Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 64-08-11-คู่มือครู สังคมศึกษา ป.6.-1

64-08-11-คู่มือครู สังคมศึกษา ป.6.-1

Published by elibraryraja33, 2021-08-11 02:47:16

Description: 64-08-11-คู่มือครู สังคมศึกษา ป.6.-1

Search

Read the Text Version

คูม ือครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู (สาํ หรบั ครผู ูส อน) เพอ่ื การจัดการเรยี นรูโดยใชก ารศกึ ษาทางไกลผา นดาวเทียม กลมุ สาระการเรยี นรูสงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ภาคเรียนที่ ๑ ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ (ฉบับปรบั ปรุงครัง้ ท่ี ๒) โครงการสวนพระองคส มเด็จพระกนษิ ฐาธริ าชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี มูลนิธิการศกึ ษาทางไกลผานดาวเทียม ในพระบรมราชปู ถัมภ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน

คูม ือครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู (สาํ หรบั ครผู ูส อน) เพอ่ื การจัดการเรยี นรูโดยใชก ารศกึ ษาทางไกลผา นดาวเทียม กลมุ สาระการเรยี นรูสงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ภาคเรียนที่ ๑ ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ (ฉบับปรบั ปรุงครัง้ ท่ี ๒) โครงการสวนพระองคส มเด็จพระกนษิ ฐาธริ าชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี มูลนิธิการศกึ ษาทางไกลผานดาวเทียม ในพระบรมราชปู ถัมภ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน

ก คาํ นํา ดวยพระบรมราโชบายพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว รัชกาลท่ี ๑๐ ทรงมุงหมายใหการศึกษา บม เพาะสมรรถนะใหแกผ ูเรยี น เพื่อสรา งคุณลักษณะสําคัญ ๔ ประการใหก ับคนไทย อนั ไดแ ก ๑) มที ัศนคติที่ดี และถูกตอง ๒) มีพื้นฐานชีวิตที่ม่ันคงเขมแข็ง ๓) มีอาชีพ มีงานทํา ๔) เปนพลเมืองดี มีระเบียบวินัย และ พระราชปณิธานใน การสืบสาน รักษา พัฒนาตอยอด โครงการในพระราชดําริของพระราชบิดา จึงทรงพัฒนา การศึกษาทางไกลผานดาวเทียม หรือ NEW DLTV ในทุกดาน อาทิ ระบบออกอากาศ อุปกรณเทคโนโลยี บุคลากร และกระบวนการจัดการศึกษา เพ่ือแกปญหาการขาดแคลนครูในโรงเรียนขนาดเล็ก สรางโอกาส การเขาถึงการเรียนรูตลอดชีวิตของประชาชน ทุกเพศ ทุกวัย ผานการศึกษาทางไกลผานดาวเทียมจํานวน ๑๕ ชองสัญญาณ ไปยังโรงเรียนตาง ๆ และผูสนใจทั่วประเทศ เพื่อใหประเทศไทยเปนสังคมแหงปญญามีจิต อาสาในการสรรคสรา งและพฒั นาประเทศใหม น่ั คง การสอนออกอากาศทางไกลผานดาวเทียม ระดับประถมศึกษา ต้ังแตปการศึกษา ๒๕๖๑ เปนตนมา เปนการสอนออกอากาศในแนวใหม บันทึกเทปการสอนจากหองเรียนตนทางของโรงเรียนวังไกล กังวล ในพระบรมราชูปถัมภ ครูปลายทางสามารถดูเทปการสอนผานทางเว็บไซต www.dltv.ac.th และ Application on mobile DLTV ของมลู นธิ ิ และมคี มู ือครแู ละแผนการจัดการเรียนรรู ายชวั่ โมงครบทง้ั ๘ กลุม สาระการเรียนรู ซ่ึงครูปลายทางสามารถปรับกจิ กรรมการเรยี นรใู หเหมาะสมกบั ชุมชน ทอ งถ่ิน วัฒนธรรม และ บริบทของแตล ะโรงเรียน คูมือครูและแผนการจัดการเรียนรู โดยใชการศึกษาทางไกลผานดาวเทยี ม ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี ๑ ฉบับน้ี เปนการปรับปรุงคร้ังที่ ๒ ซึ่งดําเนินการโดยมูลนิธิการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม ในพระบรมราชูปถมั ภ โดยความรวมมือจากคณะทํางาน ประกอบดว ย สาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้น พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ คณาจารยจากมหาวิทยาลัย ศึกษานิเทศก และครูผูเชี่ยวชาญ ท้ัง ๘ กลุมสาระ การเรียนรู เพ่ือใหครูปลายทางใชในการเตรียมการสอนลวงหนา รวมท้ังสามารถจัดเตรียมเอกสาร ไดแก ใบงาน ใบความรู แบบฝกหัด เพื่อใหการจัดการเรียนการสอนเกิดประสิทธิผล นําไปสูการพัฒนาคุณภาพ การจดั การศกึ ษาของโรงเรยี นประถมศึกษาขนาดเล็กตอไป นับเปนพระมหากรุณาธิคุณอยางหาท่ีสุดมิได ที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงมุงมั่นพัฒนา ยกระดับคุณภาพการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม เพ่ือพัฒนาสังคมไทยและยกระดับคุณภาพของคนไทยให เขม แข็ง สมดัง พระราชปณธิ าน “...การศึกษาคอื ความมั่นคงของประเทศ...” ขอพระองคท รงพระเจริญ มูลนธิ กิ ารศกึ ษาทางไกลผา นดาวเทยี ม ในพระบรมราชปู ถมั ภ



สารบญั ค คาํ นาํ ก หนังสือรบั รองความรวมมอื การพฒั นาคมู อื ครแู ละแผนการจดั การเรียนรู ข เพ่ือการสอนออกอากาศทางไกลผานดาวเทียม ค ช สารบญั 1 คาํ ชแ้ี จงการรบั ชมรายการออกอากาศดวยระบบทางไกลผา นดาวเทยี ม 2 ตอนท่ี 1 วิชาสังคมศกึ ษา 11 12 คําชแี้ จงรายวชิ าสงั คมศกึ ษา ช้นั ประถมศกึ ษาปท ี่ 6 ภาคเรียนที่ ๑ 13 คาํ อธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี 6 15 19 มาตรฐานการเรยี นร/ู ตัวชี้วดั 31 42 โครงสรา งรายวชิ าสังคมศกึ ษา ชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ 6 ภาคเรียนที่ ๑ 51 62 หนว ยการเรียนรทู ี่ ๑ เรื่อง สนิ คาและบรกิ าร 75 แผนการจัดการเรยี นรทู ี่ ๑ เรอ่ื ง การผลติ สนิ คา และบรกิ าร 88 แผนการจดั การเรียนรูท่ี ๒ เรอ่ื ง บทบาทของผูผลิต 99 แผนการจัดการเรยี นรทู ่ี ๓ เรอื่ ง บทบาทผูบ ริโภค 111 แผนการจดั การเรยี นรูท่ี ๔ เรอื่ ง ปจ จยั การผลิต 124 แผนการจดั การเรยี นรทู ี่ ๕ เรอ่ื ง ปจ จยั กําหนดความตองการในการซ้อื สนิ คา 134 แผนการจัดการเรยี นรูที่ ๖ เรอ่ื ง ปจจยั กําหนดความตองการในการขายสนิ คา 146 แผนการจดั การเรยี นรทู ี่ ๗ เรอ่ื ง ตลาด 158 แผนการจดั การเรยี นรทู ่ี ๘ เรอ่ื ง เคร่อื งหมายรับรองคณุ ภาพสินคา 167 แผนการจัดการเรยี นรทู ่ี ๙ เรอ่ื ง การเพิ่มมูลคาในสินคา และบรกิ าร 179 แผนการจัดการเรยี นรทู ่ี ๑๐ เรอ่ื ง ลักษณะสนิ คาและบริการของไทย แผนการจัดการเรยี นรูที่ ๑๑ เร่ือง เศรษฐกจิ พอเพียง 180 แผนการจดั การเรยี นรทู ่ี ๑๒ เร่ือง ความหมายและประโยชนข องทรพั ยากร 184 แผนการจดั การเรียนรูที่ ๑๓ เรื่อง ประเภทของทรพั ยากร 197 แผนการจัดการเรยี นรทู ่ี ๑๔ เรื่อง หลักการและวธิ ใี ชทรพั ยากรใหเกิดประโยชนสงู สุด 206 แบบประเมินตนเอง หนวยการเรียนรทู ่ี ๑ 217 หนว ยการเรียนรทู ่ี ๒ เรื่อง ความสัมพนั ธท างเศรษฐกิจ แผนการจดั การเรียนรูที่ ๑ เรอื่ ง หนว ยเศรษฐกิจ แผนการจัดการเรยี นรูที่ ๒ เรอื่ ง ความสมั พนั ธร ะหวา งหนวยเศรษฐกจิ แผนการจัดการเรยี นรทู ่ี ๓ เรอ่ื ง ภาษี แผนการจดั การเรยี นรทู ี่ ๔ เรอ่ื ง ประเภทของภาษี

ง 226 237 แผนการจดั การเรียนรูท่ี ๕ เรอ่ื ง หนว ยงานที่เกบ็ ภาษี 249 แผนการจดั การเรยี นรทู ี่ ๖ เรอื่ ง สทิ ธิของผบู ริโภค 258 แผนการจัดการเรยี นรทู ี่ ๗ เรอื่ ง หนวยงานคุมครองผูบ รโิ ภค 267 แผนการจดั การเรียนรูท ่ี ๘ เรอ่ื ง สทิ ธขิ องผูใ ชแ รงงานในประเทศไทย 289 แผนการจัดการเรยี นรทู ่ี ๙ เรอ่ื ง การรวมกลมุ ทางเศรษฐกจิ ภายในทองถ่นิ 288 แผนการจัดการเรยี นรูท่ี ๑๐ เร่ือง กลมุ ออมทรพั ย 300 แผนการจัดการเรยี นรูท่ี ๑๑ เร่ือง กลมุ แมบ า น 312 แผนการจดั การเรียนรูท ี่ ๑๒ เรื่อง กองทุนหมบู า น 324 แผนการจัดการเรยี นรูท่ี ๑๓ เรอื่ ง วิสาหกิจชมุ ชน 337 แผนการจัดการเรยี นรทู ่ี ๑๔ เรอื่ ง สหกรณ แบบประเมินตนเอง หนว ยการเรยี นรทู ี่ 2 338 342 หนวยการเรียนรทู ่ี ๓ เร่ือง ตน กลาคนดี 356 แผนการจดั การเรียนรทู ี่ ๑ เรอื่ ง ความหมายและความสาํ คัญของวัฒนธรรม 367 แผนการจดั การเรียนรูท่ี ๒ เรอื่ ง ประเภทของวัฒนธรรม 379 แผนการจัดการเรยี นรูที่ ๓ เรอ่ื ง การเปลย่ี นแปลงของวัฒนธรรม 388 แผนการจดั การเรยี นรูที่ 4 เรอื่ ง มารยาทไทย 1 397 แผนการจดั การเรยี นรูท ี่ 5 เรอ่ื ง มารยาทไทย 2 408 แผนการจัดการเรยี นรูท ี่ 6 เรอ่ื ง วฒั นธรรมไทยภาคเหนือ 420 แผนการจดั การเรยี นรูท่ี 7 เรอ่ื ง วฒั นธรรมไทยภาคตะวันออกเฉียงเหนอื 431 แผนการจัดการเรยี นรทู ่ี 8 เรอ่ื ง วัฒนธรรมไทยภาคกลาง 442 แผนการจดั การเรียนรูท ่ี 9 เรอ่ื ง วฒั นธรรมไทยภาคใต 453 แผนการจดั การเรียนรทู ่ี 10 เรื่อง แนวทางรกั ษาวัฒนธรรมไทย 464 แผนการจดั การเรียนรูที่ 11 เร่อื ง ขอ มลู ขา วสารจากแหลง ตาง ๆ 477 แผนการจัดการเรยี นรูที่ 12 เรอ่ื ง หลกั การเลอื กรบั ขอมูลขาวสารจากสอื ตา ง ๆ 478 แบบประเมินตนเอง หนว ยการเรยี นรูท ี่ 3 บันทึกการเรยี นรู (Learning Logs) 479 483 หนว ยการเรยี นรทู ่ี ๔ เร่ือง สทิ ธเิ ดก็ ไทย 496 แผนการจัดการเรยี นรทู ี่ ๑ เรอื่ ง ความหมายและความสําคัญของกฎหมาย 508 แผนการจดั การเรียนรูท่ี ๒ เรอ่ื ง กฎหมายจราจร 520 แผนการจัดการเรียนรทู ่ี ๓ เรอ่ื ง กฎหมายทะเบยี นราษฎร 532 แผนการจัดการเรียนรทู ี่ 4 เรอื่ ง กฎหมายสารเสพตดิ ใหโ ทษ 544 แผนการจดั การเรยี นรทู ่ี 5 เรอ่ื ง กฎหมายทองถ่นิ 553 แผนการจดั การเรียนรูที่ 6 เรอ่ื ง กฎหมายการหมั้นและสมรส แผนการจัดการเรยี นรทู ่ี 7 เรอ่ื ง กฎหมายมรดกและพินยั กรรม

แผนการจัดการเรียนรทู ี่ 8 เรอื่ ง กฎหมายเก่ยี วกบั บตั รประจําตัวประชาชน จ และการรับราชการทหาร แบบประเมินตนเอง หนว ยการเรียนรทู ี่ 4 565 576 หนว ยการเรียนรทู ี่ ๕ เร่อื ง วิถีประชาธปิ ไตย แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑ เรอ่ื ง การปกครองสวนทองถน่ิ ไทย 577 แผนการจัดการเรยี นรทู ่ี ๒ เรอ่ื ง บทบาทหนาที่ขององคก รปกครองสว นทองถิ่น 581 แผนการจัดการเรียนรูที่ ๓ เรอื่ ง บทบาทหนา ทข่ี องรฐั บาล 592 แผนการจดั การเรยี นรทู ่ี 4 เรอื่ ง การบริหารราชการแผน ดิน 603 แผนการจัดการเรยี นรทู ่ี 5 เรอื่ ง รปู แบบการปกครองในยคุ ปจจบุ นั 613 แผนการจัดการเรียนรูที่ 6 เรอื่ ง กจิ กรรมสง เสริมประชาธิปไตยในทอ งถิ่นและประเทศ 622 แผนการจดั การเรียนรทู ่ี 7 เรอื่ ง การเลือกต้ัง 1 633 แผนการจัดการเรยี นรูที่ 8 เรอื่ ง การเลอื กตง้ั 2 645 แผนการจดั การเรียนรทู ี่ 9 เรอื่ ง การเลอื กตั้ง 3 657 แบบประเมินตนเอง หนวยการเรยี นรทู ี่ 5 667 บันทกึ การเรียนรู (Learning Logs) 679 680 บรรณานกุ รม 681 682 ภาคผนวก ก. แบบประเมินรวม (สงั คมศกึ ษา) 687 ตอนท่ี 2 วิชาประวตั ศิ าสตร 688 คาํ ชแ้ี จงรายวชิ าประวตั ศิ าสตร ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี 6 ภาคเรยี นท่ี ๑ 697 698 คาํ อธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ี่ 6 699 มาตรฐานการเรยี นร/ู ตัวช้วี ดั 700 704 โครงสรางรายวชิ าประวตั ิศาสตร ชัน้ ประถมศกึ ษาปท ่ี 6 ภาคเรียนที่ ๑ 723 742 หนวยการเรียนรทู ่ี ๑ เร่ือง ยอ นรอยไทย 765 แผนการจัดการเรยี นรทู ี่ 1 เรอื่ ง วธิ กี ารทางประวตั ศิ าสตร 785 แผนการจัดการเรยี นรทู ่ี 2 เรอ่ื ง การสบื คน ขอมูลโดยใชวธิ ีการทางประวตั ิศาสตร 804 แผนการจดั การเรียนรทู ่ี 3 เรอ่ื ง ขอมูลหลักฐานทางประวัติศาสตร 822 แผนการจดั การเรียนรทู ่ี 4 เรอ่ื ง หลักฐานทางประวตั ิศาสตร แผนการจดั การเรียนรูท่ี 5 เรอ่ื ง แหลงขอ มลู หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร แผนการจัดการเรยี นรูท่ี 6 เรอ่ื ง ความเปน มาของทอ งถิ่น แผนการจัดการเรยี นรทู ่ี 7 เรอ่ื ง สืบคนความเปนมาของทอ งถน่ิ

ฉ 835 855 แผนการจัดการเรยี นรูที่ 8 เรอื่ ง การสบื คน และการนาํ เสนอความเปนมาของทองถิน่ 856 แบบประเมินตนเอง หนวยท่ี 1 บันทึกการเรยี นรู (Learning Logs) 857 หนวยการเรียนรทู ี่ ๒ เรือ่ ง เพ่ือนบา นของเรา 861 แผนการจดั การเรยี นรูที่ 1 เรอ่ื ง พัฒนาการประวตั ิศาสตรของประเทศเพอื่ นบา น (สาธารณรฐั แหง สหภาพเมียนมา) 882 แผนการจดั การเรยี นรทู ่ี 2 เรอ่ื ง พฒั นาการประวัติศาสตรของประเทศเพอ่ื นบา น (สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว) 904 แผนการจดั การเรียนรูท่ี 3 เรอ่ื ง พฒั นาการประวตั ศิ าสตรของประเทศเพอ่ื นบา น (ราชอาณาจกั รกัมพชู า) 926 แผนการจัดการเรียนรูที่ 4 เรอื่ ง พฒั นาการประวัตศิ าสตรของประเทศเพ่อื นบาน 947 (สหพนั ธรัฐมาเลเซีย) 971 แผนการจดั การเรียนรูท่ี 5 เรอื่ ง ความเหมือนและความแตกตา งของประเทศเพอื่ นบาน 991 แผนการจดั การเรียนรูท่ี 6 เรอ่ื ง ความเปน มาของกลมุ อาเซยี น 1012 แผนการจัดการเรียนรูที่ 7 เรอ่ื ง สมาชกิ อาเซียนในปจ จบุ นั 1 1034 แผนการจดั การเรยี นรทู ่ี 8 เรอ่ื ง สมาชกิ อาเซยี นในปจ จุบนั 2 1050 แผนการจัดการเรยี นรทู ี่ 9 เรอื่ ง ความสมั พนั ธของสมาคมอาเซียน 1072 แผนการจดั การเรยี นรทู ี่ 10 เรอ่ื ง อาเซียนสัมพันธ 1073 แบบประเมนิ ตนเอง หนว ยท่ี 2 บันทึกการเรยี นรู (Learning Logs) 1074 1075 บรรณานกุ รม 1084 1093 ภาคผนวก ก. แบบประเมินรวม (ประวตั ศิ าสตร) 1101 ภาคผนวก ข. แผนผงั ความคดิ (Graphic Organizers) 1104 ภาคผนวก ค. แบบบนั ทกึ การเรียนรู ( Learning Logs) คณะผจู ดั ทาํ คมู อื ครูและแผนการจดั การเรยี นรู กลมุ สาระการเรยี นรูสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ระดบั ประถมศึกษา (คร้งั ที่ 1 พ.ศ. 2561) คณะกรรมการปรบั ปรุงคูมอื ครูและแผนการจดั การเรียนรู กลมุ สาระการเรียนรูสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ระดบั ประถมศกึ ษา (ฉบบั ปรบั ปรงุ คร้ังที่ 2 พ.ศ. 2563)

ช คาํ ชี้แจง การรบั ชมรายการออกอากาศดว ยระบบทางไกลผา นดาวเทยี ม มูลนธิ กิ ารศกึ ษาทางไกลผานดาวเทยี ม ในพระบรมราชูปถัมภ ใหบรกิ ารการจดั การเรยี นการสอน จากสถานีวิทยุโทรทัศนการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม จํานวน ๑๕ ชองรายการ ท้ังรายการสด (Live) และ รายการยอ นหลัง (On demand) สามารถรบั ชมผานชอ งทาง ตอ ไปน้ี ๑. www.dltv.ac.th ๒. Application on mobile DLTV - ระบบ Android เขาท่ี Play Store/Google Play พมิ พคาํ วา DLTV - ระบบ iOS เขาที่ App Store พมิ พคําวา DLTV หมายเลขชองออกอากาศสถานวี ทิ ยุโทรทศั นก ารศกึ ษาทางไกลผา นดาวเทยี ม 15 ชอ งรายการ ชอง ชอ ง รายการในเวลาเรยี น รายการนอกเวลา (ชว งเวลา ๑๔.๓๐– ๐๘.๓๐ น.) (DLTV) (TRUE) (ชว งเวลา ๐๘.๓๐–๑๔.๓๐ น.) สถาบันพระมหากษัตริย DLTV 1 ชอ ง 186 รายการสอนชนั้ ประถมศกึ ษาปท ี่ 1 DLTV 2 ชอง 187 รายการสอนชนั้ ประถมศึกษาปท ่ี 2 ความรรู อบตัว DLTV 3 ชอง 188 รายการสอนชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี 3 วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี DLTV 4 ชอง 189 รายการสอนชัน้ ประถมศึกษาปท ่ี 4 ธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ ม DLTV 5 ชอง 190 รายการสอนชน้ั ประถมศกึ ษาปที่ 5 ศิลปวฒั นธรรมไทย DLTV 6 ชอง 191 รายการสอนชน้ั ประถมศึกษาปท่ี 6 หนา ทพี่ ลเมอื ง DLTV 7 ชอ ง 192 รายการสอนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 1 ภาษาอังกฤษเพอื่ การสือ่ สาร DLTV 8 ชอ ง 193 รายการสอนชน้ั มธั ยมศึกษาปที่ 2 ภาษาตางประเทศ DLTV 9 ชอ ง 194 รายการสอนชั้นมัธยมศกึ ษาปที่ 3 การเกษตร DLTV 10 ชอ ง 195 รายการสอนชน้ั อนบุ าลปท ี่ 1 รายการสําหรบั เดก็ -การเลีย้ งดูลกู DLTV 11 ชอง 196 รายการสอนชั้นอนุบาลปท ี่ 2 สขุ ภาพ การแพทย DLTV 12 ชอง 197 รายการสอนชน้ั อนุบาลปที่ 3 รายการสําหรับผูสูงวยั DLTV 13 ชอง 19๘ รายการของการอาชีพวังไกลกังวล และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล DLTV 14 ชอง 199 รายการของมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช DLTV 15 ชอง 200 รายการพฒั นาวชิ าชพี ครู *หมายเหตุ : รายการสอนออกอากาศในเวลาเรยี นระดบั ชน้ั ปฐมวยั ชวงเวลา ๐๘.๓๐–๑๑.๓๐ น.

ซ การตดิ ตอรบั ขอ มลู ขา วสาร ๑. มลู นิธกิ ารศกึ ษาทางไกลผานดาวเทยี ม ในพระบรมราชปู ถัมภ เลขท่ี 214 ถนนนครสวรรค แขวงวัดโสมนสั เขตปอมปราบศตั รูพาย กรุงเทพมหานคร โทร ๐ ๒๒๘๒ ๖๗๓๔ โทรสาร ๐ ๒๒๘๒ ๖๗๓๕ ๒. สถานวี ทิ ยุโทรทศั นก ารศกึ ษาทางไกลผานดาวเทียม ซอยหวั หนิ ๓๕ ถนนเพชรเกษม ตําบลหัวหนิ อาํ เภอหัวหิน จังหวดั ประจวบคีรีขนั ธ ๗๗๑๑๐ โทร ๐๓๒ ๕๑๕๔๕๗–๘ โทรสาร ๐๓๒ ๕๑๕๙๕๑ [email protected] (ตดิ ตอเรอ่ื งเว็บไซต) [email protected] (ตดิ ตอเรอื่ งทว่ั ไป) ๓. โรงเรยี นวังไกลกังวล ในพระบรมราชปู ถมั ภ อาํ เภอหัวหนิ จังหวัดประจวบครี ีขนั ธ ๗๗๑๑๐ โทร 032 522 347, 032 520 478 โทรสาร 032 520 478 Facebook : โรงเรียนวังไกลกงั วล ในพระบรมราชปู ถัมภ Website : http://www.kkws.ac.th ๔. ชอ งทางการตดิ ตามขาวสาร Facebook : มลู นธิ ิการศกึ ษาทางไกลผานดาวเทียม ในพระบรมราชปู ถัมภ DLTV Website : http://www.dltv.ac.th

ตอนท่ี 1 วชิ าสงั คมศึกษา กลุมสาระการเรียนรสู งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๑ ตอนที่ 1 วชิ าสังคมศกึ ษา

๒ คมู อื ครูและแผนการจดั การเรียนรู ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรียนที่ 1 (สงั คมศึกษา ป.6) คาํ ช้แี จง รายวชิ าสงั คมศึกษา กลุมสาระการเรยี นรสู งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๑. แนวคดิ หลัก หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กําหนดสาระการเรียนรู จํานวน ๘ กลุมสาระการเรียนรู ครูผูสอนตองจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนโดยนําความรูด านเนื้อหาวิชามาจัดกจิ กรรม การเรียนการสอนโดยการฝกทักษะใหผูเรียนเกิดความรู ความเขาใจ และเกิดสมรรถนะสําคัญของผูเรียน ๕ ประการ และคณุ ลักษณะอันพึงประสงค ๘ ประการ ดังน้ี สมรรถนะสาํ คัญของผูเรียน ๕ ประการ ๑) ความสามารถในการส่อื สารเปนความสามารถในการรับสารและสื่อสารมีวฒั นธรรมในการใชภ าษา ๒) ความสามารถในการคิด เปนความสามารถในการคิดวิเคราะห การคิดสังเคราะห การคิดอยาง สรางสรรค การคิดอยางมีวิจารณญาณ การคิดอยางเปนระบบเพื่อนําไปสูการสรางองคความรูหรือสารสนเทศ เพอื่ ใชในการตดั สินใจเกี่ยวกับตนเอง สงั คมไดอยา งเหมาะสม ๓) ความสามารถในการแกปญหา เปนความสามารถในการแกปญหาและอุปสรรคตาง ๆ ท่ีเผชิญได อยางถูกตอง เหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและขอมูลสารสนเทศ เขาใจความสัมพันธและ การเปลีย่ นแปลงของเหตุการณต า ง ๆ ในสงั คม ๔) ความสามารถในการใชทักษะชีวิต เปนความสามารถในการเขาใจและเคารพตนเอง สามารถนํา กระบวนการตาง ๆ ไปใชในการดําเนินชีวิตประจําวัน การเรียนรูดวยตนเองการเรียนรูอยางตอเน่ือง การทํางาน และการอยูรวมกันในสังคมดวยการสรางเสริมความสัมพันธอันดีระหวางบุคคล การจัดการปญหา และความขัดแยงตา ง ๆ อยา งเหมาะสม ๕) ความสามารถในการใชเทคโนโลยี เปนความสามารถในการเลือก และใชเ ทคโนโลยี การแกปญ หา อยางสรางสรรคถูกตองเหมาะสม มีคุณธรรมดานตาง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อ การพัฒนาตนเอง สงั คมในดานการเรยี นรู การสื่อสาร การทํางาน คุณลักษณะอันพึงประสงค ๘ ประการ เพื่อใหสามารถอยูรวมกับผูอื่นในสังคมอยางมีความสุข ใน ฐานะเปนพลเมืองไทยและพลเมืองโลก ดังน้ี ๑) รกั ชาติ ศาสน กษัตริย ๒) ซื่อสตั ย สุจรติ ๓) มวี นิ ัย ๔) ใฝเรยี นรู ๕) อยูอ ยางพอเพียง ๖) มุงมน่ั ในการทาํ งาน ๗) รักความเปน ไทย ๘) มีจติ สาธารณะ กลุมสาระการเรียนรูสงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมวาดวยการอยูร วมกนั ในสงั คมทม่ี ีความเชอ่ื ม สัมพันธกัน และมีความแตกตางอยางหลากหลาย เพื่อชวยใหสามารถปรับตนเองกบั บริบทสภาพแวดลอม เปน

คาํ ชแ้ี จง รายวิชาสงั คมศึกษา กลมุ สาระการเรยี นรูสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๓ พลเมืองดี มีความรับผิดชอบ มีความรู ทักษะ คุณธรรมและคานิยมที่เหมาะสม เปนวิชาที่ประกอบดวยหลาย แขนงสาระ ทําใหมีลักษณะเปนสหวิทยาการ เปนการนําวิชาตาง ๆ ในสาขาวิชาสังคมศาสตรเขาดวยกัน ไดแก ภูมิศาสตร ประวตั ิศาสตร นิตศิ าสตร เศรษฐศาสตร รัฐศาสตร เปน ตน กลุมสาระการเรยี นรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมประกอบดว ย ๒ รายวชิ า คือ วชิ าสังคมศึกษาและวชิ าประวตั ิศาสตร วิชาสังคมศึกษากําหนดสาระตาง ๆ ดังนี้ ๑) ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม ๒) หนาที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดําเนินชีวิตในสังคม ๓) เศรษฐศาสตร ๔) ภูมิศาสตร ซ่ึงชวยใหผูเรียนมีความรูความเขาใจ การดํารงชีวิตของมนุษย ท้ังในฐานะปจเจกบุคคลและการอยูรวมกันในสังคม การปรับตัวตามสภาพแวดลอม การจัดการทรัพยากรท่ีมีอยูอยางจํากัด มีความรู ความเขาใจเก่ียวกับอิทธิพลของสภาพแวดลอม ท่ีมีผลตอ การดํารงชีวิต การอยูรวมกันในสังคม การเปลี่ยนแปลงตามเหตุปจ จัยตาง ๆ เกิดความเขาใจในตนเองและผอู ่ืน ปรับตัวใหทันตอการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เปนพลเมืองที่รับผิดชอบ มีความสามารถทางสังคม มีความรู มี ทักษะ และมีคุณธรรม มีความอดทน อดกลั้น ยอมรับในความแตกตาง และเพ่ือเกิดคานยิ มทเี่ หมาะสม มุงหวัง ใหผูเรียนเกิดความเจริญงอกงามดานความรู โดยการใหความรูแกผูเรียนดานเนื้อหาสาระ ความคิดรวบยอด และหลักการสําคัญในสาขาตาง ๆ สามารถนําความรูไปปรับใชในการดําเนินชีวิต เปนกําลังของชาติ เปน พลเมืองดีของประเทศชาติ และสังคมโลก หลักการออกแบบกิจกรรมมีการบูรณาการดานคุณลักษณะ ในแผนการจัดการเรียนรูที่คํานึงถึง คุณลักษณะที่มุงเนนใหผูเรียนเกิดการเรียนรูมีทักษะการพัฒนาคานิยมและเจตคติที่ดีในการประพฤติปฏิบัติตน ใหเหมาะสมและสอดคลองกับความตองการของสังคมหลังการเรียนรู สอดคลองตามเปาหมายของหนวย การเรียนรู มีเจตคติที่ดีตอสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย และมีจิตอาสา ครูผูสอนควรปลูกฝง คุณลักษณะอนั พงึ ประสงคใหแ กผูเรียนทุกแผนการจัดการเรียนรู เพื่อใหผูเรียนเกดิ คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค และเปน คนดีของสังคม ๒. กระบวนการจัดการเรยี นรู แนวคดิ สําคัญของการจดั ศกึ ษา ทเี่ นนผูเ รยี นเปนสาํ คญั คอื การจดั กจิ กรรมการเรยี นรูท เ่ี ปดโอกาสให ผูเรียนคิดและลงมือปฏิบัติดวยกระบวนการที่หลากหลาย เพ่ือเกิดการเรียนรูและพัฒนาตนเองเต็มตาม ศกั ยภาพ การประเมินการเรียนรูจ ึงมีความสําคัญและจําเปนอยางย่ิง ตอการจดั กิจกรรมการเรียนรใู นหองเรียน เพราะสามารถทําใหผูสอนประเมินระดบั พฒั นาการเรยี นรูข องผเู รียน การจัดการศกึ ษาตองยึดหลักวา ผเู รียนทกุ คนมีความสามารถเรียนรแู ละพัฒนา ตนเองได และถือวา ผูเรียนมีความสําคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาตอง สงเสริมใหผูเรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและ เต็มตามศักยภาพ ใหความสําคัญ ของการบูรณาการความรูคุณธรรม กระบวนการเรียนรูตามความเหมาะสม ของระดับการศึกษา ไดระบใุ หผ ูทเ่ี ก่ียวของดาํ เนนิ การ ดังน้ี ๑) สถานศกึ ษาและหนว ยงานทีเ่ ก่ยี วขอ ง (๑) จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมใหสอดคลองกับความสนใจและความถนัดของผูเรียน โดย คาํ นึงถึงความแตกตางระหวา งบคุ คล (๒) ฝกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ และการประยุกตความรู มาใชเ พอ่ื ปองกนั และแกไขปญ หา (๓) จัดกิจกรรมใหผูเรียนไดเรียนรูจากประสบการณจริง ฝกการปฏิบัติ ใหทําไดคิดเปนทํา เปน รกั การอา น และเกดิ การใฝรอู ยา งตอเนอื่ ง

๔ คมู ือครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ 1 (สงั คมศกึ ษา ป.6) (๔) จัดการเรียนการสอน โดยผสมผสานสาระความรูดานตาง ๆ อยางไดสัดสวนสมดุลกัน รวมท้ังปลูกฝง คณุ ธรรม คา นิยมทดี่ ีงาม และคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงคไ วใ นทุกวิชา (๕) สงเสริมสนับสนุนใหผูสอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดลอม สื่อการเรียน และ อํานวยความสะดวกเพ่ือใหผูเรียนเกิดการเรียนรูและมีความรอบรู รวมท้ังสามารถใชการวิจัยใหเปนสวนหน่ึง ของกระบวนการเรียนรู ท้ังนี้ผูสอนและผูเรียนอาจเรียนรูไปพรอมกันจากส่ือการเรียน การสอน และแหลง วทิ ยาการประเภทตา ง ๆ (๖) จัดการเรียนรูใหเกิดขึ้นไดทุกเวลา ทุกสถานท่ี มีการประสานความรวมมือกับพอแม ผูปกครอง และบคุ คลในชมุ ชนทุกฝาย เพื่อรว มกันพฒั นาผเู รียนตามศักยภาพ ๒) การจดั สภาพแวดลอมสงเสริมการเรยี นรู (๑) จัดสภาพแวดลอม หองเรียน หรือภายนอกหองเรียน ใหเอ้ือตอการเรียนรู สะอาด มีความเปนระเบียบ ตกแตงหองเรียนใหนาอยู มีมุมตาง ๆ ในหองเรียน มีท่ีเก็บวัสดุอุปกรณ และงายตอ การนํามาใช มีปายนิเทศใหความรู ภายนอกหองเรียนจัดบรรยากาศใหเปนธรรมชาตินาอยู รมร่ืน และเหมาะ กบั กิจกรรมการเรียนรู ถกู สุขลกั ษณะและปลอดภยั (๒) จัดสภาพแวดลอ มหรอื หองใหผเู รยี นไดฝก ปฏิบัตกิ าร (๓) จัดสือ่ อปุ กรณ ท่เี กี่ยวกับการเรยี นรูอ ยา งเพียงพอ เหมาะสม (๔) จัดหาเคร่ืองมือแสวงหาความรู หรือชองทางเสนอขาวสารตาง ๆ เพื่อใหผูเรียนไดรับรู ขอ มลู ขาวสารทที่ นั สมัยปจ จุบนั อยเู สมอ ๓) ครูผูสอน การจัดการเรียนรูตามแนวดังกลาว จําเปนตองเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการเรียนการสอนทั้ง ของผูเรยี นและผสู อน กลาวคอื ลดบทบาทของครูผสู อน จากการเปนผบู อกเลา บรรยาย สาธิต เปนการวางแผน จัดกิจกรรมใหนักเรียนเกิดการเรียนรู กิจกรรมตาง ๆ จะตองเนนท่ีบทบาทของผูเรียนตั้งแตเริ่ม คือ รวม วางแผนการเรียน การวดั ผล ประเมนิ ผล และตองคาํ นงึ วากจิ กรรมการเรยี นนัน้ เนนการพัฒนากระบวนการคิด วางแผน ลงมือปฏิบัติศึกษา คนควา รวบรวมขอมูล ดวยวิธีการตาง ๆ จากแหลงเรียนรูหลากหลาย ตรวจสอบ วิเคราะห การแกปญหา การมีปฏิสัมพันธซึ่งกันและกัน การสรางคําอธิบายเกี่ยวกับขอมูลที่สืบคนได เพื่อ นําไปสูคําตอบของปญหาหรือคําถามตาง ๆ และสรางองคความรู ทั้งน้ีกิจกรรมการเรียนรูเหลาน้ีตองพัฒนา ผเู รียนใหม ีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย ท้งั ทางรางกาย อารมณ สงั คม และสตปิ ญ ญา หลักการจัดกระบวนการเรียนรูวิชาสังคมศึกษา มุงพัฒนาสมรรถนะของผูเรียนใหสามารถ เรียนรูการดําเนินชีวิตอยูในสังคมและการอยูรวมกับบุคคลอื่นไดอยางมีความสุข ตลอดจนสามารถนําเอา ความรู ความเขาใจนั้นไปปรบั ใชใหเขา กับสภาพสังคมที่แปรเปล่ียนไดอยางเหมาะสม สมดุล และยั่งยืน มุงเนน ใหผูเรียนไดมีทักษะตาง ๆ เชน ทักษะทางสังคม ทักษะการคิด ทักษะการตัดสินใจ และทักษะการแกปญหา ที่ ใชในการดําเนินชีวิตของผูเรียน ใหสอดคลองกับความตองการของสังคม ในการสรางพลเมืองดีของประเทศ อันเปนรากฐานของพลโลกตอไป ดังน้ัน การจัดการเรียนรูวิชาสังคมศึกษาจึงตองใชวิธีการเรียนรูทจี่ ะชวยสรา ง เสรมิ เตมิ เตม็ ประสบการณใ หผูเรียนไดใชส ติปญญา ความรู ความคิด ความสามารถ ทกั ษะ คานิยม และเจตคติ ท่ีดี ตลอดจนตองจัดใหเหมาะสมกับวัยและวุฒิภาวะของผูเรียน ใหผูเรียนมีสวนจัดการเรียนรูของตนเอง พัฒนาและขยายความคดิ ของตนเองจากความรูที่เรยี น

คาํ ชี้แจง รายวชิ าสงั คมศึกษา กลุม สาระการเรียนรูสังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๕ กระบวนการเรียนรูวชิ าสังคมศกึ ษา ๑. การพัฒนาทักษะทางปญญา เปนกระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีมุงใหผูเรียนมีทักษะ ดานความรูความเขาใจในเนื้อหาสาระของวิชา อันประกอบดวยเครื่องมือชวยคิด กระบวนการคิด เชน การคิด วิเคราะห คิดสรางสรรค คิดอยางมีวิจารณญาณ คิดแกปญหาและคิดสรางสรรค ตลอดจนความรูท่ีไดจาก การบรู ณาการท่เี ชอื่ มโยงเปนสาระเรื่องราวตาง ๆ จากสภาพแวดลอม ๒. การพัฒนาทักษะทางสังคม เปนกระบวนการจัดการเรียนรูที่มุงใหผูเรียนมีทักษะที่เนน การฝกปฏิบตั จิ ริงเพื่อสรางผูเรียนใหม ที กั ษะชวี ิตพ้นื ฐาน เชน ทักษะการรูจ ักตนเอง ทักษะการคดิ การตัดสนิ ใจ และการแกปญหา ทักษะการแสวงหาขอมูล ขาวสาร ความรู ทักษะการปรับตัว ทักษะการส่ือสารและสราง สัมพนั ธภาพ ทกั ษะการวางแผนและการจัดการ และทกั ษะการทาํ งานเปน ทมี ๓. การพัฒนาเจตพิสัยและคุณลักษณะ เปนกระบวนการจัดการเรียนรูท่ีมุงใหผูเรียนมีทักษะ การพัฒนาคานิยมและเจตคติที่ดีในการประพฤติปฏิบัติตนใหเหมาะสมและสอดคลองกับความตองการของ สังคม เชน ความขยัน ประหยัด ซื่อสัตย อดทน โดยยึดหลักธรรมมาใชเปนแนวทางในการดําเนินชีวิตของ ผเู รยี น การออกแบบและการจัดกิจกรรมการเรียนรูวิชาสังคมจะตองคํานึงถึงองคประกอบท้ังความรู ทักษะและเจตคติเพ่ือใชในการปลูกฝงและสงเสริมใหผูเรียนเกิดกระบวนการคิดหรือมีวิธีการคิด ดังนั้น การจัดการเรียนรูตองเนนผูเรียนเปนสําคัญ และสงเสริมการจัดแหลงเรียนรูท่ีหลากหลายอันเปนพ้ืนฐานของ การเสริมสรางความรู ความคิด ประสบการณ และปลูกฝง เจตคติทด่ี ใี นสังคมอยางมคี ณุ ภาพ เรียนรูจากแหลงเรียนรู ไดแก การศึกษาคนควาดวยตนเอง ทัศนศึกษานอกสถานที่ การเรียนรูจากหองสมุด แหลงเรียนรูจากภูมิปญญาทองถ่ิน ปราชญชาวบาน งานวิเคราะหจากการศึกษา ภาคสนาม พิเคราะหแหลงขอมูล การสอนแบบใหผูเรียนเรียนรูโดยอิสระจากศูนยการเรียนรูและการเรียนรู ตามความสนใจ การสอนวชิ าสงั คมไมควรจาํ เจอยใู นหอ งเรยี นอยา งเดยี ว การเรียนรูโดยผูเรียนลงมือปฏิบัติ ไดแก เกม การศึกษาสถานการณจําลอง กรณีตัวอยาง บทบาทสมมุติ โครงงาน การทดลอง ศิลปสรางสรรคการสอน การเรียนการสอนท่ีเนนกระบวนการกลุม ประกอบดวย การอภิปรายกลุมยอย การแกปญหากลุม สืบคนความรู กลุมสัมพันธ การเรียนรูแบบรวมมือ การอภปิ ราย การเรยี นรผู า นกระบวนการคดิ ไดแก การแกสถานการณ การถามตอบ การสบื สอบ ความคดิ รวบยอด การพัฒนากระบวนการคิด การใชทักษะกระบวนการ การสอนโดยใชวิธีการต้ังคําถามผูเรียน การเรียนการสอนเนนความจํา การเรียนการสอนโดยใชแผนผังความคิด (Graphic Organizers) การเรียนการ สอนกระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ การสอนกระบวนการคิด ๑๐ มิติ การคิดเปรียบเทียบ การคิด สังเคราะห การคิดประยุกต การคิดสรางสรรค การคิดวิเคราะห การคิดกลยุทธ การคิดบูรณาการ การคิด มโนทศั น การคิดอนาคต การคิดวพิ ากษ การเรยี นรผู า นสอ่ื เทคโนโลยี ไดแ ก โปรแกรมสาํ เรจ็ รูป ชดุ การสอน ชุดการสอนรายบคุ คล ชุดการสอนสําหรับการเรียนเปนกลุมยอย ชุดการสอนประกอบคําบรรยายของครู คอมพิวเตอรชวยสอน และ การนําเสนอโดยวดี ิทศั น

๖ คูม อื ครูและแผนการจดั การเรียนรู ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรียนที่ 1 (สงั คมศึกษา ป.6) นอกจากน้ัน ครูผูสอนตองจัดกิจกรรมการเรียนรูท่ีใหผูเรียนไดเรียนรูอยางมีความหมาย โดย การรวมมือระหวางครูกับผูเรียน ผูเรียนกับผูเรียน ครูตองลดบทบาทในการสอนโดยเปนผูช้ีแนะ กระตุนให ผเู รยี นกระตือรอื รน ทีจ่ ะเรยี นรู และปฏิบัตกิ จิ กรรมตาง ๆ มากขึ้นและอยางหลากหลาย ดงั น้ี ๑) ควรใหนักเรียนทุกคนมีสวนรวมในกิจกรรมการเรียนรูตลอดเวลาดวยการกระตุนให นักเรียนลงมือปฏิบัติและอภิปรายผล เชน แบงกลุมใหอภิปราย แสดงบทบาทสมมุติ จัดนิทรรศการดวยตนเอง โดยใชเทคนคิ ตา ง ๆ ของการสอน เชน การนาํ เขา สบู ทเรยี น การใชค าํ ถาม การเสริมพลงั มาใชใ หเปนประโยชน ทีจ่ ะทําใหการเรียนการสอนนา สนใจและมชี ีวิตชวี า ๒) ครูควรมีการวางแผนการใชคําถามอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อจะนํานักเรียนเขาสูบทเรียน และลงขอสรปุ ไดโ ดยท่ไี มใ ชเ วลานานเกนิ ไป ครคู วรเลือกใชค าํ ถามท่มี คี วามยากงายพอเหมาะกับความสามารถ ของนักเรยี น ๓) เม่ือนักเรียนถาม อยาบอกคําตอบทันที ควรใหคําแนะนําที่จะชวยใหนักเรียนหาคําตอบ ไดเอง ครูควรใหความสนใจตอคําถามของนักเรียนทุก ๆ คน แมวาคําถามนั้นอาจจะไมเก่ียวกับเรื่องท่ีกําลัง เรียนอยูก็ตาม ครูควรจะชี้แจงใหทราบและเบนความสนใจของนักเรียนกลับมาสูเรื่องที่กําลังอภิปรายอยู สําหรบั ปญ หาทน่ี กั เรยี นถามมานน้ั ควรจะไดห ยบิ ยกมาอภิปรายในภายหลัง ๔) การสํารวจตรวจสอบซํ้า เปนส่ิงจําเปนเพื่อใหไดขอมูลที่นาเชื่อถือ ดังน้ัน ในการจัด การเรียนรคู รคู วรยํา้ ใหน กั เรยี นไดส าํ รวจตรวจสอบซา้ํ เพือ่ นําไปสูขอ สรุปท่ีถูกตองและเช่อื ถอื ได ครูควรเลือกเหตุการณท่ีเกิดข้ึนจริงหรือกําลังเกิดขึ้นกับสังคมมาเปนตัวอยางในการสอนวิชา สังคม นักเรยี นจะไดเขาใจอยางถอ งแทถ ึงเหตุการณของคนท่วั ไปมาเกรนิ่ นําเพ่ือโยงสมั พนั ธก ับเร่อื งทส่ี อน หรอื นําเหตุการณที่เกิดขึ้นมาอภิปราย รวมกันกําหนดหัวขอใหครอบคลุมเร่ืองที่สอน นักเรียนไดปฏิบัติจริงหรือ สรา งสถานการณจ าํ ลองใหท ดลองปฏบิ ัติ ๓. ส่ือการจดั การเรียนรู/ แหลงเรียนรู สื่อการจัดการเรยี นรู เปนเคร่ืองมือสงเสริมสนับสนุนการจัดกระบวนการเรียนรใู หน ักเรียนไดร บั ความรู ทักษะกระบวนการไดงายในระยะเวลาสั้นและชวยใหเกิดความคิดรวบยอดอยางถูกตองและรวดเร็ว ส่ือทปี่ รากฏในแผนการจดั การเรียนรูม ดี ังนี้ ๑) ใบความรู ใบงาน แผนภาพนาํ เสนอขอ มูล ๒) บัตรภาพ ๓) เกม/เพลง/นิทาน ๔) คลิป/วดี ทิ ศั น/ ภาพขา วสถานการณปจจบุ ัน ๕) สถานการณส มมตุ ิ ๖) สื่อบุคคล แหลงเรียนรู เปนเครอ่ื งมือสรางคุณลักษณะการใฝเรียนรทู ี่ทุกคนตองใฝรูตลอดชวี ติ ดงั นี้ ๑) แหลงเรียนรูภายในโรงเรียน ๒) แหลงเรียนรูภายนอกโรงเรียน ไดแก ชุมชน ทองถิ่น พิพิธภัณฑ หนวยงานท่ีเก่ียวของ หอ งสมดุ ประชาชน หอ งสมดุ แหงชาติ หองสมุดเปนแหลงเรียนรูท่ีสําคัญและเปนหัวใจสําคัญของผูเรียนในการศึกษาคนควา โรงเรียน ควรจัดหองสมุดกลาง หองสมุดหมวดวิชา มุมหนังสือในหองเรียน หองสมุดเคลื่อนที่ รถเคล่ือนที่ หองสมุด

คาํ ช้แี จง รายวชิ าสงั คมศกึ ษา กลมุ สาระการเรียนรสู งั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๗ ประชาชนลวนเปนแหลงเรียนรูจะทําใหผูเรียนไดเรียนรูและปลูกฝงลักษณะนิสัยที่ดีในการสงเสริมนิสัยรัก การอา น ๓) แหลงเรียนรอู อนไลน - สาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน - สาํ นกั หอสมุด มหาวทิ ยาลยั ตาง ๆ - กระทรวงวัฒนธรรม ฯลฯ ๔. การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู จุดประสงคสําคัญของการประเมนิ การเรียนรูคอื การชวยใหผ ูเรียนเกิดการเรียนรูตามวัตถุประสงค ที่ ผูสอนหรือหลักสูตรวางไว ปญหาที่พบในปจจุบันก็คือ ผูบริหาร ผูสอน ตลอดจนผูปกครองเปนจํานวนมาก ยังใหความสําคัญการเรียนรูแบบทองจําเพ่ือสอบ หรือการเรียนรูเพ่ือแขงขัน ซึ่งถือเปนการเรียนรูแบบผิวเผิน มากกวาการประเมินการเรียนรูร ะหวางเรยี นการเรียนรูเพอ่ื พัฒนาตนเองซ่ึงผลลัพธของการเรยี นรูจะยั่งยืนกวา (กศุ ลนิ มสุ ิกุล, ๒๕๕๕; ขจรศกั ด,ิ์ เพ็ญจนั ทร และวรรณทพิ า รอดแรงคา , ๒๕๔๘) ในการจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาสมรรถนะดานตาง ๆ ของผูเรียนน้ันจําเปนตองมีการประเมิน การเรียนรูอยางตอเน่ือง ต้ังแตเริ่มตนระหวางและส้ินสุดกระบวนการเรียนรู โดยใชการประเมินในรูปแบบท่ี หลากหลายสอดคลองตามวัตถุประสงคของการเรียนรู รูปแบบการประเมินการเรียนรู ไดแก การประเมิน การเรียนรูระหวางเรียน (Formative Assessment) การประเมินการเรียนรูสรุปรวม (Summative Assessment) และการประเมินการเรียนรูตามสภาพจริง (Authentic Assessment) ในการประเมินเพ่ือ พัฒนาการเรียนรูและการประเมินตามสภาพจริงนั้น ผูสอนจําเปนตองสะทอนการประเมิน ใหผูเรียนรับทราบ เพ่ือปรับปรุงและพัฒนาตนเอง และผูสอนตองนําผลการประเมินมาพิจารณาเพ่ือทบทวนและปรับแผนการจัด การเรียนรูเพ่ือใหสามารถดําเนินการแกไข ชวยเหลือ หรือหาวิธีการตาง ๆ เพื่อชวยใหผูเรียนแตละคนเกิด การเรียนรูและพัฒนาตนเองไดตามแตละจุดประสงคการเรียนรูหรือเปาหมายของตัวชี้วัดตาง ๆ (กุศลิน มสุ กิ ุล, ๒๕๕๕ ) การวัดและประเมินผลการเรียนรูของผูเรียนตองอยูบนหลักการพื้นฐาน 2 ประการ คือ การประเมินเพ่ือพัฒนาผูเรียนและเพื่อการตัดสินผลการเรียน ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรูของผูเรียนให ประสบความสําเร็จน้ัน ผูเรียนจะตองไดรับการพัฒนาและประเมินตามตัวชี้วัด เพ่ือใหบรรลุตามมาตรฐาน การเรียนรู สะทอนสมรรถนะสําคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงคของผูเรียน ซึ่งเปนเปาหมายหลักในการวัด และประเมนิ การเรยี นรูในทุกระดบั (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, ๒๕๕๒) การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรูท่ีปรากฏในแผนการจัดการเรียนรู ใหความสําคัญของการประเมนิ พฤตกิ รรมการปฏิบตั ิ ดังนี้ ๑) วธิ กี ารประเมิน (๑) การวัดและประเมินกอนเรียน เพื่อตรวจสอบความพรอมและความรูเดิมของผูเรียน (ผสมผสานในกิจกรรมการเรียนรูขัน้ นาํ ) (๒) การวัดและประเมินระหวางเรียน ไดแก ดานความรู ทักษะการปฏิบัติ และคุณลักษณะ โดยวิธีการสังเกตพฤติกรรม ถามตอบพรอมแสดงเหตุผล ตรวจช้ินงาน การนําเสนอ (ผสมผสานในกิจกรรม การเรยี นรขู น้ั สอน) จดุ มงุ หมายของการประเมินระหวา งเรยี น มดี งั นี้

๘ คมู ือครแู ละแผนการจัดการเรยี นรู ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี 1 (สงั คมศกึ ษา ป.6) (๒.๑) เพื่อคนหาและวินิจฉัยวาผูเรียนมีความรูความเขาใจเนื้อหา มีทักษะความชํานาญ รวมถึงมีเจตคติทางการเรียนรูอยางไรและในระดับใด เพื่อเปนแนวทางใหผูสอนสามารถวางแผนการจัด กิจกรรมการเรยี นรไู ดอยา งเหมาะสม เพอื่ พัฒนาการเรยี นรขู องผเู รยี นไดอ ยา งเตม็ ศกั ยภาพ (๒.๒) เพอ่ื ใชเปนขอ มลู ปอ นกลับใหกับผเู รยี นวา มผี ลการเรยี นรูอยางไร (๒.๓) เพื่อใชเปนขอมูลในการสรุปผลการเรียนรูและเปรียบเทียบระดับพัฒนาการดาน การเรียนรูข องผูเ รียนแตล ะคน (๓) การวัดและประเมินหลังเรียน เพื่อตรวจสอบความสําเร็จตามจุดประสงครายแผน เปน การพัฒนาในจุดที่ผูเรียนอาจจะเขาใจคลาดเคลื่อนหรือปฏิบัติไมถูกตอง (ผสมผสานในกิจกรรมขั้นสรุป) และ เพ่ือตัดสินผลการจัดการเรียนรู เปนการประเมินหลังจากผูเรียนไดเรียนไปแลว ผลจากการประเมินประเภทนี้ ใชป ระกอบการตัดสนิ ผลการจดั การเรียนการสอน หรอื ตัดสนิ ใจวา ผเู รยี นคนใดควรจะไดร บั ระดบั คะแนนใด (๔) ประเมินรวบยอดเม่อื สิน้ สุดหนวยการเรยี นรู ดําเนินการดงั นี้ การประเมินโดยครูผสู อน เพ่ือตรวจสอบคณุ ภาพผูเรียนวาบรรลเุ ปาหมายของหนวยการเรียนรู ตามมาตรฐาน ตัวช้ีวัด สมรรถนะ คุณลักษณะ และเจตคติ หรือไม เชน การทําโครงงาน การนําความรูไปใช เพอื่ พฒั นาสงั คมในรูปแบบตาง ๆ การประเมินโดยผูเรียนแตละคน โดยการทําแบบบันทึกการเรียนรู (Learning log) ควรให ผูเรียนไดประเมินการเรียนรูของตนเอง เพื่อเปดโอกาสไดสะทอนคิดส่ิงท่ีเรียนรูทั้งท่ีทําไดดีและยังตองพัฒนา (ตัวอยางแบบบันทึกการเรียนรู ดูภาคผนวก ค) ควรใหผูเรียนไดประเมินการเรียนรูยอยหลังจบการเรียนรูแต ละหนวยการเรียนรู และประเมินการเรียนรูรวมในชวงกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน โดยครูสามารถ เลือกใชชุดคําถามและจํานวนขอใหเหมาะสมกับบริบทของผูเรียน ชวงเวลาและธรรมชาติของแตละวิชา ทั้งน้ี ในครั้งแรกครูควรทํารวมกับนักเรียนเพ่ือแนะนําวิธีการเขียนแบบสะทอนคิด และควรอานสิ่งท่ีนักเรียนบันทึก พรอมใหขอมูลยอนกลับ เสนอแนะในเชิงบวกและสรางสรรค รวมท้ังใชประโยชนจากขอมูลในแบบบันทึกเพ่ือ พฒั นาการสอนของตัวเองและชว ยเหลอื นกั เรียนเปน รายบคุ คลตอ ไป ๒) ผปู ระเมนิ ไดแก เพอ่ื นประเมนิ เพ่อื น ครูประเมินผูเ รียน ผเู รยี นประเมนิ ตนเอง และผปู กครอง รวมประเมนิ ๕. คาํ แนะนาํ บทบาทครปู ลายทางในการจัดการเรยี นรู ครูปลายทางควรมีบทบาทการสอนคูขนานกับครูตนทางในการกํากับดูแลชวยเหลือนักเรียนในทุก ข้ันตอนการสอน ดังนี้ ๑) ขนั้ เตรียมตัวกอ นสอน (๑) ศึกษาทําความเขาใจคําชี้แจงและทําความเขาใจเชื่อมโยง ทั้งเปาหมาย กิจกรรม และ การวัดผลและประเมนิ ผลระหวางหนวยการเรยี นรกู ับแผนการจดั การเรียนรรู ายชว่ั โมง (๒) ศึกษาคนควาความรูเพ่ิมเติม จากแหลงเรียนรู หนวยงาน องคกรที่ใหความรูที่เช่ือถือได รวมทง้ั เทคนคิ การจดั การเรียนรูเพอ่ื พัฒนาความสามารถของผเู รยี นอยางรอบดาน (๓) ปรบั /ประยกุ ตห รอื เพิม่ เปาหมายทัง้ เนอ้ื หา ทักษะกระบวนการ คณุ ลักษณะท่เี ปนจุดเนน และที่เปนปจจุบันตามบริบทของหองเรียน โรงเรียน ชุมชน รวมถึงการวัดประเมินทักษะกระบวนการเรียนรู ตามศกั ยภาพของผเู รียน และตามสภาพจริง

คาํ ช้ีแจง รายวิชาสังคมศกึ ษา กลุมสาระการเรียนรูส งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๙ (๔) ศึกษาคลิปบทเรียนที่มีการอัปโหลดลวงหนาเพื่อทําความเขาใจการจัดกิจกรรม PowerPoint และส่ือตาง ๆที่ครูใชประกอบการสอน โดยเฉพาะแนวการจัดกิจกรรมในข้ันตอนชวงการปฏิบัติ ท้ังดานวิธีการ ส่ือท่ีใช และชวงเวลาของการทําแตละกิจกรรมเพ่ือนํามาวิเคราะหและหาแนวทางเตรียม นักเรียน/ชวยเหลือ สงเสริม/อํานวยความสะดวกนักเรียนตามบริบทของหองเรียนของตนใหสามารถเรียนรูได อยางมปี ระสิทธภิ าพและเตม็ ตามศักยภาพ (๕) เตรียมใบงาน (ท่ีคัดเลือกสําหรับมอบหมายใหนักเรียนไดทําตามเห็นควรและเหมาะสม) รวมทัง้ การเตรียมอุปกรณตามระบใุ นแผนฯ และ/หรอื ทีป่ รากฏในคลปิ (ในกรณีมกี ารปรบั เปล่ียนเพม่ิ เติม) (๖) ติดตามขอมูลรายละเอียดการจัดกิจกรรมในชวงการปฏิบัติตามกําหนดการสอนท่ีมี รายละเอียดของส่ือการสอน ใบงาน ใบความรู บนเว็บไซต www.dltv.ac.th ๒) ข้นั การจดั การเรยี นรู (๑) สรางการมีสวนรวมของนักเรียนในการทํากิจกรรม เชน กระตุนใหนักเรียนคิด ตอบ คําถามของครูตนทาง ฟงเฉลย และชวยเสริม/อธิบาย/ในสิ่งที่นักเรียนยังไมเขาใจ ชมเชย/ใหกําลังใจหาก นักเรยี นทําไดดี (๒) ใหความชว ยเหลือนักเรียนที่ตามไมทนั เชน อธิบายเพ่มิ เติมเพอื่ ใหนักเรยี นสามารถเรียนรู ตอ ไปอยางมีประสิทธิภาพ (๓) กํากับดูแลใหมีวินัยในการเรียน เชน ไมเลนหรือพูดคุยกัน ปฏิบัติตามคําสั่งในการทํา กจิ กรรม ฯลฯ (๔) อาํ นวยความสะดวกในการเรียนรู เชน จัดเตรยี มส่อื การเรยี นรู/อปุ กรณ (๕) สังเกตพฤติกรรมนักเรียน เชน คุณลักษณะผูเรียน สมรรถนะสําคัญของผูเรียน การจัดการเรียนรู/การปฏิบัติงาน ความรูในบทเรียน และบันทึกขอมูลตามแนวทางประเมินที่แนะนําไวใน แผนการจัดการเรียนรู เพื่อนําขอมูลไปพัฒนานักเรียนและใหความชวยเหลือนักเรียนท้ังช้ัน/กลุม/รายบุคคล ตามกรณี ๓) ขัน้ การปฏบิ ัติ (๑) ทบทวนขั้นตอนการทํากิจกรรมตามที่ครูตนทางแนะนํา และตามขอแนะนําการปฏิบัติท่ี ระบใุ น PowerPoint ตรวจสอบความเขา ใจ และเตรยี มนักเรยี นกอ นทาํ กจิ กรรม (การแบงกลมุ ฯลฯ) (๒) กํากับใหการทาํ กจิ กรรมเปนไปตามลาํ ดับเวลาตามแนวทางท่รี ะบบุ น PowerPoint (๓) ใหความชว ยเหลือนักเรียนในระหวางการทาํ กจิ กรรม (๔) เตรียมพรอมนักเรียนสําหรับกิจกรรมในขั้นตอนสรุปการเรียน (ถามี) เชน การสรุปผล ปฏบิ ตั ิงานเพอ่ื เทียบเคียงกบั ผลงานท่นี ักเรยี นตน ทางจะนาํ เสนอ เปนตน ๔) ขนั้ สรปุ (๑) กํากับนกั เรียนใหมีสว นรว มในการเฉลยใบงาน/สรปุ ผลการทาํ กจิ กรรม ฯลฯ (๒) ทบทวนประเด็นสําคัญที่มีการสรุปทายชั่วโมง และงาน/ใบงานท่ีครูตนทางมอบหมายให ทําเปนการบาน/หรอื ใบงานท่คี รปู ลายทางไดเ ลือกมาใชกบั ช้นั เรยี นของตน (๓) จัดใหนักเรียนไดทําแบบประเมินตามระบุในหัวขอ การวัดและประเมินผลการเรียนรู (เฉพาะหลงั จบแตล ะหนวยการเรียนรแู ละคร่งึ /ปลายภาคเรยี น)

๑๐ คูม อื ครแู ละแผนการจดั การเรียนรู ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี 1 (สงั คมศึกษา ป.6) ๕) การบันทึกผลหลงั สอน (๑) บันทึกการจดั การเรยี นรูของตนเอง โดยใชขอมลู จากแบบสงั เกตพฤตกิ รรมผูเ รียนระหวาง เรยี น และแบบประเมินตนเอง บนั ทกึ การเรยี นรูของนักเรียนเพือ่ วิเคราะหเทคนิค หรือวิธกี ารใด ท่ที ําใหผ เู รยี น มีสวนรวม มคี วามรู มีทักษะ และคุณลักษณะตามจุดประสงค (๒) บันทึกสาเหตุของความสําเร็จ อุปสรรค และ/หรือขอจํากัดที่เกิดข้ึน เชน เทคนิค หรือ วิธีการใด การบริหารจัดการชั้นเรียน การจัดบรรยากาศ ส่ิงแวดลอมอยางไร ฯลฯ ท่ีทําใหผูเรียนมีสวนรวม มี ความรู มีทกั ษะ และคุณลกั ษณะตามจุดประสงค โดยใชค าํ ถามท่ีใหไ วใน “คาํ ถามบนั ทึกผลหลังสอนสําหรับครู ปลายทาง” (ดูภาคผนวก ค) เปนแนวทางในการยอนคิด ไตรตรองส่ิงที่เกิดขึ้นและนําไปบันทึกผลหลังสอนของ ชว่ั โมงนัน้ ๆ (๓) วิเคราะหและสรุปผลจากขอมูลตามปญหา/ความสําเร็จที่เกิดข้ึน และเสนอแนวทาง การปรับปรุง เพื่อนํามาพัฒนาการจัดการเรียนรู และชวยเหลือ/สงเสริมนักเรียนในการจัดการเรียนรูในคร้ัง ตอ ไป รวมท้ังนําไปใชเ ปน ขอ มูลเพอ่ื พฒั นาเปน งานวิจยั ในชั้นเรยี นตอ ไป

คําอธิบายรายวชิ าพืน้ ฐาน กลมุ สาระการเรยี นรสู ังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม 11 คําอธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน รหสั วชิ า ส16101 รายวิชาสงั คมศกึ ษา กลุมสาระการเรยี นรูสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชัน้ ประถมศกึ ษาปท ่ี 6 เวลา ๑๒๐ ชัว่ โมง ศึกษาความสําคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาท่ีตนนับถือในฐานะที่เปนมรดกทางวัฒนธรรม และหลักในการพัฒนาชาติไทย พุทธประวัติตั้งแตเสด็จกรุงกบิลพัสดุจนถึงพุทธกิจสําคัญหรือประวัติศาสดาท่ี ตนนับถือ แบบอยางการดําเนินชีวิตและขอคิดจากประวัติสาวก ชาดก ศาสนิกชนตัวอยาง องคประกอบและ ความสําคัญของพระไตรปฎกหรือคัมภีรของศาสนาที่ตนนับถือ การแสดงความเคารพพระรัตนตรัยและปฏิบัติ ตามไตรสิกขาและหลักธรรมโอวาท 3 ในพระพุทธศาสนาหรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ การสวดมนต แผเมตตา มีสติท่ีเปนพื้นฐานของสมาธิในพระพุทธศาสนาหรือการพัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาท่ีตน นับถือตามที่กําหนด หลักธรรมของศาสนาท่ีตนนับถือเพื่อการพัฒนาตนเองและส่ิงแวดลอม จัดพิธีกรรมตาม ศาสนาที่ตนนับถืออยางเรียบงาย มีประโยชนในศาสนพิธีพิธีกรรมและวันสําคัญทางศาสนาที่กําหนด และ ประโยชนที่ไดรับจากการเขารวมกิจกรรม มรรยาทของความเปนศาสนิกชนที่ดีสถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพและหนาท่ีในฐานะพลเมืองดี วิธีการปกปองคุมครองตนเองหรือผูอ่ืนจากการละเมิดสิทธิเด็ก วัฒนธรรมไทยท่ีมีผลตอการดําเนินชีวิตในสังคมไทยในการอนุรักษและเผยแพรภูมิปญญาทองถ่ินของชุมชน โครงสรางอํานาจ หนาท่ี และความสําคัญของการปกครองสวนทองถ่ิน บทบาทหนาท่ีและวิธีการเขาดํารง ตําแหนงของผูบริหารทองถ่ิน ประโยชนท่ีชุมชนจะไดรับจากองคกรปกครองสวนทองถิ่น ปจจัยการผลิตสินคา และบริการแนวคิดของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการทํากิจกรรมตาง ๆ ในครอบครัว โรงเรียน และ ชุมชน หลักการสําคัญและประโยชนของสหกรณ บทบาทหนาที่เบ้ืองตนของธนาคาร ผลดีผลเสียของการกูยืม ตําแหนง (พิกัดภูมิศาสตรล ะติจูด ลองจิจูด) ระยะ ทิศทางของภูมิภาคของตนเอง ลักษณะภูมลิ ักษณท ่ีสําคญั ใน ภูมิภาคของตนเองในแผนที่ความสัมพันธของลักษณะทางกายภาพกับลักษณะทางสังคมในภูมิภาคของตนเอง สภาพแวดลอมทางกายภาพท่ีมีอิทธิพลตอลักษณะการต้ังถิ่นฐานและยายถิ่นของประชากรในภูมิภาคอิทธิพล ของส่ิงแวดลอมทางธรรมชาติท่ีกอใหเกิดวิถีชีวิตและการสรางสรรควัฒนธรรมในภูมิภาค ผลจากการรักษาและ การทาํ ลายสภาพแวดลอมและการรกั ษาสภาพแวดลอมในภมู ภิ าค โดยใชกระบวนการสืบสอบทางสังคม การฝกดานทักษะ กระบวนการคิดการแกปญหาการเรียนรู การจดั การและการปฏิบัติการสบื คน กระบวนการกลมุ การอภปิ ราย บทบาทสมมุติ เพื่อใหผูเรียนเกิดความรูความคิดเรียนรูอยางมีความสุขและเห็นคุณคาของการนําความรูไปใช ประโยชนใ นการดาํ เนนิ ชีวติ เปน พลเมืองดีของประเทศชาตแิ ละสงั คมโลก มวี ินัย ซ่ือสตั ยส ุจริต รหสั ตวั ช้วี ัด ส 1.1 ป. 6/1, ป. 6/2, ป. 6/3, ป. 6/4, ป. 6/5, ป. 6/6, ป. 6/7, ป. 6/8, ป. 6/9 ส 1.2 ป. 6/1, ป. 6/2, ป. 6/3, ป. 6/4 ส 2.1 ป. 6/1, ป. 6/2, ป. 6/3, ป. 6/4, ป. 6/5 ส 2.2 ป. 6/1, ป. 6/2, ป. 6/3 ส 3.1 ป. 6/1, ป. 6/2, ป. 6/3 ส 3.2 ป. 6/1, ป. 6/2 ส 5.1 ป. 6/1, ป. 6/2 ส 5.2 ป. 6/1, ป. 6/2, ป. 6/3 รวมทั้งหมด 31 ตัวชว้ี ดั

12 คูม อื ครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรียนที่ 1 (สังคมศกึ ษา ป.6) มาตรฐานการเรียนร/ู ตวั ชี้วดั รายวชิ าสังคมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี ๑ กลุมสาระการเรียนรูสังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม รหัสวิชา ส16101 ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ่ี 6 สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร มาตรฐานการเรยี นรู มาตรฐาน ส 3.1 เขาใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภคการใชทรัพยากรท่ี มีอยูจํากัดไดอยางมีประสิทธิภาพและคุมคา รวมทั้งเขาใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดาํ รงชีวติ อยางมีดลุ ยภาพ ตวั ชว้ี ัด ป.๖/1 อธิบายบทบาทของผผู ลติ ทมี่ คี วามรบั ผิดชอบ ป.๖/2 อธบิ ายบทบาทของผบู ริโภคท่รี ูเทา ทัน ป.๖/3 บอกวธิ แี ละประโยชนของการใชทรัพยากรอยางย่งั ยนื มาตรฐาน ส 3.2 เขาใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจตาง ๆ ความสัมพันธทางเศรษฐกิจ และความ จาํ เปนของการรวมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก ตวั ช้ีวดั ป.๖/1 อธิบายความสัมพันธระหวา งผูผลิต ผบู ริโภค ธนาคาร และรฐั บาล ป.๖/2 ยกตวั อยา งการรวมกลุม ทางเศรษฐกิจภายในทอ งถนิ่ สาระที่ 2 หนาทีพ่ ลเมอื ง วัฒนธรรม และการดําเนินชีวติ ในสงั คม มาตรฐานการเรียนรู มาตรฐาน ส 2.1 เขาใจและปฏิบัติตนตามหนาท่ีของการเปนพลเมืองดี มีคานิยมท่ีดีงาม และธํารงรักษา ประเพณแี ละวฒั นธรรมไทย ดาํ รงชีวิตอยูร ว มกนั ในสังคมไทยและสังคมโลกอยา งสนั ติสุข ตัวชี้วดั ป.6/1 ปฏบิ ัตติ ามกฎหมายทเี่ กยี่ วของกบั ชีวิตประจําวันของครอบครวั และชุมชน ป.6/2 วเิ คราะหการเปลีย่ นแปลงวฒั นธรรมตามกาลเวลาและธาํ รงรกั ษาวฒั นธรรมอนั ดีงาม ป.6/3 แสดงออกถงึ มารยาทไทยไดเ หมาะสม ถกู กาลเทศะ ป.6/4 อธิบายคณุ คาทางวัฒนธรรมทแ่ี ตกตา งกนั ระหวางกลุมคนในสงั คมไทย ป.6/5 ตดิ ตามขอมลู ขาวสาร เหตกุ ารณต าง ๆ ในชวี ิตประจําวนั เลอื กรบั และใชขอ มลู ขา วสาร ในการเรียนรไู ดเหมาะสม มาตรฐาน ส 2.2 เขา ใจระบบการเมอื งการปกครองในสังคมปจ จุบัน ยึดม่ัน ศรทั ธา และธํารงรกั ษาไวซึ่ง การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ท รงเปนประมุข ตวั ชี้วดั ป.6/1 เปรียบเทยี บบทบาท หนาท่ีขององคกรปกครองสวนทอ งถ่นิ และรัฐบาล ป.6/2 มีสวนรว มในกจิ กรรมตา ง ๆ ทีส่ ง เสริม ประชาธปิ ไตยในทอ งถ่นิ และประเทศ ป.6/3 อภปิ รายบทบาท ความสําคญั ในการใชส ิทธอิ อกเสยี งเลอื กตัง้ ตามระบอบประชาธปิ ไตย

โครงสรางรายวชิ าสงั คมศกึ ษา กลุมสาระการเรียนรูสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม 13 โครงสรางรายวิชาสงั คมศึกษา รหสั วชิ า ส16101 รายวชิ าสงั คมศึกษา ชนั้ ประถมศึกษาปท ่ี 6 ภาคเรยี นท่ี 1 รวมเวลา ๕๗ ช่วั โมง หนว ยที่ ชื่อหนว ย มาตรฐาน/ สาระสาํ คญั / เวลา นาํ้ หนัก การเรยี นรู ตวั ช้ีวดั ความคดิ รวบยอด (ชั่วโมง) คะแนน 1 สินคา และ ส 3.1 : ป.6/1 ผูผลติ และผูบรโิ ภคตอ ง 1๔ 1๒ ป.6/๒ คาํ นงึ ถึงบทบาทหนาท่ีใน บรกิ าร ป.6/๓ การผลติ เพอ่ื ผูบรโิ ภคทีค่ วร 14 1๒ คํานงึ ถึงการผลติ สินคา ทมี่ ี ๒ ค ว า ม สั ม พั น ธ ส 3.2 : ป.6/1 คณุ ภาพและประโยชนใ ช สอย ทจ่ี ะสง ผลกระทบตอ ทางเศรษฐกิจ ป.6/๒ สง่ิ แวดลอ มและสังคม ซ่งึ มี ทรพั ยากรอยางจํากัด การสรางจติ สาํ นึกในการใช ทรัพยากรอยา งย่ังยนื ผูผลิต ผบู ริโภค ธนาคาร รัฐบาล การเกบ็ ภาษมี ี ความสมั พันธก ันตองพ่งึ พา อาศยั กันในการพัฒนา เศรษฐกจิ ผบู รโิ ภคจะไดรับ สทิ ธิคมุ ครองในการบรโิ ภค สนิ คาและบรกิ าร ผใู ช แรงงานจะไดร ับสทิ ธิคมุ ครอง ในการใชแ รงงานเพ่ือใหไดร ับ ความเปนธรรมและปลอดภยั ๓ ตนกลา คนดี ส 2.1 : ป.6/๒ วัฒนธรรมไทยและภมู ิ 1๒ ๑๑ ป.6/3 ปญ ญาทอ งถิน่ มีความสาํ คัญ ป.6/๔ ตอการดําเนินชวี ติ ใน ป.6/๕ สังคมไทย ดังนน้ั ทกุ คนจึง ควรมีการอนรุ ักษเ ผยแพร วัฒนธรรมและภูมปิ ญญา ทอ งถนิ่ รวมถงึ การเลือกรบั การใชขอมูลขา วสารในการ เรยี นรไู ดอ ยางเหมาะสม

14 คูม อื ครแู ละแผนการจัดการเรียนรู ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรยี นที่ 1 (สงั คมศึกษา ป.6) หนว ยท่ี ชื่อหนว ย มาตรฐาน/ สาระสาํ คญั / เวลา นาํ้ หนกั การเรยี นรู ตวั ชวี้ ดั ความคดิ รวบยอด (ชัว่ โมง) คะแนน ๔ สทิ ธเิ ด็กไทย ส 2.1 : ป.6/1 กฎหมายหรือขอบังคบั ของ 8 7 รัฐซง่ึ บัญญตั ขิ นึ้ เพอื่ ใชก าร ควบคุมพฤตกิ รรมบคุ คล พลเมืองดีจะตองปฏิบตั ิตาม กฎหมายเพื่อใหส ามารถใช ชีวติ ในสังคมไดอ ยา งมี ความสขุ ๕ วิถปี ระชาธปิ ไตย ส 2.๒ : ป.6/1 ประเทศไทยปกครองดวย 9 8 ป.6/๒ ระบอบประชาธปิ ไตยอนั มี ป.6/3 พระมหากษตั รยิ ทรงเปน ประมุข การปฏบิ ัติตนเปน พลเมืองดีทาํ ใหช ุมชนและ ประเทศชาตเิ จริญกาวหนา อยูรวมกนั อยา งมีความสุข องคก รปกครองสวนทอ งถน่ิ หรอื รฐั บาลตา งกม็ ีบทบาท เปน ของตนเอง ประชาชน สามารถมีสวนรวมใน กิจกรรมประชาธปิ ไตย ทัง้ ใน ระดับทอ งถิน่ และ ระดับประเทศ รวมตลอดภาคเรียน ๕๗ 50

หนว ยการเรยี นรทู ่ี 1 เรอ่ื ง สนิ คาและบรกิ าร 15 หนวยการเรียนรูท ่ี 1 สินคา และบรกิ าร

16 คูม ือครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ 1 (สงั คมศกึ ษา ป.6) หนวยการเรยี นรทู ่ี ๑ ช่อื หนว ยการเรียนรู เร่ือง สนิ คา และบริการ รหสั วิชา ส๑๖๑๐๑ รายวิชาสงั คมศกึ ษา กลมุ สาระการเรยี นรสู งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ช้ันประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลา ๑๔ ช่วั โมง ๑. มาตรฐานการเรยี นรู/ตัวชี้วดั สาระท่ี 3 เศรษฐศาสตร มาตรฐานการเรียนรู มาตรฐาน ส 3.1 เขาใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใชทรัพยากร ที่มีอยูจํากัดไดอยางมีประสิทธิภาพและคุมคา รวมท้ังเขาใจหลักการของเศรษฐกิจ พอเพียง เพ่อื การดาํ รงชวี ติ อยา งมดี ลุ ยภาพ ตัวชี้วัด ป.1/1 อธิบายบทบาทของผูผลิตทม่ี ีความรบั ผดิ ชอบ ป.1/2 อธบิ ายบทบาทของผูบ รโิ ภคที่รูเ ทา ทนั ป.1/3 บอกวิธแี ละประโยชนของการใชทรพั ยากรอยา งย่ังยนื ๒. สาระสําคญั /ความคดิ รวบยอด ผูผลิต เปนผูท่ีทําหนาที่ในการเปล่ยี นแปลงทรัพยากรใหเ ปนสนิ คาและบริการ ผูบริโภคเปนบคุ คลหรอื กลุมบุคคลซึ่งเปนผูใชสินคาและบริการเพื่อตอบสนองความตองการ อีกทั้งทรัพยากรมีปริมาณจํากัด ควรใช อยางประหยดั ใหเ กิดประโยชนสูงสุด และมีผลกระทบตอส่ิงแวดลอ มนอยที่สุด ๓. สาระการเรียนรู ความรู ๑. การผลติ สินคาและบริการ ๒. บทบาทของผผู ลติ และผบู รโิ ภค ๓. สินคา และบริการ ๔. ทรพั ยากร 5. เศรษฐกจิ พอเพยี ง ทกั ษะ/กระบวนการ ๑. วิเคราะหปจ จยั การผลติ บทบาทของผูผ ลติ ผูบริโภค ประโยชนข องการผลิตสินคา บรกิ ารผบู ริโภค ๒. แบง ประเภทของตลาดทางเศรษฐศาสตรไ ด 3. แยกแยะประเภทของทรัพยากร หลักการ และวิธีใชท รัพยากรใหเกิดประโยชน 4. วเิ คราะหหลกั การของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เจตคติ ๑. เห็นคุณคา ความสาํ คัญและประโยชนของการใชสนิ คาท่ีมีการผลิตไดค ณุ ภาพ ๒. เห็นความสําคัญคุณคาและประโยชนของหลักการของปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๓. เหน็ ความสําคัญและประโยชนข องการใชท รพั ยากรอยางยง่ั ยืน

หนว ยการเรียนรูท่ี 1 เร่อื ง สนิ คา และบริการ 17 ๔. สมรรถนะสาํ คัญของผูเรยี น ๑. ความสามารถในการสื่อสาร ๒. ความสามารถในการคดิ ๓. ความสามารถในการแกป ญหา ๔. ความสามารถในการใชชีวิต ๕. ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี ๕. คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค ๑. รกั ชาติ ศาสน กษตั รยิ  ๒. ซ่อื สัตย ๓. มีวนิ ยั ๔. ใฝเ รยี นรู ๕. อยูอยา งพอเพยี ง ๖. มจี ิตสาธารณะ ๖. การประเมินผลรวบยอด ชนิ้ งานหรือภาระงาน 1. ใบงานที่ 1 เรอ่ื ง บทบาทของผผู ลติ ท่มี ีคณุ ภาพ 2. ใบงานที่ 2 เรือ่ ง ผลิตภัณฑข องฉนั 3. ใบงานท่ี 3 เรอ่ื ง ปจ จยั กําหนดความตอ งการในการซอ้ื สนิ คา 4. ใบงานที่ 4 เร่ือง ปจ จยั กาํ หนดความตอ งการในการขายสนิ คา 5. ใบงานที่ 5 เรอื่ ง ตลาด 6. ใบงานท่ี 6 เรอื่ ง เครื่องหมายรับรองคณุ ภาพสินคา 7. ใบงานที่ 7 เรือ่ ง การเพิม่ มลู คา ในสนิ คาและบรกิ าร 8. ใบงานท่ี 8 เรอ่ื ง เศรษฐกิจพอเพยี ง 9. ใบงานท่ี 9 เรอ่ื ง ความหมายและประโยชนข องทรพั ยากร 10. ใบงานท่ี 10 เรอ่ื ง หลกั การและวิธีใชท รพั ยากรใหเ กิดประโยชนสงู สุด

18 คมู ือครูและแผนการจัดการเรียนรู ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรียนที่ 1 (สงั คมศกึ ษา ป.6) เกณฑก ารประเมนิ ผลชน้ิ งานหรอื ภาระงาน ประเดน็ การ ระดบั คณุ ภาพ ประเมนิ ๔ (ดมี าก) ๓ (ดี) ๒ (พอใช) ๑ (ปรบั ปรุง) ๑. การบรรยาย จุดประสงค บรรยายเก่ยี วกบั บรรยายเกีย่ วกบั บรรยายเกีย่ วกับ บรรยายเกี่ยวกบั ๒. รปู แบบ จดุ ประสงคใ นการ จุดประสงคใ นการ จดุ ประสงคในการ จุดประสงคใ นการ ๓. เนื้อหา สรางสรรคผ ลงานได สรางสรรคผ ลงานได สรา งสรรคผ ลงานได สรางสรรคผ ลงานได ๔. การนําเสนอ ถกู ตอง ชดั เจน ถกู ตองเปน สว นใหญ ถูกตอ งเปน บางสว น ถูกตอ งเพียงสวน ๕. ความตรงตอ นอ ย เวลา สวยงามมคี วามคดิ สวยงามมีความคิด สวยงามมีความคิด สวยงามมคี วามคดิ สรา งสรรคดมี าก สรา งสรรคดี ทาํ งาน สรางสรรคพอใช สรางสรรค ควร ทาํ งานสะอาด สะอาดเรียบรอยดี ทาํ งานสะอาด ปรบั ปรุง ทํางาน เรียบรอยดีมาก เรยี บรอยพอใช สะอาดเรียบรอ ย ควรปรับปรุง เขยี นเนอ้ื หาได เขยี นเน้อื หาได เขยี นเนอื้ หาได เขียนเนอื้ หาไม ชดั เจนถกู ตอ งดมี าก ชดั เจนถูกตอ งดี ชัดเจนถูกตองพอใช ถูกตอ งพอใช ภาพกับเนอ้ื หา ภาพกบั เน้อื หา ภาพกบั เน้อื หา ภาพกบั เน้ือหา สอดคลองกนั ดีมาก สอดคลองกันดี สอดคลองพอใช ไมส อดคลองกัน นําเสนอผลงาน นาํ เสนอผลงาน นําเสนอผลงาน นําเสนอผลงาน เน้อื หาถกู ตอ ง เนอ้ื หาถกู ตอ ง เน้อื หาไมสมบูรณ เนอ้ื หาไมถ ูกตอ ง ชดั เจนครบถวน ชดั เจนครบถวน สรา งสรรคงานดี ภาษาไมถ ูกตอง สรางสรรคง านดี สรางสรรคงานดี มาก ภาษาไม อยใู นระดบั ปรบั ปรุง มาก ภาษาถกู ตอ ง ภาษาถูกตอ งอยูใน ถกู ตอ ง อยูในระดบั อยูใ นระดับดีมาก ระดบั ดี พอใช สง งานครบถวนตรง สง งานครบถวนชา สง งานครบถว นชา สง งานครบถวนตรง ตามเวลาทกี่ ําหนด กวา ตามเวลาท่ี กวา ตามเวลาที่ ตามเวลาทก่ี ําหนด กาํ หนด ๑-๒ วนั กําหนด ๓-๔ วนั ๕ วันข้นึ ไป เกณฑการตัดสิน หมายถงึ ดมี าก คะแนน ๑๖-๒๐ หมายถึง ดี คะแนน ๑๓-๑๕ หมายถงึ พอใช คะแนน ๑๐-๑๒ หมายถงึ ปรับปรงุ คะแนน ๙-๑๐ เกณฑก ารผาน ตง้ั แตระดบั พอใช

หนว ยการเรยี นรทู ่ี 1 เรือ่ ง สินคาและบรกิ าร 19 แผนการจัดการเรียนรทู ี่ ๑ เรอื่ ง การผลติ สินคาและบริการ หนว ยการเรยี นรทู ี่ ๑ เรอื่ ง สนิ คา และบริการ เวลา ๑ ชว่ั โมง กลมุ สาระการเรียนรูสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม รายวชิ าสงั คมศกึ ษา ชัน้ ประถมศกึ ษาปท ่ี 6 ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๑. มาตรฐานการเรยี นรู/ตวั ชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู มาตรฐาน ส 3.1 เขาใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใชทรัพยากร ท่ีมีอยูจํากัดไดอยางมีประสิทธิภาพและคุมคา รวมท้ังเขาใจหลักการของเศรษฐกิจ พอเพยี ง เพื่อการดํารงชีวติ อยา งมดี ุลยภาพ ตวั ชี้วดั ป.๖/1 อธิบายบทบาทของผูผลิตทม่ี คี วามรับผิดชอบ ๒. สาระสําคญั /ความคดิ รวบยอด ผูผลิต เปนผูที่ทําหนา ที่ในการเปล่ยี นแปลงทรัพยากรใหเปนสินคา และบริการ ผูบริโภคเปนบุคคลหรือ กลุมบุคคลซ่ึงเปนผูใชสินคาและบริการเพื่อตอบสนองความตองการ อีกทั้งทรัพยากรมีปริมาณจํากัด ควรใช อยา งประหยดั ใหเกิดประโยชนสูงสุด และมีผลกระทบตอสิ่งแวดลอ มนอยทีส่ ดุ ๓. จุดประสงค ๓.๑ ความรู - อธบิ ายความหมายของการผลติ สินคาหรอื บรกิ ารได ๓.๒ ทกั ษะ/กระบวนการ - วิเคราะหขน้ั ตอนการผลิตสินคาหรือบริการได ๓.๓ เจตคติ - ตระหนักถงึ การใชทรัพยากรท่นี าํ มาผลติ เปนสนิ คาหรือบรกิ าร ๔. สาระการเรยี นรู ๑. ความหมายการผลิตสินคา หรอื บริการ ๒. ข้นั ตอนการผลติ สนคาหรอื บริการ ๕. สมรรถนะสาํ คญั ของผูเ รยี น ๑. ความสามารถในการสอ่ื สาร ๒. ความสามารถในการคิด ๓. ความสามารถในการแกปญ หา ๖. คุณลักษณะอันพงึ ประสงค ๑. มวี นิ ัย ๒. ใฝเรียนรู ๓. มุง มั่นในการทํางาน ๗. กิจกรรมการเรียนรู

20 คมู อื การจดั การเรียนรู ชน้ั แผนจดั การเรยี นรทู ่ี ๑ เรื่อง รายวิชาสงั คมศกึ ษา ลาํ ดบั ท่ี จุดประสงคก ารเรียนรู ข้นั ตอนการ เวลาที่ แ จดั การเรยี นรู ใช กจิ กรรมคร ๑. 1. อธบิ ายความหมาย ข้นั นาํ ๑๐ ๑. ครูใหน กั เรยี นด ของการผลิตสนิ คาหรือ นาที และวิดีโอ เกยี่ วกบั บรกิ ารได เชน - ภาพการทาํ ปลาต - ภาพการผลติ มะม - ภาพการใชบ ริกา เสริมสวย - วดิ โี อชาวสวนกบั ผลไม - วดิ ีโออุตสาหกรร การผลติ เคร่อื งดื่มอ การผลิตรถยนต ๒. ครูสอบถามโดย คาํ ถามดังนี้ - ภาพดงั กลา วเปน อะไร

อครแู ละแผนการจดั การเรยี นรู ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นท่ี 1 (สงั คมศกึ ษา ป.6) นประถมศึกษาปท ่ี ๖ ง การผลติ สนิ คา และบรกิ าร า จาํ นวน ๑ ชวั่ โมง แผนการจดั การเรยี นรู สอื่ การเรยี นรู การประเมิน การเรยี นรู รู กจิ กรรมนกั เรยี น - ภาพการทาํ ปลาตาก - แบบประเมนิ ดภู าพ ๑. นกั เรยี นดภู าพการผลิต แหง การสงั เกต บผผู ลิต หรือบริการ - ภาพการผลติ มะมวง พฤตกิ รรม กวน นักเรียน ตากแหง - ภาพการใชบรกิ ารรา น รายบคุ คล มว งกวน เสริมสวย ารราน - วดิ โี อชาวสวนกับ ผลผลิตผลไม บผลผลิต - วดิ โี ออตุ สาหกรรม การผลิตเครื่องดมื่ รม อาหาร การผลติ รถยนต อาหาร ยใช ๒. นักเรยี นตอบคาํ ถาม (กระบวนการผลิต) นภาพ (การนําเอาปจ จยั การผลิต ตา ง ๆ ไปผา นแปรรูป

หนว ยการเรยี นรูที่ 1 เรือ่ ง สนิ คาและบรกิ าร ลําดบั ท่ี จุดประสงคก ารเรียนรู ข้นั ตอนการ เวลาที่ แ จัดการเรยี นรู ใช กิจกรรมคร - เราเรียกระบวนก เหลานีว้ า อะไร 2. 2. วิเคราะหข น้ั ตอน ข้ันสอน ๒๕ ๓. ครนู ําภาพการผ การผลติ สินคาหรอื นาที สินคามา ๒ ชนิด ค บริการได เกษตรกรปลูกสับป 3. ตระหนักถึงการใช และภาพการบรรจ ทรัพยากรท่นี ํามาผลติ สับปะรดกระปอง ใ เปนสินคาหรอื บริการ นกั เรียนสงั เกต ๔. ครูใหน กั เรยี น เปรยี บเทียบภาพก สินคา ๒ ชนดิ โดยใชคาํ ถามดงั นี้ - การผลติ สนิ คา ข ชนดิ นีม้ ีความยากง ตางกันไหม - กรณผี ลติ สับปะร กระปองใบสัปปะร นําไปทําอะไร หรือ โรงงานผลติ นาํ ขอ

แผนการจดั การเรยี นรู สอื่ การเรยี นรู 21 รู กจิ กรรมนกั เรยี น การประเมนิ การ ออกมาเปน สินคาหรือ การเรยี นรู บรกิ าร) - ภาพเกษตรกรปลกู สบั ปะรด และภาพการ ผลติ ๓. นักเรยี นสงั เกตภาพ บรรจสุ บั ปะรดกระปอ ง คือ การผลิตสนิ คา ๒ ชนิด ปะรด จุ ให การผลิต ๔. นักเรียนตอบคําถาม (๒ ภาพมกี ารผลิตที่มคี วาม ของ ๒ ยงุ ยาก ใชเ ครื่องมอื ที่ งา ย ตางกนั ) รด (ใบสับปะรด สามารถนาํ ไป รดเกษตร ทํากระดาษ หรอื สว น อ เปลอื กสามารถนาํ ไปเปน องท่ีเหลอื อาหารสัตวได)

22 คูมอื ลําดบั ท่ี จุดประสงคก ารเรียนรู ขน้ั ตอนการ เวลาที่ แ จัดการเรียนรู ใช กิจกรรมคร จากสับปะรดไปทํา อกี บาง ๕. ครูแบง กลมุ นกั เ ศกึ ษา เรอ่ื ง ขนั้ ตอ การผลติ เพือ่ นาํ มา วิเคราะหกิจกรรมว ข้ันตอนการผลติ ขัน้ 3. 4. วเิ คราะหข้นั ตอน ข้นั ปฏบิ ตั ิ ๑๐ ๖. ครูแจกบตั รคําข การผลิตสนิ คา หรือ นาที การผลิต เพือ่ ใหนัก บรกิ ารได เลมเกมทายขนั้ ตอน การผลิต โดยครจู ะ กิจกรรมทางเศรษฐ - การธนาคาร - ทาํ ไรขา วโพด - ผลติ ปลากระปอง - นวดแผนไทย แลวใหน ักเรยี นยกบ เพ่ือตอบคาํ ถาม

อครูและแผนการจัดการเรยี นรู ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี 1 (สงั คมศกึ ษา ป.6) แผนการจดั การเรยี นรู ส่อื การเรียนรู การประเมิน การเรียนรู รู กจิ กรรมนกั เรยี น าอะไรได เรยี นให ๕. นกั เรียนแบง กลมุ แลว - ใบความรทู ่ี 1 เร่อื ง อนของ ศึกษา เร่อื ง ขน้ั ตอน ขน้ั ตอนการผลติ สนิ คา า การผลติ วา อยใู น นไหน ข้นั ตอน ๖. นกั เรียนเลน เกมทาย - บตั รคาํ กเรียน ขั้นตอนการผลติ - ภาพกิจกรรมทาง น เศรษฐกิจ ะขึ้นภาพ ฐกจิ เชน ง บัตรคํา

หนวยการเรยี นรทู ่ี 1 เรอ่ื ง สนิ คา และบริการ ลําดบั ที่ จดุ ประสงคก ารเรียนรู ขัน้ ตอนการ เวลาที่ แ จัดการเรยี นรู ใช กิจกรรมคร 4. ขนั้ สรปุ 5 นาที ๗. ครแู ละนักเรยี น สรุปเร่อื ง ข้ันตอนก และ ยกตัวอยางขา ตวั อยางการผลติ ทใี่ ทรพั ยากรอยา งสนิ้ เชน การกอ สรา ง ส ทีไ่ มส ําเร็จ ถกู ทง้ิ รา อาหารที่เหลอื จากง เลย้ี ง

แผนการจดั การเรียนรู ส่อื การเรยี นรู 23 - ภาพขาว รู กิจกรรมนกั เรยี น การประเมนิ การเรยี นรู นรวมกัน ๗. นกั เรียนรว มกันสรุปกบั การผลติ ครู าว (ข้นั ตอนการผลิตมี ใช กระบวนการผลติ จากงา ย นเปลือง ไปยากซ่งึ แบง ออกเปน ๓ สถานที่ ขน้ั ตอน ดงั น้ี ขนั้ ปฐมภมู ิ างหรือ ขั้นทุติยภูมิ ขนั้ ตติยภูมิ) งาน

24 คูมอื ครแู ละแผนการจดั การเรียนรู ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี 1 (สงั คมศึกษา ป.6) ๘. สอ่ื การเรยี นรู/แหลง การเรียนรู ๑. บัตรภาพ - ภาพการสขี าว - ภาพการทําปลาตากแหง - ภาพการผลติ มะมว งกวน - ภาพการใชบริการราน เสริมสวย - ภาพกิจกรรมทางเศรษฐกจิ - ภาพขาว - ภาพเกษตรกรปลกู สับปะรด - ภาพการบรรจสุ บั ปะรด กระปอง ๒. บัตรคาํ ๓. PowerPoint ๔. ใบความรูท่ี 1 เรอ่ื ง ขนั้ ตอนการผลิตสินคา ๙. การประเมนิ ผลรวบยอด สิ่งทต่ี องการวดั / วธิ ีการ เครอ่ื งมือทใี่ ช เกณฑ ประเมนิ - สังเกตพฤตกิ รรม - แบบประเมิน - ผา นเกณฑรอ ยละ ๖๐ ดา นความรู นกั เรียนรายบุคคล พฤติกรรมนักเรยี น - ผานเกณฑรอ ยละ ๖๐ - การตอบคาํ ถาม รายบุคคล ดา นทักษะกระบวนการ - สงั เกตการเกมทาย - เกมทายขั้นตอน ขนั้ ตอนการผลติ การผลติ ดา นเจตคติ - สังเกตพฤตกิ รรม - แบบประเมนิ พฤตกิ รรม - ผา นเกณฑป ระเมนิ นกั เรียนรายบคุ คล นกั เรียนรายบคุ คล ระดับคณุ ภาพพอใชขน้ึ - การตอบคําถาม ไป สมรรถนะสาํ คญั ของ - ประเมนิ ความสามารถ - แบบประเมินสมรรถนะ - ผา นเกณฑประเมนิ ผเู รียน ในการสื่อสาร สาํ คญั ของผเู รยี น ระดบั คุณภาพพอใชข น้ึ ความสามารถในการคิด ไป คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ความสามารถในการ - แบบประเมนิ ประสงค แกป ญ หา คณุ ลกั ษณะ - ผา นเกณฑป ระเมนิ อนั พงึ ประสงค ระดบั คุณภาพพอใชขนึ้ - ประเมิน การมวี นิ ยั ไป ใฝเ รยี นรู และมงุ มน่ั ใน การทาํ งาน

หนว ยการเรียนรทู ี่ 1 เร่ือง สินคาและบริการ 25 ๑๐. บนั ทึกผลหลงั สอน ผลการจดั การเรียนการสอน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ความสาํ เรจ็ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ปญหาและอุปสรรค .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ขอ จาํ กดั การใชแ ผนการจดั การเรยี นรู และขอ เสนอแนะ/แนวทางการปรบั ปรุงแกไข .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชือ่ ......................................................ผูส อน (..........................................................) วันที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. ............. ๑๑. ความคดิ เหน็ /ขอเสนอแนะของผบู รหิ ารหรอื ผทู ีไ่ ดร ับมอบหมาย .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่ือ ...................................................... ผูตรวจ (..........................................................) วันที่ .......... เดือน ..................... พ.ศ. .............

26 คมู ือครูและแผนการจัดการเรียนรู ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ 1 (สงั คมศึกษา ป.6) ใบความรูที่ 1 เร่ือง ข้ันตอนการผลิตสินคา หนวยการเรยี นรทู ่ี ๑ เรอื่ ง สินคาและบรกิ าร แผนการจดั การเรียนรทู ี่ ๑ เรือ่ ง การผลติ สินคา และบรกิ าร รายวิชาสงั คมศึกษา รหสั วชิ า ส๑๖๑๐๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ชนั้ ประถมศึกษาปท ่ี 6 การผลติ หมายถึง ผูกระบวนการแปรสภาพทรัพยากร (ปจจัยการผลิต) ที่มีอยูอยางจํากัด เชน ท่ีดิน ทุน แรงงาน ผปู ระกอบการ แปรรปู ใหเปน สินคา และบรกิ ารท่ีมปี ระโยชนทางเศรษฐกจิ ขนึ้ มาใหม กระบวนการผลติ เปนการท่ีนําวัตถุดิบจากธรรมชาติมาแปรรูปเปนผลผลิต เชน โรงสีขาว นําขาวเปลือกชาวนามาสีเปน ขาวสาร แลวบรรจุวางจําหนายตามรานคาทั่วไป กระบวนการผลิตน้ีจะตองอาศัยความรูดานเทคนิคและ อปุ กรณม ากบางนอ ยบาง ตามความทันสมยั ของหนว ยการผลติ และประเภทของสินคา และบริการ ประเภทของการผลติ สนิ คาและบรกิ าร ที่มาของภาพ : accesstrade,in.th 1. การผลิตข้ันแรกหรือขั้นปฐมภูมิ เปนการผลิตท่ีใชประโยชน ที่มาของภาพ : sites.goodle.com จากธรรมชาติโดยตรง วิธีการผลิตงายไมยุงยากซับซอน ใชเครื่องมือหรือ อุปกรณในการผลิตเพียงเล็กนอย ผลผลิตที่ไดสวนใหญไมสามารถสนอง ความตอ งการไดท ันที ตอ งนาํ ไปแปรสภาพกอนจึงจะสนองความตองการได ตั ว อ ย า ง ข อ ง กิ จ ก ร ร ม ท่ี จั ด เ ป น ก า ร ผ ลิ ต ขั้ น ป ฐ ม ภู มิ ห รื อ ข้ั น แ ร ก คื อ การเกษตรกรรม ไดแ ก การเพาะปลกู ทาํ นา ทําไร เลี้ยงสตั ว ประมง ปา ไม 2. การผลิตขั้นที่สองหรือขั้นทุติยภูมิ เปนการผลิตท่ีตองอาศัย ผลผลติ อน่ื มาเปนวัตถุดบิ ในการผลิต กรรมวธิ กี ารผลติ มคี วามยุง ยากซบั ซอน มากข้ึน ตองใชเคร่ืองมือ และอุปกรณเพ่ือประกอบการผลิตมากขึ้น สวน ใหญเปนการผลิตในดานอุตสาหกรรม เชน การผลิต อาหารกระปองตาง ๆ การผลิตเหล็กเสน เหล็กแผน การตอเรือ การสรางอาคารที่อยูอาศัย ฯลฯ กิจการบางอยางจะใหผลผลิตท่ีสามารถสนองความตองการของผูใชไดทันที เชน โตะ เกาอ้ี เตียง อาหารกระปอ ง 3. การผลิตขั้นท่ีสามหรอื ขั้นตติยภูมิ เปนการผลิตในลักษณะการ ทม่ี าของภาพ : kaohoon.com ใหบริการดานการขนสง การคาสง การคาปลีก การประกันภัย การธนาคาร โดยมีวัตถุประสงคเพื่อชวยใหผลผลิตเคลื่อนยายจากการผลิตข้ันท่ีหน่ึงไป ข้นั ที่สอง และไปสผู ูบริโภคไดสะดวก รวดเรว็ มคี ุณภาพ และมีประสทิ ธิภาพ ดีขน้ึ

หนว ยการเรยี นรทู ่ี 1 เรอ่ื ง สินคาและบริการ 27 แบบประเมนิ การสังเกตพฤตกิ รรมนกั เรยี นรายบคุ คล ชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ ๖ สังเกตพฤตกิ รรมการเรียนรู วนั ที่.......................เดือน.........................................พ.ศ.................................. เกณฑก ารใหค ะแนน ลําดบั ที่ ชื่อ–สกลุ ความต้ังใจในการเ ีรยน รวม ระดบั (4) (16) คณุ ภาพ ความสนใจและการ ซักถาม (4) การตอบ ํคาถาม (4) ีมสวนรวมในกิจกรรม (4) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ลงชือ่ ................................................................ผปู ระเมนิ ...................../..................../................... เกณฑก ารใหค ะแนนดังตารางแนบทา ย เกณฑก ารประเมนิ ในการสงั เกตพฤตกิ รรมนกั เรียนรายบคุ คล ดังนี้ ชว งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ เกณฑการสรปุ ผลการประเมนิ 13-16 ดีมาก นักเรยี นที่ไดร ะดบั คณุ ภาพพอใชข ึน้ ไป ถือวา ผา น 9-12 ดี 5-8 พอใช 1-4 ปรับปรุง

28 คมู ือครูและแผนการจดั การเรยี นรู ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี 1 (สงั คมศึกษา ป.6) เกณฑก ารวดั และประเมินผลการสงั เกตพฤตกิ รรมนกั เรยี นรายบคุ คล (Rubric) ประเดน็ การ ดีมาก (4) เกณฑก ารใหค ะแนน ประเมนิ ดี (3) พอใช (2) ตอ งปรบั ปรุง (1) 1. ความตัง้ ใจใน สนใจในการเรยี น สนใจในการเรียน สนใจในการเรยี น ไมสนใจใน การเรียน ไมคุยหรอื เลนกัน คยุ กนั เล็กนอย คุยกันและเลน กัน การเรียน คุยและ 2. ความสนใจและ การซักถาม ในขณะเรยี น ในขณะเรยี น ในขณะเรยี นเปน เลน กันในขณะ 3. การตอบคาํ ถาม บางครง้ั เรยี น 4. มีสวนรว มใน มกี ารถามในหวั ขอ มกี ารถามในหวั ขอ มีการถามในหวั ขอ ไมถามในหวั ขอ ท่ี กจิ กรรม ท่ตี นไมเ ขา ใจทกุ ทต่ี นไมเ ขา ใจเปน ท่ีตนไมเขาใจเปน ตนไมเ ขา ใจและไม เรือ่ งและกลา สว นมากและกลา บางคร้ังและไม กลา แสดงออก แสดงออก แสดงออก คอยกลา แสดงออก รวมตอบคําถามใน รว มตอบคาํ ถามใน รว มตอบคําถามใน ไมตอบคาํ ถาม เรือ่ งที่ครูถามและ เรอ่ื งท่ีครถู ามและ เรื่องท่คี รถู ามเปน ตอบคําถามถกู ทกุ ตอบคําถาม บางคร้ังและตอบ ขอ สว นมากถูก คาํ ถามถูกเปน บางครง้ั รวมมือและ รว มมือและ รวมมอื และ ไมมคี วามรว มมือ ชวยเหลือเพ่อื นใน ชว ยเหลอื เพ่อื น ชวยเหลอื เพือ่ นใน ในขณะทาํ การทาํ กจิ กรรม เปนสวนใหญใ น การทาํ กจิ กรรม กจิ กรรม การทาํ กิจกรรม เปน บางคร้งั

หนว ยการเรยี นรูที่ 1 เรอ่ื ง สินคา และบรกิ าร 29 แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค คําชแี้ จง ใหผ สู อนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหวา งเรียนและนอกเวลาเรยี นแลว ขีด ลงในชองที่ ตรงกบั ระดบั คะแนน รายการ พฤตกิ รรมการแสดงออก ระดบั การปฏบิ ตั ิ ประเมนิ ๓๒๑ ๑. มวี นิ ยั ๑.1 ปฏิบตั ติ ามขอตกลง กฎเกณฑ ระเบียบ ขอบงั คับของครอบครัว รบั ผดิ ชอบ และโรงเรียน มีความตรงตอ เวลาในการปฏิบตั กิ ิจกรรมตาง ๆ ใน ๒. ใฝเ รยี นรู ชวี ติ ประจําวันมีความรบั ผดิ ชอบ 2.1 ตง้ั ใจเรียน 3. มงุ มั่นใน การทาํ งาน 2.2 เอาใจใสในการเรยี นและมคี วามเพียรพยายามในการเรียน 2.3 เขารว มกิจกรรมการเรียนรูตาง ๆ 2.4 ศึกษาคนควา หาความรจู ากหนงั สอื เอกสาร สงิ่ พิมพ สือ่ เทคโนโลยตี าง ๆ แหลง การเรียนรูท้งั ภายในและภายนอกโรงเรียน และเลอื กใชสอ่ื ไดอ ยา งเหมาะสม 2.5 บนั ทกึ ความรู วเิ คราะห ตรวจสอบบางสงิ่ ท่เี รียนรู สรุปเปน องค ความรู 2.6 แลกเปล่ยี นความรู ดวยวธิ ีการตาง ๆ และนาํ ไปใชใ น ชีวิตประจาํ วัน 3.1 มคี วามต้ังใจและพยายามในการทาํ งานท่ีไดรบั มอบหมาย 3.2 มีความอดทนและไมท อแทต อ อุปสรรคเพ่อื ใหงานสําเรจ็ เกณฑก ารใหค ะแนน ลงช่อื ................................................................ผปู ระเมิน ๓ คะแนน หมายถงึ ๒ คะแนน หมายถงึ ...................../..................../................... ๑ คะแนน หมายถงึ ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมอยา งสมาํ่ เสมอ ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมบอ ยครงั้ ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบางคร้ัง เกณฑก ารใหค ะแนนดงั ตารางแนบทา ย เกณฑก ารประเมินคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค ดังนี้ ชว งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ เกณฑการสรุปผลการประเมนิ 19-27 ดี นกั เรยี นทีไ่ ดร ะดบั คุณภาพพอใชข้ึนไป ถือวา ผาน 10-18 1-9 พอใช ปรับปรงุ

30 คูมอื ครูและแผนการจัดการเรียนรู ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี 1 (สงั คมศกึ ษา ป.6) แบบประเมินสมรรถนะสาํ คญั ของผเู รียน คาํ ชแี้ จง ใหผสู อนสงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรยี นในระหวางเรียนและนอกเวลาเรยี นแลว ขดี ลงในชองที่ ตรงกบั ระดบั คะแนน รายการประเมิน พฤตกิ รรมการแสดงออก ระดบั การปฏบิ ตั ิ ๓๒๑ ๑. ความสามารถ ๑.1 มคี วามสามารถในการรบั –สงสาร ในการสอ่ื สาร 1.2 มคี วามสามารถในการถา ยทอดความรู ความคดิ ความเขาใจ ของตนเอง โดยใชภาษาอยางเหมาะสม 2. ความสามารถ 2.1 มที กั ษะในการคิดนอกกรอบอยางสรา งสรรค ในการคดิ 2.2 มคี วามสามารถในการคดิ อยา งมีระบบ 3. ความสามารถ 3.1 สามารถทาํ งานกลุมรวมกบั ผอู ่นื ได ในการแกป ญ หา 3.2 สามารถตดั สนิ ใจไดเหมาะสมตามวัย ลงชื่อ................................................................ผปู ระเมิน ...................../..................../................... เกณฑก ารใหค ะแนน ๓ คะแนน หมายถงึ ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤติกรรมอยา งสมาํ่ เสมอ ๒ คะแนน หมายถึง ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบอยครัง้ ๑ คะแนน หมายถึง ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบางคร้งั เกณฑก ารใหค ะแนนดังตารางแนบทา ย เกณฑก ารประเมินสมรรถนะสาํ คญั ของผูเรียน ดงั นี้ ชว งคะแนน ระดับคณุ ภาพ เกณฑก ารสรปุ ผลการประเมนิ 13-18 ดี นกั เรยี นที่ไดร ะดบั คุณภาพพอใชข นึ้ ไป ถือวา ผาน 7-12 1-6 พอใช ปรบั ปรงุ

หนวยการเรยี นรูที่ 1 เรือ่ ง สนิ คาและบรกิ าร 31 แผนการจัดการเรยี นรูท่ี ๒ เรอ่ื ง บทบาทของผผู ลติ หนวยการเรียนรทู ี่ ๑ เรือ่ ง สนิ คา และบรกิ าร เวลา ๑ ชัว่ โมง กลมุ สาระการเรยี นรูสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม รายวิชาสงั คมศกึ ษา ช้นั ประถมศกึ ษาปท ่ี 6 ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๑. มาตรฐานการเรยี นร/ู ตวั ชีว้ ัด มาตรฐานการเรยี นรู มาตรฐาน ส 3.1 เขาใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใชทรัพยากร ท่ีมีอยูจํากัดไดอยางมีประสิทธิภาพและคุมคา รวมท้ังเขาใจหลักการของเศรษฐกิจ พอเพยี ง เพือ่ การดํารงชวี ติ อยา งมดี ลุ ยภาพ ตวั ชว้ี ดั ป.๖/1 อธิบายบทบาทของผูผลติ ท่ีมคี วามรับผดิ ชอบ ๒. สาระสาํ คญั /ความคดิ รวบยอด ผูผลิต เปนผูท่ีทําหนา ที่ในการเปลีย่ นแปลงทรัพยากรใหเปนสนิ คา และบริการ ผูบริโภคเปนบุคคลหรือ กลุมบุคคลซึ่งเปนผูใชสินคาและบริการเพ่ือตอบสนองความตองการ อีกทั้งทรัพยากรมีปริมาณจํากัด ควรใช อยา งประหยดั ใหเ กดิ ประโยชนส ูงสดุ และมีผลกระทบตอสิ่งแวดลอมนอ ยท่ีสดุ ๓.จดุ ประสงค ๓.๑ ความรู - อธิบายความหมาย ของผูผลิตสินคา หรอื บริการได ๓.๒ ทักษะ/กระบวนการ - วเิ คราะหบทบาทของผูผ ลติ สนิ คา หรอื บรกิ ารท่ีมีคณุ ภาพได ๓.๓ เจตคติ - เหน็ ความสําคัญและประโยชนข องการใชสนิ คาทีม่ ีการผลติ ไดค ณุ ภาพและมาตรฐาน ๔. สาระการเรยี นรู ๑. ความหมายของผูผลติ ๒. บทบาทของผูผลติ ท่ีมคี ณุ ภาพ ๕. สมรรถนะสาํ คญั ของผูเรียน ๑. ความสามารถในการสื่อสาร ๒. ความสามารถในการคดิ ๓. ความสามารถในการแกป ญ หา ๖. คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค ๑. มีวนิ ยั ๒. ใฝเ รียนรู ๓. มงุ มน่ั ในการทํางาน ๗. กจิ กรรมการเรยี นรู

32 คมู การจดั การเรียนรู ช้นั แผนจดั การเรยี นรทู ี่ ๒ รายวชิ าสังคมศึกษา ลาํ ดบั ท่ี จุดประสงคก ารเรยี นรู ขัน้ ตอนการ เวลา แผ จัดการเรียนรู ทใ่ี ช กจิ กรรมครู ๑. 1. อธบิ ายความหมาย ของผูผลติ สนิ คา หรือ ข้นั นาํ ๑๐ ๑. ครูใหน กั เรยี นนาํ บริการได นาที ผลิตภัณฑส ินคา ตาง ๆ ค ๑ ช้ิน ๒. ครูสอบถามโดยใชค ํา ดังน้ี - สินคาช่ือวา อะไร - ใชท ําอะไรไดบาง ๓. ครยู กตวั อยางสนิ คา ขาวสารบรรจถุ งุ และรถข เลน โดยมีตวั แทนจาํ หนา มาขายใหนักเรยี นสอบถ โดยใชค าํ ถามดงั น้ี - ใครเปนคนทาํ สนิ คา ช

มอื ครูและแผนการจดั การเรียนรู ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรียนที่ 1 (สงั คมศกึ ษา ป.6) นประถมศึกษาปท ี่ ๖ ๒ เร่ือง บทบาทผผู ลติ า จํานวน ๑ ชัว่ โมง ผนการจดั การเรยี นรู สือ่ การเรยี นรู การประเมินการ เรยี นรู กจิ กรรมนกั เรยี น - ผลิตภณั ฑ ตา ง ๆ - แบบประเมิน ๑. นักเรยี นนาํ ผลติ ภัณฑสนิ คา มา การสงั เกต คนละ คนละ ๑ ชนิ้ จะเปน อะไรก็ได พฤติกรรมนกั เรยี น รายบุคคล เชน ขนมขบเคย้ี ว ของเลน หนงั สอื ผลิตภณั ฑต า ง ๆ าถาม ๒. นักเรียนตอบคาํ ถาม (ขนม ใชส าํ หรบั รับประทาน สบู ใชส ําหรับทาํ ความสะอาด รางกาย) ๓. นกั เรยี นตอบคําถาม - ภาพขา วสาร ของ (ชาวนา, เจา ของกิจการ บรรจถุ ุง าย โรงงานผลติ ) - รถของเลน ถาม (เปน ผผู ลิตสนิ คา ผูท ่ที าํ หนา ที่ แปรรูปทรัพยากรใหเปน สนิ คา ช้ินน้ี หรือบรกิ าร)

หนว ยการเรยี นรทู ี่ 1 เรื่อง สินคา และบรกิ าร ลาํ ดบั ที่ จดุ ประสงคก ารเรยี นรู ข้นั ตอนการ เวลา แผ จดั การเรียนรู ทใี่ ช กจิ กรรมครู 2. 2. เหน็ ความสาํ คญั และ ประโยชนของการใช ขัน้ สอน - บุคคลเหลา นี้ เขาเรียก สนิ คาทมี่ กี ารผลิตได อะไร คณุ ภาพและมาตรฐาน ขั้นปฏบิ ตั ิ ๒๐ ๔. ครอู ภิปราย เร่ือง บท ข้ันสรปุ นาที ผผู ลิตทม่ี คี ณุ ภาพ เพือ่ น 3. 3. วเิ คราะหบ ทบาทของ วิเคราะหส ถานการณ ผูผลติ สนิ คา หรอื บรกิ ารที่ ตวั อยางทคี่ รูกําหนดให มคี ุณภาพได ๑๐ ๕. ครใู หน กั เรยี นทําใบงา นาที เรือ่ ง บทบาทผผู ลิตทม่ี ี 4. คณุ ภาพ ๑๐ ๖. ครูใหนกั เรยี นออกมา นาที เฉลยและนาํ เสนอใบงาน ๗. ครูและนักเรียนรว มก สรปุ เรื่อง บทบาทผผู ลิต

33 ผนการจดั การเรียนรู ส่อื การเรียนรู การประเมนิ การ กิจกรรมนกั เรยี น เรยี นรู กวา ทบาท ๔. นักเรยี นอภปิ รายเร่ือง บทบาท - สื่อ นาํ มา ผผู ลติ ทมี่ คี ณุ ภาพกับนกั เรยี น PowerPoint าน ๕. นกั เรยี นทําใบงานเรื่อง - ใบงานเรอื่ ง บทบาทผูผลติ ทีม่ คี ุณภาพ บทบาทผูผลิตที่ มคี ณุ ภาพ า ๖. นกั เรยี นเฉลยใบงานพรอม - ใบงานเรือ่ ง น นําเสนอใบงาน บทบาทผูผลิตท่ี มีคุณภาพ กัน ๗. นักเรียนสรปุ เรือ่ ง บทบาท ผผู ลติ (ผผู ลติ ทม่ี ีคณุ ภาพ คือ ผผู ลติ ท่มี ี คณุ ธรรม ผลิตสนิ คาและบรกิ ารที่ มปี ระโยชน มคี วามปลอดภัยตอ ผูบรโิ ภค

34 คมู ือครูและแผนการจัดการเรียนรู ระดับประถมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี 1 (สงั คมศึกษา ป.6) ๘. สือ่ การเรียนรู/แหลง การเรียนรู ๑. ผลิตภณั ฑต า ง ๆ ๒. ภาพขาวสารบรรจุถุง ๓. PowerPoint 4. ใบงานท่ี 1 เรื่อง บทบาทผผู ลติ ท่มี คี ณุ ภาพ ๙. การประเมนิ ผลรวบยอด สิง่ ทต่ี องการวดั / วธิ กี าร เคร่อื งมือทใ่ี ช เกณฑ ประเมนิ - สังเกตพฤตกิ รรม - แบบประเมนิ พฤตกิ รรม ผา นเกณฑร อยละ ๖๐ ดา นความรู นกั เรยี นรายบุคคล นกั เรียนรายบคุ คล ผานเกณฑรอยละ ๖๐ - การตอบคาํ ถาม ดา นทกั ษะ ใบงานที่ 1 เรอ่ื ง บทบาท กระบวนการ ตรวจใบงานเรื่อง บทบาท ผูผลติ ทมี่ ีคณุ ภาพ ผูผลติ ทม่ี คี ณุ ภาพ ดานเจตคติ - สังเกตพฤติกรรม แบบประเมนิ พฤตกิ รรม ผานเกณฑป ระเมนิ ระดับ นกั เรียนรายบคุ คล - การตอบคาํ ถาม นกั เรยี นรายบคุ คล คุณภาพพอใชขน้ึ ไป สมรรถนะสาํ คญั ของ ประเมนิ ความสามารถใน แบบประเมินสมรรถนะ ผานเกณฑประเมนิ ระดับ ผูเ รียน การสอ่ื สาร ความสามารถ สําคญั ของผเู รยี น คุณภาพพอใชขน้ึ ไป ในการคิด ความสามารถ คณุ ลักษณะอนั พงึ ในการแกปญ หา ผา นเกณฑป ระเมนิ ระดับ ประสงค คณุ ภาพพอใชขึ้นไป ประเมิน ความมีวนิ ยั แบบประเมินคณุ ลักษณะ ใฝเรยี นรู และมุง ม่นั ใน อันพึงประสงค การทํางาน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook