณะ งำนใหญ่ท่ีจะต้องทำ คือการเปล่ียนนิสยั ความเคยชินของ จิตเราในระดบั ท่ีลึก ท่ีสุดเพอื่ ใหบ้ รรลถุ ึงความหลดุ พน้ จงอยา่ เสียเวลากบั คาถามทางปรัชญา กำรขจัดอวชิ ชำ มีความสาคญั เพ่ือใหค้ วามบริสุทธ์ิเกิดได้ 5.5) ขอให้ปฏิบัติให้ลกึ ลงไป ลกึ ลงไป แลว้ จะไดพ้ บคาตอบในขอ้ สงสยั ท้งั หมด ปฏิบัติธรรมเช้ำเย็นคร้ังละ 1 ชั่วโมง ขอใหต้ ้งั มนั่ อยใู่ นธรรมใหผ้ คู้ นท้งั หลายเกิดความบนั ดาล ใจ รักษำศีล พฒั นาการมีสติอยูก่ บั ลมหายใจ พฒั นาปัญญาของท่านดว้ ยการมีสติอย่กู บั เวทนาในกายและมี อุเบกขาเวทนา ต้องทำให้ตนเองหลุดพ้นจากความทุกข์ มีชีวิตที่สงบสุข มีความสมานฉนั ท์ ระวงั ไม่ทาร้าย ใครเขา้ ธรรมดำเนินชีวิตกฎเกณฑ์ เกิดความบนั ดาลใจ อยากเขา้ มาปฏิบตั ิจะตอ้ งปรับปรุงตวั เองให้ดีข้ึน ได้มำนั่งกันท้ังเช้ำเย็นคร้ังละ 1 ชั่วโมงภาวนาชีวิตจะตอ้ งเปลี่ยนแปลง ชีวิตเปล่ียนแปลงในทำงที่ดีขึ้น ปรับปรุงตวั เอง ธรรมะในกำรดำเนินชีวิตกฎเกณฑก์ ารประพฤติปฏิบตั ิเป็นแนวทางชีวิต ถ้ำวธิ ีกำรปฏิบัติไม่ ถูกกบั จริตไม่เป็นเหตุผล หนั ไปปฏิบตั ิวิธีอื่นเหมาะสม และจงปฏิบตั ิไปใหถ้ ึงจุดหมายสูงสุด โอกำสมำพบ กบั ธรรมะบริสุทธ์ิ เป็นธรรมอนั เป็นสากล จงเป็ นผ้ปู ระพฤติธรรมย่อมเป็ นตวั อย่ำงทดี่ ี ทางธรรมคอื การช่วย เผยแพร่ธรรมะที่ดีท่ีสุด เกิดความสนใจเขา้ ปฏิบตั ิจะพากนั มาทดลองปฏิบตั ิกนั ใหแ้ รงบนั ดาลใจแก่ผอู้ ่ืน วา่ ชีวติ เปลี่ยนแปลงไปในทางดีข้ึน เผชิญดว้ ยความสงบ รู้สึกกตญั ญูรู้คณุ เม่ือตอ้ งบรรลธุ รรมแลว้ ไมใ่ ช่เกบ็ ไว้ เฉพาะตน กำรเป็ นตัวอย่ำงท่ีดีในทำงธรรม ชำระจิตใจให้บริสุทธ์ิ ช่วยผูอ้ ื่นโดยไม่หวงั สิ่งตอบแทน ช่วย ผูค้ นจานวนมากๆไดม้ ีโอกาสมาปฏิบตั ิธรรมและหลุดพน้ ความทุกข์ กำลังเดินอยู่บนหนทำงท่ีจะนำไปสู่

694 ควำมเป็ นอรหันต์ เพื่อไปให้ถึงจุดหมายปลายทาง กำรสร้ ำงบำรมีสาคัญที่สุด ลาดับก่อนหลังไม่มี ความสาคญั ภาพท่ี 5.10.4 แผนภาพความคดิ จากการสกดั หลกั คาสอนมหาสติปัฐานธรรมบรรยาย โดยทา่ นสตั ยา นารายนั โกเอน็ กา้ : ดา้ นผล ด้ำนผลของท่ำนสัตยำ นำรำยัน โกเอ็นก้ำ พบว่า 1)คำสอนกำรปฏิบัติที่สมบูรณ์ที่สุด พุทธพจน์ เทศนาส่ังสอนดว้ ยพระองคเ์ อง พุทธบญั ญตั ิความรู้สึกวา่ ไดร้ ับฟังพระธรรมเทศนาจากพระศาสดาโดยตรง การอ่านเขา้ ใจพระสูตรช่วยเกิดความบนั ดาลใจ มีความมนั่ ใจ รู้แนวทางการปฏิบตั ิ รู้ว่ากาลงั ปฏิบตั ิในสิ่งที่ พระพทุ ธองคท์ รงสอน แตค่ วามเขา้ ใจดว้ ยเชาวน์ปัญญาเพียงเท่าน้นั ไมช่ ่วยใหห้ ลุดพน้ จากความทุกข์ เขา้ ใจ พระพุทธพจน์แจ่มแจง้ ดว้ ยผลปฏิบตั ิ 2)เอำธรรมะไปใช้กบั ชีวิตประจำวัน ฟังธรรมรู้นาธรรมไปใชใ้ นชีวิต อยา่ งไร แรงบนั ดาลใจ เขา้ ใจธรรมะอยา่ งลึกซ้ึง มีชีวติ อยมู่ ีธรรมะ เขา้ ใจดว้ ยเชาวน์ปัญญา และประสบการณ์ ไดร้ ับจากการปฏิบตั ิจงใชใ้ นชีวิตประจาวนั ต่อไปดว้ ย ชีวติ เปลย่ี นแปลงทำงดี จงมีชีวิตทาความดีงามมาสู่ตวั ท่านเองและนาความดีงามมาสู่ผูอ้ ่ืน ปฏิบตั ิเพิ่มพลงั ให้พลงั ธรรมะช่วยท่านเผชิญหนา้ ความผนั แปรต่างๆ ใหเ้ ป็นอิสระจากการปรุงแตง่ ไป จุดหมายปลายทาง คือสภาวะนิพพานอนั สมบรู ณ์ กา้ วเดินไปในทิศทางอนั ถูกตอ้ งบนมรรคอนั ชอบ เดินไปเร่ือย ๆ ทีละกา้ วทีละกา้ ว จะตอ้ งไปถึงจุดหมายปลายทางอยา่ งแน่นอน จง รุ่งเรืองในธรรมจงเจริญในธรรม จงเป็ นตวั อย่างอนั ดีงามให้แก่บุคคลอื่นๆได้พบกบั สันติสุขอนั แทจ้ ริง ประโยชน์แทจ้ ริง ตอ้ งมาจากการปฏิบตั ิ พบกบั ธรรมะอนั บริสุทธ์ิและมีโอกาสมาปฏิบตั ิธรรม ใช้เวลาให้ เป็ นประโยชน์ต้องปฏิบัติเองไม่มีใครปฏิบัติแทน ปฏิบัติด้วยความจริ งจัง ขยันหมั่นเพียร 3) “ยถำภูตญำณทสั สนะ” เฝ้าดูไปเฝ้าดูไปดว้ ยปัญญาท่ีรู้ชดั เขา้ ใจชดั ถึงการเกิดข้นึ ดบั ไป เกิดดบั อยตู่ ลอดเวลา เป็น อนิจจงั ออกมาจากพนั ธนาการของกิเลส ความรู้ชดั เขา้ ใจชดั ในความเป็นอนิจจงั เขา้ ใจดว้ ยวา่ ตณั หาดบั ได้อย่างไรเม่ือปฏิบัติไปถึงข้ันสูง ๆ จะต้องมีสัมปชัญญะอยู่ตลอดเวลาไม่ขาด แม้สักขณะจิตเดียวจิต

695 ล่องลอยไป เรียกจิตกลบั คืนมาอยทู่ ี่เวทนารวดเร็วเพยี งไร เตือนตวั เอง จงพยายามพฒั นาปัญญา 4)ควำมจริง อันประเสริฐของควำมดับทุกข์ การวิเคราะห์แยกแยะต่าง ๆ โดยใชป้ ระสบการณ์จากการปฏิบตั ิ “ทุกฺขโท มนสฺสาน อตฺถงฺคมาย” เพื่อการดบั สิ้นทกุ ขก์ าย ทกุ ขใ์ จขา้ มพน้ จากความทุกขท์ ้งั ปวง หลดุ พน้ จากความทกุ ข์ ท้งั หลายจากพนั ธนาการท้งั ปวง จงสังเกตดูความจริงจากเวทนาในกายและรักษาอุเบกขาของจิตเอาไว้ จงต้งั หนา้ ปฏิบตั ิใหล้ ึกยงิ่ ข้ึน ปฏิบตั ิให้ลึกยงิ่ ข้นึ เขา้ ใจความเป็นจริงอยา่ งรู้แจง้ แทงตลอด มีสัมปชญั ญะอยู่ตลอด พยายามรู้เวทนา กิจกรรมทางกายอะไรอยู่ รู้การเกิดดบั ของเวทนาตลอดเวลา เวทนาหรือความรู้สึกทางกาย ทุกชนิดท่ีเกิดข้ึนเกี่ยวขอ้ งกบั อายตนะภายในหรือทวาร ได้ประจกั ษ์กบั ความจริงดว้ ยตวั ของท่านเอง รู้ ธรรมชาติความจริง เกี่ยวกบั ปัญญาเขา้ ใจเกิดดบั ประจกั ษเ์ หนือรูปนาม ไดป้ ฏิบตั ิธรรม จุดหมายคือ ความ หลุดพน้ ความรู้แจง้ เห็นจริง ประสบดว้ ยตนเองในความจริงบนเส้นทาง อริยมรรค นาสู่ความหลุดพน้ การ ไดป้ ระสบความจริงดว้ ยตนเอง ให้ผลอย่างแทจ้ ริง จงมีสติอยู่กบั ลมหายใจ ประสบการณ์อยู่เหนือทวาร 6 กา้ วหนา้ ตอ่ ไปบนหนทางเสน้ น้ีทีละกา้ ว จงพยายามอยา่ งดีที่สุด ไมข่ าดสมั ปชญั ญะในทกุ ๆ สถานการณ์ จงมี สติพร้อมสมั ปชญั ญะ เพอื่ ความหลุดพน้ จากกิเลส 5) จำกปุถชุ น (อนำรยบคุ คล) มำเป็ น อริยบุคคล มาถึงข้นึ โสดาบนั บรรลุถึงความเป็ นพระสกทาคามี ผทู้ ่ีจะกลบั มาเกิดอีกเพียงคร้ังเดียวในโลกิยโลก พระอนาคามี หรือผไู้ ม่เวยี นกลบั มาสู่โลกแห่งนามรูป บรรลุอรหตั ตผล ไดพ้ บกบั ความหลุดพน้ โดยสิ้นเชิงผลท้งั หลายอนั ไดอ้ รหตั ตผลหรืออนาคามิผล เวลาแตกต่างเพราะกิเลสเก่า ๆ สะสมไว้ แต่ปางก่อนไม่เท่ากนั สรุปกำรสกดั หลกั คำสอนมหำสติปัฏฐำน 4 ตำมแนวทำงปฏบิ ตั ิท่ำนสัตยำ นำรำยัน โกเอน็ ก้ำ

696 ฐำนธรรมำนปุ ัสสนำ ฐำนจติ ตำนุปัสสนำ ภาพท่ี 5.10.5 แผนที่ความคดิ การสกดั หลกั คาสอนมหาสติปัฏฐานของทา่ นสัตยา นารายนั โกเอน็ กา้ ด้ำนกำยำนุปัสสนำสติปัฏฐำน พบวา่ 1) แนวคิดมหำสติปัฏฐำน คือ สำรวจสำเหตุแห่งควำมยึดมั่น ถือมั่นเป็นกาย (ร่างกาย) จิต (จิตใจ) โดยการฝึ กอานาปานสติ รับรู้ความรู้สึกทางกาย พฒั นาอุเบกขา พฒั นา สมาธิ ด้วยการมีสติอยู่กับลมหายใจ พัฒนาปัญญา การมีสติอยู่กับเวทนาในกายและมีอุเบกขาเวทนา ความหมาย สติปัฏฐาน คือ ธรรมอนั เป็นท่ีต้งั สติร่วมกบั ปัญญาสติร่วมกบั สัมปชญั ญะ “อาตาปี สัมปชาโน สติมา” สติสาคญั ทุกองค์ประกอบระลึกได้ตลอดเวลา กฎควบคุมปฏิสัมพนั ธ์เกิดข้ึนระหว่างกายและจิต ชาระจิตใหบ้ ริสุทธ์ิและสลายอตั ตา สงั เกตธรรมในธรรมคือ รู้อริยสัจ 4 ตอ้ งหยง่ั รู้ดว้ ย ญาณปัญญาตามความ เป็ นจริง รู้ชดั เขา้ ใจชดั ส่ิงที่ประสบกบั ตวั เอง 2) หลักกำรมหำสติปัฏฐำน คือ ปฏิบัติวิปัสสนำกรรมฐำนได้ ประจกั ษก์ บั ตนเองภายในโครงสร้างร่างกาย อานาปานบรรพเป็นเคร่ืองมือรวบรวมสติไดส้ มาธิข้นั ลึก ขนั ธ์ 5 คอื กายรูป และใจ นามรวมตวั กนั เขา้ เป็นหมวดเป็นกอ้ น รูปขนั ธ์รวมตวั กนั ของอนุปรมาณูเลก็ ๆ นามขนั ธ์ มี วิญญาณ สัญญา เวทนา สังขาร อุปาทานขนั ธ์ คือการยึดมนั่ อยู่กบั ขนั ธ์ พละ 5 ธรรมอนั เป็นกาลงั มิตร 5 คือ อินทรีย์ 5 มี ศรัทธา วริ ิยะ สติ สมาธิ ปัญญา อายตนะ คอื ทวารรับรู้ความรู้สึก มีตา หู จมกู ลิน้ กาย ใจ ท้งั หก ทวารอยู่ที่ภายในร่างกาย ประจกั ษค์ วามรู้สึกท่ีร่างกายตนเอง 3) กำรฝึ กวิปัสสนำกาลงั ทาอยู่ สังเกตอยู่ คือ ควำมจริงนำมรูป “ปัฏฐาน” หมายถึง ต้งั มนั่ ดว้ ยภาวนามยปัญญา เกิดจากประสบการณ์ สังเกตลมหายใจ ดว้ ยความจริง เฝ้ารู้สึกถึงเวทนาเขา้ ใจ ประจกั ษก์ ารเกิดดบั การปฏิบตั ิวปิ ัสสนา คอื การละความชอบความชงั “วิเนยฺย โลเก อภิฌชาโทมนสฺส” 4) “กาเย กายานุปสฺสี วิหรติ อาตาปี สัมปชาโน สติมา วิเนยฺยโลเก อภิชฺฌา โทมนสฺน” เฝ้ำดคู วำมจริงกำยในกำย เพยี ร อำตำปี ด้วยปัญญำ สัมปชำโน ให้รู้ถงึ กำรเกดิ ดับด้วยสติมำคือมี สติระลกึ รู้ด้วยปัญญำ ประกอบดว้ ย 4.1)อำนำปำนสติ กำรสังเกตลมหำยใจเข้ำออก ต้งั สติอย่บู ริเวณรอบ ปากเขา้ ช่องจมูกเหนือริมฝี ปากบน จงมีสติอยปู่ ระจกั ษก์ บั ลมหายใจเขา้ ออกเป็ นจริงอยา่ งมีสติตลอดเวลา อานาปานสติต่อเวทนานุปัสสนา มีสัมปชญั ญะตลอดเวลา รู้เขา้ ใจชดั กายสังขารสงบระงบั คือต้งั มนั่ สติ เป็ นวิปัสสนาต้องมีสติอยู่กับ อนิจจงั อนิจจัง อนิจจงั สติอยู่กับเกิดข้ึนดับไป บนผิวร่างกายอยู่ภายใน

697 โครงสร้าง เป็ นกลุ่มกอ้ นของคลื่นเลก็ ๆ เกิดข้ึนแลว้ ดบั 4.2) สัมปชัญญะต้องมีอยู่ตลอดเวลำ ไม่ว่าที่ไหน เมื่อไรสัมปชัญญะ มีความรู้เขา้ ใจชดั ในความไม่เท่ียงอยู่ตลอดเวลา ชดั ว่า กาลงั เดิน ยืน นง่ั นอน รู้ชดั ว่า ตนเองอยใู่ นอิริยาบถไม่ใช่ตวั ตนของตน 4.3)ร่ำงกำยเป็ นธำตทุ ้งั 4 ประกอบเขา้ เรียกวา่ “ ร่างกาย” กลายเป็น เพยี งกลุม่ กอ้ นอนุภาคปรมาณู การพจิ ารณา ร่างกายประกอบไปดว้ ยธาตุดิน (ปฐวีธาต)ุ แสดงออกดว้ ยความ เป็นกลุ่มกอ้ น เช่น กระดูก เน้ือ ธาตนุ ้า (อาโปธาต)ุ คือสภาพที่เหลวเป็นน้า เช่น เลือด เหง่ือ น้าปัสสาวะ เป็น ตน้ ธาตุลม (วาโยธาตุ) คือลมท่ีเคล่ือนไหวอยู่ในร่ างกาย ธาตุไฟ (เตโชธาตุ) คืออุณหภูมิร่างกาย 4.4) “ภายในกาย” “บนผวิ กายตนเอง” มีควำมรู้สึกเกดิ ขนึ้ ดบั ไปของเวทนำ ติดต่อกนั ไปอยา่ งรวดเร็ว สงั ขารปรุง แต่งมีสาเหตุจากความรู้สึกทางกายเวทนา จิตระดบั ลึกที่สุดคอยเฝ้าทาปฏิกิริยาปรุงแต่งตอบโต้ กบั เวทนาทว่ั ทุกอณุทางร่างกาย อยตู่ ลอดเวลา 4.5) ปฏิกูลมนสิการ พิจารณาส่ิงที่น่ารังเกียจ พิจารณาจากฝ่าเทา้ ข้ึนไปจาก เส้นผมบนศีรษะลงมา หนังหุ้มโดยรอบไม่สะอาด แทจ้ ริงน่ารังเกลียด เฝ้าดูร่างกายอย่างเป็ นอย(ู่ ยถาภูต) เพียงร่างกายมีเวทนาเกิดดบั 4.6) ข้อคิดจำกกำรดูซำกศพในป่ ำช้ำ วา่ ดว้ ยขอ้ สังเกต 9 ประการเกี่ยวกบั ป่ าชา้ ตอ้ งเริ่มตน้ การสังเกตส่ิงที่อยภู่ ายนอกกายประจกั ษค์ วามจริงตนเอง การคดิ เปรียบเทียบ ตวั เราเอง จะตอ้ งตก อยใู่ นสภาพเดียวกนั หลุดพน้ จากอุปทาน ท้งั มวล แต่ละคร้ังที่ไดเ้ ห็นคิดว่าส่ิงเดียวกนั น้ียอ่ มเกิดกบั ร่างกาย ของตนเช่นกนั จาเป็นตอ้ งไดพ้ บเห็นความจริงดว้ ยตาตนเอง ด้ำนเวทนำนุปัสสนำสติปัฏฐำน พบว่า 1)ทุกเส้นทำงปฏิบัติรวมกันที่เวทนำได้เข้ำไปสู่จุดมุ่งหมำย สูงสุด เวทนาเป็นความรู้สึกทางกายมีบทบาทสาคญั ที่สุดในสติปัฎฐานท้งั สี่ สอนให้วางอุเบกขาต่อเวทนา ทุกชนิด เพ่ือเปล่ียนแบบแผนพฤติกรรมจิตระดบั ลึก หากไม่เขา้ ใจอนิจจงั ใชว้ ิธีชกั นาจิตซ้า ๆ ให้จิตสงบ ภายในส่วนลึกจิตทาปฏิกิริยาปรุงแต่งตอบโตม้ ีอยู่เช่นเดิม รากเหงา้ กิเลสไม่ถูกขุดลอก พฒั นาอุเบกขาต่อ เวทนาเกิดข้ึนท่ีร่างกายสัมปชญั ญะเร่ิมตน้ ดว้ ยความเขา้ ใจในธรรมชาติ เกิดดบั เวทนาหรือความรู้สึกทางกาย ตอ้ งตระหนกั รู้เวทนาและการเกิดดบั ของเวทนาร่างกายตน ตอ้ งมีประสบการณ์เกิดดบั แสดงออกทางเวทนา หรือความรู้สึกทางกาย “สติ” กล่าวถึงสติปัฏฐาน 4 สัมปชญั ญะ คือการประจกั ษต์ ่อการเกิดดบั ของเวทนา จะตอ้ งมีอยู่ด้วยเสมอไม่มีเวทนา ไม่มีสัมปชัญญะ ไม่มีปัญญา ขาดปัญญาไม่มีวิปัสสนา ไม่มีสติปัฏฐาน เวทนาทาใหป้ ระจกั ษอ์ นิจจงั ชดั เจน ความเขา้ ใจเวทนาจาเป็นที่สุด การรู้เขา้ ใจทุกข์ ความรู้เขา้ ใจเวทนาดว้ ย สัมปชญั ญะ โดยตลอดทว่ั ท้งั ขอบเขตจนสามารถอย่เู หนือเวทนาได้ 2) จงสังเกตดูควำมจริงจำกเวทนำใน กำยและรักษำอุเบกขำของจติ เอำไว้ รู้เวทนำ กิจกรรมทางกายอะไรอยู่ รู้เกิดดเั วทนาตลอดเวลา เวทนาหรือ ความรู้สึกทางกายทุกชนิดท่ีเกิดข้ึนเก่ียวขอ้ งกบั อายตาร ไดป้ ระจกั ษก์ บั ความจริงดว้ ยตวั เอง จงมีสติอยู่กบั ลมหายใจ ประสบการณ์อยเู่ หนือทวาร 6 ไมข่ าดสมั ปชญั ญะในทุกๆ สถานการณ์ จงมีสติพร้อมสมั ปชญั ญะ รู้ธรรมชาติความจริง ปัญญาเขา้ ใจเกิดดบั ประจกั ษเ์ หนือรูปนาม ความรู้แจง้ เห็นจริง ประสบดว้ ยตนเองใน ความจริงบนเส้นทาง อริยมรรค นาสู่ความหลุดพน้ ความจริงอนั ประเสริฐของความดบั ทุกข์ การวิเคราะห์

698 แยกแยะต่าง ๆ โดยใช้ประสบการณ์จากการปฏิบตั ิ จงต้งั หนา้ ปฏิบตั ิให้ลึกยิ่งข้ึน ปฏิบตั ิให้ลึกย่ิงข้ึน เขา้ ใจความเป็นจริงอย่างรู้แจง้ แทงตลอด มีสัมปชญั ญะอยตู่ ลอด 3) “เวทนาสุ เวทนานุปสฺสี วหิ รติ อาตาปี สมฺป ชาโน สติมา วิเนยฺย โลเก อภิชฺฌา โทมนสฺส” จงเฝ้ำสังเกตควำมจริงเวทนำในเวทนำ ต้องเห็นในระดับ ประสบกำรณ์ ด้วยควำมเพยี รปัญญำ ด้วยสติ ละควำมชอบ ควำมชังต่อปรำกฏกำรณ์ที่เกดิ ขึน้ ต่อเวทนา 3.1) เวทนามูลฐานสาคญั ยงิ่ เป็นเครื่องมือในวิธีการปฏิบตั ิทกุ บรรพ ความรู้สึกทางกาย คือ การรู้เวทนาภายในกาย เวทนาภายนอกกาย ตลอดโครงสร้างร่างกาย วิธีปฏิบัตตามจริต เร่ิมการปฏิบตั ิการสังเกตลมหายใจ สังเกต เวทนาความรู้สึกทางกาย ประสบการณ์แท้จริงเกิดดับได้ 3.2) รู้ชัดกาลังประสบความรู้สึกสุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา เรียนรู้ตามรู้เวทนาตลอดทวั่ ร่างกาย จากศรีษะไปถึงเทา้ หายใจออกคร้ังหน่ึง และจากเทา้ ไปถึงศรีษะ หายใจเขา้ คร้ังหน่ึง เวทนาชนิดต่าง ๆ เกิดข้ึนภายในร่างกาย เม่ือเกิดข้ึนแลว้ จะผา่ น ไป ดบั ไป รู้เวทนาที่ร่างกายของตนเอง เวทนาหมายเฉพาะความรู้สึกทางใจ ทางจิต สุขและทุกข์ สภาวะที่มี ความสะเทือนสั่นไหวอย่างแผ่วเบาตรวจสอบอายตนะหก เขา้ ใจอนิจจังสภาวะกาลงั ประสบอยู่ ความ เจ็บปวด รู้สึกไดถ้ ึงกระแสสน่ั สะเทือนเป็นคลื่นถูกพลงั สน่ั สะเทือนแบ่งย่อยแยกกระจายมนั ออกไป กระแส สั่นสะเทือนไหลเวียนอยู่ในร่างกายเกิดสภาวะเพ่ือหลุดพน้ ตวั เองปรุงแต่งตอบโตก้ บั เวทนา 3.3) สติมา” คือ การมีสติ “สมฺปชาโน” คือ การมีปัญญารู้แจง้ ในอนิจจงั อนั เกิดจากการท่ีไดป้ ระจกั ษก์ บั ความไม่เที่ยงของ เวทนา สัมปชญั ญะ คือ ความเขา้ ใจดว้ ยปัญญาท่ีถูกตอ้ งสมบูรณ์ รู้สึกวา่ เวทนากาลงั เกิดข้ึน ต้งั อยู่ และดบั ไป ตอ้ งไม่ขาดสัมปชญั ญะ ลกั ษณะจิตเดียวตอ้ งมีสติรู้การเกิดดบั ของเวทนาอยู่ตลอดทุกขณะ เวทนาเป็ น เพียงความรู้สึกทางใจ สัมปชญั ญะ คือการรู้สึกถึงเวทนาที่กาลงั เกิดข้ึนและดบั ไป ฝึ กตนเองตามรู้เวทนา ตลอดทวั่ ร่างกายหายใจเขา้ ออกรู้เวทนา 3.4 ) กำรประเมินค่ำของสัญญำ ความรู้สึกหรือเวทนา จะเปล่ียนเป็น สุขเวทนาหรือทุกขเวทนา เกิดเวทนา การประเมินค่า การจาได้หมายรู้รูป เสียง กล่ิน รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ์ วิญญาณรับรู้ สัญญาประเมินค่าเวทนา เกิดข้ึนสังขาร ปรุงแต่งตอบโต้ มีความทุกขเ์ พิ่มพูนข้ึน เวทนาสักแต่เป็นเพียงเวทนา สักแต่เป็นเพียงความรู้สึก ไม่มีสัญญา 3.5 ) สฬำยตนะ พบว่าการกระทบกนั ของท้งั สองทาใหเ้ กิดเวทนาหรือความรู้สึกท่ีร่างกาย ตณั หาหรือความชอบชงั จะเกิดข้นึ ภายหลงั จากเวทนาได้ เกิดข้ึนแลว้ มีความเขา้ ใจในเวทนาครบถว้ น ชาระจิตปราศจากอาสวะ ต้งั มน่ั อยใู่ นธรรม มีความรู้เขา้ ใจใน เวทนาทุกชนิด ภังคานุปัสสนาญาณ คือ ญาณเห็นความดับสลาย เวทนาความรู้สึกทางกายเป็ นกระแส ส่ันสะเทือนเกิดดบั อยา่ งรวดเร็วทว่ั ร่างกาย โดยไม่มีช่องว่าง การกระทบหรือสัมผสั (ผสั สะ) เกิดข้ึน เพราะ ทวารรับรู้ท่ีร่างกาย (สฬายตนะ) เวทนาความรู้สึกที่ร่างกายเกิดข้ึนเพราะผสั สะหรือการกระทบน้ัน และ ตณั หาเกิดข้ึนเพราะเวทนา 6) การมีสติรู้เวทนาและไม่ปรุงแต่งตอบโตต้ อบเวทนา ทุกขเวทนา ความรู้สึกไม่ สบายเกิด เพียงแต่เฝ้าดูมนั ไป ดว้ ยความเขา้ ใจและยอมรับอยา่ งที่เป็นอยู่ เกิดความรู้สึกเฉยๆ ไม่ทุกขไ์ ม่สุข บทบาทของเวทนา เสน้ ทางก่อใหเ้ กิดทุกข์ เสน้ ทางนาไปสู่ความดบั ทุกขส์ ิ้นเชิง

699 ด้ำนจิตตำนุปัสสนำสติปัฏฐำน พบวา่ 1) เฝ้าสังเกตความจริงเก่ียวกบั จิตในจิต จิตตำนุปัสสนำ กำร สังเกตจิต ต้องมีส่ิงหน่ึงเกิดขึ้นในจิตแล้วดับไป ปรำกฏออกมำเป็ นควำมรู้สึกหรือเวทนำ ส่ิงที่อยู่ในจิต เรียกว่า ธรรม แปลว่า ส่ิงที่ทรงอยู่ภายในธรรม คือ สิ่งที่ทรงไวส้ ภาพของตนเอง สติปัฏฐานท้งั 4 สังเกต ความจริง ความรู้ที่เกิดข้ึนในกาย ความจริงท่ีเกิดข้ึนในจิต ต้องเป็ นความจริงที่ประสบด้วยตนเอง ประสบการณ์เกิดข้นึ ดบั ไปของนามขนั ธ์ ความรู้สึกทางกาย (เวทนา) กาหนดหมาย (สัญญา) ปรุงแต่งตอบโต้ (สังขาร) ความรู้อารมณ์ (วิญญาณ) สังเกตความจริงเกี่ยวกบั จิต ท้งั โทสะ มีหรือไม่มี ดบั ไป รู้วา่ จิตปราศจาก โทสะ จิตโมหะความหลง สังเกตเห็นความจริง จิตที่มีโมหะ โมหะหมดไปจากจิต มีสติเพียงรู้จิตที่ ปฏิบตั ิการอยู่ ส่วนที่เป็นความรู้อารมณ์ หรือ วิญญาณ เท่าน้นั ภำยในโครงสร้ำงร่ำงกำยกระทบกบั จติ รู้สึกถึง กำรกระทบอยู่ภำยในร่ำงกำย เรียกว่ำจิตภำยใน ส่วนจิตภายนอกคือการท่ีจิตกระทบกบั สิ่งท่ีอยู่ภายนอก ร่างกาย จิตต้งั มน่ั อยู่ในสมาธิ จิตไม่หลุดพน้ รู้ชดั และเฝ้าสังเกตดูจิตต้งั มน่ั แน่วแน่รวมกันอยู่ จิตฟุ้งซ่าน เพียงแต่เฝ้าดูและยอมรับ ความรู้สึกทางกายร่างกายไม่มีความรู้สึกไดด้ ว้ ยตวั มนั เอง ตอ้ งอาศยั ส่วนหน่ึงของ จิตทาหนา้ ท่ีในการรู้สึก แตต่ อ้ งมีร่างกายเป็นฐานให้รู้สึกได้ จิตเป็นแต่เพียงจิต ไม่ใช่ “ ฉนั ” การไดป้ ระจกั ษ์ กบั การเกิดข้ึนดบั ไป จิตที่ยงั ไม่ถึงภาวะสูงสุด อยู่ในภาวะท่ียอดเยย่ี มไม่มีจิตอ่ืนยงิ่ กว่า รู้ชดั เฝ้าสังเกตดู ถา้ ความยนิ ดีในกามราคะเกิดข้ึนในจิต เพียงเฝ้าสังเกตดู เม่ือดบั ไป จิตปราศจากราคะ เพยี งแตส่ ังเกตดู รู้วา่ ราคะ ไดเ้ กิดข้ึนและดบั ไปแลว้ จิตกรุณาคือจิตสงสาร คิดอยากช่วยให้พน้ ทุกข์ มีความกรุณาเกิดในใจให้ความ กรุณาคือตวั เราเอง จงเมตตาตวั เอง จงรักตวั เอง จิตเป็ นอุเบกขำต่อควำมรู้สึก หรือเวทนำทุกชนิดท่ีได้พบ หนทางนาไปสู่ความหลุดพน้ สัมปชญั ญะ คือปัญญาเขา้ ใจธรรมชาติเกิดดบั จิตวางอุเบกขาได้ สังเกตดูดว้ ย จิตอุเบกขาไม่มีปฏิกิริยาโตต้ อบใด ๆ เฝ้าดูเวทนาดว้ ยอุเบกขาเพ่ิมมากข้ึนไป คือกฎธรรมชาติ คือ ปชานาติ หมายถึงการเพียงแต่เฝ้าดูโดยมีปัญญากากบั รับรู้ว่ากาลงั มีอะไรเกิดข้ึนในจิต ให้สังเกตดูเวทนาท่ีกาลงั ครอบงาอยู่ เฝ้าสังเกตดูดว้ ยความเขา้ ใจในการเกิดการดบั ปฏิบัติลึกฌำน 4 อุเบกขำ สติ ชำระจิตบริสุทธ์ิ ฌำน 4 พร้อมสภำวะนิพพำน ปฐมฌาน ขาดจากกามขาดจากอกุศลธรรม การที่จิตต้ังมัน่ อยู่ท่ีอารมณ์ กรรมฐานและมีสติจดจ่ออยกู่ บั อารมณ์ มีความวเิ วก มีความรู้สึกเอิบอ่ิม ไม่มีความคิดใด ๆ มีแตค่ วามรู้สึกสุข ทางกายและความผ่องใสในจิต คือฌานข้นั ที่ 2 และในข้นั ท่ี 3 ความเอิบอิ่มใจ ฌานข้นั สามจะมี สัมปชญั ญะ คือรู้ความจริงของการเกิดข้ึนดบั ไปเพ่ิมเขา้ ไป จิตสงบมีความสมดุลขา้ มพน้ ขอบเขตแห่งนามรูปไดส้ ภาวะ นิพพาน ได้ฌานข้นั สูงจะสามารถจินตนาการให้จิตแผ่ขยายใหญ่ออกไป ได้ญาณสูง ๆ แล้วอาจพฒั นา สามารถ ในการอ่านจิตของผอู้ ่ืนได้ เรียนรู้วธิ คี วบคุมจติ ใจ กำรฝึ กหัดกำรควบคมุ จติ ใจ คือ กำรฝึ กสมำธิ ฝึ ก ดูลมหำยใจ กายจิต เรื่อยๆ เห็นความไม่บริสุทธ์ิ กิเลสต่างๆ สร้างส่วนลึกจิตใจ รู้ว่ามี ไม่มีความอยากความ พอใจในกามารมณ์อยู่ในจิต ปฏิบตั ิเพ่ือหลุดพน้ ตามมรรคองค์ 8 ตอ้ งรักษาศีลเจริญสมาธิ แลว้ ใชจ้ ิตต้งั มนั่ แน่วแน่เป็นสมาธิเฝ้าสงั เกตดูความจริงอนั ละเอียดลึกซ้ึง ความเห็นชอบ (สมฺมาทิฏฺฐิ) การมีปัญญารู้ประจกั ษ์

700 ดว้ ยตนเอง แทงทะลุถึงลึกสุดของจิต ขจดั ออกไป เห็นความจริงแท้ 2) ศึกษำส่วนลกึ จิตใจคือวิธีกำรปฏิบตั ิ ส่วนลึกจิตอนุสัยกิเลสฝังอยู่ในระดบั ลึกได้ ปราศจากสัมปชญั ญะชาระกิเลสไดเ้ พียงแค่ส่วนพ้ืนผิว อนุสัย กิเลสเกิดชาติภพยงั อยเู่ ป็นเหตตุ อ้ งวนเวียนสังสารวฏั สมาธิหรือการทาจิตใหต้ ้งั มน่ั แน่วแน่อยแู่ ลว้ ฌานไม่มี สัมปชญั ญะอยูด่ ว้ ย ธัมมำนุปัสสนำ หมำยถึง กำรสังเกตส่ิงท่ีอยู่ในจิต ธรรม หมำยถึงสภำพลกั ษณะที่ทรง อยู่ในใจ ลกั ษณะของส่ิงท่ีทรงไวใ้ นใจ หรือกฎธรรมชาติ คือกฎแห่งจกั รวาล การเฝ้าดูธรรมท้งั ภายใน ภายนอก ท้งั ท่ีเกิดข้ึน ดบั ไป เป็นเพียงกฎธรรมชาติ กฎธรรมชาติ อะไรเกิดข้ึนในจิต เพียงแต่เฝ้า สังเกตดู เฉยๆ เป็นการปฏิบตั ิที่ถูกตอ้ งแลว้ ธรรม คือ ธรรมชาติ หรือ ลกั ษณะ เฝ้าสังเกตธรรมะภายในภายนอก และ ท้งั ภายในภายนอก เกิดข้ึนดบั ไป และเกิดดบั เกิดดบั ติดตอ่ กนั รู้ชดั เขา้ ใจชดั สติเคยสะสมอยใู่ นอดีตจะช่วย ผปู้ ฏิบตั ิเพยี งไดเ้ ฝ้าสงั เกตดูและรู้ชดั ดว้ ยปัญญา สติเพมิ่ พนู มากข้นึ จนเด่นสมบูรณ์ โลกท้งั หมดน้นั อยภู่ ายใน ร่างกายของเราเอง การเกิด การดบั และหนทางไปสู่การดบั ของโลก อยภู่ ายใน ความเขา้ ใจอนิจจงั ระดบั ลึก ลงไปเกิดจากการที่มีสติรู้ถึงกระแสส่ันสะเทือนเบา ๆ ท่ีเกิดอยภู่ ายในและทาใหเ้ ขา้ ใจวา่ ความรู้สึกกลาง ๆ มี ความเปลี่ยนแปลงแปรปรวน เกิดดบั เกิดดบั อยทู่ ุกขณะ งานใหญ่ท่ีจะตอ้ งทา คือการเปล่ียนนิสัยความเคย ชินของจิตเราในระดบั ท่ีลึกสุดเพื่อให้บรรลุถึงความหลุดพน้ จงอยา่ เสียเวลากบั คาถามทางปรัชญา การขจดั อวิชชามีความสาคญั เพื่อให้ความบริสุทธ์ิเกิดได้ สำรวจธรรม สิ่งอยู่ในจิต สิ่งที่ใจนึกคิด จิต ธรรมต้องไป ด้วยกัน ทุกฺขนิโรธ ความดบั ทุกขต์ อ้ งทาให้ไดป้ ระจกั ษแ์ จง้ ทุกขสมุทยั สาเหตุให้เกิดทุกข์ คือ ตณั หา ได้ ฌานข้ันสูงภายในจิตมิได้เปลี่ยนแปลงเลย กิเลสลึกมีอยู่ ประจักษ์ความจริงประเสริฐส่ีประการด้วย ประสบการณ์เอง “ยถาภูต ปชานาติ” มิใช่ดว้ ยการไตร่ตรอง ครุ่นคิด อวิชชาจะมีปฏิกิริยาตอบโตก้ บั เวทนา ดว้ ย ตณั หาทาใหค้ วามทุกขเ์ กิดข้นึ หนทางควรปฏิบตั ิซ้าแลว้ ซ้าเล่าโพชฌงค์ ธรรมท่ีเป็นองคแ์ ห่งการตรัสรู้ ด้ำนธรรมำนุปัสสนำสตปิ ัฏฐำน พบวา่ 1) มหำสติปัฏฐำน เป็ นพระสูตรใหญ่ เก่ียวกบั วิธีการปฏิบตั ิ ตอ้ งปฏิบตั ิเองจึงเขา้ ใจไดเ้ ม่ือปฏิบตั ิลึกลงไปยง่ิ ข้ึน พระพุทธพจน์จะกระจ่างในใจเรื่อย ๆ เป็นหนทางเพียง ทางเดียวเพ่ือความบริสุทธ์ิของสัตวท์ ้งั หลาย เพ่ือความกา้ วล่วงจากความเศร้าโศกคร่าครวญ เพื่อความดบั ทุกขแ์ ละโทมนสั เพ่ือกา้ วเดินไปบนมรรคาแห่งสัจจะ เพื่อการทาพระนิพพานให้แจง้ หนทางสติปัฏฐาน 4 ทานิพพานใหแ้ จง้ นามรูปสู่สภาวะนิพพาน สติปัฏฐาน 4 ใหส้ ังเกตกายในกาย ใหส้ งั เกตเวทนาในเวทนา ให้ สังเกตจิตในจิต ให้สังเกตธรรมในธรรม พัฒนำธรรมต้องรู้บำลีศึกษำเทคนิควิธีกำรปฏิบัติจำกพระธรรม เทศนำ ฟังพระพทุ ธพจนโ์ ดยตรงจากองคพ์ ระศาสดาเก่ียวกบั การปฏิบตั ิ ยงิ่ ปฏิบตั ิมากข้นึ จะเขา้ ใจคาสอนได้ อยา่ งถกู ตอ้ งข้นึ อาจารยผ์ ชู้ ้ีแนวทางเจริญกา้ วหนา้ ในธรรม นาธรรมะไปใชช้ ีวิตประจาวนั เผยแพร่ธรรมะให้ ผูอ้ ่ืนไดป้ ฏิบตั ิ มหำสติปัฏฐำน 4 แบ่ง 3 ข้ัน ปริยัติ ปฏิบัติ ปฏิเวธ ปริยตั ิเป็ นความรู้ทางทฤษฎี ปริยตั ิให้ แนวทางประโยชน์แทจ้ ริงจากการปฏิบตั ิ ปฏิเวธ คอื ปัญญาแทงทะลุอวชิ ชา ถึงความจริงสูงสุด สุตมยปัญญา ฟังเร่ืองราวปัญญาผูอ้ ่ืน จิตตามยปัญญา ไดเ้ ชาวป์ ัญญาคิดเหตุผลเขา้ ใจสิ่งไดย้ ินได้ฟัง ภาวนามยปัญญา

701 ปัญญาประจกั ษค์ วามจริงเอง เลือกพระสูตรเดียวถอ่ งแทส้ ู่ความหลดุ พน้ ไดโ้ ดยแท้ ความหมายคาวา่ “ภิกษุ” ในพระสูตร ให้หมายถึง ผูท้ ี่ปฏิบตั ิธรรมทุกคน หลักสูตรมหำสติปัฏฐำน เข้ำใจเทคนิควิธีกำรปฏิบัติ จง ปฏิบัติ เพราะคาตอบไดจ้ ากปฏิบตั ิเท่าน้นั เป็นคาตอบแทจ้ ริงทาใหท้ ่านหมดความสงสยั ตอ้ งสารวจสภาวะ สิ่งประสบดว้ ยตนเองแทจ้ ริง ไม่ใช่แค่เชาวป์ ัญญา กระจ่างชดั แก่ใจ ปฏิบตั ิไปมีคาถามเกิดข้ึนครูอาจารยต์ อบ คาถามพอใจคาตอบ ความสงสยั หมดไปแค่ใชจ้ ินตนาการ ทาความเขา้ ใจไม่ไดป้ ระจกั ษก์ บั ดว้ ยตนเอง ปฏิบตั ิ ดว้ ยการเดินไปเดินมา หรืออาจกล่าวคาซ้าไปซ้ามาทาใหจ้ ิตต้งั มน่ั เป็นสมาธิได้ แมจ้ ะไม่มีปัญญาเกิดข้ึน เขา้ ใจความจริงและหลุดพน้ จากความทุกข์ 2) “เอกำยโน อย ภิกฺขเว มคฺโค” เป็ นหนทำงเดียวเท่ำน้ัน เส้นทาง หมายถึงกฎธรรมชาติเป็นกฎตายตวั ที่เกิดกบั คนทุกคนเป็นหนทางเดียว เส้นทางกฎธรรมชาติ กฎธรรมชาติ คือธรรมะ เป็ นกฎสากล เส้นทางสากล กฎมีเพียงกฎเดียว เส้นทางการเดินตามกฎธรรมชาติ และกฎ ธรรมชาติมีกฎเดียว ธรรมะคือปัญญา ธรรมะที่บริบูรณ์ บริสุทธ์ิ บนเส้นทางอนั สูงสุดคือ อริยมรรคนาสู่ ความหลุดพน้ เป็นนิพพานโดยความจริงละเอียดที่สุดเกี่ยวกบั นามรูป ส่ิงเกิดข้ึนในจิตคือไดพ้ บกบั สัจธรรม ด้วยตวั เอง เขา้ ใจความจริงกฎธรรมชาติด้วยประสบการณ์ตรง กฎธรรมชำติ คือ ธรรมะ เป็ นกฎสำกล เส้นทำงสำกล เป็นสายกฎเดียว เป็นกฎธรรมชาติ ธรรมะคือกฎสากล ธรรม คือ กฎธรรมชาติอนั เป็นสากล ส่ิงท่ีอยภู่ ายในใจ ลกั ษณะตามธรรมชาติ สติต้งั มนั่ อยูส่ ัจธรรม ไม่มีอะไรอ่ืน มีธรรมะ ไม่มีการยึดมน่ั ถือมน่ั ตรวจสอบวิธีการปฏิบตั ิกบั คาสอนพระพุทธองคโ์ ดยตรงได้ หนทางยาวไกลอย่าทอ้ ถอยแต่ละกา้ วเดินไป ส่ิงที่พระบรมศำสดำทรงสอน เป็ นกฎสำกล กฎมีเพยี งกฎเดียว วิถีกฎธรรมชาติขจดั กิเลสจากจิต ขจดั ความ เคยชินเก่าๆ คอยปรุงแต่งตอบโตต้ ่อเวทนาดว้ ยความชอบ ความชงั ชาระจิตส่วนลึก ตอ้ งเฝ้าสังเกตดูความ จริงท่ีเกิดข้ึนร่างกาย จิตใจ ความจริงสมมติสัจจะลึกลงไปปรมตั ถสัจจะ รูปนาม คือกาย จิต “ญายสฺส อธิค มาย” ทางเดินไปบนเส้นทางแห่งความจริงใชจ้ ินตนาการ คิดแยกแยะเอาเอง ได้เพียงชาระจิตพ้ืนผิว ทางเดิน เป็นเสน้ ทางประสบการณ์โดยตรง เป็นหนทางเดียวชาระจิตใหบ้ ริสุทธ์ิ ขจดั โศกเศร้า ร้องไหค้ ร่าครวญ “นิพฺ พานสฺส สจฺฉิกิริยาย” ทานิพพานใหแ้ จง้ เดินบนเส้นทางแห่งความจริง 3) “ธมฺเมสุ ธมฺมำนุปัสฺสี” เฝ้ำสังเกต ควำมจริงธรรมำรมณ์ อำรมณ์ทำงใจ ส่ิงท่ีเกิดขึ้นในใจ ใจนึกคิด เพียรปัญญำ สติ ละควำมชอบควำมชัง “สังโยชน์” คือกิเลสเคร่ืองผูกรัดท้งั หลาย จะถูกขจดั ไป (ปหาน) ทีละช้นั ทีละช้นั เฝ้าสังเกตธรรมในธรรม คือขนั ธ์ 5 อุปาทานขนั ธ์ 5 ยึดติดมี รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ คือ ความทุกข์ ตณั หาเกิดข้ึนและ ต้งั อยู่ในโลกนามรูป ตัณหาเกิดข้ึนได้ท่ี วิญญาณ คือ การรับรู้ตามช่องทางใดช่องทางหน่ึงท่ีอายตนะ ภายนอกมากระทบกบั อายตนะภายใน สังเกตธรรมในธรรม คืออายตนะภายใน 6 และอายตนะภายนอก 6 การปฏิบตั ิดว้ ยอายตนะ 6 เป็นการปฏิบตั ิอยู่ภายในขอบเขตของนามและรูป การกระทบหรือสัมผสั “สมฺผสฺ โส” ท่ีชอบที่พอใจที่ อายตนะ 6 หรือทวาร 6 คอื ตา หู จมูก ลิน้ กาย ใจ จะทาใหเ้ กิดตณั หาและการต้งั อย่ขู อง ตณั หา โพชฌงค์ คือธรรม 7 ประการอนั เป็ นองค์แห่งการตรัสรู้เป็ นธรรม ท่ีจะตอ้ งเจริญให้เต็มบริบูรณ์

702 โพชฌงค์ คือการเฝ้าสังเกตดูว่าธรรม 7 ประการ อนั เป็ นองค์ประกอบแห่งการตรัสรู้ ธรรมวิจยั จะอยู่ใน ระดบั เชาวน์ปัญญาก่อนการกระทบกนั ของอายตนะภายในและภายนอก ความกระจ่างเชาวน์ปัญญานาไป วิปัสสนา คือศึกษาความจริงตามสภาวะแทจ้ ริง ทุกขนิโรธอริยสัจ-ความจริงอนั ประเสริฐของความดบั ทกุ ข์ ทุกขสมทุ ยั อริยสจั -เหตเุ กิดแห่งทกุ ข์ 5.10.2 สรุปผลและอภปิ รำยผล : ท่ำนสัตยำ นำรำยนั โกเอน็ ก้ำ จากผลงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง ท่านสัตยา นารายนั โกเอ็นก้า (ท่านโกเอ็นก้า) จานวน 4 เรื่ อง ประกอบดว้ ย [1]วิลาสินี หวงั เกษม“แนวคิดเร่ืองสมาธิบาบดั ของสัตยา นารายนั โกเอ็นกา้ ” [2]บุญเรือง ทิพพอาสน์ “ศึกษาการสอนสติปัฏฐาน 4 ตามแนวทางของโคเอ็นกา้ กบั พระไตรปิ ฎก” [3]พวน โฆษิตศกั ด์ิ และคณะ“ศึกษาเปรียบเทียบการปฏิบตั ิกรรมฐาน ตามแนวอานาปานสติของพุทธทาสภิกขุ กบั เอส.เอน.โก เอน็ กา้ ” [4]บุณชญา ววิ ิธขจร“การปฏิบตั ิและการสอบอารมณ์กรรมฐานตามหลกั พระพทุ ธศาสนาเถรวาทใน ประเทศเมียนมาร์” โจทย์วิจัยเกี่ยวกบั แนวคิดสมาธิ การสอนสติปัฏฐาน 4 แนวทางอานาปานสติ อารมณ์ กรรมฐาน แนวทางปฏิบตั ิพบว่า ฝึ กเริ่มตน้ การทาอานาปานสติให้จิตสงบเป็นพ้ืนฐาน นาจิตที่พฒั นาดีแลว้ พจิ ารณาเวทนาท่ีเกิดข้ึน สงั เกตเวทนาใหม้ องเห็นเป็นอเุ บกขา ความรู้สึกท่ีเกิดข้ึนตามส่วนต่างๆ ร่างกายดว้ ย จิตที่เป็นอุเบกขา คือ ปล่อยวาง พิจารณาองคธ์ รรม 3 ขอ้ อาตาปี (มีความเพียร) สติมา (มีสติระลึกรู้อยเู่ สมอ สัมปชาโน (ความรู้สึกตวั ทุกขณะ) คอยกากบั การวางจิตอุเบกขามองเห็นทุกส่ิงตามความเป็นจริงปฏิบตั ิต่อ ทุกส่ิงเป็ นอุเบกขา ความไม่ปรุงแต่งให้เวทนาเกิดดับตามกฎไตรลกั ษณ์ ไม่ตอ้ งบริกรรม เมื่อปฏิบตั ิจน ชานาญผลเกิดข้ึนมาในใจ หลุดพน้ จากความทุกขท์ ้งั ปวง กระบวนการเปลี่ยนแปลงระดบั ลึกอยภู่ ายในสร้าง ความสงบสุข ทุกขเ์ พราะสั่งสมความเครียดสู่จิตสานึกกลายเป็นอนุสัยนอนเนือง เปล่ียนพฤติกรรมจิตที่ปรุง แตง่ โดยธรรมชาติ มีสติคอยเฝ้าพจิ ารณาความรู้สึกทางกายอยา่ งต่อเน่ือง แนวทางปฏิบตั ิ ท่านสัตยา นารายนั โกเอน็ ก้า (ท่านโกเอน็ ก้า) เน้นนําฐานเวทนานุปัสสนาการปฏบิ ัตมิ หาสตปิ ัฏฐาน การพิจารณาเวทนา ฝึ กทา อานาปานสติให้จิตสงบเป็นพืน้ ฐาน นาจิตพัฒนาแล้วพิจารณาเวทนา สังเกตเวทนาให้มองเห็นเป็นอุเบกขา ความรู้สึกเกิดขึน้ ตามร่างกายด้วยจิตอุเบกขา คือ ปล่อยวาง พิจารณาองค์ธรรม อาตาปี (มคี วามเพียร) สติมา(มี สติระลึกรู้อย่เู สมอ) สัมปชาโน (รู้สึกตัวทุกขณะ) คอยกากบั วางจิตอุเบกขามองเห็นตามเป็นจริง ไม่ปรุงแต่ง ให้เวทนาเกิดดับตามกฎไตรลักษณ์ ไม่ต้องบริกรรม เน้นเทคนิควิธีฐานเวทนานาทางปฏิบัติไปสู่ฐานอ่ืนๆ ฐานเวทนาเป็ นเคร่ืองมือนาไปสู่ฐานอ่ืนครบทุกฐาน การทาความรู้สึกให้เป็ นอุเบกขา ไม่ปรุงแต่งเวทนา ความรู้สึกทางกาย ไปสู่การพิจารณาทกุ ส่ิงเป็นอุเบกขาจิต ตรงกรอบพระสูตรมหาสติปัฏฐาน 4 ครบทกุ ฐาน 5.10.3 ข้อเสนอแนะกำรวิจัย : ท่ำนสัตยำ นำรำยนั โกเอน็ ก้ำ

703 ผูว้ ิจยั ไดร้ ับการปฏิบตั ิตามแนวทางท่านสอน จานวน 4 คร้ัง จนปฏิบตั ิหลกั สูตร สติปัฏฐาน เห็นวา่ แนวทางปฏิบตั ิท่านน่าสนใจ และความศรัทธา สร้างแรงบนั ดาลใจ วิธีการเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะการนั่ง สมาธิทุกวนั การอธิบายความเป็นเหตุผลเป็นผล ไม่แยง้ ระหวา่ งวิธีการปฏิบตั ิกบั ธรรมะบรรยายท่ีท่านสอน ทาให้เชื่อไดว้ ่า เป็ นธรรมะที่บริสุทธ์ิตามแนวทางมหาสติปัฏฐาน นาขอ้ คน้ พบหรือการวิเคราะห์ไปเขียน นาเสนอเป็นบทความวิจยั เร่ือง การสกดั หลกั คาสอนเร่ืองมหาสติปัฏฐาน 4 ตามแนวทางปฏิบตั ิ ท่านสัตยา นารายนั โกเอน็ กา้ [11] พระธรรมสิงหบรุ ำจำรย์ (จรัญ ฐิตธฺมโม) 5.11.1 สรุปกำรสกดั หลกั คำสอนจำกธรรมบรรยำยมหำสติปัฏฐำน พระธรรมสิงหบุรำจำรย์ (จรัญ ฐิตธฺมโม) จากผลการวิเคราะห์จากตารางท่ี 4.11.1 ถึง 4.11.9 ซ่ึงเป็ นการสกดั หลกั คาสอนจากธรรมบรรยาย แนวทางปฏิบตั ิพระธรรมสิงหบุราจารย์ (จรัญ ฐิตธฺมโม) จาแนกตามแนวคิด หลกั การ วิธีการ ผล ไดส้ รุปผล การศึกษาเป็นแผนภาพความคิดจากการสกดั หลกั คาสอนเร่ืองมหาสติปัฐานจากการบรรยายโดยพระธรรม สิงหบรุ าจารย์ (จรัญ ฐิตธฺมโม) แสดงภาพที่ 5.11.1 ผลการศึกษาพบวา่ ภาพที่ 5.11.1 แผนที่ความคดิ จากการสกดั หลกั คาสอนเร่ืองมหาสตปิ ัฐานธรรมบรรยาย โดยพระธรรมสิงหบรุ าจารย์ (จรญั ฐิตธฺมโม)

704 ด้ำนแนวคิดของพระธรรมสิงหบรุ าจารย์ (จรัญ ฐิตธฺมโม) พบวา่ 1) เส้นทำงสำยเอก ดับทุกข์ ทำพระ นิพพำนให้แจ้ง หนทำง คือ สติปัฏฐำน 4 ความหมาย สติปัฏฐาน คือ การระลึกรู้ฐานที่ต้งั 4 ฐาน เอาสติไป รับรู้ ฐานกาย ฐานเวทนา ฐานจิต ฐานธรรม รับรู้ใหร้ ู้ใหเ้ ห็นตามความจริง ฐานเกาะ สติปัฏฐาน คอื วปิ ัสสนา “กรรม” คือ การกระทา “ฐาน” หมายถึง เกาะอยู่ที่จริง การฟังธรรม เพื่อไปปฏิบตั ิธรรม ศึกษาความรู้ ทาง วิชาการ ปฏิบตั ิพระพุทธศาสนา ศีล สมาธิ ปัญญา กาหนดจิต แสวงหาครูบาอาจารย์ เจริญกรรมฐาน รู้กฎ แห่งกรรม แกก้ รรม แกป้ ัญหาเฉพาะหนา้ 2) สติ คือ ควำมรู้ตวั รู้ตวั คือ มีสติ กาหนด “รู้หนอ” ลิ้นปี่ รองรับ ทุกสิ่งตอ้ งกาหนด ต้งั สติที่ลิ้นปี่ ใหม้ ีสติ เดินมีสติ เอาจิตไปจบั ตรงไหน สติตวั เดียว บริกรรมคิดหนอ ต้งั สติ ไว้ จิตยึดมนั่ คิดอะไรไม่ออก กาหนด “คิดหนอ” 3) จิตกับสติผูกพันกัน กาหนดรู้สัมผสั สติควบคุมกาย และจิต ดีชวั่ อยู่ท่ีทอ้ ง พองหนอ ยุบหนอ จิตตานุปัสสนา จิตกลดั แกว่ง รับรู้อารมณ์ คิดอ่านอารมณ์ ต้งั สติ ตามไปดู คิดหนอ รู้หนอ คิดเร่ืองอะไร ป้อนขอ้ มูลถูกอารมณ์ในจิต ตอ้ งกาหนด 4) ดูขันธ์ 5 รูปนำม เป็ น อำรมณ์ ปฏิบตั ิกายานุสติปัฏฐาน ตอ้ งมีสติ จะยนื เดิน นงั่ นอน คูเ้ หยยี ด ใหม้ ีสติ เวทนา แปลวา่ ทนไม่ได้ ปวดเม่ือย ไม่มีความสุข ทกุ ขเวทนา สุขเวทนา มีสติ ตอ้ งมีสติ ดีใจ เสียใจ สุขตอ้ งกาหนด “สุขหนอ” ท่ิลิ้นปี่ ต้งั สติไว้ เอาสติปักไว้ เวทนานุปัสสนา ดีใจ เสียใจ อุเบกขา ไม่สุขไม่ทกุ ข์ กาหนดทุกอยา่ ง ด้ำนหลักกำรของพระธรรมสิงหบุราจารย์ (จรัญ ฐิตธฺมโม) พบว่า 1) สติปัฏฐำน สอนให้มีสติทุก อริ ิยำบถ กายานุปัสสนา ยนื เดิน นงั่ นอนใหก้ าหนด อยใู่ นเวลาฝึกหดั กาหนดจิต ถ่ายอจุ จาระ ปัสสาวะ ต้งั สติ ทุกอิริยาบถ ใหต้ ้งั สติเป็นวิธีการปฏิบตั ิ เวทนาทนไม่ได้ ตอ้ งกาหนด “ปวดหนอ” เอาสติไปปักไว้ ทอ้ งพอง ยบุ หนอ ภาวนาเพื่อรู้เห็นเป็นจริง 2) ฐำนจิต คือ ควำมนึกคิด อำรมณ์ปรุงแต่ง อำรมณ์ต่ำงๆ สำรวจจิต สิ้นป่ี ปรุงแต่งอำรมณ์อย่ำงไร จิตตานุปัสสนาตอ้ งยึดไวฐ้ าน จิตเป็นธรรมชาติ ตอ้ งรู้ท่ีเกิดจิต รู้วิธีพฒั นาจิต จิตตา นุปัสสนาสติปัฏฐาน จิตเป็นกระแสไฟฟ้า เกิดกบั ตา หู จมกู ลิ้น กาย จิตรับรู้ไวต้ ้งั จิตไว้ รูปนาม ขนั ธ์ 5 เป็น ธรรมารมณ์ 3) ธรรมานุปัสสนาสติปัฏฐาน ธรรมเป็ นกุศล เป็ นอกุศล “คิดหนอ” พระพุทธเจา้ สอนให้ละ ความชว่ั ทาความดี ชาระจิตใจให้บริสุทธ์ิผ่องใส สติ ตวั เดียวกาหนด ธรรมานุปัสสนาสติปัฏฐาน เป็นกุศล อกุศล เกิดข้ึน จิตใจไปทางไหน ด้ำนวธิ ีกำรของพระธรรมสิงหบุราจารย์ (จรัญ ฐิตธฺมโม) พบวา่ 1) ฐำนกำย กำหนดควำมรู้สึกวิ่งไป ตำมกำย กาหนดสติ เขา้ ไปทุกอิริยาบถ ไม่ขาดตอน กาหนดทุกอิริยาบถรู้สึกท่ีลิ้นป่ี เดิน 1 ชวั่ โมง นั่ง 1 ชวั่ โมง น่ังพองหนอยุบหนอ หายใจยาวๆ สติเวลากาหนด กาหนดทุกอิริยาบถ ถา้ ไม่กาหนดเกิดดบั ไม่ได้ เกิดอยา่ งเดียวไมม่ ีดบั แฝงอยู่ในจิต โดย “อนุสยั ” สะสมอยใู่ นจิต เอาสติเอาจิต เพ่งดูกาย ใชส้ ติดูร่างกายและ ฐานตา่ งๆ เอาจิตไปปักก่อนสติระลึกตามไป “จิต” บอกวา่ “ยา่ งหนอ” หนอลงพอดี เดินจงกรม สติจบั มน่ั อยู่ ปลายเทา้ ขวาย่างหนอ ยกเทา้ ขวาข้ึนมา เทา้ ยกกบั ใจตอ้ งพร้อมกนั กา้ วเทา้ ขาวไปขา้ งหนา้ เทา้ ขวาย่าง แลว้ วางเทา้ ลงพ้ืน กาหนด “หนอ” เทา้ ขวาวางลงพ้ืนพอดี เดินจงกรมเดินใหช้ า้ ที่สุด เหมือนคนจะตาย จิตไว เรา เดินช้าต้งั สติไวม้ าก ต้งั สติ จิตไม่พุ่งไปขา้ งนอก เดินจงกรมฟุ้งซ่านให้หยุด กาหนดที่ลิ้นป่ี ฟุ้งซ้านหนอ จงกรม เดินช้าเหมือนคนตาย สติมน่ั สมาธิไวเ้ ดิน 1 ชวั่ โมง น่ังสมำธิ เอามือขวาทบั มือซ้าย หายใจเขา้ ยาว กาหนดที่สะดือ พองหนอ ยุบหนอ ขดั สมาธิ ขาขวาทบั ขาซ้าย กำหนด “ยืนหนอ” 5 คร้ัง ยืนหนอ ศรีษะ

705 ปลายเทา้ ความรู้สึก สะดือ ยืนหนอ ๆ ชา้ ๆ สติตามจิต ศรีษะ สติควบคุมจิต ถึงปลายเทา้ สภาวธรรมเกิดใน ตนเอง ขนั ธ์ 5 รูปนาม จิตน้ีมีความคดิ สูง ยนื หนอ กาหนดสติตามจิตไปถึงสะดือ ยนื ผา่ นจุดศนู ยก์ ลาง หนอ ปลายเทา้ ยืนมโนภาพ จดั ผ่ากระหม่อม จิตรู้ มีสติตามปลายทา้ มโนภาพ ยืน สารวม ยืนหนอ 5 คร้ัง จาก ปลายเทา้ ถึง ศรีษะ มีสติท่ีลิ้นป่ี ยืนหนอ ๆ 5 คร้ัง สารวจจิตต้งั จิตปักลง สะดือ แลว้ จากสะดือไปปลายเทา้ กาหนด “ยนื หนอ” เริ่มจากศรีษะถึงปลายเทา้ กาหนด 5 คร้ัง ยืนหนอ จากสมองถึงสะดือ หนอถึงปลายเทา้ สารวจปลายเทา้ เขา้ ใจ ยนื หนอ 5 คร้ัง จิตกาหนดพองหนอ เสียงหนอ สติดีทุกอยา่ งสัมปชญั ญะ คล่องตวั ลม หายใจเขา้ ออกได้จงั หวะ 2) สติมำจับท่ีสะดือ กำหนดอำกำรพองยุบของท้อง กาหนดที่ “ลิ้นป่ี ” เอา ความรู้สึกมากาหนดท่ีลิ้นปี่ คิดไม่ออก ต้งั สติไวท้ ี่ลิน้ ป่ี ใชส้ ติระลึกได้ กาหนดท่ีลิน้ ป่ี เสียใจเรื่องอะไร ป้อน ขอ้ มูล พองหนอ ยุบหนอ หายใจเขา้ ยาว หายใจออกยาว “หนอ” หายใจยาวๆ คิดหนอ คิดหนอ หายใจลึกๆ ยาวๆ จมูกถึงสะดือ เกิดปัญญา มีกระแสไฟฟ้า หายใจยาว ตอ้ งต้งั สติ กาหนดท่ีลิ้นป่ี ดูลมหายใจ จมูก ถึง สะดือ หายใจยาว รู้หนอๆ ตอ้ งกาหนดปัจจุบนั ให้ได้ จิตจบั อยู่ท่ีสะดือดูอาการพองหนอยุบหนอ เสวย อารมณ์อุเบกขา ต้งั สตินง่ั ไปรับรู้อารมณ์เป็ นสุข เป็นทุกข์ ต้งั สติไวท้ ่ีตอ้ งอวยั วะ ต้งั สติไว้ จิตบริสุทธ์ิ พอง หนอ ยบุ หนอ มีพลงั กายสูง พลงั จิตสูง ทนทาน 3) พัฒนำจิตให้อยู่ในอำยตนะ ทวำร 6 จิตตานุปัสสนา จิต เป็ นธรรมชาติรับรู้อารมณ์เอาไว้ ไม่มีตวั ตน ตอ้ งกาหนดตาเห็นรูป คิดหนอๆ จิตเป็ นกระแสไฟฟ้า “เห็น หนอ” ส่งกระแสจิตออกจากหนา้ ผากออกไป เห็นหนอ ความรู้สึก รวมอยทู่ ี่หนา้ ผากหมด จิตส่งกระแส จิตท่ี ดีมาก เกิดปัญญา หูไดย้ ินเสียง เอาจิตไวท้ ่ีไหน เสียงหนอ ต้งั สติไวท้ ่ีหู สติเกิดทางหู จิตเกิดข้ึน ดบั ลงไป หายไป ไปไหนกรรมฐานไปดว้ ย กาหนดไป “เห็นหนอ เห็นหนอ เสียงหนอ” เรามีสติ ใชส้ ติ จิตตอ้ งกาหนด ทุกขอริยมรรค คิดหนอ ๆ คิดได้ ลิ้นป่ี กาหนดคิดหนอๆ พิจารณาอนิจจา วตะสังขารา สังขารท้งั หลายไม่ เที่ยงหนอ อยา่ ตามใจตวั เอง ตอ้ งฝืน ตอ้ งต้งั สติ “ฝืน” คือ กาหนด กลบั มาอยทู่ ่ี อยา่ ปลอ่ ยไปตามอารมณ์ 4) เวทนำนุปัสสนำสติปัฏฐำน ทนไม่ได้ ปวดเม่ือย ความทุกข์อยู่ในตวั ไม่ทนต่อเวทนา ดีใจตอ้ งมีสติ เสียใจ ตอ้ งมีสติ ตอ้ งต้งั สติ ทาความเขา้ ใจ สุขกาหนด ทุกข์กาหนด กายและใจกาหนด กาหนดที่ ลิ้นป่ี ต้งั สติ เวทนำนุปัสสนำ คือ อดทนในเวทนำให้มำก ขนั ติธรรม ขนั ติ หมายถึง ความอดทน เวทนานุปัสสนา คือ ทน ไม่ได้ บงั คบั ไม่ได้ เป็ นไปตามธรรมชาติ ให้สติพิจารณาเวทนา ดีใจ สุขกาย สุขใจ อุเบกขาเวทนา เกิดข้ึน ต้งั อยู่ ดบั ไป ปวดหนอ “เวทนา” รู้เท่าทนั อารมณ์มากระทบ กาหนดรู้ ทนั ปัจจุบนั กำหนดเวทนำ ปวดหนอ กำหนดไปกรรมฐำน เกิดขึน้ ต้ังอยู่ ดับไป เวทนาแยกออกไป รูปนาม ขนั ธ์ 5 แกอ้ ารมณ์ “รู้หนอ” หายใจ ยาว ๆ กาหนดไป รู้ไปจึงอา้ งวา้ ง “คิดหนอ” กาหนดที่ลิน้ ป่ี เป็นอเุ บกขาเวทนา 5) กรรมฐำน คือหน้ำทกี่ ำร งำน สะสมหน่วยกิต คาถาจดจาไว้ ยดึ มนั่ ในองคภ์ าวนาคาถาเป็นบริกรรม ปฏิบตั ิตรงตารา เดินไปตามแผน ท่ี ปากอยา่ ไว ใจอย่าเบา เรื่องเก่าอย่านามาคิด เรื่องคนอื่นอยา่ คิด กิจปัจจุบนั ทาเลย บริกรรมภาวนา ฝึ กหัด เกิดวสีเขา้ ออก จิตปักอยู่ สติระลึกได้ สัมปชญั ญะ ทาใหเ้ ทา่ ทนั เหตุการณ์ปัจจุบนั ด้ำนผลของพระธรรมสิงหบรุ าจารย์ (จรัญ ฐิตธฺมโม) พบวา่ 1) สตินำออกมำใช้ ประสบการณ์เฉพาะ ปัจจุบนั ขอ้ มูล ป้อน “สติ” สัมปชญั ญะ ครบถูกตอ้ ง สารวม มีสติคอยระวงั ฟังดว้ ยปัญญา คิดหนอ ๆ มี สติปัญญา ตอ้ งพ่ึงตนเองใชส้ อนตวั เอง จิตใจดีมีปัญญา คดิ อะไรดีๆ ชนะตวั เอง ชนะคนท้งั โลก แพ้ตวั เอง แพ้

706 คนอื่นตลอดไป ทาความเพียรใหม้ าก อดทนตอ่ เหตุการณ์ อดทนตอ่ ส่ิงไม่ชอบ เป็นอนิจจงั ชอบไมช่ อบ ใช้ ความอดทน ดว้ ยขนั ติ กรรมฐานกาหนดจิตไว้ จิตเขม้ แขง็ อดทน อดกล้นั จิตเป็นกศุ ล นาความสุข แผเ่ มตตา จิตใจไม่เศร้าหมอง กิเลสไม่มีในใจ 2) กำรเจริญสติปัฏฐำนมีประโยชน์ นิสัยดี พูดในใจดี สร้างบุญให้ ตวั เอง มีบุญ กรรมฐานกาหนดความอดทน กดกล้นั ทนต่อความลาบาก ความเจ็บใจในสังคม ให้อดทน คนอดทนไดข้ องจริง ไมอ่ ดทนไดข้ องปลอม วปิ ัสสนากรรมฐาน เกิดปัญญา ผล เป็นสมถะและวิปัสสนา ฝืน ใจถึงไดผ้ ล ได้ตอนเวทนา สัมผสั คนท่ีคบได้ คนคบไม่ได้ ความคุน้ เคยจะบอกให้ชดั จะรู้กฎแห่งกรรม ชดั เจน 3) รู้กฎแห่งกรรม รู้เหตุกำรณ์ของชีวิต สติบอกได้ อำศัยวิปัสสนำ กรรมฐาน รู้กฎแห่งกรรม ระลึก ชาติ แกก้ รรรม กรรมฐานแกก้ รรมได้ ระลึกเหตกุ ารณ์ได้ กฎแห่งกรรมใหอ้ ะไร อ่านตวั ออกใชต้ วั ได้ บอกตวั เป็ น กฎแห่งกรรม เจริญกรรมฐาน กรรมฐานแก้ปัญหา อ่านตวั ออก บอกตัวได้ เห็นตวั เป็ น แก้ตัวได้ แกป้ ัญหาแกท้ ่ีตวั เอง อโหสิกรรม อุทิศส่วนกุศลผ่านกรรมฐาน ระลึกชาติ รู้กฎแห่งกรรม แกก้ รรม กาหนด อยู่ในความไม่ประมาท ธรรมะฝื นใจ กาหนดสติต้งั ได้ ช้นั สูงไดอ้ านาจพิเศษรู้วาระจิตคนอ่ืนได้ เห็นหนอ ออกจากหนา้ ผาก สรุปกำรสกดั หลกั คำสอนมหำสตปิ ัฏฐำน 4 ตำมแนวทำงปฏบิ ตั ิ พระธรรมสิงหบุราจารย์ (จรัญ ฐิตธฺมโม) ภาพท่ี 5.11.2 แผนทค่ี วามคดิ การสกดั หลกั คาสอนของพระธรรมสิงหบรุ าจารย์ (จรัญ ฐิตธฺมโม)ตามมหาสติปัฏฐาน 4 5.11.2 สรุปผลและอภิปรำยผล : พระธรรมสิงหบุรำจำรย์ (จรัญ ฐิตธฺมโม)

707 ผลการศึกษาเรื่องการสกดั หลกั คาสอนเรื่องมหาสติปัฏฐาน 4 ตามแนวทางปฏิบตั ิพระธรรมสิงหบุรา จารย์ (จรัญ ฐิตธฺมโม) สรุปผลการศึกษา จาแนกตามมหาสติปัฏฐาน 4 ประกอบดว้ ย กายานุปัสสนา เวทนา นุปัสสนา จิตตานุปัสสนา ธรรมานุปัสสนา 1) ฐำนกำยำนุปัสสนำ สรุปไดว้ า่ 1) ฐานกาย กาหนดความรู้สึกว่งิ ไปตามกาย สติปัฏฐาน สอนใหม้ ี สติทุกอิริยาบถ ดูขนั ธ์ 5 รูปนาม เป็ นอารมณ์ ปฏิบตั ิกายานุสติปัฏฐาน ตอ้ งมีสติ จะยืน เดิน นัง่ นอน คู้ เหยียด ใหม้ ีสติ กายานุปัสสนา ยืนเดิน นงั่ นอนใหก้ าหนด อยู่ในเวลาฝึ กหัด กาหนดสติ เขา้ ไปทุกอิริยาบถ ไม่ขาดตอน กาหนดทุกอิริยาบถรู้สึกที่ลิน้ ปี่ กาหนดจิต ถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ ต้งั สติทุกอิริยาบถ สติตามจิต ศรีษะ สติควบคุมจิต ถึงปลายเทา้ สภาวธรรมเกิดในตนเอง กาหนด “ยืนหนอ” 5 คร้ัง ยนื หนอ ศรีษะ ปลาย เทา้ ความรู้สึก สะดือ ยืนหนอ ๆ ช้าๆ ยืนหนอ กาหนดสติตามจิตไปถึงสะดือ ยืน ผ่านจุดศูนยก์ ลาง หนอ ปลายเทา้ ยืนมโนภาพ จดั ผ่ากระหม่อม จิตรู้ มีสติตามปลายทา้ มโนภาพ ยืน สารวม ยืนหนอ 5 คร้ัง จำก ปลำยเท้ำ ถึง ศรีษะ มีสติที่ลิ้นป่ี ยืนหนอ ๆ 5 คร้ัง สารวจจิตต้งั จิตปักลง สะดือ แลว้ จากสะดือไปปลายเทา้ กาหนด “ยนื หนอ” เริ่มจากศรีษะถึงปลายเทา้ กาหนด 5 คร้ัง ยืนหนอ จากสมองถึงสะดือ หนอถึงปลายเทา้ สารวจปลายเทา้ เขา้ ใจ ยนื หนอ 5 คร้ัง น่ังสมำธิ เอามือขวาทบั มือซ้าย หายใจเขา้ ยาว กาหนดท่ีสะดือ พอง หนอ ยุบหนอ ขดั สมาธิ นง่ั พองหนอยบุ หนอ หายใจยาวๆ สติเวลากาหนด กาหนดทุกอิริยาบถ เดินจงกรม เดินให้ช้าท่ีสุด เหมือนคนจะตาย จิตไว เราเดินช้าต้งั สติไวม้ าก ต้งั สติ จิตไม่พุ่งไปขา้ งนอก เดินจงกรม ฟุ้งซ่านใหห้ ยดุ กาหนดท่ีลิ้นป่ี ฟ้งุ ซา้ นหนอ เดินชา้ เหมือนคนตาย สติมนั่ สมาธิไวเ้ ดิน 1 ชว่ั โมง 2) สติ คือ ควำมรู้ตัว รู้ตัว คือ มีสติ เอาสติเอาจิต เพ่งดูกาย ใช้สติดูร่างกาย สตินาออกมาใช้ ประสบการณ์เฉพาะ ปัจจุบนั ขอ้ มลู ป้อน “สติ” สมั ปชญั ญะ ครบถูกตอ้ ง กาหนด “รู้หนอ” ลิ้นปี่ รองรับ ทุกสิ่งตอ้ งกาหนด ต้งั สติ ท่ีลิ้นปี่ ใหม้ ีสติ เดินมีสติ เอาจิตไปจบั ตรงไหน สติตวั เดียว กาหนดรู้สัมผสั สติควบคมุ กาย และจิต ดีชวั่ อยู่ที่ ทอ้ ง พองหนอ ยบุ หนอ จิตกาหนดพองหนอ เสียงหนอ สติดีทกุ อยา่ งสัมปชญั ญะ คลอ่ งตวั ลมหายใจเขา้ ออก ไดจ้ งั หวะ 3) สติมำจับท่ีสะดือ กำหนดอำกำรพองยุบของท้อง ต้งั สตินง่ั ไปรับรู้อารมณ์เป็นสุข เป็นทุกข์ ต้งั สติไวท้ ่ีตอ้ งอวยั วะ ต้งั สติไว้ จิตบริสุทธ์ิ พองหนอ ยุบหนอ มีพลงั กายสูง พลงั จิตสูง ทนทาน กาหนดที่ “ลิน้ ป่ี ” เอาความรู้สึกมากาหนดท่ีลิ้นป่ี คดิ ไม่ออก ต้งั สติไวท้ ี่ลิ้นปี่ ใชส้ ติระลึกได้ กาหนดที่ลิ้นป่ี เสียใจเร่ือง อะไร ป้อนขอ้ มูล พองหนอ ยุบหนอ หายใจเขา้ ยาว หายใจออกยาว “หนอ” หายใจยาวๆ คิดหนอ คิดหนอ หายใจลึกๆ ยาวๆ จมูกถึงสะดือ เกิดปัญญา มีกระแสไฟฟ้า หายใจยาว ตอ้ งต้งั สติ กาหนดที่ลิ้นป่ี ดูลมหายใจ จมูก ถึงสะดือ หายใจยาว รู้หนอๆ ตอ้ งกาหนดปัจจุบนั ให้ได้ จิตจบั อยู่ที่สะดือดูอาการพองหนอยุบ หนอ เสวยอารมณ์อเุ บกขา 2)ฐำนเวทนำนุปัสสนำ สรุปไดว้ า่ 1) เวทนำนุปัสสนำ ดีใจ เสียใจ อุเบกขำ ไม่สุขไม่ทกุ ข์ กำหนดทุก อย่ำง ทุกขเวทนา สุขเวทนา มีสติ ตอ้ งมีสติ ดีใจ เสียใจ สุขตอ้ งกาหนด “สุขหนอ” ท่ิลิ้นป่ี เวทนา แปลว่า ทนไมไ่ ด้ ปวดเม่ือย ไมม่ ีความสุข ต้งั สติไว้ เอาสติปักไว้ 2) กาหนดเวทนา ปวดหนอ กาหนดไปกรรมฐาน เกิดข้ึน ต้งั อยู่ ดบั ไป ใหต้ ้งั สติเป็นวิธีการปฏิบตั ิ เวทนาทนไม่ได้ ตอ้ งกาหนด “ปวดหนอ” เอาสติไปปักไว้ ทอ้ งพองยุบหนอ ภาวนาเพ่ือรู้เห็นเป็ นจริง เวทนาแยกออกไป รูปนาม ขนั ธ์ 5 แกอ้ ารมณ์ “รู้หนอ” หายใจ

708 ยาว ๆ กาหนดไป รู้ไปจึงอา้ งวา้ ง “คิดหนอ” กาหนดท่ีลิ้นปี่ เป็นอุเบกขาเวทนา ชนะตวั เอง ชนะคนท้งั โลก แพต้ วั เอง แพค้ นอ่ืนตลอดไป กรรมฐานกาหนดความอดทน กดกล้นั ทนต่อความลาบาก ความเจ็บใจใน สงั คม ใหอ้ ดทน คนอดทนไดข้ องจริง 3) เวทนำนุปัสสนำ คือ อดทนในเวทนำให้มำก ใหส้ ติพิจารณาเวทนา ดีใจ สุขกาย สุขใจ อุเบกขาเวทนา เกิดข้ึน ต้งั อยู่ ดับไป ปวดหนอ “เวทนา” รู้เท่าทนั อารมณ์มากระทบ กาหนดรู้ ทนั ปัจจุบนั เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน ทนไม่ได้ กายและใจกาหนด กาหนดท่ี ลิ้นป่ี ต้งั สติ เวทนำนุปัสสนำ คือ ทนไม่ได้ บังคับไม่ได้ เป็ นไปตำมธรรมชำติ ปวดเม่ือย ความทุกข์อยู่ในตวั ไม่ทนต่อ เวทนา ดีใจตอ้ งมีสติ เสียใจตอ้ งมีสติ ตอ้ งต้งั สติ ทาความเขา้ ใจ สุขกาหนด ทกุ ขก์ าหนด 3) ฐำนจิตตำนุปัสสนำ สรุปไดว้ ่า 1) จิตตำนุปัสสนำต้องยึดไว้ฐำน จิตเป็ นธรรมชำติ ต้องรู้ท่ีเกดิ จติ รู้วิธีพัฒนำจิต จิตเป็ นกระแสไฟฟ้า เกิดกับตา หู จมูก ลิ้น กาย จิตรับรู้ไวต้ ้ังจิตไว้ รูปนาม ขนั ธ์ 5 เป็ น ธรรมารมณ์ ถา้ ไม่กาหนดเกิดดบั ไม่ได้ เกิดอย่างเดียวไม่มีดบั แฝงอยู่ในจิต โดย “อนุสัย” สะสมอยู่ในจิต จิตตานุปัสสนา จิตเป็ นธรรมชาติรับรู้อารมณ์เอาไว้ ไม่มีตวั ตน ตอ้ งกาหนดตาเห็นรูป คิดหนอๆ จิตเป็ น กระแสไฟฟ้า “เห็นหนอ” ส่งกระแสจิตออกจากหนา้ ผากออกไป เห็นหนอ ความรู้สึก รวมอยทู่ ่ีหนา้ ผากหมด จิตส่งกระแส จิตที่ดีมาก เกิดปัญญา 2) จิตกบั สติผกู พนั กนั จิตตานุปัสสนา จิตกลดั แกว่ง รับรู้อารมณ์ คิด อ่านอารมณ์ ต้งั สติตามไปดู คิดหนอ รู้หนอ คิดเรื่องอะไร ป้อนขอ้ มูลถูกอารมณ์ในจิต ตอ้ งกาหนด เอาสติ เอาจิต เพ่งดูกาย ใชส้ ติดูร่างกายและฐานต่างๆ เอาจิตไปปักก่อนสติระลึกตามไป “จิต” บอกว่า “ย่างหนอ” หนอลงพอดี เดินจงกรม สติจบั มนั่ อยปู่ ลายเทา้ ขวายา่ งหนอ ยกเทา้ ขวาข้นึ มา เทา้ ยกกบั ใจตอ้ งพร้อมกนั กา้ ว เทา้ ขาวไปขา้ งหนา้ เทา้ ขวาย่าง แลว้ วางเทา้ ลงพ้ืน กาหนด “หนอ” เทา้ ขวาวางลงพ้ืนพอดี หูไดย้ นิ เสียง เอา จิตไวท้ ่ีไหน เสียงหนอ ต้ังสติไวท้ ี่หู สติเกิดทางหู จิตเกิดข้ึน ดับลงไป หายไป 3) พัฒนำจิตให้อยู่ใน อำยตนะ ทวำร 6 ไปไหนกรรมฐานไปดว้ ย กาหนดไป “เห็นหนอ เห็นหนอ เสียงหนอ” เรามีสติ ใชส้ ติ จิต ตอ้ งกาหนด ทุกขอริยมรรค คิดหนอ ๆ คิดได้ ลิ้นปี่ กาหนดคิดหนอๆ พิจารณาอนิจจา วตะสังขารา สังขาร ท้งั หลายไม่เท่ียงหนอ ทาความเพียรให้มาก อดทนต่อเหตุการณ์ อดทนต่อส่ิงไม่ชอบ เป็นอนิจจงั ชอบไม่ ชอบ ใชค้ วามอดทน ดว้ ยขนั ติ กรรมฐานกาหนดจิตไว้ จิตเขม้ แขง็ อดทน อดกล้นั จิตเป็นกุศล นาความสุข แผ่เมตตา จิตใจไม่เศร้าหมอง กิเลสไม่มีในใจ 4) ฐำนจิต คือ ควำมนึกคิด อำรมณ์ปรุงแต่ง อำรมณ์ต่ำงๆ สารวจจิต สิ้นปี่ ปรุงแตง่ อารมณ์อยา่ งไร บริกรรมคิดหนอ ต้งั สติไว้ จิตยดึ มนั่ คิดอะไรไม่ออก กาหนด “คดิ หนอ” ขนั ธ์ 5 รูปนาม จิตน้ีมีความคิดสูง อยา่ ตามใจตวั เอง ตอ้ งฝื น ตอ้ งต้งั สติ “ฝื น” คือ กาหนด กลบั มาอยู่ ที่ อยา่ ปล่อยไปตามอารมณ์ 4)ฐำนธรรมำนุปัสสนำ สรุปไดว้ า่ 1) เส้นทำงสำยเอก ดับทุกข์ ทำพระนิพพำนให้แจ้ง หนทำง คือ สติปัฏฐำน 4 ความหมาย สติปัฏฐาน คือ การระลึกรู้ฐานที่ต้งั 4 ฐาน เอาสติไปรับรู้ ฐานกาย ฐานเวทนา ฐาน จิต ฐานธรรม รับรู้ให้รู้ให้เห็นตามความจริง ฐานเกาะ สติปัฏฐาน คือ วิปัสสนา “กรรม” คือ การกระทา “ฐาน” หมายถึง เกาะอยทู่ ่ีจริง วิปัสสนากรรมฐาน เกิดปัญญา ผล เป็นสมถะและวิปัสสนา ฝื นใจถึงไดผ้ ล ไดต้ อนเวทนา 2) ธรรมำนุปัสสนำสติปัฏฐำน ธรรมเป็ นกุศล เป็ นอกุศล “คิดหนอ” พระพุทธเจา้ สอนให้ ละความชวั่ ทาความดี ชาระจิตใจให้บริสุทธ์ิผ่องใส สติ ตวั เดียวกาหนด ธรรมานุปัสสนาสติปัฏฐาน เป็ น

709 กุศล อกุศล เกิดข้ึน จิตใจไปทางไหน การฟังธรรม เพ่ือไปปฏิบตั ิธรรม ศึกษาความรู้ ทางวิชาการ ปฏิบตั ิ พระพุทธศาสนา ศีล สมาธิ ปัญญา กาหนดจิต แสวงหาครูบาอาจารย์ เจริญกรรมฐาน รู้กฎแห่งกรรม แก้ กรรม แกป้ ัญหาเฉพาะหน้า รู้กฎแห่งกรรม รู้เหตุการณ์ของชีวิต สติบอกได้ อาศยั วิปัสสนา สารวม มีสติ คอยระวงั ฟังดว้ ยปัญญา คดิ หนอ ๆ มีสติปัญญา ตอ้ งพ่ึงตนเองใชส้ อนตวั เอง จิตใจดีมีปัญญา คิดอะไรดีๆ 3) กรรมฐำน คือหน้ำท่ีกำรงำน สะสมหน่วยกิต คาถาจดจาไว้ ยดึ มน่ั ในองคภ์ าวนาคาถาเป็นบริกรรม ปฏิบตั ิ ตรงตารา เดินไปตามแผนท่ี ปากอยา่ ไว ใจอยา่ เบา เรื่องเก่าอยา่ นามาคิด เร่ืองคนอ่ืนอยา่ คิด กิจปัจจุบนั ทาเลย บริกรรมภาวนา ฝึกหดั เกิดวสีเขา้ ออก จิตปักอยู่ สติระลึกได้ สัมปชญั ญะ ทาใหเ้ ท่าทนั เหตกุ ารณ์ปัจจุบนั อภปิ รำยผลกำรวิจัย : พระธรรมสิงหบุรำจำรย์ (จรัญ ฐิตธฺมโม) จากการทบทวนวรรณกรรม พระธรรมสิงหบุราจารย์ (จรัญ ฐิตธฺมโม) งานวิจยั 5 เรื่อง ประกอบ พลกฤษณ์ โชติศิริรัตน์[1] “การศึกษาวิเคราะห์การรักษาโรคดว้ ยวิปัสสนากมั มฏั ฐานตามแนวทางของพระ ธรรมสิงหบุราจารย์ (จรัญ ฐิตธมฺโม)” ธเนศ ปานหวั ไผ[่ 2]“ศึกษาวเิ คราะห์ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งตามแนว พุทธ: กรณีศึกษาพระธรรมสิงหบุราจารย์ (จรัญ ฐิตธมโม)” พระบุญจนั ทร์ คุตฺตจิตฺโต[3] “ศึกษาวิเคราะห์ รูปแบบการสอนกรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน 4 โดยเน้นคาสอนเร่ืองกรรมของพระธรรมสิงหบุราจารย์ (จรัญ ฐิตธมฺโม)” พระบุญจนั ทร์ คุตฺตจิตฺโต[4] “ศึกษาวิเคราะห์รูปแบบการสอนกรรมฐานตามแนวสติปัฏ ฐาน 4 เนน้ คาสอนเรื่องกรรมของพระธรรมสิงหบุราจารย์ (จรัญ ฐิตธมฺโม)” ธิดารัตน์ สนธ์ิทิม[5]“ทศั นคติ ของประชาชนที่มีต่อการสอนวิธีปฏิบตั ิวิปัสสนากรรมฐานแนวงพระธรรมสิงหบุราจารย(์ หลวงพ่อจรัญ ฐิตธมั โม)” พบวา่ โจทยว์ ิจยั เป็นการประยกุ ตใ์ ชว้ ิปัสนากรรมฐานกบั การรักษาโรค กรรมฐานสติปัฏฐาน 4 เรื่องกรรม วิธีสอนปฏิบตั ิกรรมฐาน รูปแบบการสอนวิธีการปฏิบตั ิวิปัสสนา แนวทางปฏิบตั ิพบว่า สติปัฏ ฐาน 4 เป็ นการกาหนดกาย เวทนา จิต ธรรม อาศยั หลกั ปฏิบตั ิกรรมฐาน 1)สติ 2)สัมปชญั ญะ ควบคุมและ กาหนดจิตโดยการกาหนดอารมณ์ ให้เห็นปัจจุบนั ให้เกิดปัญญารู้เท่าทนั จิต คือ มีสติควบคุมกาย วาจา ใจ วิธีพฒั นาจิตใจบนพ้ืนฐานหลกั ธรรมสติปัฏฐาน 4 องคป์ ระกอบอาตาปี สัมปชาโน สติมา มีความเพียร มี สมั ปชญั ญะ มีสติ ระลึกไปตามฐานท้งั 4 เป็นการฝึกกรรมฐาน ต้งั แห่งการทางานของจิต บาเพญ็ เพียรทางจิต ฝึ กสติพิจารณาให้รู้เท่าทนั และรู้แจง้ ทุกข์ เกิดปัญญาเห็นความเป็ นจริงยอมรับรู้แจง้ ในทุกข์ เทคนิควิธีเป็น การหายใจเขา้ ออกบริกรรมยุบหนอพองหนอเป็ นเอกลกั ษณ์ ผูป้ ฏิบตั ิเพ่งไปท่ีทอ้ งประสานหายใจเขา้ ออก คือ ยบุ หนอ พองหนอ รูปแบบสอนกรรมฐานแบบพองยุบหนกั สอนเรื่องกฎแห่งกรรมเป็นอุทาหรณ์ ภาษา เขา้ ใจง่ายมุ่งให้ผฟู้ ังเขา้ ใจ บรรยายประสบการณ์จริงใหเ้ ห็นภาพ จากประสบการณ์หลวงพ่อสอนให้เห็นกฎ แห่งกรรมนาปัญญาแกไ้ ขปัญหาในชีวติ ส่งเสริมใหส้ วดมนตด์ ว้ ยพทุ ธชยั มงคลคาถา แนวทางของพระธรรมสิงหบุราจารย์ (จรัญ ฐิตธฺมโม) กาหนดกาย เวทนา จิต ธรรม อาศยั หลกั ปฏิบตั ิกรรมฐาน 1)สติ 2)สมั ปชญั ญะ ควบคมุ และกาหนดจิตโดยกาหนดอารมณ์เห็นปัจจุบนั ใหป้ ัญญารู้ทนั จิต มีสติควบคมุ กาย วาจา ใจ วธิ ีพฒั นาจิตใจบนพ้ืนฐานหลกั ธรรมสติปัฏฐาน 4 องคป์ ระกอบอาตาปี สมั ปชา

710 โน สติมา มีความเพียร มีสัมปชญั ญะ มีสติ ระลึกตามฐานท้งั 4 ต้งั แห่งการทางานจิต บาเพญ็ เพียรจิต ฝึ กสติ พิจารณาใหร้ ู้เท่าทนั รู้แจง้ ทุกข์ เกิดปัญญาเห็นความจริงยอมรับรู้แจง้ ทุกข์ เทคนิควิธีเป็นการหายใจเขา้ ออก บริกรรมยุบหนอพองหนอเป็ นเอกลกั ษณ์ เนน้ ฐานกายนาทางปฏิบตั ิแลว้ ไปสู่ครบทุกฐาน เป็ นหลกั ปฏิบตั ิ กรรมฐาน อาตาปี สัมปชาโน สติมา อาศยั คาบริกรรมยบุ หนอพองหนอ เป็นเครื่องมือฝึ กมหาสติปัฏฐานให้ ความสาคญั แทบทุกฐาน 5.11.3 ข้อเสนอแนะกำรวิจัย : พระธรรมสิงหบุรำจำรย์ (จรัญ ฐิตธฺมโม) แนวทางปฏิบตั ิของท่าน เนน้ การประยุกตใ์ ชเ้ ขา้ กบั ชีวิตจริง ความเขา้ ใจชีวิตปกติ อาศยั การฝึ กฝน จากกรรมฐาน ยบุ หนอพองหนอ และการฝึ กในรูปแบบกาหนดไวช้ ดั เจนตามแนวสติปัฏฐาน ความเช่ือกฎ แห่งกรรม เป็ นฐานการสร้างความศรัทธา ความเพียร และเร่ืองเล่าประสบการณ์ในชีวิตของท่าน ทา ให้ ธรรมะท่านน่าสนใจ มากย่งิ ข้ึน ส่วนแนวทางปฏิบตั ิผสานไปตามสติปัฏฐาน มีการเนน้ เวทนานาทางในการ สอนกรรมฐานเพือ่ ใหเ้ ขา้ ใจสติปัฏฐาน ส่วนกายเป็นรูปแบบการฝึ กฝนการปฏิบตั ิ ธรรมานุปัสสนาท่านสอน ตามหลกั การสติปัฏฐานทุกประการ ธรรมบรรยายของท่านเป็ นงานที่น่าศึกษาจากหลายงานวิจยั ท่ียงั คงให้ ความสนใจศึกษาแนวทางปฏิบตั ิท่านที่ไดก้ ล่าวมาแลว้ และคงใหเ้ ป็นวา่ ยงั มีการสืบทอดและเป็นร่วมยคุ สมยั การปฏิบตั ิธรรมสานกั ปฏิบตั ิธรรม ยงั คงดาเนินการอยใู่ นยคุ ปัจจุบนั [12] สมเด็จพระพุทธโฆษำจำรย์ (ประยทุ ธ์ ปยตุ ฺโต) 5.12.1 สรุปกำรสกดั หลกั คำสอนจำกธรรมบรรยำยมหำสติปัฏฐำน สมเดจ็ พระพทุ ธโฆษำจำรย์ (ประยทุ ธ์ ปยุตฺโต) จากผลการวิเคราะห์จากตารางท่ี 4.12.1 ถึง 4.12.15 ซ่ึงเป็นการสกดั หลกั คาสอนจากธรรมบรรยาย แนวทางปฏิบตั ิหลวงป่ ูมนั่ ภูริทัตโต จาแนกตามแนวคิด หลักการ วิธีการ ผล ได้สรุปผลการศึกษาเป็ น แผนภาพความคิดจากการสกัดหลกั คาสอนเรื่องมหาสติปัฐานจากการบรรยายโดยหลวงป่ ูมนั่ ภูริทตั โต แสดงภาพท่ี 5.1.1 ผลการศึกษาพบวา่

711 ภาพท่ี 5.12.1 แผนท่ีความคดิ จากการสกดั หลกั คาสอนเร่ืองมหาสตปิ ัฐานธรรมบรรยาย โดยสมเดจ็ พระพทุ ธโฆษาจารย์ (ประยทุ ธ์ ปยตุ ฺโต) ด้ำนแนวคิดของสมเดจ็ พระพุทธโฆษาจารย์ (ประยทุ ธ์ ปยตุ ฺโต)พบวา่ 1) สตปิ ัฏฐำน 4 หมำยถึง กำร ต้งั สติ เอำสติเป็ นตวั เด่น สิ่งเป็ นที่ต้ังสติ สิ่งท่ถี กู พจิ ำรณำ มหาสติปัฏฐาน 4 เป็นวิธีการปฏิบตั ิกวา้ งๆ 1)กายา นุปัสสนาสติปัฏฐาน คือ กาย+อนุปัสสนา 2)เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน คือ เวทนา+อนุปัสสนา 3)จิตตา นุปัสสนาสติปัฏฐาน คือ จิต+อนุปัสสนา 4) ธรรมานุปัสสนาสติปัฏฐาน คอื ธรรม + อนุปัสสนา “สติ” เป็น ตวั จบั ยึด กาหนด ดึง(ระลึก) ตรึก สิ่งที่ผา่ นมาผ่านไป 1)ดีงมนั ไป 2)สิ่งที่ผ่านไปแลว้ อย่ใู นความทรงจา ดึง ออกมาจากความทรงจา มาอยู่ต่อหน้า สติปัฏฐาน 4 มีสติและปัญญา สติปัฏฐาน 4 จดั อารมณ์ส่งปัญญา พิจารณา ฝึ กสติปัฏฐานให้ไปทางาน สติสัมพนั ธ์กบั ปัญญา ทางานดว้ ยกนั อาศยั สติ ต่ออารมณ์วิปัสสนา วริ ิยะ ใชก้ าลงั สาคญั มีจิตเป็นสมาธิ เป็นตวั รองรับอารมณ์ตลอด สมาธิตวั ทางานวิปัสสนา สติปัฏฐาน เป็น การต้งั สติ เอาสติมาใชเ้ ป็นตวั เดิน ปฏิบตั ิปัญญาภาวนา จิตตภาวนา แสดงว่า สิ่งซ่ึงเป็นท่ีต้งั สติ กำรใช้อำนำ ปำนสติ โยงเข้ำสู่สติปัฏฐำน 4 เดินสติปัฏฐานโดยอานาปานสติเป็ นตวั นา กาหนดลมหายใจ ตามดูรู้เห็น สภาพจิตใจ ส่วนสติปัฏฐาน อื่น ๆ คือ ตามสติปัฏฐาน เรื่อยๆ โยงอำนำปำนสติ สู่สตปิ ัฏฐำน 4 การปฏิบตั ิ 16 ข้นั ทาอานาปานสติ ทาใหส้ ติปัฏฐาน 4 กาหนดรู้พิจารณาสภาวธรรมต่างๆ ใหเ้ ป็นสติปัฏฐาน 4 ครบบริบูรณ์ โพชฌงค์ 7 บริบรู ณ์ สติปัฏฐาน เนน้ สติ เริ่มตน้ ฝึกเขม้ ขน้ กลายเป็นสติสมั โพชฌงค์ เจริญอานาปานสติ 16 ข้นั เขา้ สู่สติปัฏฐาน 4 หายใจส้ันยาว มีผลต่อร่างกายรู้ชดั เขา้ แจกแจงไว้ มีความรู้การปฏิบตั ิ 2) ปัญญำ ภำวนำ อยู่กับสติปัฏฐำน 4 วิปัสสนาตอ้ งการปัญญา หยง่ั รู้ถึงความจริง ผลวิปัสสนา เป็ น “ญาณ” ญาณ 16 อะไรที่กาหนด ประมวลจดั ลาดบั ให้เห็นเป็ นขอ้ ๆ นามรูปใชป้ ัญญา พิจารณาความจริง ข้นั ตอนอาการ จิต ภาวนาเป็นสมถะ ออกถึงปัญญาภาวนาตามวิถีสติปัฏฐาน วตั ถใุ นการพิจารณา สมาธิสาเร็จผล คือ ลมหายใจ ไดฌ้ าน ปี ติ สุข เกิดในองค์ฌาน อารมณ์กรรมฐาน ตวั กาหนด ภาพอในใจ เรียกว่า นิมิต 3) จิตเป็ นสมาธิ โยงวิปัสสนา ใช้ปัญญาพิจารณา “เชื่อมโยง” โยงสมถะ เขา้ กับ วิปัสสนา สติปัฏฐำน 4 ตัวทำงำนสำคัญ วิปัสสนำ สติปัฏฐาน มีสภาพจิต 16 อยา่ ง ดูจิตตามสภาพ เอาขนั ธ์ 5 เพียงอยา่ งเดียวโยงไปท้งั หมด เวทนา จุดหัวต่อ โลกภายนอก เขา้ ต่อวิถีชีวิตจิตใจ การเลือกกรรมฐาน ผลสาเร็จแค่ไหน จิตภาวนาสู่ปัญญาภาวนา

712 ตามวิธีสติปัฏฐาน เช่ือมโยงวิปัสสนา คือ ปัญญาเห็นแจง้ อารมณ์โดยความเป็ น นามรูป อายตนะเกิดมาที่ ขนั ธ์ 5 รวมอยขู่ นั ธ์ 5 อาศยั อายตนะทางาน โพธิปักขิยธรรม 37 ประกำร คือ ตัวทำงำนวปิ ัสสนำ ธรรมท่ีเป็ น ฝ่ ำยของกำรตรัสรู้ องคธ์ รรม 7 อยา่ ง 1)สติ 2)ธรรมวิจยั 3)วิริยะ 4) ปัสสัทธิ 5) ปี ติ 6) สมาธิ 7)อุเบกขา เป็น โพชฌงค์ 7 4) ศึกษำ คือ ปฏิบัติไปตำมท่ีเล่ำเรียนมำ รวมท้ังปริยัติและปฏิบัติ ผลเป็ นปฏิเวท มรรคผล นิพพาน ปริยตั ิ คือ คาบอกเล่าประสบการณ์ของ ท่านผไู้ ดป้ ฏิบตั ิมาก่อน คอื พระพุทธเจา้ ปริยตั ิเป็นศาสนา อาศยั ประสบการณ์พระพุทธเจา้ คาบอกเล่า ประสบกาณ์ เราตอ้ งเล่าเรียน นาคาสอนมาปฏิบตั ิ ปริยตั ิไม่ใช่ ทฤษฏี เป็ นคาบอกเล่าประสบการณ์ ของพระพุทธเจ้าเล่าให้ฟัง การดูตวั ธรรม ดีชว่ั กุศล อกุศล ธรรมา นุปัสสนา ดูสภาพความเป็ นจริง ไม่หลงไปตามสมมติบญั ญตั ิ รู้ทนั คือ นามรูป เห็นแจง้ โลกตามความเป็ น จริง นามธรรม รูปธรรม เห็นขนั ธ์ 5 ท้งั หลายโดยอาการ อนิจจงั ทกุ ขงั อนตั ตา ด้ำนหลกั กำรของสมเด็จพระพทุ ธโฆษาจารย์ (ประยทุ ธ์ ปยตุ ฺโต)พบว่า 1) สติปัฏฐำน คือ กำรทำสติ ให้สติมำเฝ้ำดูแล สติต้งั เป็ นประธานคอยดูแลทางานแทจ้ ริง คือ “ปัญญา” เห็นคาว่า “อนุปัสสนา” ปัญญา ทางานควบค่กู บั “สติ” สติปัฏฐาน 4 แปลวา่ การต้งั สติกาหนดอารมณ์ เพ่ือปัญญาพิจารณา สติปัฏฐาน ยกเอา ตวั ทางานองคธ์ รรม 1)กายานุปัสสนา ต้งั สติกาหนดพิจารณา กายตามดูรู้ทนั กาย ร่างกายมีความเคล่ือนไหว เป็นไป 2) เวทนา การต้งั สติตามดูรู้ทนั สุขทุกข์ ในจิตของเรา 3) จิตตานุปัสสนา การต้งั สติรู้ทนั สภาพจิตใจ ต่างๆ เศร้าหมอง ผ่องใส ตามดูรู้ทนั กาหนดอารมณ์ปัจจุบนั 4)ธรรมานุปัสสนา จิตใจไดน้ ึกไดค้ ิด ดีชว่ั ใน จิตใจตามดู รู้ทนั จิต ศึกษาธรรม คือ ปริยตั ิและปฏิบตั ิ สติปัฏฐาน อนุปัสสนาเป็ นตวั ปัญญา สติประธาน เบิกตวั องคธ์ รรมขอ้ อ่ืนๆ ป้อนอารมณ์ปัญญา มา “อนุปัสสนา” หมายถึง ปัญญาตามดู ตามเห็น เห็นอยเู่ ร่ือยๆ ไม่คลาดสายตาไปได้ ตามดูรู้ทนั “กำรต้ังสติ” 1)การที่สติเป็ นไปต้งั อยู่ ไปกาหนดอารมณ์ 2)สติกากบั อารมณ์ 3)เอาสติมาวางเป็ น ปัฏฐาน 4)เจริญวิปัสสนาภาวนา เอาสติมาต้งั เป็ นประธาน มาร่วมสนับสนุน อนุปัสสนำ คือ ตัวปัญญำ สติเป็ นตวั เบิกตวั ดวงธรรมขอ้ อื่น เป็ นผูป้ ้อนอารมณ์ให้ปัญญา อนุปัสสนา คือ ตามดูตามเห็นอยเู่ รื่อย ไมค่ ลาดสายตา ตามดูรู้ทนั สติเหมือนทวาร คนเฝ้าประตู “วปิ ัสสนาภาวนา” ตวั มุ่งอยู่ ท่ี “ปัญญา” เห็นสิ่งท้งั หลายตามความเป็ นจริง สติคู่กับสัมปชัญญะ สติเป็ นตวั นาหน้าปัญญา เป้าหมาย วปิ ัสสนา คอื ปัญญา วธิ ีการปฏิบตั ิต่างกนั แกนรวมกนั บางอยา่ ง “ใชส้ ติ” ปัญญาทางานกบั สติ สติจบั อารมณ์ ปัญญา “สัมปชญั ญะ” เป็นปัญญาใชเ้ ฉพาะหน้ำ องค์ธรรมสำคัญ 3 ตวั ได้แก่ 1) เพยี ร 2)สติ 3)สมำธิ สติปัฏ ฐาน เป็ นท้งั สมถะและวิปัสสนา ใช้ไดท้ ้งั จิตภาวนาพร้อมปัญญาภาวนา สติปัฏฐาน จิตสงบเป็ นอารมณ์ ปัญญารู้เท่าทนั ความจริง ไดส้ มาธิและปัญญา จิตลึกซ้ึง 2) หลกั คือ กำรต้งั สติ กำรทส่ี ตเิ ข้ำไปต้ังอยู่ กำหนด อำรมณ์อยู่ เอำ “สติ” มำเป็ นประธำนปฏิบัติ “ปัญญำภำวนำ” การฝึ กสมาธิ ตอ้ งเริ่มดว้ ยสติ สติไม่ทางาน สมาธิจะมาไดอ้ ย่างไร สมาธิ ทาให้จิตมีกาลงั 1)พลงั แข็งแรง 2)จิตใจ สงบน่ิง 3)จิตสงบ สติช่วยให้เกิด สมาธิ พาสมาธิไปเร่ิมสมถะ เกิดปัญญา สติมาเป็นประธาน สติพาเอาปัญญามาทางาน “สมาธิ” เป็นเพียงหลกั รองรับอยู่ สมาธิเกิดความรู้ตวั เคลื่อนไหว เพียรมีสติ จับเอาไว้ สติ คือไม่ประมาท มีสติกาหนดอยูอ่ าการ เป็นอยู่ คุณสมบตั ิองคธ์ รรม สติเป็นตวั ปัญญา พิจารณาอะไร เอาให้ “จิตดู” ดูดว้ ยตาปัญญา จิตรับรู้ เรียกว่า อารมณ์ท่ีต้งั การทางานวิปัสสนา ธรรมวิจยั ยะ สัมโพชฌงค์ เฟ้นธรรม วิจยั ธรรม ปัญญาชดั คม สติต่อปัญญา

713 เป็ นธรรมวิจัย เป็ นการเลือกเฟ้นธรรม สติสั่งข้อมูลมา องค์ประกอบการตรัสรู้ เป็ นโพชฌงค์ 7 สติ สมั โพชฌงคเ์ ขม้ แขง็ องคธ์ รรมแห่งการตรัสรู้ ไดอ้ าศยั “สติ” ทางานอยา่ งโพชฌงค์ สติ คือ 1)ดึงเอาส่ิงท่ีผา่ น เขา้ มาไม่ใหผ้ ่านไป ปัจจุบนั 2)ดึงในสิ่งผ่านไปแลว้ มาอยู่ต่อหนา้ ใหม่ โยงอยู่ความสัมพนั ธ์ สติดึงได้ ดึงไป ดึงมา อยู่ตวั ภาวะอยู่ตวั ท่ี เรียกว่า เป็ นสมาธิ 3) สติปัฏฐำนตำมดูรู้ทัน กำยเวทนำจิตธรรม ตำมดูรู้ทัน 4 ด้ำน จิตภาวนา เป็นเจริญสมถะภาวนา ทาให้สงบใจ ญาณ 16 ความหยง่ั รู้ ญาณที่เกิดข้ึนแก่ผูเ้ จริญวิปัสสนา ตามลาดับ ต้งั แต่ตน้ จนถึงท่ีสุด 1. นำมรูปปริจเฉทญำณ รู้ว่าสิ่งท้งั หลายมีแต่รูปธรรมและนามธรรม 2. ปัจจยปริคคหญำณ รู้ว่า รูปธรรมและนามธรรมท้งั หลายเกิดจากเหตุปัจจยั 3. สัมมสนญำณ รู้ดว้ ยพิจารณา เห็นนามและรูปโดยไตรลกั ษณ์ จิตภาวนาเป็นสมถะ มุ่งทาใหจ้ ิตสงบเป็นหลกั จิตรวม ให้จิตมีอารมณ์หน่ึง เดียว สมาธิเป็ นแกนสมถะ ไดส้ มาธิ ปฏิบตั ิเอาจิตให้แน่แน่ว ไดส้ มาธิ แลว้ โอนมาวิปัสสนา เอา ฌาน สมาบตั ิ ใชจ้ ิตเป็นสมาธิบริบรู ณ์ เป็นอปั ปานาสมาธิ เวทนำนุปัสสนำศึกษารู้ชดั จิต จิตสังขาร ระงบั จิตสงั ขาร หายใจเขา้ หายใจออก จิตสังขาร หมายถึง เวทนาและสัญญา มีอานาจ ปรุงแต่ง จิต มีคุณ มีโทษ จิตสังขาร ในเวทนา เป็นสัญญาปรุงแต่งจิตใต เปล่ียนอารมณ์ “กายสังขาร” สาเร็จ ปี ติ สุข เกิดข้ึน กาหนดลมหายใจ เขา้ ออก รู้ชดั “เวทนา” พร้อมท้งั เสวย ปี ติ สุข ชีวิตองคป์ ระกอบขนั ธ์ 5 รูปขนั ธ์ นามขนั ธ์ “เวทนา” เกิดข้ึน กาหนดหมาย และความจา “สัญญาขนั ธ”์ รับรู้การทางานขนั ธ์ 5 สุขทุกข์ ขอ้ มลู ความคดิ การไดย้ ิน อาศยั ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ให้สัมผสั กบั การปฏิบตั ิ อายตนะแดนต่อความรู้ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ รับรู้ต่อโลกา ภายนอก อริยสัจ 4 1)ทุกขสัจจะ 2) สมุทยั สัจจะ คน้ หาผลเหตุผล 3)นิโรธสัจจะ ภาวะไร้ทุกข์ 4) มรรค เอา ผลก่อนเหตุตามมา 4) ใช้อำนำปำนสติ เป็ นตวั นำกำรปฏิบัติ เข้ำสู่สติปัฏฐำน 4 อานาปานสติ 16 ข้นั ใชค้ า ว่า “ศึกษาว่า” ฝึ กให้เป็ น พยายามให้เป็ น บงั คบั ควบคุม อำนำปำนสติโยงสติปัฏฐำน4 บริบูรณ์ ทาให้ โพชฌงค์ 7 บริบูรณ์ เช่น ข้นั 9)จะรู้ชดั จิต หายใจเขา้ หายใจออก 10) จะทาจิตให้บนั เทิง 11) ต้งั จิตมนั่ 12) จะเปล้ืองจิตหายใจเขา้ หายใจออก ธรรมานุปัสสนาสติปัฏฐาน ข้นั 13)ตามเห็นความไม่เที่ยง หายใจเขา้ หายใจออก 14)ศึกษาความคลายออก ไม่เท่ียง 15)ศึกษาความดบั 16)ศึกษาความสลดั คืน หายใจเขา้ หายใจ ออก วิธีสมถะ การใชเ้ ทคนิค การพูดในใจ “การบริกรรม” กาหนดลมหายใจ กาหนดลมหายใจทุกคร้ัง รู้ตวั ทว่ั พร้อม รู้ท้งั กายท้งั หมด สิ่งปรุงแต่งร่างกาย คือ ลมหายใจ กาหนดลมหายใจทุกคร้ัง รู้ตวั ทว่ั พร้อม รู้ท้งั กายท้งั หมด เอาปัญญามาวินิจฉัยไว้ หายใจเขา้ ออกยาว ก็รู้ชดั รู้ตามที่ลมหายปรากฏ ลมหายใจเขา้ ออก สาเหนียกว่า จะรู้ท่ัวกายท้ังหมด กายย่อยรู้ให้ท้ังหมด โดยมีสัมปชัญญะ “รู้ชัดว่า” ปชานาติ อาการ สัมปชญั ญะ เป็นการบอกใหร้ ู้ขดั วา่ “อารมณ์”น้นั ๆ การฝึกหรือบงั คบั ใหเ้ ป็นไป ขยายวงกาหนด ออกไปจาก ร่างกายท้งั หมด รู้สึกกองลมหายใจท้งั หมด ด้ำนวิธีกำรของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ประยทุ ธ์ ปยตุ ฺโต)พบวา่ 1) กำยำนุปัสสนำ ต้ังสติกำหนดรู้กำย กำหนดลมหำยใจ หลกั ทวั่ ไปเร่ิมปฏิบตั ิ กายานุปัสสนา เป็น จุดเร่ิมตน้ แลว้ ปฏิบตั ิล่วงลุสติปัฏฐาน สติเป็นตวั เริ่มตน้ เป็นอานาปานสติ ใชส้ ติกาหนดลมหายใจ เอาสติดึง ไว้ สติทางาน จิตอยู่ที่ลมหายใจ เป็นสมาธิ อำนำปำนสติ มีท้ังหมด 16 ข้ัน ตอนละ 4 ช้ัน ตามสติปัฏฐาน 4 กาย 4 ข้นั เวทนา 4 ข้นั จิต 4 ข้นั ธรรม 4 ข้นั อานาปานสติมาใชน้ าไปสู่การปฏิบตั ิวิปัสสนา ปฏิบตั ิถึงท่ีสุด

714 บรรลุ คาวา่ “ศึกษาวา่ ..” หมายถึง ฝึ ก รู้ชดั ว่า หายใจเขา้ ออก รู้ไปตามน้นั ฝึ กใหร้ ู้ท้งั กายท้งั หมด หายใจเขา้ หายใจออก ให้ทาใจไปรู้ท้งั ตวั การทาอานาปานสติ เป็ นจุดเริ่มตน้ โยงสู่สติปัฏฐาน 4 เป็ นวิธีการปฏิบตั ิ เหมาะสม ตามเห็นความไม่เท่ียง หายใจเขา้ หายใจออก เห็นชดั เจน เห็นจากของจริง เจริญวิปัสสนา เกิดดบั กาหนดลมหายใจเขา้ ออก ทุกคร้ัง มีความรู้ชดั เวทนาที่เป็ นได้ เสวยปี ติสุข หายใจเขา้ ออกรู้ชดั ศึกษาและ ฝึ กหัด การใช้เวทนารู้ชดั จิตสังขาร ควบคุมในการใชป้ ัญญา ควบคุม เวทนา ศึกษาผ่อนระงบั “จิตสังขาร” หายใจเขา้ หายใจออก บงั คบั ควบคุมเวทนา ปรุงแต่งจิต มากาหนดจิตใจ โดยผ่านเวทนา จิตตตำนุปัสสนำ ศึกษา จะรู้ชดั “จิต” หายใจเขา้ หายใจออก ดูเวทนาที่จิตใจดูสภาพจิตใจ ขณะน้นั เป็นอยา่ งไร กำยำนุปัสสนำ หายใจเขา้ ออกก็รู้ชัด จะรู้ทวั่ ร่างกายท้งั หมด ผ่อนกายสังขาร หายใจเขา้ หายใจออก ให้ตระหนักรู้ “จิต สังขาร” จิตหดั เป็นอิสระ ทาจิตหลุดพน้ ศึกษาปลดเปล้ีงจิต ผ่อนระงบั “จิตสังขาร” หายใจเขา้ หายใจออก เราบงั คบั ควบคุม เวทนาได้ ทาจิตให้บนั เทิง ควบคุมจิตให้เขา้ ไปสภาวะท่ีดี สภาพที่บนั เทิง ปราโมชย์ ร่าเริง เบิกบาน มีสภาพที่ดี ตามปี ติ สุข ปัสสัทธิ เปล้ืองจิต หายใจเขา้ หายใจออก หัดปล่อย พยายามทาจิต ให้มี อิสระ เสรีภาพ ทุกลมหายใจ เขา้ ออกรู้ชดั สามารถรู้ชดั ความสัมพนั ธก์ ายย่อยกายใหญ่ กายท้งั ตวั อาการก็รู้ ชดั อยใู่ นใจ อยใู่ นสติสมั ปชญั ญะ ลมหายใจ มีจุดเร่ิมตน้ จุดท่ามกลาง ในจนถึงสุด รู้หมด หายใจเขา้ ออก กร็ ู้ ชดั วา่ หายใจเขา้ ออก ยาวส้นั กาหนดรู้ลมหายใจโดยตรง รู้ตามที่ลมปรากฏ ผอ่ นระงบั กายสงั ขาร หายใจเขา้ ลมหายปรุงแต่งร่างกาย ใช้วิธีลมหายใจละเอียดอ่อน ให้ฝึ กไป ชานาญ มีผลต่อร่างกายท้งั หมดหายใจเขา้ หายใจออก หายใจเขา้ ออก ให้รู้ชดั ว่า ตลอดกายของตน เอาจิตหัดไว้ ดูสิ่งท้งั หมดเป็ นอนิจจงั เห็นทุกขงั อนตั ตา เห็นการเกิดดบั เห็นสภาวธรรม เป็นไปตามเหตุปัจจยั กายรวม สมั พนั ธก์ บั ลมหายใจ (กายยอ่ ย) 2) กำยำนุปัสสนำ ต้ังสติตำมรู้ทันกำย กำยส่วนไหนตำมดูรู้ทัน 1)ลมหำยใจเข้ำออก 2)อิริยำบถ เคล่ือนไหว ยืน เดิน นั่ง นอน ให้มีควำมรู้สึกตัวทั่วพร้อม “สัมปชัญญะ” เคลื่อนไหว อะไรให้รู้ตัวไปหมด อิริยาบถ 4 ยนื เดิน นง่ั นอน สัมปชญั ญะ ตามดูรู้ทนั รู้ตวั ทว่ั พร้อมทุกอยา่ ง การเคล่ือนไหว เนน้ ปัญญา อยทู่ ี่ สมั ปชญั ญะ สมั ปชญั ญะ การมีความรู้ตวั ทว่ั พร้อมในการเคล่ือนไหว เนน้ การเคล่ือนไหวย่อยๆ ทาความรู้ตวั ทว่ั พร้อม อิริยาบถ ยนื เดิน นง่ั นอน เดินไปก็รู้ชดั ยนื ก็รู้ชดั นอนก็รู้ชดั รู้การเคลื่อนไหว การต้งั อยอู่ ยา่ งไร ก็ รู้ชดั คาว่า “อนุปัสสนา” มาคู่กบั สติปัฏฐานแต่ละขอ้ สติเป็ นตวั ประกอบสู่ปัญญา สติ เหมือนทวารประตู คอยดูใครเขา้ ออกปรากฏ ดูเห็น ปัญญารู้ทนั เอาสติมาทาหนา้ ที่เป็นตวั เด่น เอาเฝ้าดูแลรับใช้ การพจิ ารณาส่ิง ปฏิกูลของร่างกาย ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง ฯ อาการ 32 อวยั วะต่างๆ ธาตุบรรพ พิจารณากายต้งั อยู่ มีธาตุ 4 ธาตุ ธรรมชาติ สภาวธรรม นวสี 9 ป่ าช้า 9 ซากศพในป่ าช้า มีสภาพต่างๆ ดูร่างกายทิ้งไวใ้ นป่ าช้า น้อม พิจารณาร่างกาย เราเป็นธรรมดา ปฐมฌาน กายคตาสติ สติไปในกายสารวจร่างกาย อาการ 32 อุปจารสมาธิ กรรมฐาน สมาธิจวนเจียน ฌาน ไดไ้ ม่ถึง กากบั จิตอาศยั นิมิต นิมิตถึงข้นั เกิดสมาธิ พรหมวิหาร กรรมฐาน เมตตา ใชอ้ ุเบกขา 3) เวทนำนุปัสสนำ ต้งั สติตำมดูรู้ทันสุข ทกุ ข์ร่ำงกำย มคี วำมสุขสบำย เฉยๆ ควำมรู้สึกอำศัย อำมิส รูป เสียง กลนิ่ รส เวทนามีความสาคญั มากากบั กระตนุ้ เวทนานุปัสสนา จะทาปี ติ หายใจเขา้ ออก จะรู้ชดั จิต จิตตสังขาร ผอ่ นระงบั จิตสังขาร หายใจ ควบคุมไดท้ ้งั ปี ติ ความสุข ควบคุม เวทนา ปรุงแต่ง กาหนดเวทนา

715 มองดู สุข ทกุ จ์ เฉย สภาพจิตท่ีมีการเปลี่ยนแปลงเวทนา ชอบใจ ไม่ชอบใจ ราคะ โทสะ ฝึกบงั คบั เวทนาให้ เป็นไปตามตอ้ งการได้ ปรุงแตง่ จิต ชอบ รัก ชงั เกลียด กลวั ส่ิงท้งั หลาย ปฏิบตั ิต่อ จาหมายไว้ 4) จิตตำนุปัสสนำ ศึกษาวา่ รู้ชดั จิต หายใจเขา้ ออก จิตบนั เทิง จิตต้งั มนั่ เปล้ีองจิต หายใจเขา้ หายใจ ออก วิธีปฏิบตั ิสมถะ ให้จิตเป็ นสมาธิ “สมาธิ” ตอ้ งการ “สมถะ” จิตเกิดสมาธิ ใช้งานทางปัญญา สมถะ อาศยั สติเป็ นตวั นา สติสาคญั ในการบาเพ็ญสมาธิ สติอาศยั สมาธิ ดึงอารมณ์ให้พิจารณา วิปัสสนาอาศัย “สมาธิ” สติเป็นตวั ทางานชดั เจน เปล่ียนแปลงอารมณ์ จิตน่ิงแน่ว การฝึกสมาธิ เร่ิมตอ้ งดว้ ย “สติ” ใหม้ องดู วิธีฝึ กสมาธิ สติตวั ดึงไว้ จิตอยู่ตวั ได้ เป็ นสมาธิ อุปมาววั พยศ อยู่ป่ า ตอ้ งเอาเชือกมาผูกมนั ไวก้ บั หลกั ววั พยศ1 หลกั 1 เชือก1 ววั พยศเปรียบจิตไปฟุ้งซ่าน ไปเร่ือยๆ ตอ้ งให้ววั อยกู่ บั หลกั เอาเชือกมาผกู เชือกเปรียบ เป็ นสติ ดึงเชือก ววั พยศหนีไปเชือก ดึงทุกที สติเป็ นตวั ดึงเชือกไว้ ในที่สุดหมอบอยู่กับหลกั คือ สมาธิ เชือกเปรียบเป็ นสติ หลกั คือ สิ่งที่จิตกาหนด อารมณ์ หมายถึง ความรู้สึกในใจ ศึกษาความดบั หมดไป ดู ตามสภาวะเป็ นประสบการณ์ ภายในจิตใจ ใช้ปัญญา ฝึ กหัดควบคุม จิตสังขาร ชดั จิตสังขาร รู้ชดั สภาพ ความเป็นไป ปี ติ สุข เกิดในใจ รู้สภาพจิตใจตามท่ีเป็นขณะน้นั จิต 16 อยา่ ง จิตมีลกั ษณะ 3 ประการ 1)ทา จิตใหม้ ีกาลงั แขง็ แรง 2) ทาใหจ้ ิตใสเหมือนน้าต้งั อยูท่ ี่สงบนิ่ง 3)ทาจิตสงบ ดูธรรมสิ่งท่ีดีชว่ั ในจิตใจ สภาพ ความเป็นจริงเกิดข้ึน ต้งั อยู่ ดบั ไป กาหนดพิจารณาผ่านมา มองตามความเป็นจริง จิตตานุปัสสนา รู้ชดั “จิต” หายใจเขา้ หายใจออก ทา “จิต” ให้บนั เทิง จะต้งั จิตมนั่ จะเปล้ืองจิต ทาจิตให้เป็ นบนั เทิงหายใจเขา้ ออก เป็นไปตามสภาพท่ีตอ้ งการ เลือกสภาพ ปี ติ ปราโมชย์ มีความสุข ฝึกจิตบนั เทิงได้ สมั มาสมาธิ เป็นความต้งั มน่ั ของจิตชอบท่ีถูกตอ้ ง 5) ธรรมำนุปัสสนำ ต้ังสติ ตำมดูรู้ทันธรรม นิวรณ์ รู้ทันขันธ์ 5 อำยตนะ 6 คู่ ต้ังสติตำมดูรู้ทัน เข้ำใจ โพชฌงค์ 7 อริยสัจ 4 ขยำยค่อยๆ ไป เข้ำสู่รำยละเอียด ปฏิบตั ิ “สติปัฏฐาน” เรื่องธรรมชาติ เห็นจาก ของจริง เจริญวิปัสสนา เกิดดบั สภาพจิตใจกุศล อกศุ ล มองดูธรรมะส่ิงท่ีเป็นอยใู่ นใจ เขา้ สู่ ธรรมานุปัสสนา สติปัฏฐาน ศึกษาตามเห็นความไม่เที่ยง เกิดข้ึน ต้งั อยู่ ดบั ไป ธรรมนุปัสสนา ตามเห็นความไม่เที่ยงหายใจ เขา้ หายใจออก ความคลายออก เห็นความดบั ไป จะตามเห็นความสลดั คืนไป เห็นจากของจริงท่ีปรากฏ เอา จิตที่หดั ไวด้ ี ดูสภาพธรรมะ เห็นอนิจจงั เห็นทุกขงั เห็นอนตั ตา สมถะไปให้ได้ ญาณ สมาบตั ิ 8 อภิญญา 5 ไดฌ้ าน ญาณ ประกอบดว้ ย 4.อุทยพั พยานุปัสสนาญาณ ตามเห็นความเกิดและความดบั 5. ภงั คานุปัสสนา ญาณ เห็นความสลาย 6. ภยตูปัฏฐานญาณ มองเห็นสังขารปรากฏเป็นของน่ากลวั 7. อาทีนวานุปัสสนาญาณ พจิ ารณาเห็นสงั ขารท้งั ปวงซ่ึงลว้ นตอ้ งแตกสลายไป 8. นิพพิทานุปัสสนาญาณ คานึงเห็นดว้ ยความหน่าย 9. มุญจิตุกัมยตาญาณ ใคร่จะพน้ ไปเสีย 10. ปฏิสังขานุปัสสนาญาณ คานึงพิจารณาหาทาง อุบายที่จะปลด เปล้ืองออกไป 11. สังขารุเปกขาญาณ เป็ นไปโดยความเป็ นกลางต่อสังขาร 12. สัจจานุโลมิกญาณ โดย อนุโลมแก่การหยง่ั รู้อริยสัจ คือ เม่ือวางใจเป็นกลางต่อสังขาร 13. โคตรภูญาณ ความหยง่ั รู้ที่เป็นหัวต่อแห่ง การขา้ มพน้ จากภาวะปุถุชนเขา้ สู่ภาวะอริยบุคคล 14. มคั คญาณ หยง่ั รู้ที่ใหส้ าเร็จภาวะอริยบุคคลแต่ละข้นั 15. ผลญาณ ในอริยผล คือ ความหยงั่ รู้ที่เป็ นผลสาเร็จ 16. ปัจจเวกขณญาณ ญาณหยงั่ รู้ด้วยการพิจารณา ทบทวน องค์ธรรมโพชฌงค์ 1) สติ ระลึกไดเ้ ป็ นผูเ้ บิกองค์ธรรมพิจารณา 2)ธรรมวิจยั เลือกเฟ้นธรรม 3)

716 วิริยะ 4) ปี ติ 5) ปัสสัทธิ ผ่อนคลาย 6)สมาธิต้งั มนั่ 7)อุเบกขใจเป็ นกลาง สัมโพชฌงค์ 7 ส่งงานให้ปัญญา โพชฌงค์ 7 สติ มีความสัมพนั ธก์ บั สติปัฏฐาน 4 เอามาใหป้ ัญญาวนิ ิจฉยั ปี ติสมั โพชฌงค์ ความอิ่มใจ ปล้ืมใจ เกิดสภาวะภายในจิตใจ ปัสสัทธิ ความผ่อนระงบั กายใจ นาความสุข ความต้งั มน่ั สงบ เป็ นอารมณ์ องค์ ธรรม อุเบกขา วางทุกส่ิง จิตวาง ทุกอย่างลงตวั วิริยะ ความเพียร เป็ นอาตาปี ปกครองปฏิบัติเดินหน้า วิปัสสนาภูมิ ไดแ้ ก่ ขนั ธ์ 5 อายตนะ ธาตุ อินทรีย์ อริยสัจ ปฏิจจสมุปบาท องคป์ ระกอบ 5 กอง ชีวิต )รูป ขนั ธ์ คอื กองรูป เป็นรูปธรรม ธาตุ 4 2)เวทนาขนั ธ์ เป็นความรู้สึกสุข ทกุ ข์ เฉยๆ เรียกว่า “เวทนา” 3)สัญญา ขันธ์ ความจาได้หมายรู้ ข้อมูลความรู้ กาหนดหมาย จาหมายไว้ เป็ นข้อมูล ความรู้ 4) สังขารขันธ์ กระบวนการคิดปรุงต่าง คุณสมบตั ิจิตใจ มีเจตนาเป็นตวั นา ประชุมปรุงแต่ง กระบวนการคิด 5)ความรับรู้ โดยตรง ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ การรู้ส่ิงท่ีเกิดข้ึนในใจ เรียกว่า “วิญญาณ” 1) สติปัฏฐาน 4 การต้งั สติ กาหนดพิจารณาสติ 2) สัมปธาน 4 ความเพียรสมบูรณ์แบบ สติมาแลว้ 3)อิทธิบาท 4 ธรรมที่ทาให้ถึง ความสาเร็จ 4)อินทรีย์ 5 ธรรมเป็นใหญ่ ในกิจหนา้ ท่ีของตน 5) พละ 5 กาลงั คือกาลงั เป็นทุนในตวั ของเรา มีมากนอ้ ย ดูจากองคธ์ รรม 1) ศรัทธา 2)วริ ิยะ 3) สติ 4)สมาธิ 5)ปัญญา 6) โพชฌงค์ 7 ธรรมเป็นองคแ์ ห่งการ ตรัสรู้ 1) สติ ความรู้สึกได้ 2) ธรรมวจิ ยั ยะ การวิจยั ธรรมเลือกเฟ้น ใหเ้ ขา้ ถึงความจริง เอามาใหเ้ ห็นได้ เอามา ใชถ้ ูกตอ้ ง เร่ืองราวเป็นประโยชน์ แกป้ ัญญาสาเร็จ ธรรมวิจยั 3) วิริยะ ความเพียร 4) ปิ ต ความอิ่มใจ ปล้ืมใจ 5) ปัสสัทธิ ความสงบ 6)สมาธิ ความใจต้งั มนั่ 7) อุเบกขา ใจเย็นวางใจให้เป็ นกลาง 7) มรรคมีองค์ 8 วิธี กรรมฐาน สมถะ วิปัสสนา จุดร่วมกัน คือ จุดต้งั ตน้ “สติ” กระบวนการปฏิบตั ิ สาเร็จผล องค์ธรรม สติ ประสานกนั พอดี สมาธิเพือ่ ปัญญา วิธีปฏิบตั ิ 1)สมถะนาหนา้ สมาธิแนบแน่น วปิ ัสสนาตามหลงั 2)วิปัสสนา ไปก่อน แลว้ ตอ่ ทาสมาธิทีหลงั สติช่วยสมาธิสติตามเอง เอาวปิ ัสสนานาหนา้ เอาสมถะตามหลงั 3) ทาควบคู่ กนั ไป ท้งั สมถะและวิปัสสนา ใหเ้ ห็นความสัมพนั ธก์ นั สมถะวิปัสสสนา มีความยืดหยุนมาก ความสัมพนั ธ์ ระหวา่ ง สมถะและวิปัสสนา เห็นจุดเชื่อมโยง ด้ำนผลของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)พบว่า 1) กำรต้ังสติตำมดูรู้ทัน กำย เวทนำ จิต ธรรม เข้ำใจควำมหมำย อะไรเป็ นอำรมณ์สติปัฏฐำน รู้ชดั อยู่ในใจอยู่ในสติปัฏฐาน 4 ร่างกาย ขยายนามกาย สภาพจิตใจ พลงั จิตสงบ หนุนใหจ้ ิตผ่องใส เก้ือหนุนใชป้ ัญญา เขา้ ใจโลกและชีวิต ตามความ เป็นจริง จิตใจผอ่ นคลายลมหายใจ ประณีต จิตใจสบายลมหายใจละเอียด จิตต้งั มนั่ บริสุทธ์ิ ผอ่ งใส ไมเ่ ศร้า จิตนุ่มนวล 2) อารมณ์สมถะ วิปัสสนา คือ ชีวิตร่างกาย จิตใจ เป็นอารมณ์ สมถะ คือ ฌาน อภิญญา 5 ฤทธ์ิ เดช ไดฌ้ าน ปี ติ สุข เกิดในอรมณ์ ฌาน สติเกิดช่วยสมาธิ เป็นสมถะ วปิ ัสสนาเห็นไตรลกั ษณ์ ปัญญาเห็นแจง้ ขนั ธ์ 5 นามรูป สภาพจิตเป็น โพชฌงค์ 7 ไดญ้ าณ 16 วิปัสสนาญาณ 3) เร่ิมท่ีตัวเรำขยำยไปผู้อ่ืน สรรพสิ่ง ปรำกฏแสดงออกมำ กำย เวทนำ จิต ธรรม แก้ปัญญา สติเป็ นตัวเบิกตัว “ปัญญา” มาใช้ทัน รู้ชัด ความสัมพนั ธ์กายยอ่ ย และกายใหญ่ ตระหนกั การหายใจ อานาปานสติเห็นลมหายใจชดั ลมหายใจเป็นส่วน ของร่างกาย 4) สติเป็ นตัวแทนกำรไม่ประมำท คือ มีสติ กำหนดอยู่ เห็นสภาวธรรมเกิดข้ึน ต้งั อยู่ ดบั ไป เลือกกรรมฐานตามจริตตนเอง นาไปสู่สมาธิ ได้ ธรรมะเรียกช่ือต่างกนั ไป ทาหนา้ ท่ีตามท่ีเรียก ช่ือต่างกนั

717 ไป 5) กำรบรรลโุ สดำบนั พน้ จากความติดอยขู่ อ้ งทางโลก เกิดปัญญาความรู้ เขา้ ใจความจริง เห็นการเกิดข้ึน ต้งั อยู่ ดบั ไป สรุปกำรสกดั หลกั คำสอนมหำสติปัฏฐำน 4 ตำมแนวทำงปฏบิ ตั ิ สมเดจ็ พระพุทธโฆษาจารย์ (ประยทุ ธ์ ปยตุ ฺโต) ภาพที่ 5.12.2 แผนทค่ี วามคดิ การสกดั หลกั คาสอนของสมเด็จพระพทุ ธโฆษาจารย์ (ประยทุ ธ์ ปยตุ ฺโต) ตามมหาสติปัฏฐาน 4 5.12.2 สรุปผลและอภปิ รำยผล : สมเดจ็ พระพุทธโฆษำจำรย์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต) ผลการศึกษาเร่ืองการสกดั หลกั คาสอนเรื่องมหาสติปัฏฐาน 4 ตามแนวทางปฏิบตั ิสมเด็จพระพุทธ โฆษาจารย์ (ประยทุ ธ์ ปยตุ ฺโต) สรุปผลการศึกษา จาแนกตามมหาสติปัฏฐาน 4 ประกอบดว้ ย กายานุปัสสนา เวทนานุปัสสนา จิตตานุปัสสนา ธรรมานุปัสสนา 1) ฐำนกำยำนุปัสสนำ สรุปได้ว่า 1) กำยำนุปัสสนำสติปัฏฐำน คือ กำย+อนุปัสสนำ คาว่า “อนุปัสสนา” มาคู่กบั สติปัฏฐานแต่ละขอ้ สติเป็นตวั ประกอบสู่ปัญญา สติ เหมือนทวารประตู คอยดูใครเขา้ ออกปรากฏ ดูเห็น ปัญญารู้ทนั เอาสติมาทาหนา้ ท่ีเป็นตวั เด่น เอาเฝ้าดูแลรับใช้ กาหนดลมหายใจ กาหนดลม หายใจทุกคร้ัง รู้ตวั ทว่ั พร้อม รู้ท้งั กายท้งั หมด เอาปัญญามาวินิจฉยั ไว้ หายใจเขา้ ออกยาว ก็รู้ชดั รู้ตามท่ีลม หายปรากฏ ลมหายใจเขา้ ออก สาเหนียกวา่ จะรู้ทว่ั กายท้งั หมด กายยอ่ ยรู้ใหท้ ้งั หมด โดยมีสัมปชญั ญะ “รู้ชดั วา่ ” ปชานาติ การต้งั สติตามดูรู้ทนั กาย เวทนา จิต ธรรม เขา้ ใจความหมาย อะไรเป็นอารมณ์สติปัฏฐาน รู้ชดั อยู่ในใจอยู่ในสติปัฏฐาน 4 ร่างกายขยายนามกาย สภาพจิตใจ พลงั จิตสงบ หนุนให้จิตผ่องใส เก้ือหนุนใช้ ปัญญา เขา้ ใจโลกและชีวิต ตามความเป็ นจริง จิตใจผ่อนคลายลมหายใจ ประณีต จิตใจสบายลมหายใจ ละเอียด จิตต้งั มน่ั บริสุทธ์ิ ผ่องใส ไม่เศร้า จิตนุ่มนวล การพิจารณาสิ่งปฏิกูลของร่างกาย ผม ขน เล็บ ฟัน

718 หนงั ฯ อาการ 32 อวยั วะต่างๆ ธาตุบรรพ พิจารณากายต้งั อยู่ มีธาตุ 4 ธาตุ ธรรมชาติ สภาวธรรม นวสี 9 ป่ า ชา้ 9 ซากศพในป่ าชา้ มีสภาพต่างๆ ดูร่างกายทิง้ ไวใ้ นป่ าชา้ นอ้ มพจิ ารณาร่างกาย เราเป็นธรรมดา ปฐมฌาน กายคตาสติ สติไปในกายสารวจร่างกาย อาการ 32 อปุ จารสมาธิ กรรมฐาน 2) กำยำนุปัสสนำ ต้งั สตกิ ำหนด รู้กำย กำหนดลมหำยใจ กายานุปัสสนา เป็นจุดเร่ิมตน้ แลว้ ปฏิบตั ิล่วงลุสติปัฏฐาน สติเป็นตวั เร่ิมตน้ เป็นอา นาปานสติ ใช้สติกาหนดลมหายใจ เอาสติดึงไว้ สติทางาน จิตอยู่ท่ีลมหายใจ เป็ นสมาธิ กายานุปัสสนา หายใจเขา้ ออกก็รู้ชดั จะรู้ทวั่ ร่างกายท้งั หมด ผ่อนกายสังขาร หายใจเขา้ หายใจออก ให้ตระหนกั รู้ สิ่งปรุง แต่งร่างกาย คือ ลมหายใจ กาหนดลมหายใจทุกคร้ัง รู้ตวั ทวั่ พร้อม รู้ท้งั กายท้งั หมด ทุกลมหายใจ เขา้ ออกรู้ ชดั สามารถรู้ชดั ความสัมพนั ธ์กายย่อยกายใหญ่ กายท้งั ตวั อาการก็รู้ชดั อยูใ่ นใจ อย่ใู นสติสัมปชญั ญะ เดิน สติปัฏฐานโดยอานาปานสติเป็นตวั นา กาหนดลมหายใจ ตามดูรู้เห็นสภาพจิตใจ ลมหายใจ มีจุดเริ่มตน้ จุด ท่ามกลาง ในจนถึงสุด รู้หมด หายใจเขา้ ออก ก็รู้ชดั ว่า หายใจเขา้ ออก ยาวส้ัน กาหนดรู้ลมหายใจโดยตรง รู้ ตามท่ีลมปรากฏ ผอ่ นระงบั กายสังขาร หายใจเขา้ ลมหายปรุงแต่งร่างกาย ใชว้ ิธีลมหายใจละเอียดอ่อน ให้ ฝึกไป ชานาญ มีผลตอ่ ร่างกายท้งั หมดหายใจเขา้ หายใจออก หายใจเขา้ ออก ใหร้ ู้ชดั วา่ ตลอดกายของตน ให้ เป็นสติปัฏฐาน 4 ครบบริบูรณ์โพชฌงค์ 7 บริบรู ณ์ อาการสมั ปชญั ญะ เป็นการบอกให้รู้ขดั วา่ “อารมณ์”น้นั ๆ การฝึ กหรือบงั คบั ให้เป็นไป ขยายวงกาหนด ออกไปจากร่างกายท้งั หมด รู้สึกกองลมหายใจท้งั หมด 3) กำรใช้อำนำปำนสติ โยงเข้ำสู่สติปัฏฐำน 4 ใชอ้ านาปานสติ เป็นตวั นาการปฏิบตั ิ เขา้ สู่สติปัฏฐาน 4 อานา ปานสติ มีท้งั หมด 16 ข้นั ตอนละ 4 ช้นั ตามสติปัฏฐาน 4 กาย 4 ข้นั เวทนา 4 ข้นั จิต 4 ข้นั ธรรม 4 ข้นั ควบคุม อานาปานสติโยงสติปัฏฐาน4 บริบูรณ์ ทาใหโ้ พชฌงค์ 7 บริบูรณ์ เจริญอานาปานสติ 16 ข้นั เขา้ สู่ สติปัฏฐาน 4 หายใจส้ันยาว มีผลต่อร่างกายรู้ชดั เขา้ แจกแจงไว้ มีความรู้การปฏิบตั ิอานาปานสติ 16 ข้นั ใช้ คาวา่ “ศึกษาวา่ ” ฝึกใหเ้ ป็น พยายามใหเ้ ป็น บงั คบั ควบคุม คาวา่ “ศึกษาวา่ ..” หมายถึง ฝึก รู้ชดั วา่ หายใจเขา้ ออก รู้ไปตามน้นั ฝึ กให้รู้ท้งั กายท้งั หมด หายใจเขา้ หายใจออก ให้ทาใจไปรู้ท้งั ตวั การปฏิบตั ิ 16 ข้นั ทาอา นาปานสติ ทาใหส้ ติปัฏฐาน 4 กาหนดรู้พิจารณาสภาวธรรมตา่ งๆ ส่วนสติปัฏฐาน อ่ืน ๆ คือ ตามสติปัฏฐาน เร่ือยๆ โยงอานาปานสติ สู่สติปัฏฐาน 4 ข้นั 9)จะรู้ชดั จิต หายใจเขา้ หายใจออก 10) จะทาจิตให้บนั เทิง 11) ต้งั จิตมนั่ 12) จะเปล้ืองจิตหายใจเขา้ หายใจออก ข้นั 13)ตามเห็นความไม่เท่ียง หายใจเขา้ หายใจออก 14) ศึกษาความคลายออก ไม่เท่ียง 15)ศึกษาความดบั 16)ศึกษาความสลดั คืน อานาปานสติมาใชน้ าไปสู่การ ปฏิบตั ิวิปัสสนา ปฏิบตั ิถึงที่สุด บรรลุ การทาอานาปานสติ เป็ นจุดเริ่มตน้ โยงสู่สติปัฏฐาน 4 เป็ นวิธีการ ปฏิบตั ิเหมาะสม ตามเห็นความไม่เท่ียง หายใจเขา้ หายใจออก เห็นชดั เจน เห็นจากของจริง เจริญวิปัสสนา เกิดดบั กาหนดลมหายใจเขา้ ออก ทุกคร้ัง 4) กำยำนุปัสสนำ ต้ังสติกำหนดพิจำรณำ กำยตำมดูรู้ทันกำย ร่ำงกำยมีควำมเคลื่อนไหวเป็ นไป กายานุปัสสนา ต้งั สติตามรู้ทนั กาย กายส่วนไหนตามดูรู้ทนั 1)ลมหายใจ เขา้ ออก 2)อิริยาบถเคล่ือนไหว ยืน เดิน นั่ง นอน ให้มีความรู้สึกตวั ทวั่ พร้อม “สัมปชญั ญะ” เคล่ือนไหว อะไรให้รู้ตวั ไปหมด อิริยาบถ 4 ยืน เดิน น่ัง นอน สัมปชัญญะ ตามดูรู้ทนั รู้ตวั ทว่ั พร้อมทุกอย่าง การ เคล่ือนไหว เนน้ ปัญญา อย่ทู ่ี สัมปชญั ญะ สัมปชญั ญะ การมีความรู้ตวั ทว่ั พร้อมในการเคลื่อนไหว เนน้ การ

719 เคลื่อนไหวยอ่ ยๆ ทาความรู้ตวั ทวั่ พร้อม อิริยาบถ ยืน เดิน นง่ั นอน เดินไปก็รู้ชดั ยนื ก็รู้ชดั นอนก็รู้ชดั รู้การ เคล่ือนไหว การต้งั อยอู่ ยา่ งไร วิธีสมถะ การใชเ้ ทคนิค การพูดในใจ “การบริกรรม” 2)ฐำนเวทนำนุปัสสนำ สรุปไดว้ า่ 1) เวทนำนุปัสสนำสติปัฏฐำน คือ เวทนำ+อนุปัสสนำ เวทนา การ ต้งั สติตามดูรู้ทนั สุขทกุ ข์ ในจิตของเรา เวทนา จุดหวั ต่อ โลกภายนอก เขา้ ตอ่ วิถีชีวติ จิตใจ เวทนานุปัสสนา ต้งั สติตามดูรู้ทนั สุข ทุกขร์ ่างกาย มีความสุขสบาย เฉยๆ ความรู้สึกอาศยั อามิส รูป เสียง กลิ่น รส เวทนามี ความสาคญั มากากบั กระตุน้ เวทนานุปัสสนา จะทาปี ติ หายใจเขา้ ออก จะรู้ชดั จิต จิตตสังขาร ผ่อนระงบั จิต สังขาร หายใจ ควบคุมไดท้ ้งั ปี ติ ความสุข ควบคมุ เวทนา ปรุงแตง่ กาหนดเวทนา มองดู สุข ทกุ จ์ เฉย สภาพ จิตท่ีมีการเปล่ียนแปลงเวทนา ชอบใจ ไม่ชอบใจ ราคะ โทสะ ฝึ กบงั คบั เวทนาให้เป็ นไปตามตอ้ งการได้ ปรุงแตง่ จิต ชอบ รัก ชงั เกลียด กลวั ส่ิงท้งั หลาย ปฏิบตั ิตอ่ จาหมายไว้ 2) เวทนำนุปัสสนำศึกษำรู้ชัดจติ จติ สังขำร ระงับจิตสังขำร หำยใจเข้ำ หำยใจออก “จิตสงั ขาร” หมายถึง เวทนาและสัญญา มีอานาจ ปรุงแตง่ จิต มีคุณ มีโทษ จิตสังขาร ในเวทนา เป็ นสัญญาปรุงแต่งจิตใต เปลี่ยนอารมณ์ “กายสังขาร” สาเร็จ ปี ติ สุข เกิดข้ึน กาหนดลมหายใจ เขา้ ออก รู้ชดั “เวทนา” พร้อมท้งั เสวย ปี ติ สุข ชีวิตองคป์ ระกอบขนั ธ์ 5 รูปขนั ธ์ นามขนั ธ์ “เวทนา” เกิดข้นึ กาหนดหมาย และความจา “สัญญาขนั ธ”์ รับรู้การทางานขนั ธ์ 5 สุขทุกข์ ขอ้ มูล ความคิดการไดย้ นิ อาศยั ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ให้สัมผสั กบั การปฏิบตั ิ อายตนะแดนต่อความรู้ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ รับรู้ต่อโลกาภายนอก 3) มีควำมรู้ชัดเวทนำท่ีเป็ นได้เสวยปี ติสุขหำยใจเข้ำออกรู้ชัด ศึกษาและ ฝึ กหัด การใช้เวทนารู้ชดั จิตสังขาร ควบคุมในการใชป้ ัญญา ควบคุม เวทนา ศึกษาผ่อนระงบั “จิตสังขาร” หายใจเขา้ หายใจออก บงั คบั ควบคมุ เวทนา ปรุงแต่งจิต มากาหนดจิตใจ โดยผา่ นเวทนา 3) ฐำนจิตตำนุปัสสนำ สรุปไดว้ า่ 1) จิตตำนุปัสสนำสติปัฏฐำน คือ จิต+อนุปัสสนำ จิตเป็นสมาธิ โยงวิปัสสนา ใช้ปัญญาพิจารณา “เชื่อมโยง” โยงสมถะ เขา้ กับ วิปัสสนา สติปั ฏฐาน 4 ตวั ทางานสาคญั วิปัสสนา สติปัฏฐาน มีสภาพจิต 16 อยา่ ง ดูจิตตามสภาพ 2) จิตตตำนุปัสสนำ ศึกษำ จะรู้ชัด “จิต” หำยใจ เข้ำหำยใจออก ดูเวทนำที่จติ ใจดูสภำพจิตใจ ขณะน้นั เป็ นอย่ำงไร เอาจิตหดั ไว้ ดูสิ่งท้งั หมดเป็นอนิจจงั เห็น ทุกขงั อนัตตา เห็นการเกิดดบั เห็นสภาวธรรม เป็ นไปตามเหตุปัจจยั กายรวม สัมพนั ธ์กบั ลมหายใจ (กาย ยอ่ ย) จิตตานุปัสสนา ศึกษาวา่ รู้ชดั จิต หายใจเขา้ ออก จิตบนั เทิง จิตต้งั มน่ั เปล้ีองจิต หายใจเขา้ หายใจออก วิธีปฏิบตั ิสมถะ ให้จิตเป็นสมาธิ “สมาธิ” ตอ้ งการ “สมถะ” จิตเกิดสมาธิ ใชง้ านทางปัญญา สมถะ อาศยั สติ เป็นตวั นา สติสาคญั ในการบาเพญ็ สมาธิ สติอาศยั สมาธิ ดึงอารมณ์ให้พิจารณา วิปัสสนาอาศยั “สมาธิ” สติ เป็นตวั ทางานชดั เจน เปล่ียนแปลงอารมณ์ จิตน่ิงแน่ว การฝึกสมาธิ เร่ิมตอ้ งดว้ ย “สติ” ใหม้ องดู วิธีฝึกสมาธิ สติตวั ดึงไว้ จิตอยู่ตวั ได้ เป็ นสมาธิ อุปมาววั พยศ อยู่ป่ า ตอ้ งเอาเชือกมาผูกมนั ไวก้ บั หลกั ววั พยศ1 หลกั 1 เชือก1 ววั พยศเปรียบจิตไปฟุ้งซ่าน ไปเรื่อยๆ ตอ้ งให้ววั อยู่กบั หลกั เอาเชือกมาผูก เชือกเปรียบเป็ นสติ ดึง เชือก ววั พยศหนีไปเชือก ดึงทุกที สติเป็นตวั ดึงเชือกไว้ ในที่สุดหมอบอยู่กบั หลกั คือ สมาธิ เชือกเปรี ยบ เป็นสติ หลกั คือ ส่ิงท่ีจิตกาหนด อารมณ์ หมายถึง ความรู้สึกในใจ ศึกษาความดบั หมดไป ดูตามสภาวะเป็น ประสบการณ์ ภายในจิตใจ จิตมีลกั ษณะ 3 ประการ 1)ทาจิตให้มีกาลงั แข็งแรง 2) ทาให้จิตใสเหมือนน้า ต้งั อยู่ที่สงบนิ่ง 3)ทาจิตสงบ ดูธรรมส่ิงที่ดีชวั่ ในจิตใจ สภาพความเป็ นจริงเกิดข้ึน ต้งั อยู่ ดบั ไป กาหนด

720 พิจารณาผ่านมา มองตามความเป็นจริง ใชป้ ัญญา ฝึ กหดั ควบคุม จิตสังขาร ชดั จิตสังขาร รู้ชดั สภาพความ เป็นไป ปี ติ สุข เกิดในใจ รู้สภาพจิตใจตามที่เป็ นขณะน้นั จิต 16 อย่าง 3) จิตตำนุปัสสนำ กำรต้ังสติรู้ทัน สภำพจิตใจต่ำงๆ เศร้ำหมอง ผ่องใส ตำมดูรู้ทัน กำหนดอำรมณ์ปัจจุบัน จิตภาวนาเป็ นสมถะ มุ่งทาให้จิต สงบเป็นหลกั จิตรวม ให้จิตมีอารมณ์หน่ึงเดียว สมาธิเป็นแกนสมถะ ไดส้ มาธิ ปฏิบตั ิเอาจิตให้แน่แน่ว ได้ สมาธิ แลว้ โอนมาวปิ ัสสนา เอา ฌาน สมาบตั ิ ใชจ้ ิตเป็ นสมาธิบริบรู ณ์ เป็นอปั ปานาสมาธิ จิตตานุปัสสนา รู้ ชดั “จิต” หายใจเขา้ หายใจออก ทา “จิต” ให้บนั เทิง จะต้งั จิตมนั่ จะเปล้ืองจิต ทาจิตใหเ้ ป็นบนั เทิงหายใจเขา้ ออก เป็ นไปตามสภาพที่ตอ้ งการ เลือกสภาพ ปี ติ ปราโมชย์ มีความสุข ฝึ กจิตบนั เทิงได้ สัมมาสมาธิ เป็ น ความต้งั มนั่ ของจิตชอบที่ถูกตอ้ ง มีจิตเป็ นสมาธิ เป็ นตวั รองรับอารมณ์ตลอด สมาธิตวั ทางานวิปัสสนา สติปัฏฐาน เป็นการต้งั สติ เอาสติมาใชเ้ ป็นตวั เดิน ปฏิบตั ิปัญญาภาวนา จิตตภาวนา แสดงวา่ ส่ิงซ่ึงเป็นที่ต้งั สติ จิตสังขาร” จิตหัดเป็ นอิสระ ทาจิตหลุดพน้ ศึกษาปลดเปล้ืองจิต ผ่อนระงบั “จิตสังขาร” หายใจเขา้ หายใจออก เราบงั คบั ควบคุม เวทนาได้ ทาจิตให้บนั เทิง ควบคุมจิตให้เขา้ ไปสภาวะที่ดี สภาพท่ีบนั เทิง ปราโมชย์ ร่าเริง เบิกบาน มีสภาพที่ดี ตามปี ติ สุข ปัสสัทธิ เปล้ืองจิต หายใจเขา้ หายใจออก หัดปล่อย พยายามทาจิต ใหม้ ีอิสระ เสรีภาพ 4)ฐำนธรรมำนุปัสสนำ สรุปไดว้ ่า 1) สติปัฏฐำน 4 หมำยถึง กำรต้ังสติ เอำสติเป็ นตัวเด่น ส่ิงเป็ น ท่ีต้ังสติ ส่ิงที่ถูกพิจำรณำ สติปัฏฐาน 4 มีสติและปัญญา สติปัฏฐาน 4 จดั อารมณ์ส่งปัญญาพิจารณา ฝึ กสติ ปัฏฐานให้ไปทางาน สติสัมพนั ธ์กับปัญญา ทางานดว้ ยกนั อาศยั สติ ต่ออารมณ์วิปัสสนา วิริยะ ใช้กาลงั สาคญั สติปัฏฐาน อนุปัสสนาเป็นตวั ปัญญา สติประธาน เบิกตวั องคธ์ รรมขอ้ อ่ืนๆ ป้อนอารมณ์ปัญญา มา “อนุปัสสนา” หมายถึง ปัญญาตามดู ตามเห็น เห็นอยเู่ ร่ือยๆ ไม่คลาดสายตาไปได้ ตามดูรู้ทนั “การต้งั สติ” 1) การที่สติเป็นไปต้งั อยู่ ไปกาหนดอารมณ์ 2)สติกากบั อารมณ์ 3)เอาสติมาวางเป็ น ปัฏฐาน 4)เจริญวิปัสสนา ภาวนา เอาสติมาต้งั เป็นประธาน มาร่วมสนบั สนุน อนุปัสสนา คือ ตวั ปัญญา สติเป็นตวั เบิกตวั ดวงธรรมขอ้ อื่น เป็ นผูป้ ้อนอารมณ์ให้ปัญญา อนุปัสสนา คือ ตามดูตามเห็นอยู่เร่ือย ไม่คลาดสายตา ตามดูรู้ทนั สติ เหมือนทวาร คนเฝ้าประตู “วิปัสสนาภาวนา” ตัวมุ่งอยู่ที่ “ปัญญา” เห็นส่ิงท้ังหลายตามความเป็ นจริง ธรรมำนุปัสสนำสติปัฏฐำน คือ ธรรม + อนุปัสสนำ “สติ” เป็นตวั จบั ยดึ กาหนด ดึง(ระลึก) ตรึก สิ่งท่ีผา่ น มาผา่ นไป 1)ดีงมนั ไป 2)สิ่งที่ผา่ นไปแลว้ อยใู่ นความทรงจา ดึงออกมาจากความทรงจา มาอยตู่ อ่ หนา้ 2) สติ ปัฏฐำน คือ กำรทำสติให้สติมำเฝ้ำดูแล สติต้ังเป็ นประธำนคอยดูแลทำงำนแท้จริง คือ “ปัญญำ” เห็นคาว่า “อนุปัสสนา” ปัญญาทางานควบคู่กับ “สติ” สติปัฏฐาน 4 แปลว่า การต้งั สติกาหนดอารมณ์ เพ่ือปัญญา พิจารณา สติปัฏฐาน ยกเอาตวั ทางานองค์ธรรม สติคู่กับสัมปชัญญะ สติเป็ นตวั นาหน้าปัญญา เป้าหมาย วิปัสสนา คือ ปัญญา วิธีการปฏิบตั ิต่างกนั แกนรวมกนั บางอยา่ ง “ใชส้ ติ” ปัญญาทางานกบั สติ สติจบั อารมณ์ ปัญญา “สมั ปชญั ญะ” เป็นปัญญาใชเ้ ฉพาะหนา้ องค์ธรรมสำคัญ 3 ตวั ได้แก่ 1) เพยี ร 2)สติ 3)สมำธิ สติปัฏ ฐาน เป็ นท้งั สมถะและวิปัสสนา ใช้ไดท้ ้งั จิตภาวนาพร้อมปัญญาภาวนา สติปัฏฐาน จิตสงบเป็ นอารมณ์ ปัญญารู้เท่าทนั ความจริง ไดส้ มาธิและปัญญา จิตลึกซ้ึง 3) หลกั คือ กำรต้งั สติ กำรที่สติเข้ำไปต้ังอยู่ กำหนด อำรมณ์อยู่ เอำ “สติ” มำเป็ นประธำนปฏิบัติ “ปัญญำภำวนำ” การฝึ กสมาธิ ตอ้ งเร่ิมดว้ ยสติ สติไม่ทางาน

721 สมาธิจะมาไดอ้ ย่างไร สมาธิ ทาให้จิตมีกาลงั 1)พลงั แข็งแรง 2)จิตใจ สงบน่ิง 3)จิตสงบ สติช่วยให้เกิด สมาธิ พาสมาธิไปเริ่มสมถะ เกิดปัญญา สติมำเป็ นประธำน สติพาเอาปัญญามาทางาน “สมาธิ” เป็ นเพียง หลกั รองรับอยู่ สมาธิเกิดความรู้ตวั เคลื่อนไหว เพียรมีสติ จบั เอาไว้ สติ คือไม่ประมาท มีสติกาหนดอยู่ อาการเป็ นอยู่ คุณสมบตั ิองคธ์ รรม สติเป็ นตวั ปัญญา พิจารณาอะไร เอาให้ “จิตดู” ดูดว้ ยตาปัญญา จิตรับรู้ เรียกว่า อารมณ์ท่ีต้งั การทางานวิปัสสนา วิธีกรรมฐาน สมถะ วิปัสสนา จุดร่วมกัน คือ จุดต้งั ตน้ “สติ” กระบวนการปฏิบตั ิ สาเร็จผล องคธ์ รรม สติประสานกนั พอดี สมาธิเพ่ือปัญญา วิธีปฏิบตั ิ 1)สมถะนาหนา้ สมาธิแนบแน่น วิปัสสนาตามหลงั 2)วิปัสสนาไปก่อน แลว้ ต่อทาสมาธิทีหลงั สติช่วยสมาธิสติตามเอง เอา วิปัสสนานาหน้า เอาสมถะตามหลงั 3) ทาควบคู่กนั ไป ท้งั สมถะและวิปัสสนา ให้เห็นความสัมพนั ธ์กนั สมถะวปิ ัสสสนา มีความยดื หยนุ มาก ความสมั พนั ธ์ระหวา่ ง สมถะและวิปัสสนา เห็นจุดเช่ือมโยง 4) สตปิ ัฏ ฐำน เน้นสติ เริ่มต้น ฝึ กเข้มข้น กลำยเป็ นสติสัมโพชฌงค์ ธรรมานุปัสสนา ต้งั สติ ตามดูรู้ทนั ธรรม นิวรณ์ รู้ทนั ขนั ธ์ 5 อายตนะ 6 คู่ ต้งั สติตามดูรู้ทนั เขา้ ใจ โพชฌงค์ 7 อริยสัจ 4 ขยายค่อยๆ ไป เขา้ สู่รายละเอียด ธรรมานุปัสสนาสติปัฏฐาน ศึกษาตามเห็นความไมเ่ ที่ยง เกิดข้นึ ต้งั อยู่ ดบั ไป ธรรมนุปัสสนา ตามเห็นความ ไม่เที่ยงหายใจเขา้ หายใจออก ความคลายออก เห็นความดบั ไป จะตามเห็นความสลดั คืนไป เห็นจากของ จริงท่ีปรากฏ เอาจิตท่ีหดั ไวด้ ี ดูสภาพธรรมะ เห็นอนิจจงั เห็นทุกขงั เห็นอนตั ตา สมถะไปใหไ้ ด้ ญาณ ธรรมา นุปัสสนา จิตใจไดน้ ึกไดค้ ิด ดีชวั่ ในจิตใจตามดู รู้ทนั จิต องค์ธรรม 7 อย่ำง 1)สติ 2)ธรรมวิจัย 3)วิริยะ 4) ปัสสัทธิ 5) ปี ติ 6) สมำธิ 7)อเุ บกขำ เป็ นโพชฌงค์ 7 ธรรมวิจยั ยะสมั โพชฌงค์ เฟ้นธรรม วจิ ยั ธรรม ปัญญาชดั คม สติต่อปัญญา เป็ นธรรมวิจยั เป็ นการเลือกเฟ้นธรรม สติส่ังข้อมูลมา องค์ประกอบการตรัสรู้ เป็ น โพชฌงค์ 7 สติสัมโพชฌงค์เขม้ แข็ง องคธ์ รรมแห่งการตรัสรู้ ไดอ้ าศยั “สติ” ทางานอย่างโพชฌงค์ องค์ ธรรมโพชฌงค์ 1) สติ ระลึกไดเ้ ป็นผูเ้ บิกองคธ์ รรมพิจารณา 2)ธรรมวิจยั เลือกเฟ้นธรรม 3) วิริยะ 4) ปี ติ 5) ปัสสัทธิ ผอ่ นคลาย 6)สมาธิต้งั มน่ั 7)อุเบกขใจเป็นกลาง สัมโพชฌงค์ 7 ส่งงานให้ปัญญา โพชฌงค์ 7 สติ มี ความสัมพนั ธ์กับสติปัฏฐาน 4 เอามาให้ปัญญาวินิจฉัย ปี ติสัมโพชฌงค์ ความอ่ิมใจ ปล้ืมใจ เกิดสภาวะ ภายในจิตใจ ปัสสทั ธิ ความผอ่ นระงบั กายใจ นาความสุข ความต้งั มนั่ สงบ เป็นอารมณ์ องคธ์ รรม อเุ บกขา วางทุกสิ่ง จิตวาง ทุกอย่างลงตวั วิริยะ ความเพียร เป็ นอาตาปี เอำขันธ์ 5 เพียงอย่ำงเดียวโยงไปท้ังหมด ขนั ธ์ 5 อายตนะ ธาตุ อินทรีย์ อริยสัจ ปฏิจจสมุปบาท องคป์ ระกอบ 5 กอง ชีวิต )รูปขนั ธ์ คือ กองรูป เป็น รูปธรรม ธาตุ 4 2)เวทนาขนั ธ์ เป็นความรู้สึกสุข ทกุ ข์ เฉยๆ เรียกวา่ “เวทนา” 3)สญั ญาขนั ธ์ ความจาไดห้ มาย รู้ ข้อมูลความรู้ กาหนดหมาย จาหมายไว้ เป็ นข้อมูล ความรู้ 4) สังขารขันธ์ กระบวนการคิดปรุงต่าง คุณสมบตั ิจิตใจ มีเจตนาเป็นตวั นา ประชุมปรุงแตง่ กระบวนการคิด 5)ความรับรู้โดยตรง ทางตา หู จมูก ลิน้ กาย ใจ การรู้ส่ิงท่ีเกิดข้ึนในใจ เรียกว่า “วิญญาณ” จิตภาวนาสู่ปัญญาภาวนา ตามวิธีสติปัฏฐาน เชื่อมโยง วิปัสสนา คือ ปัญญาเห็นแจง้ อารมณ์โดยความเป็ น นามรูป อายตนะเกิดมาที่ ขนั ธ์ 5 รวมอยู่ขนั ธ์ 5 อาศยั อายตนะทางาน นามรูป เห็นแจง้ โลกตามความเป็นจริง นามธรรม รูปธรรม เห็นขนั ธ์ 5 ท้งั หลายโดยอาการ อนิจจงั ทุกขงั อนตั ตา5) ปัญญำภำวนำ อยู่กบั สติปัฏฐำน 4 วิปัสสนำต้องกำรปัญญำ หย่ังรู้ถึงควำมจริง ผล วิปัสสนำ เป็ น “ญำณ” ญำณ 16 อะไรที่กำหนด สติปัฏฐานตามดูรู้ทนั กายเวทนาจิตธรรม ตามดูรู้ทนั 4 ดา้ น

722 จิตภาวนา เป็ นเจริญสมถะภาวนา ทาให้สงบใจ ญาณ 16 ความหยง่ั รู้ ญาณท่ีเกิดข้ึนแก่ผูเ้ จริญวิปัสสนา ตามลาดับ ต้งั แต่ตน้ จนถึงที่สุด 1. นามรูปปริจเฉทญาณ รู้ว่าสิ่งท้งั หลายมีแต่รูปธรรมและนามธรรม 2. ปัจจยปริคคหญาณ รู้วา่ รูปธรรมและนามธรรมท้งั หลายเกิดจากเหตุปัจจยั 3. สัมมสนญาณ รู้ดว้ ยพิจารณา เห็นนามและรูปโดยไตรลกั ษณ์ 4.อทุ ยพั พยานุปัสสนาญาณ ตามเห็นความเกิดและความดบั 5. ภงั คานุปัสส นาญาณ เห็นความสลาย 6. ภยตูปัฏฐานญาณ มองเห็นสังขารปรากฏเป็ นของน่ากลวั 7. อาทีนวานุปัสสนา ญาณ พิจารณาเห็นสังขารท้งั ปวงซ่ึงลว้ นตอ้ งแตกสลายไป 8. นิพพิทานุปัสสนาญาณ คานึงเห็นดว้ ยความ หน่าย 9. มญุ จิตกุ มั ยตาญาณ ใคร่จะพน้ ไปเสีย 10. ปฏิสังขานุปัสสนาญาณ คานึงพจิ ารณาหาทาง อุบายท่ีจะ ปลดเปล้ืองออกไป 11. สังขารุเปกขาญาณ เป็นไปโดยความเป็นกลางต่อสังขาร 12. สัจจานุโลมิกญาณ โดย อนุโลมแก่การหยงั่ รู้อริยสัจ คือ เม่ือวางใจเป็นกลางต่อสังขาร 13. โคตรภูญาณ ความหยงั่ รู้ที่เป็นหัวต่อแห่ง การขา้ มพน้ จากภาวะปุถุชนเขา้ สู่ภาวะอริยบุคคล 14. มคั คญาณ หยง่ั รู้ท่ีใหส้ าเร็จภาวะอริยบุคคลแต่ละข้นั 15. ผลญาณ ในอริยผล คือ ความหยงั่ รู้ท่ีเป็ นผลสาเร็จ 16. ปัจจเวกขณญาณ ญาณหยงั่ รู้ด้วยการพิจารณา ทบทวน อภปิ รำยผลกำรวจิ ัย : สมเดจ็ พระพุทธโฆษำจำรย์ (ประยุทธ์ ปยตุ ฺโต) จากการทบทวนวรรณกรรมแนวทางของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ประยุทธ์ ปยตุ ฺโต) จานวน 6 เร่ือง ประกอบด้วย กาญจนา ตน้ โพธ์ิ [1] “กลวิธีการใช้ภาษาในงานประพนั ธ์ของพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)” กาญจนา ตน้ โพธ์ิ[2] “การศึกษาเชิงวิเคราะห์สารัตถะในงานประพนั ธ์ของพระพรหมคุณา ภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)” สมเจตน์ ผิวทองงาม[3] “การแนะแนวเพื่อชีวิตท่ีดีงามในคาสอนของพระพรหมคุณา ภรณ์ (ป.อ.ปยตุ โต)” พระศิลาศกั ด์ิ สุเมโธ(บญุ ทอง)[4] “การสังเคราะห์แนวคดิ ทางสงั คมการเมืองของสมเด็จ พระพุทธโฆษาจารย์ (ประยทุ ธ์ ปยุตฺโต)” พระภาณุวฒั น์ จนฺทวฑฺฒโน(จนั ทาพูน) [5] “การศึกษาวิเคราะห์ เรื่องทกุ ขท์ ี่ปรากฎในงานประพนั ธ์ทางพระพทุ ธศาสนาของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยตุ ฺโต)” พระ ครูปริยตั ิกิตติวิมล (กิตฺติสาโร) [6] “การประกอบสร้างอุปลกั ษณ์มโนทศั น์ในวรรณกรรมของสมเด็จพระ พุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต)” พบว่า โจทยว์ ิจยั เป็ นการศึกษาใชภ้ าษาในงาน ประพนั ธ์ ความทุกข์ การ ประยุกต์ใชห้ ลกั ธรรมเพ่ือชีวิตทีดี คาสอนทางประพนั ธ์ งานวรรณกรรม มโนทศั น์ แนวทางปฏิบตั ิพบว่า การศึกษาการใชภ้ าษาในงานประพนั ธ์เพ่ือสื่อความหมาย ไดแ้ ก่ การซ้า การซ่อนคา การเล่นคา การขนาน ความ วิธีการนาเสนอเน้ือหา การสร้างมโนทศั น์ลกั ษณะโลกิยธรรมหรือโลกุตรธรรม ไดแ้ ก่ ความเหมือน ความต่าง ความขดั แยง้ ความคลอ้ ยตาม ความเป็นเหตุผล สารัตถะการประยกุ ตใ์ ชพ้ ทุ ธรรมดา้ นต่างๆ สร้าง ประโยชน์ต่อการดาเนินชีวิต สอนเรื่องความทุกขท์ างกายทุกขท์ างใจ สอนวิธีการเรียนรู้ตามหลกั อริยสัจ 4 ปัญญาระดบั สัมมาทิฏฐิ ชีวิตท่ีดีงามถูกตอ้ งตามเหตปุ ัจจยั พยายามฝึกฝนพฒั นาตามแนวทางไตรสิกขา สรุป แนวทางสมเดจ็ พระพุทธโฆษาจารย์ (ประยุทธ์ ปยตุ ฺโต) สอนเร่ืองความทุกข์กายทุกข์ใจ สอนวิธีการเรียนรู้ ตามหลักอริยสัจ 4 ปัญญาระดับสัมมาทิฏฐิ ชีวิตที่ดีงามถูกต้องตามเหตุปัจจัย พยายามฝึ กฝนพัฒนาตาม แนวทางไตรสิกขา ตามแนวทางฐานธรรมนาทาง หลักอริยสัจ 4 มรรค 8 ให้มีความรู้และความเข้าใจเพ่ือ

723 นาไปสู่การปฏิบัติตามหลักมหาสติปัฏฐานเน้นฐานธรรมนาทางไปสู่ฐานอ่ืนๆ ฐานธรรมเป็นความคิดในจิต บนกาย แสดงออกเวทนารู้สึกทางกาย 5.12.3 ข้อเสนอแนะกำรวจิ ัย : สมเด็จพระพทุ ธโฆษำจำรย์ (ประยุทธ์ ปยตุ ฺโต) คาสอนท่านคุณค่าเป็ นอย่างย่ิง ในการศึกษาท้งั ภาคทฤษฎีและการปฏิบตั ิ น้าเสียงคาสอนมีความ ชดั เจนในองคค์ วามรู้เป็ นอยา่ งย่ิง ภาษามีความทนั สมยั และเป็ นปัจจุบนั คุณค่าคาสอนท่านเหมาะสมนาไป ศึกษาในยคุ สมยั ปัจจุบนั ความเป็ นเหตุเป็ นผล ภาษาคาสอนเป็ นปัจจุบนั อา้ งอิงการพิสูจน์ไดต้ ามหลกั การ หนงั สืองานเขยี นท่านจานวนมากมายหลายหลายความรู้ โดยเฉพาะตาราอา้ งอิงทางวชิ าการพระพทุ ธศาสนา ไดร้ ับการอา้ งอิงจานวนมากในการศึกษาทางพระพทุ ธศาสนา ศึกษางานทา่ นยอ้ นเขา้ ไปสู่อดีตคาสอนครูบา อาจารยท์ ่านอื่นได้ เพื่อค้นหาความหมายในประเด็นสาระต่างๆ เพื่อจะอธิบายการศึกษาปฏิบัติจากมุม ปัจจุบนั ไปสู่อดีตได้ ตอนที่ 5.2 สรุปผลกำรศึกษำกำรสกดั หลกั ควำมเป็ นสำกลเร่ืองมหำสตปิ ัฏฐำน จากผลการศึกษาหลกั ความเป็ นสากลเก่ียวกบั เรื่องมหาสติปัฏฐาน จากคาสาคญั “Mindfulness” และ “Meditation” ผา่ นช่องทาง YouTube จานวน 27 คลิปขอ้ มูล (รหั สB1-B27) ดงั แสดงผลการศึกษาจาก ตารางที่ 4.13.1 ถึง ตารางที่ 4.13.27 นามาวิเคราะหเ์ พ่อื หาขอ้ สรุปผลการศึกษาภาพรวม ดงั ต่อไปน้ี แผนภาพท่ี 5.13.1 กระบวนการสกดั หลกั ความเป็นสากลมหาสติปัฏฐาน สรุปกำรสกดั หลกั ควำมเป็ นสำกลเร่ืองมหำสตปิ ัฏฐำน

724 ภาพท่ี 5.13.2 แผนท่ีความคดิ การสกดั หลกั ความเป็นสากลตามแนวทางมหาสติปัฏฐาน 5.13.1 สรุปผลและอภิปรำยผล : หลกั ควำมเป็ นสำกล จากผลการศึกษาหลกั ความเป็ นสากลเร่ืองมหาสติปัฏฐาน สรุปผลการศึกษา จาแนกตามลกั ษณะ ฐาน ฐานกาย ฐานเวทนา ฐานจิต ฐานธรรม ขอ้ สรุปพบวา่ 1) ฐำนกำย สรุปไดว้ า่ องคป์ ระกอบ 1) ฐำนกำย : เทคนิคกำรหำยใจ วิธีการ มุ่งเนน้ การหายใจ ท่อง บนความรู้สึกของลมหายใจ รู้สึกถึงลมหายใจเขา้ ออกจากร่างกาย รู้สึกถึงลมหายใจขณะท่ีไหลเขา้ และออก เนน้ การรับรู้ความรู้สึกที่รูจมูกขณะหายใจ สูดลมธรรมชาติหายใจเขา้ ออก แนวทางใช้ลมหายใจเป็นจุดยดึ พ้ืนฐานสมาธิ รับรู้ลมหายใจ เนน้ หายใจเป็นหลกั สังเกตลมหายใจธรรมชาติ สนใจทอ้ งเพ่ือดูลมหายใจ สติ เป็ นการทาสมาธิเน้นความสนใจปัจจุบันบนลมหายใจ สังเกตลมหายใจกับร่างกาย ลมหายใจเช่ือมโยง ร่างกายและจิตใจ ความรู้สึกในร่างกายเดินยืนหายใจ รับรู้ลมหายใจไปทวั่ ร่างกายผา่ นจิตใจ วตั ถุของสติคือ ลมหายใจ การแนะนาการใชล้ มหายใจ กลบั มาท่ีลมหายใจ จิตใจเดินทางออกไปนากลบั มาท่ีลมหายใจ จิตใจ หลงทางให้กลบั มาที่ลมหายใจ พ้ืนฐานจากลมหายใจ พฤติกรรมสมอง สติหมายถึงรักษาความต่อเน่ืองลม หายใจ 2) ฐำนกำย : รู้สึกกำรรับรู้ร่ำงกำย สแกนร่างกาย ย้ิมรับรู้ติดต่อทุกส่วนร่างกาย การฝึ กความ ตระหนกั การรับรู้พ้ืนที่ร่างกาย ประสาทสมั ผสั ท้งั หา้ การใส่ใจ ใหค้ วามสนใจประสาทสมั ผสั ท้งั 5 รู้สึกทาง ร่างกายมีอาการเสมอ -ภาษากายชดั เจน อนุภาคเล็กๆ เรียกวา่ กลาปะ ร่างกายมนุษยค์ ือ โลกเคล่ือนไหว ใช้ ชีวิตตามธรรมชาติ ปล่อยวางตามธรรมชาติ ปฏิบตั ิสติไดร้ ับฝึ กฝนนงั่ นอน เดินและยืน ใหค้ วามสนใจทอ้ ง เพื่อดูลมหายใจ ฝึ กสติคืออยู่กับลมหายใจ จิตใจสมองอตั โนมัติ รู้สึกถึงร่างกายมีอยู่ เรียกสัมปชญั ญะ ประสบการณ์จริงในการรับรู้ สัมผสั ถึงการมีอยู่ พิสูจน์ในร่างกายตวั เอง การรับรู้ประสาทสัมผสั ปัจจุบนั ตระหนกั ประสาทสัมผสั อานาจการรับรู้ ประสาทสมั ผสั รับรู้อยา่ งมีสติ วธิ ีการประสาทวทิ ยา สมาธิรูปแบบ

725 หน่ึงฝึ กสมอง เคร่ืองมือประสาทวิทยา ประสาทสัมผสั ทุกวิธีสติคือเร่ิมตน้ วตั ถุทางประสาทสัมผสั การรับรู้ ) ฐำนกำย : วิธีกำรพัฒนำสติ ช่วงเวลาปัจจุบัน การมีสติอย่างปัจจุบนั ช่วงเวลาปัจจุบนั ตลอดเส้นทาง ช่วงเวลาปัจจุบัน สติฝึ กการรับรู้ช่วงเวลาปัจจุบัน สติช่วยชีวิตเป็ นอยู่ปัจจุบัน ปฏิบัติสติเป็ นวิถีชีวิต ประสบการณ์ โดยตรง ฝึกอบรมจิตใจจากประสบการณ์ทางกาย รับรู้ตนเองอยา่ งมีสติ วธิ ีคิดในใจผอ่ นคลาย ร่างกาย ความรู้สึกดว้ ยร่างกาย การปฏิบตั ิของร่างกายดา้ นสติ ออกกาลงั กายผ่อนคลาย ฝี กซอ้ มทุกวนั สติ ทางานอยา่ งไร ออกกาลงั กายสมอง เสริมสร้างกลา้ มเน้ือจิตใจ ทางานกลา้ มเน้ือและซอ้ มทกุ วนั 4) ฐำนกำย : วธิ ีกำรทำงำนสมอง วทิ ยาศาสตร์ทาใหเ้ ขา้ ใจฝึกสมาธิมีผลตอ่ สมองและร่างกาย ฝึกสมองสร้างนิสัย ผลการ ฝึ กสติสัมปชญั ญะต่อระบบสมอง สมาธิเปลี่ยนแปลงโครงสร้างสมอง ป้ันสมองในทุกช่วงเวลาโอกาส ป้ัน ที่ข้นึ อยกู่ บั กิจกรรม ทาแผนท่ีสมองสมาธิ สแกนสมอง สมาธิเป็นรูปแบบฝึกสมองประสบการณ์ซ้าๆ สร้าง สมองเช่ือมโยงการปฏิบตั ิ โครงสร้างสมอง สติเพิ่มหน่วยความจาสมอง การมีสติเปล่ียนแปลงสมอง สมอง มีสติวิเคราะห์ตดั สินใจที่ดี ความสุขสมอง การทาสมาธิส่งผลต่อโครงสร้างสมอง -เปล่ียนแปลงโครงสร้าง สมอง กลา้ มเน้ือสติสร้างสมอง สร้างกลา้ มเน้ือนิสัย สมาธิสร้างกลา้ มเน้ือสติ 2)ฐำนเวทนำ สรุปไดว้ ่า องคป์ ระกอบ 1) ฐำนเวทนำ : ควำมเมตตำสำคัญกำรปฏิบัติ เมตตานิสัย ทางจิตตวั เอง ความรักตวั เอง การรับรู้เมตตา รับรู้เมตตา รักคนรอบตวั อยา่ งไม่มีเงื่อนไข ศึกษาความเมตตา ) ฐำนเวทนำ : พื้นท่ีกำรรับรู้ คล่ืนพลงั งาน รับรู้ธรรมชาติ ความนิ่งเพียงพอ ความเชื่อมต่อ ข้นั ตอนเช่ือมต่อ การรับรู้ การเกิดภาวะ การรับรู้ตนเอง ความรู้สึกรับรู้ตนเอง ตระหนักสิ่งรอบตวั มุมมองแรงจูงใจ วิธีการ สร้างความสุขจากสมาธิ แรงบนั ดาจใจฝึ กสมาธิสร้างความสุข แรงบนั ดาลใจไดร้ ับความสุข การทาสมาธิ กลายเป็ นความสุข ความสุขจากการมีสติ สร้างความรู้สึกความสุข 3) ฐำนเวทนำ : สแกนควำมรู้สึก ความรู้สึกในการรับรู้ร่างกาย ความรู้สึกเชื่อมร่างกายช่วงปัจจุบนั ฝึ กสติดูความรู้สึกท่ีเกิดข้ึน ความสงบ ภายในไม่ตดั สิน ความรู้สึกไม่ตดั สิน ตระหนกั รับรู้ชว่ั ขณะ เขา้ ร่วมความรู้สึกไม่สบายร่างกายไม่ผลกั ความ เจ็บปวด สมาธิดูความรู้สึก ความรู้สึกที่เป็ นจริง สัมผสั ความเป็ นจริง ความชัดเจนประสาทสัมผสั การ เปลี่ยนแปลงสติ รับรู้ทางประสาทสัมผสั รับรู้ความรู้สึกแทจ้ ริง ความเขม้ ขน้ สติ ช่วยเปลี่ยนอารมณ์ สติ เปลี่ยนอารมณ์และสมอง การมีสติเปลี่ยนแปลงชีวิตทางอารมณ์และสมองอย่างไร 4) ฐำนเวทนำ : สัมผัส อำรมณ์ควำมรู้สึก อารมณ์ตะหนกั ถึงความรู้สึก ความเจ็บปวดสอนบทเรียน ความรู้สึกเช่ือมต่อความสุข สมาธิเชื่อมความสุข ความสงบ ผ่อนคลาย ฟุ้งซ่านไม่ตอ้ งผลกั ความคิด สติเป็นการรับรู้ ควบคุมการรับรับรู้ ความรู้สึกไดย้ ินภายใน ไม่ตดั สิน การสัมผสั การรับรู้ตวั เอง มีสติตระหนักความรู้สึกอารมณ์ตวั ตนแทจ้ ริง ปฏิกิริยาอารมณ์ ความสมดุลทางอารมณ์ กลไกการรับรู้ ยอมรับความรู้สึก 5) ฐำนเวทนำ : ควำมสอดคล้อง ภำยในและภำยนอก การรับรู้จิตใจมีความสุขไม่สุข ประสบการณ์ภายในคือความรู้สึกย่ิงใหญ่ ทกั ษะการ เผชิญปัญหาไดเ้ รียนรู้ อา่ นความรู้สึกภายใน เรียนฝึกความคดิ กลายเป็นสติ ของความรู้สึกและอารมณ์

726 3)ฐำนจิต สรุปไดว้ ่า องค์ประกอบ 1) ฐำนจิต : วิธีกำรฝึ กจิตเป็ นระบบ จิตใจและร่างกายสัมพนั ธ์ กนั ทุกสิ่ง ความมน่ั คงจิตใจ ประมวลผลจิตใจภายใน ความสงบ ทาสมาธิทกุ วนั ดว้ ยใจ เห็นโดยไมต่ อ้ งเห็น มองท้งั ชีวิตเป็ นรูปแบบการฝึ กจิต จิตใจลิงรักงาน ให้งานจิตใจลิงมีความสุข จิตใจทุกคนมกั หลงทาง การ พูดกบั ตวั เองเชิงลบ ความสนใจหลงทางนากลบั มาอยู่ปัจจุบนั 2) ฐำนจิต : ควำมเมตตำ ความเห็นอกเห็น ใจความรักความเมตตา เมตตาและใหอ้ ภยั ความรู้สึกเห็นอกเห็นใจ -ความเห็นอกเห็นใจ ความเห็นอกเห็นใจ ความเห็นอกเห็นใจ ความรักเมตตา ความเห็นอกเห็นใจ ความเอ้ืออาทร ความรักความเมตตา รักตวั เอง ยอมรับ ฝึ กความเมตตา ความเห็นอกเห็นใจ 3) ฐำนจิต : พื้นท่ีควำมตระหนักรู้ ตระหนกั รู้ในตนเอง ความ เขา้ ใจตวั เอง พูดกบั ตวั เอง ใส่ใจต้งั ใจ ช่วงเวลาปัจจุบนั ดูแลความคิดและอารมณ์ อารมณ์และความคิดมี อิทธิพลต่อกัน นาอารมณ์ลบมาสู่จิตใจได้ง่าย จิตสานึกสัมผสั ธรรมชาติแท้จริงโดยตรง 4) ฐำนจิต : ประสบกำรณ์ทำงจิต นิสยั จิตผา่ นการทาซ้า ทาแผนท่ีจิตใจนง่ั สมาธิ เรียงลาดบั ภาพความคดิ ในใจ จิตนาการ เห็นเมฆสีขาว ฝึ กสติลดความเจ็บปวด การใชส้ ติเยยี วยา ปรับปรุงการติดสินใจ การรับรู้ธรรมชาติความจริง 5) ฐำนจิต : จิตสำนึกเข้ำถึงผ่ำนสติ ฝึ กจิตใจฝึ กสมองออกจากกระแสความคิด สติเป็นเพียงการเรียนรู้ที่จะ ฝึ กจิตใจ สร้างสติเหมือนกบั การออกกาลงั กายจิตใจ พลงั งานสติมีอานาจ สติเป็นพลงั านยิง่ ใหญ่ สร้างแรง บนั ดาลใจ ปฏิบตั ิสมดุล 6) ฐำนจิต : กำรรับรู้ระดับลึก สมาธิลึกซ้ึงพบความสงบภายใน สภาวะสงบฝึ ก สมาธิ ความสงบสุข ความสุขภายใน หยุดความคิดภายใน การมองอย่างลึกซ้ึง ความรู้สึกจิตใจ สมาธิ เชื่อมต่อการรับรู้ การรับรู้จิตใจ เปลี่ยนแปลงสุขภาพจิต ปฏิบัติจริ งของจิตวิญญาณ จิตวิญญาณ ประสบการณ์ทางจิตวิญญาณ 4) ฐำนธรรม สรุปไดว้ ่า องคป์ ระกอบ 1) ฐำนธรรม : วิทยำศำสตร์กำรทำสมำธิ คน้ ควา้ เก่ียวกบั การทาสมาธิ-ศึกษาวิจยั สมาธิแบบวิทยาศาสตร์ คน้ หาวตั ถใุ นการรับรู้ สติสู่การปฏิบตั ิ ทาสมาธิวิปัสสนาใน ห้องปฏิบัติการ วิทยาศาสตร์การทาสมาธิ ความเข้าใจเป็ นวิทยาศาสตร์ เคร่ืองมือทาง วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีประสาทวิทยา คลื่นการส่ันสะเทือน จกั วาลทางกายภาพ พลงั งาน 2) ฐำนธรรม : กำรเรียนรู้ ฝึ กฝนทีละข้นั ตอน วิธีทาความเขา้ ใจสติจากการฝึ กฝน ฝึ กฝนพลงั แห่งสติเปล่ียนแปลงตนเอง กลไกสมอง เปล่ียนพฤติกรรมเรียนรู้ เรียนรู้วิธีการฝึ กสติ การพฒั นาโปรแกรมการฝึ กอบรม แรงจูงใจ เตือนตัวเอง ความคิดสร้างสรรค์ สร้างแรงจูงใจ สร้างประสบการณ์ สติและวิธีการปฏิบัติสติ แก้ปัญหาในชีวิต ความคิดฝึ กสติรับรู้และปัญญาทางานร่วมกัน การเปลี่ยนแปลงตนเองผ่านสติ ฝึ กฝนไตร่ตรองสมาธิ พฒั นาการฝึ กสติทุกวนั สร้างนิสัยเพ่ือให้นัง่ สมาธิทุกที่ทุกเวลา นัง่ สมาธิทุกวนั มีชีวิตอย่างลึกซ้ึงทุกเวลา ประจาวนั ฝึ กฝนปฏิบตั ิสติในชีวิตประจาวนั ทาสมาธิทุกวนั สร้างการฝึ กสมาธิทุกวนั วินยั ตวั เองสร้างนิสัย สติ 3) ฐำนธรรม : เชื่อมต่อทฤษฏีและวิธีปฏบิ ัติ ประมวลผลทางภาษา ความหมายแทจ้ ริง เขา้ ใจความหมาย แต่ละคา ทาซ้ากบั ตวั เอง ประสบการณ์ชีวิต ความหมายชีวิต รู้ความหมายชีวิตดาเนิน ความคิด การตีความ เชิงลบเชิงบวก สร้างคายืนยนั ทางบวก ความคิดท่ีไม่ตดั สิน การตดั สินเป็ นความหมายลบ แบบจาลอง ประสาทวิทยาการทาสมาธิ สมการความทกุ ขย์ ากในวงจรสมอง การทาสมาธิและกา้ วขา้ มสติ ทาสมาธิดว้ ย สติ ความรู้ความเขา้ ใจตามสติ ความหลากหลายของสติ การประยุกต์ใช้สติ สติรักษาโรคซึมเศร้า เทคนิค

727 การทาสมาธิ รูปแบบพ้ืนฐานสติ เรียนรู้การทาสมาธิอย่างง่าย การฝึ กสติและการทาสมาธิ เทคนิคและ ตวั อยา่ ง แตกต่างกนั รูปแบบโปรแกรมการฝึ กอบรมสติ ทดสอบดว้ ยตวั เอง ชีวิตประจาวนั รูปแบบทาสมาธิ ฝึ กสมาธิทุกวนั ฝึ กฝนให้ลึกซ้ึง ใชเ้ วลาทาสมาธิ วิธีฝึ กสมาธิในรูปแบบต่างๆ การปฏิบตั ิสมาธิท่ีหลากหลาย ทาสมาธิเหมือนงานศิลปะ สนใจใส่ใจ วตั ถุการทาสมาธิ การฝึ กสมาธิหลายรูปแบบเทคนิควิธีการต่างๆ 4) ฐำนธรรม : ปฏิบัติสมำธิพระพุทธศำสนำ สติปัฏฐาน การจดั ต้งั สติ 4 อยา่ งเป็นกรอบความจริง สติปัฏฐาน เป็นรากฐานการจดั ต้งั สติ 4 อยา่ ง ประสบการณ์ความเป็นจริง ดา้ นกาย ดา้ นจิตใจ มองสิ่งต่างๆ ตามที่เป็ น จริงไมต่ ดั สิน สติสนใจความเป็นจริง การมีสติทาสมาธิดว้ ยสติ การทาสมาธิอยา่ งมีสติ 5.13.2 ข้อเสนอแนะกำรวจิ ัย : หลกั ควำมเป็ นสำกล 1) จากขอ้ คน้ พบเห็นว่า หลกั การเป็ นสากลเป็ นเร่ืองน่าสนใจศึกษาวิจยั ต่อไปในเชิงงานวิจยั หรือ ทบทวนวรรณกรรมท่ีเกี่ยวขอ้ งเก่ียวกบั การฝึ กสติ และสมาธิในรูปแบบอย่างเป็ นสากล ความยากอยู่ท่ีการ พิสูจน์ได้เป็ นทางวิทยาศาสตร์กายภาพ ตอ้ งอาศยั ศาสตร์ทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ หรือศาสตร์ความเป็ น วิทยาศาสาตร์ เป็นระเบียบวิธีการศึกษาเนน้ การพิสูจน์ไดด้ ว้ ยเหตุผล ความน่าเช่ือถือเป็นอย่างสูง จึงมีความ แตกต่างไปจากการฝึ กสติปัฏฐาน ในแนวทางพุทธศาสนาเถรวาทแบบด้งั เดิม ที่อาศยั ความศรัทธาในครูบา อาจารยเ์ ป็นตวั นาใหเ้ ขา้ ถึงปัญญา ฝรั่งคิดและฝึกปฏิบตั ิอยา่ งเป็นสมถะภาวนา เขา้ ใจงา่ ยใหผ้ ลการปฏิบตั ิเชิง ประยุกต์ใช้ประจาวนั ได้จริง แต่ไม่อาจลึกซ้ึงเป็ นวิปัสสนาภาวนา ความจุดแข็งลกั ษณะความเป็ นสากล ความพิสูจน์ได้อย่างน่าเช่ือถือ ตามกระบวนการศึกษาแบบวิทยาศาสตร์ไม่เป็ นอย่างบา้ นเรา ท่ีศึกษาด้วย ความศรัทธาเป็ นตวั นาทางเช่ืออย่างสุดจิตสุดใจไม่อย่างล่วงละเมิดได้ ความต่างกันมีอยู่มากกับแนวทาง ปฏิบตั ิ และวธิ ีการเขา้ ถึงปัญญาเกี่ยวกบั การปฏิบตั ิ 2) การนาเสนอบทความวจิ ยั เรื่อง “การสกดั หลกั ความเป็นสากลเร่ืองมหาสติปัฏฐาน” โดยผวู้ จิ ยั นา ขอ้ มูลท่ีไดผ้ ลจาการวิเคราะห์วิจยั ไปเรียบเรียงนาเสนอเป็ นบทความวิจยั ต่อไป หรือการเช่ือมโยงประเด็น หรือคาสาคญั ในการวิเคราะหอ์ ธิบายเพมิ่ เติ่มต่อไปไดห้ ลายบทความวจิ ยั

I บรรณานุกรม หนงั สือ มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั . 2539. พระไตรปิ ฎกฉบับภาษาไทยฉบบั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั . มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั . กรุงเทพมหานคร. พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยตุ ฺโต). 2553. พจนานุกรมพุทธศาสตร์ (ฉบับประมวลธรรม) . พิมพ์ คร้ังที่ 18. โรงพิมพเ์ พม่ิ ทรัพยก์ ารพมิ พ.์ นนทบรุ ี. พระราชพรหมยาน (วีระ ถาวโรมหาเถร).2536. รวมคาสอนธรรมปฏิบัติ ของ หลวงพ่อพระราช พรหมยาน (วรี ะ ถาวโรมหาเถร) มหาสตปิ ัฏฐาน 4 . เลม่ ที่ 1 คณะศิษยจ์ ดั พิมพเ์ ป็นธรรมบรรณาการ เน่ืองใน งานบาเพญ็ กศุ ลทกั ษณิ านุสรณ์ ถวาย พระเดชพระคุณหลวงพอ่ พระราชพรหมยาน วนั ท่ี 30 ตุลาคม 2536. วดั จนั ทาราม (ท่าซุง) จงั หวดั อทุ ยั ธานี . พระมหาวีระ ถาวโร. 2516. มหาสติปัฏฐาน 4. จดั พิมพ์เป็ นบรรณาการเนื่องในการฌาปนกิจศพ (นางเรียม เงินดี) วนั ท่ี 22 กรกฎาคม พทุ ธศกั ราช 2516. ณ วดั เพชรสมทุ รวรวหิ าร. จงั หวดั สมทุ รสงคราม . พระมหาวีระ ถาวโร. 2516. มหาสติปัฏฐาน 4. จดั พิมพเ์ ป็นอนุสรณ์ เน่ืองในงานพระราชทานเพลิง ศพ (นายช่วย ชุมพรหม) ณ เมรุวดั มกฏุ กษตั ริยาราม. วนั ที่ 9 ตลุ าคม พุทธศกั ราช 2516. กรุงเทพมหานคร. สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก (เจริญ สุวฑฺตโน). 2556. ฝึ กใจ. อมรินทร์ธรรมะ บริษทั อมรินทร์พริ้นติง้ แอนดพ์ บั ลิซซ่ิง : กรุงเทพมหานคร. สัตยา นารายนั โกเอ็นกา้ . 2541. มหาสติปัฏฐานสูตร ทางสู่ความหลุดพ้น. จากธรรมบรรยายใน หลกั สูตรสติปัฏฐานของท่านอาจารยโ์ กเอ็นกา้ . เรียบเรียงจากธรรมบรรยายโดย แพ็ททริค กิฟเวน-วิลสัน แปลโดยสุทรี ชโยดม. จดั พิมพโ์ ดยมูลนิธิส่งเสริมวิปัสสนากรรมฐานในพระสังฆราชูปถมั ภ์. สานกั พิมพ์ บริษทั พมิ พด์ ี จากดั . กรุงเทพมหานคร. หลวงพ่อเทียน จิตฺตสุโภ. ศุทธดา อชิรกัมพู. รวบรวม. 2554. ธรรมะจากหลวงพ่อเทียน จิตฺตสุโภ. พิมพค์ ร้ังที่ 2 (ฉบบั แกไ้ ข) อมรินทร์ธรรมะ. กรุงเทพมหานคร. พระราชสังวรญาณ . 2559. ธรรมปฏิบัติ และตอบปัญหาการปฏิบัติธรรม โดยพระราชสังวรญาณ . มูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์. พิมพ์คร้ังที่ 4 . โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย. นครปฐม. สุชีพ ปุญญานุภาพ. 2550. พระไตรปิ ฎกฉบับประชาชน. พิมพค์ ร้ังที่ 17. โรงพิมพ์มหามกุฏราช วิทยาลยั กรุงเทพมหานคร. รายงานการวิจยั และวิทยานพิ นธ์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook