Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วารสาร มจร.อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2563

วารสาร มจร.อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2563

Description: 16541-5445-PB (1)

Search

Read the Text Version

150 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) การมีส่วนร่วมของประชาชนในนโยบายสาธารณะระดับท้องถ่ิน เทศบาลเมือง หนองบัวลำภู จังหวัดหนองบัวลำภู โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง (  =3.27, S.D.=0.33) เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านท่ีมีค่าเฉล่ียสูงสุด ได้แก่ ด้านการมีส่วนร่วมใน การปฏิบัติการ (  =3.54, S.D.=0.61) รองลงมา คือ ด้านการมีส่วนร่วมในการรับ ผลประโยชน์ (  =3.29, S.D.=0.52) และด้านการมีส่วนร่วมในการประเมินผล (  =3.19, S.D.=0.36) ตามลำดับ ส่วนด้านท่ีมีค่าเฉลี่ยน้อยท่ีสุด ได้แก่ ด้านการมีส่วนร่วมในการ ตดั สินใจ (  =3.08, S.D.=0.30) ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของประชาชนในนโยบายสาธารณะ ระดับท้องถิ่น เทศบาลเมืองหนองบัวลำภู จังหวัดหนองบัวลำภู จำแนกตามเพศ อายุ ระดับ การศึกษาและอาชีพ พบว่า ด้านเพศ อายุระดับการศึกษาและอาชีพ แตกต่างกันอย่างมี นยั สำคญั ทางสถติ ทิ รี่ ะดับ .05 แนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนในนโยบายสาธารณะระดับท้องถิ่น เทศบาล เมืองหนองบัวลำภู จังหวัดหนองบัวลำภู พบว่าประชาชนยังขาดการมีส่วนร่วมในการจัดทำ รา่ งข้อบญั ญตั ิของเทศบาลเก่ียวกับโครงการหรือนโยบายสาธารณะ การวางแผนงานโครงการ หรือนโยบายสาธารณะ วิเคราะห์ปัญหาและความต้องการของประชาชนในชุมชนเพื่อจัดทำ โครงการหรือนโยบายสาธารณะรวมทั้ง ได้รับรู้ข้อมูลข่าวสารของประชาชนในนโยบาย สาธารณะและมีส่วนร่วมในการเข้าร่วมการประชุมประชาคมเพ่ือเสนอปัญหาและความ ตอ้ งการมีสว่ นร่วมในนโยบายสาธารณะของประชาชนในเทศบาลเมืองหนองบัวลำภู คำสำคัญ : การมสี ว่ นรว่ ม, นโยบายสาธารณะ Abstract The objectives of this research were: to study people’s participation in local public policy; to compare participation in local public policy; and to find guidelines for people’s participation in local public policy of Nongbua Lamphu Municipality, Nongbua Lamphu province. Sampling groups of 378 households used in this research include the heads of the households living in Nongbua Lamphu municipality, Nongbua Lamphu province. The sample size was specified by using Yamane's formula. The instruments used in this study were questionnaires consisting 3 parts and the statistics used for data

วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 151 analysis is the descriptive statistics including mean, percentage, standard deviation and inferential statistics were t-test and f-test and Pearson's Product Moment Correlation Coefficient. The results of the research were as the followings: People’s participation in local public policy of Nongbua Lamphu Municipality, Nongbua Lamphu Province was overall at a moderate level (  = 3.27, SD = 0.33). When considering by aspect, it was found that the aspect with the highest mean was the participation in operations (  = 3.54, SD = 0.61), followed by the participation in receiving benefits (  = 3.29, SD = 0.52) and participation in evaluation (  = 3.19, SD = 0.36) respectively. The least mean aspect was participation such as participation in decision making (  = 3.08, SD = 0.30). The results of comparative analysis of people’s participation in local public policy of Nongbua Lamphu Municipality, Nongbua Lamphu province, classified by gender, age, education and occupation, found that gender, age, education and occupation differed significantly at the .05 level. Guidelines for people’s participation in local public policy of Nongbua Lamphu Municipality, Nongbua Lamphu province, it was found that the people still lack participation in various aspects including: drafting of the ordinances of the municipality regarding the projects or public policy; planning program and project or public policy; analyzing problems and needs of the people in the community in order to design projects or public policy; receiving the public information in public policy; participating in community meetings to propose problems and needs; and participating in public policy of Nongbua Lamphu municipality. Keywords: Participation, Public Policy บทนำ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับท่ี 20 พ.ศ.2560 ซึ่งประกาศใช้ตั้งแต่วันท่ี 6 เมษายน 2560 ได้ให้ความสำคัญเกี่ยวกับมีส่วนร่วมในระดับท้องถ่ินมีบทบัญญัติท่ีเก่ียวกับ การกระจายอำนาจสู่ท้องถ่ินในหลักการที่สำคัญ 4 ประการ คือ ประการที่หนึ่ง รัฐต้องมี นโยบายกระจายอำนาจสู่ท้องถ่ิน รวมท้ังพัฒนาท้องถ่ินในทุกด้านอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม

152 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) กัน จังหวัดใดท่ีมีความพร้อมจะต้องพัฒนาให้เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นขนาดใหญ่ตาม เจตนารมณ์ของประชาชนในจังหวัดนั้น ประการท่ีสอง ให้ความสำคัญกับความเป็นอสิ ระของ ท้องถ่ิน และจำกัดบทบาทรัฐในการกำกับดูแลท้องถิ่นให้ทำได้เท่าท่ีจำเป็นตามท่ีกฎหมาย บญั ญัติไว้ ประการที่สาม กระบวนการกระจายอำนาจต้องดำเนินไปอย่างต่อเนื่องและพัฒนา เพ่ิมขึ้นตามลำดับ โดยมีกฎหมายกำหนดและขั้นตอนการกระจายอำนาจมารองรับและ ประการที่สี่ ให้ความสำคัญกับสิทธิของประชาชนต่อการมีส่วนร่วมในการปกครองท้องถ่ิน และการดำเนินงานของรัฐ รัฐบาลจึงได้มีนโยบายท่ีจะกระจายอำนาจในการปกครองไปสู่ ประชาชนให้มากที่สดุ เพือ่ ให้ประชาชนได้เขา้ มามสี ่วนร่วมในการปกครอง การบริหารจัดการ การวางแผน เพ่ือแก้ไขปัญหา พรอ้ มทัง้ สนองตอบความต้องการของประชาชนในพ้ืนทที่ ้องถิ่น ชนบทได้อย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว (สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ,2560) นอกจากจากน้ียังได้บัญญัติไว้ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติฉบบั ท่ี 12 พ.ศ. 2560-2564 โดยกำหนดไวใ้ นวตั ถุประสงค์และเป้าหมายข้อที่ 3.2.6. ให้มีระบบบริหาร จัดการภาครัฐที่มีประสิทธิภาพ ทันสมัย โปร่งใสตรวจสอบได้ กระจายอำนาจและมีส่วนรว่ ม จากประชาชน ท้ังนี้การดำเนินนโยบายสาธารณะที่ประชาชนมีส่วนร่วมจะเกิดประสิทธิภาพ และประสิทธิผลมากน้อยเพียงใดข้ึนอยู่กับบทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และ ความรู้ความสามารถ ความรับผิดชอบของประชาชน เมื่อเกิดการพัฒนาท้องถิ่นแบบ ประชาชนมีส่วนร่วมก็จะเกิดการบริหารงานแบบธรรมาภิบาล (Good Governance) หาก ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการปกครองตนเองสูง นโยบายสาธารณะและ โครงการหรือ กิจกรรมการพัฒนาท้องถิ่นก็จะตรงตามความต้องการของประชาชน ทำให้เกิดพลังและ ประสบความความสำเร็จตามท่ีคาดหวังไว้ การพัฒนาท้องถิ่นก็จะเป็นไปอย่างรวดเร็วนำ ความเจริญมาสู่ประเทศชาติและประชาชนมีคุณภาพชีวิตท่ีดีข้ึน (สำนักงานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ, 2560) ปัญหาดังกล่าวก่อให้เกิดการตื่นตัวของภาคประชาชนในฐานะเจ้าของประเทศเพ่ือ ทวงสิทธิและเสรีภาพขั้นพ้ืนฐานของความเป็นพลเมืองที่จะเข้าไปมีส่วนร่วมและตรวจสอบ นโยบายสาธารณะของภาครัฐ ซึ่งเป็นสิทธิข้ันพ้ืนฐานของประชาชนท่ีสามารถทำได้และ ภาครฐั กต็ ้องตระหนกั ถึงความสำคญั ต่อการมสี ่วนรว่ มของภาคประชาชน เพราะประชาชนคือ ผู้ทไ่ี ดร้ ับผลกระทบโดยตรงจากนโยบายสาธารณะ ที่ภาครัฐประกาศใช้ แตก่ ารมสี ่วนร่วมของ ภาคประชาชนน้ันจะทำได้มากน้อยเพียงใดนั้นไม่สามารถให้คำจำกัดความที่ตายตัวได้ ขึ้นอยู่

วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 153 กับหลายปัจจัย เช่น ระบอบการปกครอง สถานการณ์ทางการเมือง ณ เวลาหนึ่ง สถานการณ์ความม่ันคงของประเทศ ตลอดจนสภาพเศรษฐกิจ สังคมของประเทศน้ันๆ อย่างไรก็ตามท่ีผ่านมาประเทศไทยได้มีหน่วยงานท้ังภาครัฐและภาคส่วนต่างๆ ได้เสนอแนว ทางการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนไว้กว้างๆเพ่ือให้หน่วยงานภาครัฐนำไปเป็นแนวทางใน การใหภ้ าคประชาชนมสี ่วนร่วมในในกระบวนการกำหนดนโยบายสาธารณะ (ไพรัตน์ เตชะ รินทร์, 2527 : 6 -7) ได้ให้ความหมายและหลักการสำคัญเรื่องนโยบายการมีส่วนร่วมของ ชุมชนในการพัฒนา หมายถึง กระบวนการที่รัฐบาลทำการส่งเสริมชักนำและสร้างโอกาส ให้แก่ประชาชนในชุมชนทั้งท้ังในส่วนบุคคลและกลุ่มชน ชมรม สมาคม มูลนิธิและองค์กร อาสาสมัครรูปแบบต่างๆ ให้เข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินการในเร่ืองใดเร่ืองหนึ่งหรือหลาย เรือ่ งรว่ มกัน ปัญหาภาคประชาชนที่พำนักอาศัยอยู่ในเขตเทศบาลเมืองหนองบัวลำภูและยังรอ การแก้ไขคือ มุมมองความคิดท่ีแตกต่างในการกำหนดนโยบายสาธารณะของคณะผู้บริหาร เทศบาลกับความความต้องการของภาคประชาชน แม้ว่าโครงสรา้ งการบริหารของเทศบาลจะ มตี วั แทนภาคประชาชนเข้าไปทำหน้าที่ในฐานะสมาชกิ สภาเทศบาลแลว้ ก็ตาม แต่ดเู หมือนว่า สิทธิการมีส่วนร่วมดังกล่าวจะยังไม่ตรงกับความต้องการและปรารถนาท่ีจะเข้าไปมีส่วนร่วม ในกระบวนการกำหนดนโยบายสาธารณะของภาคประชาชน ซึ่งเปน็ ธรรมชาติของชมุ ชนเมอื ง ที่ประชาชนอยู่กันอย่างแออัดในพ้ืนท่ีท่ีจำกัด การเฝ้าระวัง การตรวจสอบและรักษาสิทธิใน ฐานะพลเมืองทเี่ สียภาษีใหก้ ับรฐั รวมถึงผลประโยชน์ที่พึงได้รับจากนโยบายสาธารณะ ท่ีมีสูง กว่าชุมชนชนบท ความแตกต่างทางแนวคิดสะท้อนให้เห็นได้จากการวิพากษ์วิจารณ์ในกลุ่ม บางคร้ังขยายเป็นการวิพากษ์วิจารณ์ถึงความไม่เหมาะสม ความไม่โปร่งใสของตัวโครงการ และกระทบไปถึงคณะผู้บริหารของเทศบาลท่ีมีอำนาจในการกำหนดนโยบายสาธารณะ (เทศบาลเมอื งหนองบัวลำภ,ู 2561) จากสภาพปัญหาดังกล่าวตลอดจนเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญซ่ึงเป็นกฎหมาย สูงสุดและกฏหมายลูกอื่นๆที่เกี่ยวข้อง มีเจตนาให้ภาคประชาชนเข้าไปมีส่วนร่วมใน กระบวนการกำหนดนโยบายของภาครัฐ ผู้วจิ ัยซึ่งพำนักอาศัยและท่ีทำงานอยู่ในเขตเทศบาล เมอื งหนองบวั ลำภู จึงมคี วามสนใจทจ่ี ะทำการศึกษาและนำผลที่ไดจ้ ากการศึกษาไปเสนอเป็น ข้อมูลประกอบการกำหนดนโยบายสาธารณะของเทศบาลเมืองหนองบัวลำภู จังห วัด หนองบัวลำภู และองค์การปกครองส่วนท้องถน่ิ อ่ืนทเี่ ห็นว่าเป็นประโยชน์ เพ่ือใหก้ ารกำหนด

154 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) นโยบายสาธารณะตรงตามความต้องการของประชาชน โดยประชาชนมีส่วนร่วมซ่ึงจะส่งผล ใหบ้ ริหารจัดการนโยบายสาธารณะมปี ระสทิ ธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป วัตถุประสงค์การวจิ ยั 1. เพอ่ื ศึกษาการมสี ว่ นร่วมของประชาชนในนโยบายสาธารณะระดับท้องถ่ิน ของ เทศบาลเมืองหนองบวั ลำภู จงั หวัดหนองบัวลำภู 2. เพ่อื เปรยี บเทยี บการมสี ่วนรว่ มของประชาชนในนโยบายสาธารณะระดับทอ้ งถ่นิ ของเทศบาลเมืองหนองบัวลำภู จงั หวัดหนองบัวลำภู จำแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา และอาชีพ 3. เพ่ือหาแนวทางในการมสี ่วนร่วมของประชาชนในนโยบายสาธารณะระดบั ท้องถิ่น ของเทศบาลเมืองหนองบวั ลำภู จังหวดั หนองบวั ลำภู วธิ ีดำเนนิ การวิจยั การวิจัยเรื่อง การมีส่วนร่วมของประชาชนในนโยบายสาธารณะระดับท้องถ่ิน เทศบาลเมืองหนองบัวลำภู จังหวัดหนองบัวลำภู ผู้วิจัยได้กำหนดข้ันตอนในการศึกษา ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. ประชากร/กลุ่มกลุ่มตัวอย่างและกลุ่มเปา้ หมาย ประชากรที่ใช้ในการวิจยั คร้ังน้ี ได้แก่ หวั หน้าครัวเรือนทีอ่ าศัยและมีชอื่ ในทะเบียน บ้าน (ทร.14) อยู่ในเขตเทศบาลเมืองหนองบัวลำภู จังหวัดหนองบัวลำภู ครัวเรือนละ 1 คน จำนวน 29 ชุมชน รวมทั้งสิ้น 11,284 ครัวเรือน (เทศบาลเมืองหนองบัวลำภู ข้อมูลฐาน ทะเบียนราษฎรพ.ศ. 2561) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ หัวหน้าครัวเรือนท่ีอาศัยอยู่ในเทศบาล เมืองหนองบัวลำภู จังหวัดหนองบัวลำภู ทั้งหมด 387 ครัวเรือน ซ่ึงกำหนดขนาดกลุ่ม ตัวอย่างการวิจัยด้วยการใช้สูตรของยามาเน่ (Yamane,1967) โดยกำหนดระดับค่าความ เชื่อม่ันที่ 95% และได้ทำการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งช้ันภูมิ (Stratified Random Sampling) แบบเป็นสัดส่วนโดยแบ่งกลุ่มตัวอย่างออกเป็น 29 กลุ่มจาก 29 ชุมชน ตามสัดส่วนของ

วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 155 หัวหน้าครัวเรือนแต่ละชุมชน ซึ่งมีกลุ่มตัวอย่างที่มีลักษณะต่างกัน จากน้ันคำนวณหาขนาด ตวั อยา่ งจาก 29 ชุมชน ตามสดั สว่ นของประชากรใหไ้ ดก้ ล่มุ ตัวอยา่ งครบตามเกณฑ์ทีก่ ำหนด กลุ่มเป้าหมายท่ีใช้ในการศึกษาข้อเสนอแนะการมีส่วนร่วมของประชาชนใน นโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมในระดับท้องถิ่น ของเทศบาลเมืองหนองบัวลำภู จังหวัด หนองบัวลำภู จังหวัดขอนแก่น โดยการจัดเวทีประชาคม (The Community forum) รวม ทั้งสิ้น จำนวน 33 คน ประกอบด้วย 1) หัวหน้าชุมชนในเทศบาลเมืองหนองบัวลำภู จังหวัด หนองบัวลำภู จำนวน 29 คน 2) นายกเทศมนตรีเทศบาลเมืองหนองบัวลำภูหรือรอง นายกเทศมนตรี จำนวน 1 คน 3) ตวั แทนสมาชิกสภาเทศบาลหนองบวั ลำภู จำนวน 3 คน 2. ดา้ นเนอื้ หา เป็นการศึกษาในรูปแบบผสานวิธีระหว่างการวิจัยเชิงปริมาณ ซึ่งใช้แบบสอบถาม เป็นเคร่ืองมือเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างและการวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้แบบสัมภาษณ์เป็น เครื่องมือในการสัมภาษณ์ข้อมูลเชิงลึกจากผบู้ รหิ ารท้องถ่ิน ผู้นำชุมชน นักวิชาการและกลุ่มผู้ มีส่วนได้เสียกลุ่มต่างๆ โดยใช้แนวคิดการมีส่วนร่วมของ Cohen and Uphoff (1980) มา กำหนดกรอบประเด็นของประชาชนในนโยบายสาธารณะแบบมีสว่ นร่วมในระดับท้องถ่ินของ เทศบาลเมืองหนองบัวลำภู โดยแบ่งออกเป็น 4 ด้าน คือ ด้านท่ี 1 การมีส่วนร่วมในการ ตัดสินใจ ด้านที่ 2 การมีส่วนร่วมในการปฏิบัติการ ด้านท่ี 3 การมีส่วนร่วมในการรับ ผลประโยชน์ และด้านที่ 4 การมสี ่วนร่วมในการประเมินผล 3. เครอ่ื งมอื ทีใ่ ช้ในการวิจัย เครื่องมือท่ีใชใ้ นการศึกษาครั้งนี้ใช้ข้อมูลทตุ ิยภูมิ ไดแ้ ก่ กฎหมาย ระเบียบ เอกสาร งานทางวิชาการเพื่อนำมาเป็นฐานการวิเคราะห์ และข้อมูลปฐมภูมิซึ่งได้จากการสอบถาม กลุ่มตัวอย่างและกลุ่มเป้าหมายท่ีเก่ียวข้อง โดยจำแนกเป็นแบบสอบถาม เพ่ือศึกษา พฤติกรรมการมีส่วนร่วมของประชาชนใน นโยบายสาธารณะแบบมีส่วนรว่ มในระดับท้องถิ่น ของเทศบาลเมืองหนองบัวลำภู จังหวัดหนองบัวลำภู และแบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง (Semi-structured Interview) เพ่ือศึกษาข้อเสนอแนะแนวการมีส่วนร่วมของประชาชนใน นโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมในระดับท้องถ่ิน ของเทศบาลเมืองหนองบัวลำภู จังหวัด หนองบวั ลำภู โดยการจัดเวทีประชาคม (The Community forum)

156 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) 4. การเกบ็ รวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลในวัตถุประสงค์ข้อท่ี 1 และ ข้อ 2โดยใช้ แบบสอบถามกับกลุ่มตัวอย่างจำนวน 387 ฉบับจากนั้นนำแบบสอบถามมาตรวจสอบความ ครบถ้วนสมบูรณ์ และเก็บรวบรวมเพ่ือนำมาวิเคราะห์ข้อมูลส่วนการเก็บรวบรวมข้อมูลตาม วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 เป็นการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) มีขั้นตอนการ ดำเนนิ งานออกเปน็ 2 ระยะ ดงั นี้ ระยะท่ี 1 เป็นการศึกษาเอกสารต่างๆท่ีเกี่ยวข้อง อาทิ วรรณกรรม ตำรา หนังสือ บทความวิชาการ ผลการวิจัย และส่ือสิ่งพิมพ์ออนไลน์ฯลฯลงพื้นท่ีการวิจัยเพ่ือ สำรวจข้อมูลบริบทของพื้นที่ และศึกษาสภาพการมีส่วนร่วมของประชาชนในนโยบาย สาธารณะแบบมีส่วนร่วมในระดับท้องถิ่น ตามกระบวนการ (Process) เพ่ือติดต่อนัดหมาย ผู้นำชุมชนและประชาชนในพ้ืนที่ เพ่ือชี้แจงวัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อสร้างความสัมพันธ์ กับชุมชน การเตรียมคนสร้างเครือข่าย การจัดเวทีประชาคมครั้งท่ี 1 (The Community forum) ระยะท่ี 2 ค้นหาข้อเสนอแนะแนวการมีส่วนร่วมของประชาชนในนโยบาย สาธารณะแบบมีส่วนร่วมในระดับท้องถ่ิน จากกระบวนการจัดเวทีประชาคมครั้งท่ี 2 (The Community forum) เป็นการเปิดโอกาสหรือเวทีเพ่ือให้ประชาชนในชุมชนหรือ กลุ่มเป้าหมายได้ร่วมประชุม เสวนา สนทนา พบปะพูดคุย แลกเปลี่ยนถกแถลงแสดงความ คิดเห็น เพื่อค้นหาข้อเสนอแนะแนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนในนโยบายสาธารณะ แบบมีสว่ นร่วมในระดบั ท้องถ่ิน ของเทศบาลเมอื งหนองบัวลำภู จังหวัดหนองบัวลำภู 5. การวเิ คราะห์ข้อมลู ผู้วิจัยได้วิเคราะห์และแปลความหมายของข้อมูลการมีส่วนร่วมของประชาชนใน นโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมในระดับท้องถ่ินของเทศบาลเมืองหนองบัวลำภู จังหวัด หนองบวั ลำภู โดยแบง่ การวิเคราะห์ขอ้ มูลออกเป็น 4 สว่ น ดังน้ี ส่วนท่ี 1 ผลการศกึ ษาข้อมลู ทั่วไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม ส่วนท่ี 2 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูลเกีย่ วกบั การมสี ่วนร่วมของประชาชนในนโยบาย สาธารณะแบบมีส่วนร่วมในระดับท้องถน่ิ ของเทศบาลเมืองหนองบัวลำภจู ังหวัดหนองบัวลำภู

วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 157 ส่วนที่ 3 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของประชาชนในนโยบาย สาธารณะแบบมีส่วนร่วมในระดับท้องถิ่น ของเทศบาลเมืองหนองบัวลำภู จังหวัด หนองบวั ลำภู จำแนกตามเพศ อายุ ระดบั การศกึ ษา อาชพี และรายได้ต่อเดอื น ส่วนที่ 4 ผลการศึกษาการมีส่วนร่วมของประชาชนในนโยบายสาธารณะแบบมี ส่วนรว่ มในระดับทอ้ งถนิ่ ของเทศบาลเมืองหนองบัวลำภู จังหวดั หนองบวั ลำภู ผลการวจิ ัย การมีส่วนร่วมของประชาชนในนโยบายสาธารณะระดับท้องถิ่น เทศบาลเมือง หนองบัวลำภู จังหวัดหนองบัวลำภู โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง (  =3.27, S.D.=0.33) เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านท่ีมีค่าเฉล่ียสูงสุด ได้แก่ ด้านการมีส่วนร่วมใน การปฏิบัติการ (  =3.54, S.D.=0.61) รองลงมา คือ ด้านการมีส่วนร่วมในการรับ ผลประโยชน์ (  =3.29, S.D.=0.52) และด้านการมีส่วนร่วมในการประเมินผล (  =3.19, S.D.=0.36) ตามลำดับ ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยท่ีสุด ได้แก่ ด้านการมีส่วนร่วมในการ ตัดสนิ ใจ (  =3.08, S.D.=0.30) ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของประชาชนในนโยบายสาธารณะ ระดับท้องถิ่น เทศบาลเมืองหนองบัวลำภู จังหวัดหนองบัวลำภู จำแนกตามเพศ อายุ ระดับ การศึกษาและอาชีพ พบว่า ด้านเพศ อายุระดับการศึกษาและอาชีพ แตกต่างกันอย่างมี นยั สำคญั ทางสถิตทิ ี่ระดบั .05 แนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนในนโยบายสาธารณะระดับท้องถ่ิน เทศบาล เมืองหนองบัวลำภู จังหวัดหนองบัวลำภู ได้แก่ ด้านการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ พบว่า ประชาชนยังขาดการมีส่วนร่วมในการจัดทำร่างข้อบัญญัติของเทศบาลเกี่ยวกับโครงการหรือ นโยบายสาธารณะ การวางแผนงานโครงการหรือนโยบายสาธารณะ วิเคราะห์ปัญหาและ ความต้องการของประชาชนในชุมชนเพื่อจัดทำโครงการหรือนโยบายสาธารณะรวมท้ัง ได้ รับรู้ข้อมูลข่าวสารของประชาชนในนโยบายสาธารณะและมีส่วนร่วมในการเข้าร่วมการ ประชุมประชาคมเพ่ือเสนอปัญหาและความต้องการมีส่วนร่วมในนโยบายสาธารณะของ ประชาชนในเทศบาลเมอื งหนองบัวลำภู

158 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) อภิปรายผล การอภิปรายผลการวิจัย การมีส่วนร่วมของประชาชนในนโยบายสาธารณะระดับ ทอ้ งถิน่ เทศบาลเมืองหนองบวั ลำภู จังหวดั หนองบัวลำภู สามารถอภปิ รายผลไดด้ งั นี้ 1. ระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนในนโยบายสาธารณะระดับท้องถิ่นเทศบาล เมอื งหนองบัวลำภู จังหวัดหนองบัวลำภู โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมอื่ พิจารณาราย ด้าน พบว่า ด้านท่ีมีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ ด้านการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติการ ทั้งนี้อาจ เน่ืองจากประชาชนได้มีส่วนร่วมปฏิบัติกิจกรรมและมีส่วนร่วมสนับสนุนเงินอุปกรณ์และ แรงงานตลอดจนได้มีร่วมมือในการปฏิบตั ิงานตามโครงการ/กิจกรรมที่เปน็ นโยบายสาธารณะ ทำให้มีจิตสำนึกในการดูแลสาธารณะประโยชน์รวมท้ังการได้มีส่วนในโครงการก่อสร้างจาก นโยบายสาธารณะในเทศบาลเมืองหนองบวั ลำภู ซ่ึงสอดคลอ้ งกับงานวิจยั ของวสันต์ จันทจร และสิทธิชัย ตันศรีสก (2560) ได้ทำการศึกษาเรื่อง การมีส่วนร่วมของประชาชนในการ บริหารงานองค์การบริหารส่วนตำบลหนองจิก อำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม ผลการวิจัยพบว่า การมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารงานองค์การบริหารส่วนตำบล หนองจิก อำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็น รายด้าน อยู่ในระดับปานกลางทุกด้าน เรียงจากค่าเฉล่ียมากไปหาน้อย คือ ด้านการ ดำเนนิ การ/ปฏิบตั ิงาน ดา้ นการตดิ ตามและประเมนิ ผล ดา้ นการวางแผนดำเนนิ กจิ กรรม และ ด้านการค้นหาปัญหาและสาเหตุของปัญหาและสอดคล้องกับงานวิจัยของ มหคุณาภรณ์ ชัย วีรกุล (2556) ได้ทำการศึกษา เรื่อง การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาท้องถิ่น : กรณีศึกษาการจัดการขยะมูลฝอยของเทศบาลเมืองขลุง จังหวัดจันทบุรี ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างประชาชนในเขตเทศบาลเมืองขลุง มีส่วนร่วมปานกลางในการจัดการขยะมูล ฝอยของเทศบาลในภาพรวม แต่เมื่อพิจารณาในรายประเด็นพบว่ากลุ่มตัวอย่าง ดังกล่าวมี ส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอยแบ่งออกเป็นกิจกรรม 2 กลุ่ม คือ การมีส่วนร่วมในระดับ ปานกลาง ไดแ้ ก่ รว่ มในการดำเนนิ การ และร่วมในการตดิ ตามประเมินผล 2. ผลการวิเคราะหเ์ ปรยี บเทียบการมีสว่ นร่วมของประชาชนในนโยบายสาธารณะ ระดับท้องถ่ิน เทศบาลเมืองหนองบัวลำภู จังหวัดหนองบัวลำภู จำแนกตามเพศ อายุ ระดับ การศึกษาและอาชีพ พบว่า หวั หน้าครวั เรือนที่อาศัยอยู่ในเทศบาลเมืองหนองบัวลำภู จังหวัด หนองบัวลำภูท่มี เี พศ อายุ ระดับการศึกษาและอาชพี ต่างกัน มสี ่วนร่วมในนโยบายสาธารณะ

วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 159 ระดับท้องถิ่นของเทศบาลเมืองหนองบัวลำภู จังหวัดหนองบัวลำภู แตกต่างกันอย่างมี นยั สำคัญทางสถติ ิทรี่ ะดบั .05 ซ่งึ เป็นไปตามสมมุติฐานท่ตี ้ังไว้ ซ่ึงสอดคล้องกับงานวจิ ัยของ วิ ลดา อินฉัตรและอนันต์ ธรรมชาลัย (2560) ได้ทำการศึกษา เร่ือง แนวทางการบริหาร นโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมในระดับท้องถ่ินของพื้นท่ีภาคอีสานตอนใต้ ผลการวิจัย พบวา่ ปัจจยั ท่ีมผี ลตอ่ การบรหิ ารนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนรว่ มของผมู้ ีส่วนได้เสยี ในระดับ ท้องถ่ินของพื้นที่ภาคอีสานตอนใต้ พบว่า ปัจจัยสถานภาพส่วนบุคคลของผู้มีส่วนร่วมท่ี แตกต่างกันมีผลต่อการบริหารนโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วมในระดับท้องถ่ินของ พื้นที่ ภาคอีสานตอนใต้แตกต่างกันและพบว่า ปัจจัยสถานภาพส่วนบุคคลของผู้มีส่วนร่วม ได้แก่ กลุ่มผมู้ ีส่วนไดเ้ สีย อายุ ระดับการศกึ ษาสูงสดุ อาชีพท่ีแตกต่างกนั มีผลต่อการบริหารนโยบาย สาธารณะแบบมีส่วนร่วมในระดับท้องถิ่นของพ้ืนที่ภาคอีสานตอนใต้ แตกต่างกัน อย่างมี นยั สำคญั ทางสถติ ิ .05 3. แนวทางการมสี ่วนร่วมของประชาชนในการมีสว่ นรว่ มของประชาชนในนโยบาย สาธารณะระดับท้องถิ่น เทศบาลเมืองหนองบัวลำภู จังหวัดหนองบัวลำภู พบว่า ด้านการมี ส่วนร่วมในการตัดสินใจ ควรให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดทำร่างข้อบัญญัติของเทศบาล เกี่ยวกับโครงการหรือนโยบายสาธารณะ มีการจัดประชุมหรือประชาคมเพื่อให้ได้ข้อมูล จำเป็นจากประชาชนในการวางแผนขั้นตอนในการกำหนดนโยบายหรือโครงการสาธารณะ การจัดลำดับความสำคัญเร่งด่วนก่อน หลัง ผลกระทบที่จะตามมาทั้งในระยะส้ันและระยะ ยาว ตลอดจนให้ประชาชนมีส่วนร่วมการในด้านการวางแผนดำเนินกิจกรรมและด้านการ ค้นหาปัญหาและสาเหตุของปัญหาด้านการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติการ ควรให้ประชาชนมี ส่วนร่วมในโครงการก่อสร้าง มีส่วนร่วมในการดูแลสาธารณะประโยชน์ ที่เกิดจากนโยบาย สาธารณะ ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติงานตามโครงการ/กิจกรรมในนโยบายสาธารณะ ตลอดจนมีส่วนร่วมสนบั สนุนเงินอุปกรณ์และแรงงานท่ีเป็นนโยบายสาธารณะและมสี ่วนร่วม ปฏิบัติกจิ กรรมนโยบายสาธารณะในเทศบาลเมืองหนองบัวลำภู ด้านการมีส่วนร่วมในการรับ ผลประโยชน์ ควรให้ประชาชนในชุมชนได้รบั ผลประโยชน์จากโครงการพัฒนาไฟฟ้า ประปา รวมท้ังการมอบรางวลั ให้แก่ผู้ทำประโยชน์กับสังคม การรับผลประโยชน์จากโครงการพัฒนา ชุมชนด้านการศึกษา ศาสนา กีฬาและวัฒนธรรม การรับผลจากโครงการพัฒนาด้านการ ระบายน้ำ บำบัดน้ำเสีย การทำถนน ภัยแล้ง การเก็บขยะและป้องกันโรคและให้ชุมชนได้รับ ประโยชน์จากโครงการพัฒนาชุมชนทั้งทางตรงและทางอ้อม ด้านการมีส่วนร่วมในการ

160 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) ประเมินผล ควรให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการเป็นคณะกรรมการประเมินโครงการตาม นโยบายสาธารณะ รวมท้ังมีส่วนร่วมในการตรวจสอบการบริหารงานของเทศบาลเมือง หนองบัวลำภูและมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นหรือเสนอแนะในนโยบายสาธารณะของ เทศบาลเมอื งหนองบวั ลำภู องค์ความรูท้ ี่ไดจ้ ากการศึกษา แนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนในนโยบายสาธารณะระดับท้องถ่ิน เทศบาล เมืองหนองบัวลำภู จังหวัดหนองบัวลำภู พบว่า ประชาชนยังขาดการมีส่วนร่วมในการจัดทำ ร่างข้อบัญญตั ิของเทศบาลเกยี่ วกบั โครงการหรอื นโยบายสาธารณะ การวางแผนงานโครงการ หรือนโยบายสาธารณะ วิเคราะห์ปัญหาและความต้องการของประชาชนในชุมชนเพื่อจัดทำ โครงการหรือนโยบายสาธารณะรวมทั้ง ได้รับรู้ข้อมูลข่าวสารของประชาชนในนโยบาย สาธารณะและมีส่วนร่วมในการเข้าร่วมการประชุมประชาคมเพ่ือเสนอปัญหาและความ ตอ้ งการมสี ว่ นรว่ มในนโยบายสาธารณะของประชาชนในเทศบาลเมืองหนองบวั ลำภู เอกสารอา้ งอิง เทศบาลเมืองหนองบวั ลำภู, (2562). แผนพฒั นาส่ปี ี พ.ศ. 2561–2563. หนองบัวลำภู ไพรตั น์ เตชะรินทร์. (2527). นโยบายและกลวิธกี ารมีสว่ นรว่ มของชุมชนในยุทธศาสตร์ การ พฒั นาปจั จุบันของประเทศไทย ในการมีสว่ นรว่ มของประชาชนในการพัฒนา. กรงุ เทพฯ: ศักด์โิ สภาการพิมพ์. มหาคณุ าภรณ์ ชยั วีรกุล, (2556).การมสี ่วนร่วมของประชาชนในการพฒั นาท้องถ่ิน : กรณีศึกษาการจัดการขยะมลู ฝอยของเทศบาลเมอื งขลุง จงั หวัดจันทบรุ ี. บณั ฑติ วิทยาลัย: มหาวทิ ยาลัยราชภฏั รําไพพรรณี. วสนั ต์ จันทจรและสิทธชิ ยั ตนั ศรีสก, (2560), การมีส่วนรว่ มของประชาชนในการ บรหิ ารงานองค์การบริหารส่วนตำบลหนองจกิ อำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม บัณฑิตวิทยาลยั : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 161 วลิ ดา อินฉตั ร และ อนันต์ ธรรมชาลัย, (2560), แนวทางการบรหิ ารนโยบายสาธารณะ แบบมีส่วนร่วมในระดับท้องถิ่นของพน้ื ทภ่ี าคอสี านตอนใต้. บัณฑติ วทิ ยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสนิ ธ์,ุ (2553). ระเบยี บวิธกี ารวจิ ัยทางสงั คมศาสตร์. กรุงเทพฯ: เฟือ่ งฟ้า พรน้ิ ตง้ิ จำกัด. สำนักงานศาลรฐั ธรรมนูญ, (2560). รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช 2560. กรุงเทพฯ:บริษทั ธนาเพรส จำกดั , (342.02 ส691ร) รัฐธรรมนญู ไทย. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, (2560). แผนพฒั นา เศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ.2560 - 2564). สภานติ ิบัญญตั ิ แหง่ ชาติ. 2557. ราชกจิ จานุเบกษา. สบื ค้นวันท่ี 8 กันยายน 2560 จาก http://www.senate.go.th/w3c/senate/pictures/comm/52/lawguide/law1/6.pdf

162 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020)

บทบาทของเจ้าอาวาสในการบรหิ ารจดั การวัดตามหลกั ธรรมาภิบาล ของวดั ในสังกัดคณะสงฆภ์ าค 10 The Abbots’ Roles in Monasteries Management in accordance with Good Governance Principles under the Sangha Region 10 1พระมหาคนอง จันทรค์ ำลอย, 2อติพร เกิดเรือง และ3ประยุทธ สวัสดเ์ิ รยี วกุล 1Phramaha Kanong Chankamloid, 2Atiporn Gerdruang and 3Prayuth Swadriokul มหาวิทยาลัยชินวตั ร, ประเทศไทย Shinawatra University, Thailand. [email protected] Received May 10, 2020; Revised July 12, 2020; Accepted August 25, 2020 บทคัดย่อ งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์ 1) เพ่ือศึกษาปัญหาการบริหารกิจการคณะสงฆ์ว่าด้วยกฎ ระเบียบ ข้อบังคับและหลักธรรมาภิบาล ต่อบทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัด ตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะภาค 10 2) เพ่ือศึกษาปัจจัยที่สง่ ผลต่อบทบาทของ เจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวดั ตามหลกั ธรรมาภิบาลของวดั ในสังกดั คณะภาค 10 3) เพ่ือ ศึกษาบทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัด ตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัด คณะภาค 10 ผู้วิจัยใช้การวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Research) คือ 1) การวิจัย เชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ด้วยการสัมภาษณ์จำนวน 24 คน โดยการวิเคราะห์ เนื้อหา 2) การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูล แบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่าง ของประชาชนในสังกัดคณะสงฆ์ภาค10 จำนวน 6 จังหวัด จำนวน 400 คน โดยการวิเคราะหส์ มการถดถอยเชิงพหคุ ูณ

164 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) ผลการวิจัยเชิงคุณภาพพบว่า ปัญหามิติการบริหารกิจการคณะสงฆ์และหลัก ธรรมาภิบาล ตอ่ บทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวดั ตามหลักธรรมาภิบาลของวัด ในสังกัดคณะภาค 10 1) การเผยแผ่ศาสนา ขาดการวางแผนเชิงรุก 2) การศาสนศึกษาขาด แคลนงบประมาณอุดหนุน 3) การศึกษาสงเคราะห์ ขาดการมีส่วนร่วม 4) การสาธารณะ สงเคราะห์ ขาดการวางแผน 5) การสาธารณูปการ การขัดแย้งกับชุมชน 6) การปกครอง ขาดโครงสร้างท่ีเหมาะสม และงานวิจัยเชิงปริมาณพบว่า ปัจจัยมิติการบริหารกิจการคณะ สงฆ์ที่ส่งผลต่อบทบาทของเจา้ อาวาสในการบริหารจัดการวดั ตามหลกั ธรรมาภิบาลของวดั ใน สังกัดคณะภาค10 ภาพรวมอยู่ในระดับมากคือ ด้านการศาสนศึกษา (  = 4.52, S.D. = 0.69) โดยตัวแปรทำนายทั้ง 4 ตัวได้แก่ ด้านศาสนศึกษา ด้านสาธารณสงเคราะห์ ด้าน สาธารณูปการ และด้านการปกครอง สามารถทำนายบทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหาร จัดการวัดตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะภาค 10 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ี ระดับ 0.05 โดยมีค่าสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.513 มีอำนาจทำนายร้อยละ 25.20 ค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของการทำนายมีค่า 1.990 และปัจจัยธรรมาภิบาลท่ี สง่ ผลต่อบทบาทของเจ้าอาวาสในการบรหิ ารจัดการวดั ตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัด คณะภาค10 ภาพรวมอยู่ในระดับมากคือหลักความโปร่งใสและหลักการมีส่วนร่วม มีความ คิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด (  = 4.55, S.D. = 0.57, 0.66) โดยตัวแปรทำนายท้ัง 4 ตัว ได้แกด่ ้านหลักนติ ิธรรม ดา้ นหลกั การมีส่วนร่วม ดา้ นความคุ้มค่า และดา้ นหลักการตอบสนอง สามารถร่วมกันทำนายบทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัด ตามหลักธรรมาภิบาล ของวัดในสังกัดคณะภาค 10 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.691 มีอำนาจทำนายร้อยละ 47.80 ค่าความคลาดเคล่ือน มาตรฐานของการทำนายมีค่า 1.863 ข้อเสนอแนะ ศึกษาทัศนคติของชุมชนท่ีมีภูมิลำเนาฐานรอบศาสนสถาน นำ งานวิจัยมาปรบั ปรุงและยกระดับการบริหารกิจการคณะสงฆ์และนำสู่ภาคปฏิบัติรว่ มกันเพื่อ สร้างสันติสุขให้กับชมุ ชน คำสำคญั : เจา้ อาวาส, คณะสงฆภ์ าค10, ธรรมาภิบาล

วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 165 Abstract The purposes of this research were: 1) to study problems of the administration of Sangha affairs regarding rules, regulations and good governance towards the abbots’ roles in monasteries management in accordance with good governance principles under the Sangha Region 10; 2) to study factors affecting the abbots’ roles in monasteries management in accordance with good governance principles under the Sangha Region 10; 3) to study the abbots’ roles in monasteries management in accordance with good governance principles under the Sangha Region 10. The researcher used the Mixed Methods Research which was composed of: 1) Qualitative Research by interviewing 24 persons and analyzing the contents; and 2) Quantitative Research by collecting data from the questionnaires of sampling groups of 400 persons in 6 provinces by using linear regression analysis. The qualitative research found that the problems of the administration dimension of monastic affairs and good governance principles towards the abbots’ roles in monasteries management in accordance with good governance principles under the Sangha Region 10 were: 1) Propagation - lack of proactive planning; 2) Religious education – lack of supporting budget; 3) Welfare education - lack of participation; 4) Public welfare - lack of planning; 5) Public facilities - conflicts with the community; and 6) Governance – lack of a proper structure. In addition, the quantitative research found that the factor of the clergy administration dimension affecting the abbots’ roles in monasteries management in accordance with good governance principles under the Sangha Region 10 was religious education with overall at high level (  = 4.52, S.D.=0.69). The four predictive variables including religious education, public welfare, public facilities and governance were able to predict the abbots’ roles in monasteries management in accordance with good governance principles under the Sangha Region 10 with statistical significance at the level of 0.05, with the multiple correlation coefficient equal to 0.513, with the prediction power of 25.20 percent, and the standard error of prediction was 1.990. Good governance factors affecting the abbots’ roles in monasteries management in accordance with good governance principles under the Sangha Region 10 were overall at high level. The principles of transparency and participation were at the highest level (  = 4.55, S.D. = 0.57, 0.66). The four predictive variables including the rule of law, participation, worthiness, and responsiveness were able to predict the abbots’ roles in

166 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) monasteries management in accordance with good governance principles under the Sangha Region 10 with statistical significance at the level of 0.05, with the multiple correlation coefficient equal to 0.691, with the prediction power of 47.80 percent, and the standard error of prediction was 1.863. Recommendations include: studying the attitudes of communities domiciled around religious sites; bringing research results to improve and upgrade the administration of the Sangha affairs; and putting into common practice for creating peace in the community. Keywords : Abbots, the Sangha Region 10, Good Governance บทนำ สังคมไทยประกอบไปด้วยสถาบันทางสังคมหลายสถาบัน แต่สถาบันที่มีความ ใกล้ชิดกับคนในสังคมมากที่สุดและเป็นสถาบันพ้ืนฐานของสังคมคือ สถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษาและสถาบันพระพุทธศาสนา โดยเฉพาะสถาบันพระพุทธศาสนาน้ันมี ความสำคัญอยา่ งย่ิงต่อการดำเนินชีวิตของมนุษย์ เป็นท่ียอมรบั กนั โดยท่วั ไปว่าประชาชนส่วน ใหญ่ของสังคมไทยนั้นนับถือพระพุทธศาสนา ฉะน้ันพระพทุ ธศาสนาจึงมีความเกี่ยวพันกบั วิถี ชีวติ ของคนในชาติ วัดเป็นศูนย์รวมจิตใจของบรรดาพุทธศาสนิกชนทำหน้าท่ีในการวางรากฐานความ เจรญิ ให้แก่สังคม ส่งเสริมความเป็นปึกแผ่นความม่ันคงให้แก่สังคม ส่งเสริมประสิทธิภาพการ ควบคุมทางสังคมหรืออาจกล่าวได้วา่ วดั เป็นศูนยก์ ลางของศาสนาพุทธและวัฒนธรรมที่ผู้คน ใช้เป็นบรรทัดฐานในการดำเนินชีวิตและเป็นเอกลักษณ์ของสังคม (จุฬารัตน์ บุญยากร, 2550) ซึ่งจะพบได้จากการแสดงออกทางศิลปะ วรรณคดี คติธรรม ขนบธรรมเนียม จารีต ประเพณีตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน วดั และพระสงฆ์ยังมบี ทบาทเกีย่ วกับความเป็นอยู่ของคนใน สังคมต้ังแต่เกิดจนกระทั่งตายประสงค์นอกจากจะมีบทบาทเป็นผู้นำทางกิจกรรมเป็นผู้นำ ทางดา้ นจติ ใจของคนในสังคมแลว้ ประสงค์ยังมบี ทบาทต่อสังคมส่วนรวมในดา้ นต่างๆมากมาย เชน่ การพัฒนาสงั คมการสงั คมสงเคราะห์การสงเคราะห์ผูต้ กทุกข์ได้ยากผทู้ ี่ไดร้ ับความลำบาก หรือกระท่ังการช่วยแก้ไขปัญหาต่างๆที่เกิดข้ึนในสังคม (พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตโต), 2542:17) โดยมีพระสงฆ์เป็นตัวแทนของวัด ในการแสดงบทบาทต่างๆเป็นผูน้ ำทางจติ ใจของ

วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 167 ประชาชน เป็นศูนยร์ วมแหง่ ความเคารพ เชอ่ื ถือ และการรว่ มมือกนั ใหเ้ กดิ ความสามัคคคี วาม เปน็ ระเบียบเรียบร้อย ความคาดหวงั ของประชาชนต่อวัดและพระสงฆจ์ ึงมอี ยู่ในระดบั สงู ท่วี ่า วัดควรจะเป็นต้นแบบทางด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมความเป็นระเบียบเรียบร้อยความ สะอาด เป็นแหล่งเรียนรู้โดยเฉพาะด้านศีลธรรมจริยธรรม ขนบธรรมเนียม ศิลปวัฒนธรรม และประเพณีอันดีงามของท้องถิ่นเป็นแหล่งให้การสงเคราะห์ทางด้านการศึกษาแก่เด็กและ เยาวชน เป็นแหล่งรวมองค์ความรู้และภูมิปัญญาท่ีเกิดจากท้องถ่ินสามารถนำมาถ่ายทอดได้ อย่างถูกต้องเหมาะสม วัดควรจะเป็นศูนย์กลางของชุมชนในการสร้างความเข้มแข็งให้กับ ชุมชนและทอ้ งถ่ิน ซง่ึ ในหว้ งระยะเวลาท่ีผา่ นมาการบริหารจดั การวดั อาจจะมีข้อบกพร่องบาง ประการ (พระครูพิศาลถิรธรรม, 2553:99) เช่น เจ้าอาวาสบางรูปอาจจะขาดวิสัยทัศน์ ขาด เป้าหมายในการบริหารจัดการวัดที่ชัดเจน ไม่เอ้ืออำนวยให้มีการมีส่วนร่วมของพระภิกษุรูป อ่ืนหรือกรรมการวัดในการบริหารจัดการวัด ไม่เปิดใจรับฟังข้อเสนอแนะของพระภิกษุ สามเณรและอบุ าสกอบุ าสิกาในการบริหารจัดการวดั ไม่บริหารจัดการวัดโดยใช้หลกั ธรรมาภิ บาล ปัญหาในการจัดการการเงินของวัดที่ไม่โปร่งใสปัญหาในการคัดเลือกบุคลากรในการทำ หน้าทต่ี า่ งๆ อยา่ งเสมอภาค ปญั หาในการประพฤติตวั การมีภาวะผู้นำ การกระจายอำนาจใน การปกครอง (พระครวู สิ ทุ ธานนั ทคุณ, 2554 :148) จากการที่กล่าวมาข้างต้น ผู้วิจัยจึงเล็งเห็นถึงปัญหาในการบริหารจัดการวัดใน ปัจจุบัน จึงมีความสนใจท่ีศึกษา บทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัดตามหลักธรร มาภบิ าลของวดั ในสงั กดั คณะสงฆ์ภาค 10 เพ่ือจะได้เปน็ ข้อมลู ในการประยุกต์ใช้หลักธรรมาภิ บาลทีเ่ หมาะสมในการบรหิ ารจัดการวัดอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพย่ิงข้ึนไป วัตถปุ ระสงคก์ ารวจิ ัย 1. เพื่อศึกษาความสมั พนั ธ์การบริหารกจิ การคณะสงฆ์ ธรรมาภิบาล บทบาทของเจ้า อาวาสในการบริหารจดั การวดั ตามหลกั ธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะสงฆภ์ าค 10 2. เพื่อศึกษาปจั จยั ท่ีสง่ ผลต่อบทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจดั การวัดตามหลักธรรมา- ภบิ าลของวดั ในสังกัดคณะสงฆ์ภาค 10 3. เพ่ือศึกษาบทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัดตามหลักธรรมาภิบาลของวัดใน สงั กดั คณะสงฆ์ภาค 10

168 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) วธิ ดี ำเนนิ การวิจัย การศึกษาวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจยั แบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) ผู้วิจัยได้ใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ที่ได้ข้อมูลมาจากการวิจัยเชิง สำรวจ (Survey Study) เป็นหลักและวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ที่ได้ ข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึกในการดำเนินการวิจัย (Creswell & Garrett, 2008 :66-83) โดยภายหลังจากได้ข้อมูลเชิงปริมาณแล้ว นำมาใช้ในการกำหนดประเด็นการสัมภาษณ์แนว ลึกเฉพาะผู้เชีย่ วชาญ (In-depth interview of experts) เพ่ือเป็นข้อมูลเสรมิ หรอื เทยี บเคยี ง โดยมีรายละเอยี ดตามข้นั ตอนของการดำเนนิ การวิจยั ดังต่อไปน้ี 1. ขอบเขตด้านประชากรและกลุ่มเปา้ หมาย ประชากรคือ การศึกษานี้มีขอบเขตด้านพ้ืนที่เฉพาะวัดในเขตปกครองของคณะ สงฆ์ภาค 10 จำนวน 4,500 วัดใน 6 จงั หวัด (กรมการพุทธศาสนา, 2560 :7 ) กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริหารจากฝ่ายพระสงฆ์และฝ่ายฆราวาส จากวัด 4,500 วัด จำนวน 9,000 คน ได้มาจากการคำนวณโดยสูตรของ Taro Yamane (Yamane, 1973 :398) ได้กลุ่มตัวอย่างฝ่ายพระสงฆ์ จำนวน 202 รูป แบ่งเป็นจังหวัดละ 34 รูป จำนวน 6 จังหวัด และ ฝา่ ยฆราวาสจำนวน 198 คน แบง่ เปน็ จงั หวดั ละ 33 คน จำนวน 6 จังหวดั กลุ่มเป้าหมาย ผู้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการบริหารจัดการวัดตามหลักธรรมาภิบาล: กรณีศึกษาวัดในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค 10 ได้แก่ ผู้บริหารจากกรมการศาสนา จำนวน 4 คน พุทธศาสนาจังหวัด จำนวน 4 คน ผู้บริหารจากคณะสงฆ์ภาค 10 จำนวน 10 คน และ ผู้บริหารท้องถน่ิ จำนวน 6 คน รวมทั้งสิ้น 24 รปู /คน 2. ขอบเขตด้านเนอื้ หา การศึกษาเรื่อง บทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัดตามหลักธรรมาภิ บาลของวัดในสังกัดคณะสงฆ์ภาค 10 ใน 5 ด้าน คือ 1) ด้านการเผยแพร่ศาสนา 2) ด้าน การศาสนศึกษา 3) ด้านการศึกษาสงเคราะห์ 4)ด้านการสาธารณสงเคราะห์5) ด้าน สาธารณปู การ 6) ดา้ นการปกครอง 3. เครื่องมือทใี่ ชใ้ นการรวบรวมข้อมลู เครื่องมือทใ่ี ช้ในการวิจัยคร้ังน้ี คือแบบสอบถามที่ผูว้ ิจยั สร้างขนึ้ ใช้เปน็ เครื่องมือใน การวจิ ัย แบบสอบถามมี 3 ตอน ดงั นี้

วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 169 ตอนที่ 1 ข้อมูลท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยให้ผู้ตอบแบบสอบถาม เลือกตอบเพียงตัวเลือกเดียวท่ีสอดคล้องกับตวั เองมากที่สดุ ตอนที่ 2 เป็นคำถามเก่ียวกับบทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัดตาม หลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะสงฆ์ภาค 10 ซ่ึงเป็นแบบสอบถามแบบ Rating Scale ซงึ่ มีเนื้อหาในด้านต่างๆ ใน 5 ด้าน คือ 1) ด้านการเผยแพร่ศาสนา 2) ด้านการศาสนศึกษา 3) ดา้ นการศกึ ษาสงเคราะห์ 4)ดา้ นการสาธารณสงเคราะห์5) ด้านสาธารณูปการ และ6) ด้าน การปกครอง ตอนท่ี 3 แบบสัมภาษณ์และข้อเสนอแนะเก่ียวกับบทบาทของเจ้าอาวาสในการ บริหารจัดการวดั ตามหลกั ธรรมาภบิ าลของวดั ในสงั กดั คณะสงฆ์ภาค 10 4.การวิเคราะห์ขอ้ มลู ผู้วิจัยได้นำแบบสอบถามที่เก็บรวบรวมได้จากกลุ่มตัวอย่างมาตรวจสอบความ สมบูรณ์ และดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลตามวิธีทางสถิติ โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์และ เสนอค่าสถิติ ตามลำดับขน้ั ตอน ดงั น้ี 1. การวิเคราะห์ข้อมูลที่เป็นเชิงปริมาณ ของผู้ตอบแบบสอบถาม ใช้ค่าความถ่ี (Frequency) และรอ้ ยละ (Percentage) สถติ ิ t-test (บญุ ชม ศรีสะอาด, 2554). 2. การวิเคราะห์ข้อมูลคุณภาพ จะใช้วิธีการวิเคราะห์เอกสาร (Document Analysis) และวิเคราะห์เชิงพรรณนา (Descriptive Analysis) ทั้งข้อมูลปฐมภูมิและข้อมูล ทุติยภมู ิ ซ่ึงอาศัยขอ้ มูลจากการสัมภาษณ์เกี่ยวกับบทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการ วัดตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะสงฆ์ภาค 10 และนำผลท่ีได้มาเรียบเรียงข้อมูล เพ่ือนำไปอธิบายข้อมูลเชงิ พรรณนาตอ่ ไป

170 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) ผลการวจิ ัย การวิจัยเร่ือง บทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัดตามหลักธรรมาภิบาล ของวัดในสงั กดั คณะสงฆ์ภาค 10 พบว่า ตารางที่ 1 แสดงค่าเฉลีย่ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับการบรหิ ารกจิ การคณะสงฆ์ ในภาพรวม การบริหารกจิ การคณะสงฆ์ ระดบั ความคิดเห็น แปลผล 1. ด้านการเผยแพร่ศาสนา  S.D. มาก 2. ดา้ นการศาสนศกึ ษา 3.93 .63 มาก 3. ด้านการศึกษาสงเคราะห์ 3.85 .63 มาก 4. ดา้ นการสาธารณสงเคราะห์ 3.82 .57 มาก 5. ดา้ นสาธารณูปการ 3.80 .56 มาก 6. ดา้ นการปกครอง 3.74 .60 มาก 3.99 .57 มาก รวม 3.86 .51 จากตารางที่ 1 ผลการวิเคราะห์การบริหารกิจการคณะสงฆ์ในภาพรวม พบว่า อยู่ ในระดับมาก (  = 3.86, S.D. = .51) เม่ือแยกพิจารณาเป็นรายด้าน เรียงลำดับจากมากไป หาน้อย ดังน้ี ด้านการปกครอง (  = 3.99) รองลงมาด้านการเผยแพร่ศาสนา (  = 3.93) ด้านการศาสนศึกษา (  = 3.85) ด้านการศึกษาสงเคราะห์ (  = 3.82) และด้านการสา ธารณสงเคราะห์ (  = 3.80) ส่วนด้านทมี่ ีระดบั น้อยสดุ คอื ด้านสาธารณปู การ (  = 3.74) 1. ความสัมพันธ์การบริหารกิจการคณะสงฆ์ ธรรมมาภิบาล บทบาทของเจ้า อาวาสในการบรหิ ารจัดการตามหลกั ธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะสงฆ์ภาค 10 พบวา่ 1.1 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการบริหารกิจการคณะสงฆ์กับบทบาทของเจ้า อาวาสในการบริหารจัดการวัดตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะสงฆ์ภาค 10 ท้ัง 6 ปัจจัย ได้แก่ ด้านการเผยแพร่ศาสนา ด้านการศาสนศึกษา ด้านการศึกษาสงเคราะห์ ด้าน การสาธารณสงเคราะห์ ด้านการสาธารณูปการและด้านการปกครอง มีความสัมพันธ์กันใน ทางบวก อย่างมนี ัยสำคัญทางสถิติทร่ี ะดับ .01

วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 171 1.2 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยธรรมาภิบาลกับบทบาทของเจ้าอาวาสในการ บริหารจัดการวัดตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะสงฆ์ภาค 10 ท้ัง 7 ปัจจัย ได้แก่ หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความรับผิดชอบ หลักการมีส่วนร่วม หลักความโปร่งใส หลักการตรวจสอบได้ หลักการตอบสนอง มีความสมั พนั ธ์กนั ในทางบวก อยา่ งมนี ัยสำคัญทาง สถติ ทิ ่รี ะดบั .01 1.3 ความสัมพันธ์ระหว่างบทบาทของเจ้าอาวาสกับการบริหารจัดการวัดตามหลัก ธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะสงฆ์ภาค 10 ท้ัง 4 ปัจจัย ได้แก่ ด้านการพัฒนาตนเอง ด้าน การดูแลเสนาสนะวัด ด้านการดูแลอาคันตุกะ และด้านการนำไปสูก่ ารปฏิบัติ มคี วามสัมพันธ์ กนั ในทางบวก อยา่ งมีนยั สำคญั ทางสถติ ิทรี่ ะดบั .01 2. ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อบทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัด ตามหลักธรรมาภิบาลของวดั ในสงั กัดคณะสงฆภ์ าค 10 พบว่า 2.1 ปัจจัยการบริหารกิจการคณะสงฆ์ที่เป็นตัวพยากรณ์ที่ดีที่สุดเรียงลำดับ จากน้ำหนักองค์ประกอบจากมากไปหาน้อย มีจำนวน 5 ปัจจัย คือ ปัจจัยด้านการสาธารณ สงเคราะห์ (X4) ปัจจัยด้านการศาสนศกึ ษา (X2) ปัจจัยด้านการศึกษาสงเคราะห์ (X3) ปัจจัย ด้านการสาธารณูปการ (X5) และปัจจัยด้านการเผยแพร่ศาสนา (X1) ตามลำดับ เป็นปัจจัย การบรหิ ารกิจการคณะสงฆ์ที่ส่งผลต่อบทบาทของเจ้าอาวาสในการบรหิ ารจดั การวัดตามหลัก ธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะสงฆ์ภาค 10 ที่สามารถร่วมกันพยากรณ์บทบาทของเจ้า อาวาสในการบริหารจัดการวัดตามหลกั ธรรมาภิบาลของวัดในสงั กดั คณะสงฆภ์ าค 10 ได้ร้อย ละ 99.70 2.2 ปัจจัยธรรมาภิบาลที่เปน็ ตวั พยากรณ์ที่ดีที่สุด มจี ำนวน 5 ปจั จยั คือ ปัจจัย ด้านหลักการตรวจสอบได้ (X6) ปัจจัยด้านหลักการมีส่วนร่วม (X4) ปัจจัยด้านหลักนิติธรรม (X1) ปัจจัยด้านหลักความโปร่งใส (X5) และปัจจัยด้านหลักการตอบสนอง (X7) ตามลำดับ เป็นปัจจัยธรรมาภิบาลท่ีส่งผลต่อบทบาทของเจ้าอาวาสในการบรหิ ารจัดการวดั ตามหลักธรร มาภบิ าลของวัดในสังกัดคณะสงฆ์ภาค 10 ทสี่ ามารถร่วมกันพยากรณ์บทบาทของเจ้าอาวาส ในการบริหารจัดการวัดตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะสงฆ์ภาค 10 ได้ร้อยละ 82.90 2.3 ปัจจัยบทบาทของเจ้าอาวาสที่เป็นตัวพยากรณ์ที่ดีท่ีสุดคือปัจจัยท้ัง 4 ปัจจัย ได้แก่ ปัจจัยด้านการดูแลอาคันตุกะ (X3) ปัจจัยด้านการพัฒนาตนเอง (X1) ปัจจัย

172 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) ด้านการนำไปสู่การปฏิบัติ (X4) และ ปัจจัยด้านการดูแลเสนาสนะวัด (X2) ตามลำดับ เป็น ปจั จัยท่ีส่งผลต่อการบริหารจัดการวัดตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกดั คณะสงฆ์ภาค 10 ทสี่ ามารถรว่ มกนั พยากรณ์ ไดร้ อ้ ยละ 80.80 3. บทบาทของเจ้าอาวาสในการบรหิ ารจัดการวัดตามหลกั ธรรมาภิบาลของวัดใน สังกัดคณะสงฆ์ภาค 10 พบว่า ระดับบทบาทของเจ้าอาวาสในภาพรวม อยู่ในระดับมาก เรียงตามลำดับดังน้ีคือ ด้านการดูแลเสนาสนะวัด ลำดับที่หน่ึง รองลงมาคือ ด้านการดูแล อาคันตุกะ ดา้ นการพัฒนาตนเอง ลำดบั ท่สี ามและสว่ นด้านการนำไปสูก่ ารปฏิบัติ อยู่ในลำดับ ท้ายสดุ 3.1 ด้านการพัฒนาตนเอง เมื่อแยกพิจาณาเป็นรายข้อ พบว่า บทบาทของเจ้า อาวาสในการบริหารจัดการวัดคือ มีความเอาใจใส่ในการศึกษาพระธรรมวินัย เป็นพหูสูตร ทางด้านหลักธรรมคำส่ังสอน เพ่ือนำไปใช้อบรม สั่งสอนบรรพชิตและประชาชน เป็นลำดับ แรก และมีการแสดงอากัปกิริยาเรียบร้อยถึงพร้อมด้วยมารยาทและข้อวัตรปฏิบัติตามแบบ แผนของสมณะอยใู่ นลำดับทา้ ยสุด 3.2 ด้านการดูแลเสนาสนะวัด เมื่อแยกพิจาณาเป็นรายข้อ พบว่า บทบาทของ เจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัดคอื ต้องมีความรู้ในการสร้าง ซ่อมแซม เสนาสนะต่างๆของ วัดและการได้มาซึ่งวัสดุต่างๆอย่างชัดเจน ถูกต้อง เป็นลำดับแรกและมีความฉลาดในการ จัดการภิกษุในวัดและอาคันตุกะท่ีเข้ามาพักอาศัยโดยคำนึงถึงลำดับพรรษา สุขภาพ ภาระหนา้ ทแี่ ละความสะดวกในการพักอาศัย อยใู่ นลำดบั ท้ายสดุ 3.3 ด้านการดูแลอาคนั ตุกะ เมอ่ื แยกพิจาณาเป็นรายขอ้ พบวา่ บทบาทของเจ้า อาวาสในการบริหารจัดการวัดคอื ไม่มีความหวงแหนตอ่ ทอ่ี ยู่อาศัยและเอาใจใส่ต่ออาคันตุกะ ตามความเหมาะสม เป็นลำดับแรกและให้การต้อนรับดูแลอาคันตุกะภิกษุที่เดินทางมาพัก ดว้ ยความเต็มใจ และแสดงความอ่อนนอ้ มตามลำดบั พรรษา อยู่ในลำดับท้ายสดุ 3.4 ด้านการนำไปสู่การปฏิบัติ เมื่อแยกพิจาณาเป็นรายข้อ พบว่า บทบาทของ เจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัดคือ ให้ความสำคัญต่อการสรุปการลงมือปฏิบัติเพื่อ ความสำเร็จ และแก้ไขอุปสรรคที่เกิดจากการนำไปสู่การปฏิบัติ (มุ่งแก้ไข ปรับปรุง) เป็น ลำดับแรก และให้ความสำคัญต่อการระดมความคิดในการปรับเปล่ียนกระบวนทัศน์ สร้าง วิสัยทัศน์ร่วมกัน เพ่ือให้เกิดการแทลตลอดในการก้าวสู่เป้าหมายร่วมกัน (มุ่งการคิด) อยู่ใน ลำดบั สดุ ท้าย

วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 173 ผลการวิจัยท่ีได้จากการสัมภาษณ์เชิงลึก บทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหาร จัดการวัดตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะสงฆ์ภาค 10 สรุปประเด็นท่ีน่าสนใจได้ ดังน้ี 1. ด้านการบรหิ ารกจิ การคณะสงฆ์ ผลการวิจัยชี้ใหเ้ ห็นวา่ การบรหิ ารกิจการคณะ สงฆ์ท้ัง 6 ด้าน มีความสำคัญและความจำเป็นต่อบทบาทของเจ้าอาวาสวัดท่ีต้องปฏิบัติตาม อยา่ งเคร่งครดั ในการบริหารจดั การวัด นำหลกั การบริหารกิจการคณะสงฆ์ใช้ร่วมกับหลักพระ ธรรมวินัยทางศาสนา ใช้ร่วมกันกับหลักธรรมาภิบาล โดยนำหลักการดังกล่าวมาปรับให้เกิด ความเหมาะสมและเป็นแนวทางในการปฏิบัติเพื่อให้เป็นแบบแผนในการนำมาปฏิบัติร่วมกัน ของวัดในสังกดั คณะสงฆภ์ าค 10 ตอ่ ไป 2. ด้านธรรมาภิบาลในการบริหารวัด ผลการวิจัยชี้ให้เห็นว่า นำหลักการธรรมาภิ บาลทั้ง 7 ประการ มาใช้ร่วมกับหลักการบริหารจัดการตามคำสอนของพระพุทธเจ้า เช่น คุณธรรมด้านสังคหวัตถุ 4 พรหมวิหาร 4 หลักสัปปุริสธรรม 7 ประการ และการรักษาศีล 5 ของฆราวาสและประชาชนผู้เก่ียวขอ้ ง เป็นหลักการสำคญั ท่ีควรนำมาใช้ในการบรหิ ารจัดการ วดั ในสังกัดคณะสงฆ์ภาค 10 3. ด้านบทบาทของเจ้าอาวาส ผลการวิจัยชี้ให้เห็นว่า บทบาทของเจ้าอาวาสท้ัง 4 ด้าน ได้แก่ ด้านการพัฒนาตนเอง ด้านการดูแลเสนาสนะวัด ด้านการดูแลอาคันตุกะ และ ด้านการนำไปสู่การปฏบิ ัติ มีความสอดคล้องกับการบรหิ ารกิจการคณะสงฆ์ และธรรมาภิบาล ในการบรหิ ารจัดการวัด 4. ผลการทดสอบสมมตฐิ าน 4.1 ปัจจัยท่ีส่งผลต่อบทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัดตามหลัก ธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะสงฆ์ภาค 10 พบว่า มีปัจจัยที่ส่งผล 5 ปัจจัยของการ บริหารกิจการคณะสงฆ์ ได้แก่ ปัจจัยด้านการสาธารณสงเคราะห์ ปัจจัยด้านการศาสนศึกษา ปัจจัยด้านการศึกษาสงเคราะห์ ปัจจัยด้านการสาธารณูปการ และปัจจัยด้านการเผยแพร่ ศาสนา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 โดยค่า (R) เท่ากับ .998 และ (R2) เท่ากับ .997 4.2 ธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อบทบาทของเจ้า อาวาสในการบริหารจัดการวัดตามหลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะสงฆ์ภาค 10 พบว่า มีปัจจัยที่ส่งผล 5ปัจจัย ได้แก่ หลักการตรวจสอบได้ หลักการมีส่วนร่วม หลักนิติธรรม หลัก

174 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) ความโปร่งใส และหลักการ ตอบสนอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 (R ) เท่ากับ .911และ (R2) เท่ากบั .829 4.3 บทบาทของเจ้าอาวาสเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการวัดตามหลัก ธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะสงฆ์ภาค 10 พบว่า มีปจั จัยท้ัง 4 ปัจจัยสง่ ผลตอ่ การบริหาร จัดการวัดคือ ปัจจัยด้านการดูแลอาคันตุกะ ปัจจัยด้านการพัฒนาตนเอง ปัจจัยด้านการ นำไปสู่การปฏิบัติ และปัจจยั ด้านการดูแลเสนาสนะวดั อย่างมีนัยสำคัญทางสถติ ิท่ีระดับ .01 มี (R) เทา่ กบั .899) (R2) เท่ากับ .808 อภิปรายผล บทบาทของเจ้าอาวาสวัดในการบริหารจัดการวัดตามหลักธรรมาภิบาลของวัดใน สังกดั คณะสงฆ์ภาค 10 ผู้วจิ ยั ขอนำเสนอประเดน็ ท่ีนา่ สนใจ ดังน้ี 1. บทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัดตามหลักธรรมาภิบาลของวัด ในสังกดั คณะสงฆ์ภาค 10 ผลการวิจยั พบว่า บทบาทของเจ้าอาวาสในภาพรวมอยู่ในระดับ มาก เม่ือแยกพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการดูแลเสนาสนะวัด อยู่ในลำดับแรก รองลงมาคือ ด้านการดูแลอาคันตุกะ ด้านการพัฒนาตนเอง และด้านการนำไปสู่การปฏิบัติ อยู่ในลำดับสุดท้าย ขณะที่ผลการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่า บทบาทของเจ้าอาวาสให้ ความสำคัญในด้านการพัฒนาตนเอง เป็นประเด็นหลักสำคัญ รองลงมาคือ ด้านการนำไปสู่ การปฏิบัติ ด้านการดูแลเสนาสนะวัด และด้านการดูแลอาคันตุกะ เป็นลำดับสุดท้าย สอดคล้องกับงานวิจัยของพระมหาสมชาย ธมมวโร (2561) ท่ีพบว่า บทบาทและคุณสมบัติ ของเจ้าอาวาสในคัมภีร์พระพุทธศาสนามีบทบาทท่ีสำคัญ 5 ด้าน คือ ด้านการพัฒนาตนเอง ดา้ นการดูแลเสนาสนะวดั ดา้ นการนำไปสกู่ ารปฏิบตั แิ ละด้านการดแู ลอาคนั ตกุ ะ 2. บทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจัดการวัดตามหลักธรรมาภิบาล พบว่า โดยภาพรวมอยู่ในระดบั มาก เมอื่ แยกพิจารณาเป็นรายด้าน พบวา่ หลักการตอบสนอง อยูใ่ น ระดับสูงสุด รองลงมาคือ หลักนิติธรรม และหลักความโปร่งใสเป็นลำดับสุดท้าย ส่วน ผลการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่า ธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการมุ่งเน้น ด้านหลักความ โปร่งใส หลักความรับผิดชอบคือ หากเจ้าอาวาส หรือพระสังฆาธิการมีความรับผิดชอบต่อ หน้าที่ตนเองและต่อส่วนรวมจะเป็นปัจจัยท่ีส่งผลสำเร็จได้เป็นอย่างดี หลักการมีส่วนร่วม

วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 175 หลักคุณธรรม ที่นำไปปฏิบัติใช้ทั้งต่อพระภิกษุและประชาชน หลักนิติธรรมและหลักการ ตอบสนอง ท่ีวัดสามารถบรหิ ารจัดการเพ่ือตอบสนองความต้องการของญาติโยมได้สอดคล้อง กับผลการวิจัยของนงนุช งามดี (2558) ผลการวิจัยได้นำหลักการธรรมาภิบาลมาใช้ในการ บริหารสถานศึกษา 6 ด้าน คือ ด้านการมีส่วนร่วม ด้านหลักความโปร่งใส ด้านหลักนิติธรรม ด้านหลักคุณธรรม ด้านหลักความคุ้มค่าและด้านหลักความรับผิดชอบ บรรเลง อินทร์จันทร์ (2556) ผลการวิจัยพบว่า ธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการเน้น ด้านหลักคุณธรรม หลัก ความโปร่งใส หลักการตรวจสอบได้ หลักการมีส่วนร่วม ขณะท่ีรอง ปัญสังกา (2557) พบว่า ผ้บู รหิ ารมีพฤตกิ รรมการบรหิ ารภาพรวมอย่ใู นระดับมาก โดยแยกพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านหลักนิติธรรม หลักความโปร่งใส หลักความรับผิดชอบ หลักการมีส่วนร่วมและหลัก คุณธรรม อยู่ในระดับมากเรียงตามลำดับจากมากไปหาน้อย นอกจากน้ีผลการวิจัยนี้ยัง ระบุ ว่า ควรนำหลักการธรรมาภิบาลท้ัง 7 ประการ มาใช้ร่วมกับหลักการบริหารจัดการตามคำ สอนของพระพุทธเจ้า คือ คุณธรรมด้านสังคหวัตถุ 4 พรหมวิหาร 4 หลักสัปปุริสธรรม 7 ประการ และการรักษาศีล 5 ของฆราวาสและประชาชนผู้เกี่ยวข้อง ต่อบทบาทของเจ้า อาวาสในการบริหารจดั การวัดตามหลกั ธรรมาภบิ าลของวัดในสังกัดคณะสงฆ์ภาค 10 องคค์ วามรู้ท่ีได้จากการศึกษา จากการศึกษา บทบาทของเจา้ อาวาสเป็นปัจจัยท่ีส่งผลต่อการบริหารจดั การวัดตาม หลักธรรมาภิบาลของวัดในสังกัดคณะสงฆ์ภาค 10 จะเห็นได้ว่า เจ้าอาวาสมีบทบาทและมี ความสำคัญเป็นอย่างมากท่ีมีผลต่อการบริหารจัดการของคณะสงฆ์ภาค 10 แต่ส่วนใหญ่เจ้า อาวาสจะให้ความสำคัญในด้านการดูแลเสนาสนะวัด การบริหารจัดการวัดการสร้าง ซ่อมแซม เสนาสนะต่างๆของวัดเป็นส่วนใหญ่ และความเอาใจใส่ในการศึกษาพระธรรมวินัย เป็นพหูสูตรทางด้านหลักธรรมคำสั่งสอน เพ่ือนำไปใช้อบรม ส่ังสอนบรรพชิตและประชาชน โดยทั่วไป นอกจากน้ันยังมีหน้าท่ีในการปกครองพระภิกษุสามเณร การเผยแพร่ศาสนา การศาสนศกึ ษา การศึกษาสงเคราะห์ การสาธารณสงเคราะห์และสาธารณปู การ ในบางพื้นที่ อาจจะมีเจ้าอาวาสบางรูปอาจจะขาดวิสัยทัศน์ ขาดเป้าหมายในการบริหารจัดการวัดที่ ชัดเจน ไม่เอื้ออำนวยให้มีการมีส่วนร่วมของพระภิกษุรูปอ่ืนหรือกรรมการวัดในการบริหาร จัดการวัด ไม่เปิดใจรับฟังข้อเสนอแนะของพระภิกษุสามเณรและอุบาสกอุบาสิกาในการ บริหารจัดการวัด ไม่บริหารจัดการวัดโดยใช้หลักธรรมาภิบาล ปัญหาในการจัดการการเงิน

176 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) ของวัดท่ีไม่โปร่งใส ปัญหาในการคัดเลือกบุคลากรในการทำหน้าที่ต่างๆ อย่างเสมอภาค จึง ควรมีการจัดอบรมถวายความรู้และนวัตกรรมใหม่ๆเพื่อจะได้นำไปประยุกต์ใช้ในการ บรหิ ารงานคณะสงฆ์ตอ่ ไป เอกสารอา้ งองิ จฬุ ารตั น์ บญุ ยากร, (2550).ความคาดหวังของประชาชนต่อวัด,กรงุ เทพฯ:กรมการศาสนา. นงนุช งามดี, (2558), ทัศนะคตขิ องบคุ ลากรทมี่ ตี ่อการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลศึกษา เปรยี บเทียบระหว่างเทศบาลตำบลบา้ นแกง้ อำเภอภเู ขยี ว จงั หวัดชัยภูมิ, วิทยาลยั การปกครองท้องถ่นิ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น บรรเลง อนิ ทรจ์ ันทร์, (2556), ความพงึ พอใจของประชาชนที่มีตอ่ การนำหลกั ธรรมาภบิ าลมา บรหิ ารงานในเขตเทศบาลนครนครศรธี รรมราช, กรุงเทพฯ :มหาวิทยาลัย ราชภฏั สวนสนุ นั ทา บญุ ชม ศรีสะอาด. (2554). วธิ กี ารทางสถิติสำหรับการวิจัย เลม่ 1. พมิ พ์ครั้งที่ 4, กรงุ เทพฯ: สุวีรยิ าสาสน์ . พระครพู ิศาลถิรธรรม.(2553).ประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจัดการวัดของเจ้าอาวาสในเขตธนบุรี พระนครศรอี ยธุ ยา: บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย. พระครวู สิ ทุ ธานนั ทคุณ.(2554). การบรหิ ารจดั การวดั เขาช่องพรานจงั หวดั ราชบุร.ี พระนครศรอี ยุธยา: บัณฑติ วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั . พระธรรมปฎิ ก (ป.อ.ปยุตโต).(2542) การศึกษากับการพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ย.์ พิมพ์ครั้งท่ี 4. กรงุ เทพฯ : มลู นธิ พิ ทุ ธธรรม พระมหาสมชาย ธมฺมวโร (เต้าประเสริฐ).(2561), แนวทางการประยุกตห์ ลกั ธรรมของพระเจ้า จักรพรรดิเพือ่ พฒั นาสังคม, พระนครศรีอยุธยา: บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัย มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย. รอง ปัญสังกา. (2549). พฤติกรรมการบรหิ ารตามหลักธรรมาภิบาลของผูบ้ ริหารสถานศึกษา สังกดั สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พืน้ ฐานในจังหวัดอดุ รธานี. การประชุม วิชาการ ระดับชาตแิ ละนานาชาติ ครั้งที่ 6. มหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนสนุ นั ทา.

การพัฒนาภาวะผนู้ ำตามหลักสปั ปรุ สิ ธรรม 7 ของพระสงั ฆาธกิ าร ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค 10 Leadership Development in accordance with Sappurisadhamma 7 Principles of the Administrative Monks under Sangha Region10 1พระมหาสมคิด มะลัยทอง, 2อตพิ ร เกดิ เรือง และ3ประยุทธ สวสั ด์ิเรยี วกุล 1Pramaha Somkid Mahalaithong, 2Atiporn Gerdruang and 3Prayuth Swadriokul มหาวิทยาลัยชินวตั ร, ประเทศไทย Shinawatra University, Thailand. [email protected] Received May 10, 2020; Revised July 12, 2020; Accepted August 25, 2020 บทคัดย่อ งานวิจยั นี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพ่ือศึกษาการพฒั นาภาวะผู้นำตามหลักสปั ปุรสิ ธรรม7 ของพระสังฆาธกิ าร ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 2) เพอ่ื ศึกษาปัจจัยทส่ี ่งผลต่อการพัฒนา ภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม7 ของพระสังฆาธิการ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10, 3) เพ่ือศึกษาแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม7 ของพระสังฆาธิการในเขต ปกครองคณะสงฆ์ภาค10 ผู้วิจัยใช้การวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Research) คือ 1) การวจิ ัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ดว้ ยการสัมภาษณจ์ ำนวน 16 คน โดยการวิเคราะห์ เนื้อหา 2) การวิจัยเชงิ ปริมาณ (Quantitative Research) ด้วยการเก็บรวบรวมข้อมลู แบบสอบถาม จากกลุ่มตัวอย่าง ของพระสงฆ์ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 จำนวน 6 จังหวัด จำนวน 400 คน โดยการวเิ คราะหส์ มการถดถอยเชงิ พหคุ ูณ

178 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) ผลการวิจยั เชิงคณุ ภาพพบว่า การพัฒนาภาวะผนู้ ำตามหลกั สัปปุริสธรรม7 คือผู้นำที่ มีความรู้ ความสามารถ จูงใจให้ผู้อ่ืนปฏิบัติตามได้ดั่งใจประสงค์และเกิดความพึงพอใจ เป็นไปตามหลักพระพุทธศาสนา และงานวิจัยเชิงปริมาณ พบว่า ปัจจัยหลักสัปปุริสธรรม7 ที่ส่งผลต่อการพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม7 ของพระสังฆาธิการ ในเขตปกครอง คณะสงฆ์ภาค10 ด้านท่ีมีค่าเฉลี่ยมากท่ีสุด คือ ด้านกาลัญญุตา มีความคิดเห็นอยู่ในระดับ มากที่สุด ( = 4.48) โดยตัวแปรอิสระท้ัง 5 ตัวแปรสามารถร่วมกันทำนายการพัฒนาภาวะ ผู้นำของพระสังฆาธิการตามหลักสัปปุริสธรรม7 ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 ได้อย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.542 อำนาจ ทำนายประมาณร้อยละ 29.40 (R Square = 0.294) ค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของ การทำนายมีค่า 1.914 ปัจจัยภาวะผู้นำของพระสังฆาธิการที่ส่งผลต่อการพัฒนาภาวะผู้นำ ตามหลักสัปปรุ ิสธรรม7 ของพระสงั ฆาธกิ าร ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 ดา้ นที่มีคา่ เฉล่ีย มากที่สุด คือ แบบกระจายความรับผิดชอบ มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด (  = 4.35) โดยตัวแปรอิสระ 2 ตัวแปรสามารถร่วมกันทำนายการพัฒนาภาวะผนู้ ำตามหลกั สัปปุริสธรรม 7 ของพระสังฆาธิการ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 โดยค่าสัมประสิทธ์ิสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.507 อำนาจทำนายประมาณร้อยละ 25.70 (R Square = 0.257) คา่ ความคลาดเคลอื่ นมาตรฐานของการทำนายมีค่า 1.893 ข้อเสนอแนะ การพัฒนาภาวะผู้นำให้เหมาะสมกับบริบทของแต่ละวัด เพ่ือให้การ พัฒนาเป็นไปตามหลักปริสัญญุตา การเข้าใจความแตกต่างของบุคลากรและวัฒนธรรมของ ชมุ ชน คำสำคญั ภาวะผู้นำ สปั ปรุ สิ ธรรม7 คณะสงฆภ์ าค10 Abstract The purposes of this research were: 1) to study the leadership development in accordance with Sappurisadhamma 7 principles of the administrative monks under Sangha Region 10; 2) to study factors affecting the leadership development in accordance with Sappurisadhamma 7 principles of the administrative monks under Sangha Region 10; 3) to study the guidelines of the leadership development in accordance with Sappurisadhamma 7 principles of the administrative monks under Sangha Region 10. The researcher used the Mixed Methods Research which was

วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 179 composed of: 1) Qualitative Research by interviewing 16 persons and analyzing contents; and 2) Quantitative Research by collecting data from the questionnaires of sampling groups of 400 persons in 6 provinces under the Sangha Region 10 by using multiple regression analysis. The qualitative research found that the leadership development according to the principle of Sappurisadhamma 7 was being a leader who is knowledgeable and able to motivate others to act as intended and to be satisfied in accordance with the Buddhist principles. In addition, the quantitative research found that the factors of the principle of Sappurisadhamma 7 that affected the leadership development towards Sappurisadhamma 7 principles of the administrative monks under Sangha Region 10 was Kàlannutà (knowing the proper time; knowing how to choose and keep time) which had the highest level of opinions (x = 4.48). The five predictive variables were able to predict the leadership development in accordance with Sappurisadhamma 7 principles of administrative monks under Sangha Region 10 with statistical significance at the level of 0.05, with the multiple correlation coefficient equal to 0.542, with the prediction power of 29.40 percent (R Square = 0.294), and the standard error of prediction was 1.914. Regarding to the factors of the leadership development in accordance with Sappurisadhamma 7 principles of the administrative monks under Sangha Region 10, the factor which had the highest level of opinions was the responsibility delegation aspect (  = 4.35). The two predictive variables were able to predict the leadership development in accordance with Sappurisadhamma 7 principles of the administrative monks under Sangha Region 10 with statistical significance at the level of 0.05, with the multiple correlation coefficient equal to 0.507, with the prediction power of 25.70 percent (R Square = 0.257), and the standard error of prediction was 1.893. Suggestion is that the leadership development should be suitable in the contexts of each temple in order that the development is in accordance with the principle of Parisannutà (knowing the assembly and knowing the society) i.e. the comprehension of personal and cultural differences in the community. Key words : Leadership, Sappurisadhamma 7, Sangha Region 10

180 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) บทนำ พระสงฆ์ในสังคมไทยตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบันได้มีส่วนช่วยพัฒนาภาวะผู้นำท่ีมี คุณธรรม จริยธรรมในองค์กร อาทิเช่น ผู้นำในสถานศึกษาและหน่วยงานภาครัฐและเอกชน เพ่ือช่วยให้ผู้นำได้ปกครององค์กรให้เกิดความสงบสขุ และนำพาองค์กรก้าวสู่ความสำเรจ็ ดัง พทุ ธพจนท์ ีว่ ่า “ถา้ ผนู้ ำประพฤติธรรม ผู้ตามกจ็ ะประพฤตธิ รรมตาม” ประเพณีและวัฒนธรรมในสังคมไทยเก่ียวข้องกับพระสงฆ์ตลอด เช่น งานแต่งงาน ก็ต้องนิมนต์พระสงฆ์มาในงานแต่งด้วย วันเกิดก็ตอ้ งนิมนตพ์ ระมาในงานวันเกิด หรือใส่บาตร ทำบุญวันเกิด เจ็บป่วยก็ไปหาพระทำบุญ และบางแห่งพระอาจเป็นหมอกลางบ้าน เป็น เจ้าของตำราหมอยาพื้นบ้าน ตามภูมิปัญญาชาวบ้าน บทบาทก็มีความชัดเจนมากข้ึน แต่ อย่างไรก็ตาม ท่ีจะกล่าวต่อไปนี้เป็นเพียงข้อเสนอ (Suggestion) ไม่ใช่คำตอบสำเร็จรูป แต่ เป็นเพียงแนวคิดของบุคคลหน่ึง ที่มีความสนใจในงานของพระสงฆ์ ในบทบาทของพระสงฆ์ และพยายามท่ีจะผลักดันบทบาทของพระสงฆ์ ให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม และให้สังคม มองเห็นประโยชน์น้ันเด่นชัดมากขึ้น ผู้นำหรือผู้บริหารท่ีมีความรู้ ความสามารถ ชักนำให้ ผู้อื่นปฏิบัติตามได้ด่ังใจประสงค์และเกิดความพึงพอใจ ชื่อว่า ผู้มีภาวะนำท่ีมีจริยธรรม พระพุทธศาสนาได้กล่าวถึงภาวะผู้นำไว้ว่า ผู้นำต้องมีคุณสมบัติท้ังภายในและภายนอกคือ มี วิสัยทัศน์ ชำนาญงานและเป็นผู้มีอัธยาศัยดีเป็นท่ีวางใจของผู้อ่ืน มีบุคลิกน่าเช่ือถือ สง่างาม และต้องรู้จักนำหลักธรรมไปบูรณาการใช้อย่างเหมาะสม หลักธรรมเหล่าน้ัน ได้แก่ หลัก อธิปไตย 3 รู้ระบอบการบริหารงานท่ีเหมาะสมแก่องค์กรและชุมชน, พรหมวิหาร 4 รู้จักใช้ พระเดชและพระคุณ, สังคหวัตถุ 4 รู้จักหลักการผูกมิตรไมตรีต่อคนอ่ืนได้ดี, พละ 5 รู้จัก บริหารตนเองอย่างชาญฉลาดและมีความม่ันคงทางสติปัญญาและอารมณ์ ส่วนทฤษฏีภาวะ ผู้นำทางพระพุทธศาสนาและทฤษฎีภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง คือ การมีอิทธิพลอย่างมี อดุ มการณ์ การสรา้ งแรงบันดาลใจ การกระตนุ้ ทางปญั ญาและการคำนงึ ถึงปัจเจกบุคคล หาก นำมาบูรณาการอย่างเหมาะสมย่อมก่อให้เกิดประโยชน์อย่างสูงสุดต่อองค์กรและสังคม และ เมื่อจะกล่าวถึงบทบาทของการพัฒนาภาวะผู้นำท่ีมีจริยธรรม พระสงฆ์ถือว่ามีบทบาทสำคัญ เพราะพระสงฆเ์ ป็นผนู้ ำทางด้านจติ ใจ จากการท่ีผู้วิจัยได้สัมภาษณ์พระเทพวิสุทธิโมลี เจ้าคณะสงฆ์ภาค 10 (สัมภาษณ์ , 15 สิงหาคม 2561) เกี่ยวกับสภาพปัญหาในการบริหารจัดการวัดในสังกัดของคณะสงฆ์ภาค

วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 181 10 ได้ข้อสรุปเบื้องต้นว่า วัดและเจ้าอาวาสวัดในสังกัดคณะสงฆ์ภาค 10 บางส่วนมีปัญหาใน ดา้ นการรับรู้หรือความเข้าใจในระเบียบการบริหารจัดการวดั และเจ้าคณะสงฆ์ภาค 10 ได้รับ ข้อร้องเรียนทางวาจาจากอุบาสก อุบาสิกา หรือพระสงฆ์ประจำวัดอยู่เป็นระยะๆในด้าน เป้าหมายในการบริหารจัดการวัด ด้านความเข้าใจ และยอมรับสภาพของวัดท่ีแตกต่างกันใน ด้านขนาดของวัด จำนวนอุบาสกอุบาสิกาท่ีเข้าร่วมกิจกรรมของวัด ด้านความแตกต่างของ พระสงฆ์ที่จำวัดที่แตกต่างกัน เพ่ือให้การปกครองในคณะสงฆ์เป็นไปด้วยความเรียบร้อยตาม หลักพระพทุ ธศาสนา ผ้วู ิจัยจงึ มีความสนใจที่จะศึกษา การพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม7 ของ พระสังฆาธิการในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 โดยการใช้หลักสัปปุริสธรรมมาเป็นหลักการ ทางปัญญา ทมี่ นุษย์คนใดคนหน่ึงจะพงึ แสวงหาและนำมาพัฒนาตนเองแบบครบทกุ ด้านอย่าง สมบูรณ์แบบ หรือกล่าวได้ว่าหากใครมีความรู้ ความสามารถ ครบตามหลักทั้งเจ็ดข้อนี้กล่าว ได้ว่าท่านผู้น้ันเป็นบุคคลท่ีมีคุณสมบัติพร้อมท้ังความดี และมีปัญญาเป็นท่ีพ่ึงพาอาศัยของ สงั คมได้ วตั ถุประสงคก์ ารวิจยั 1. เพ่ือศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม7 ของพระสังฆาธิการ ใน เขตปกครองคณะสงฆภ์ าค10 2. เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม7 ของ พระสงั ฆาธกิ าร ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 3. เพ่ือศึกษาแนวทางการพัฒนาภาวะผ้นู ำตามหลักสัปปุริสธรรม7 ของพระสังฆาธิ การ ในเขตปกครองคณะสงฆภ์ าค10 วิธดี ำเนินการวจิ ยั ผู้วิจัยทำการวิจัยโดยใช้การบูรณาการความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับรูปแบบภาวะผู้นำ แนวคิดทฤษฏเี กี่ยวกับภาวะผู้นำ แนวคิดเกี่ยวกับหลักสัปปุริสธรรม มาผสมผสานกับการวิจัย เพ่ือสร้างแนวทางการจัดทำหลักภาวะผู้นำของพระสังฆาธิการในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค 10 ตามหลกั สัปปุรสิ ธรรม ใช้ระเบยี บวิธีวจิ ยั แบบผสมผสาน เปน็ การวิจยั เชิงประมาณและเชิง

182 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) คุณภาพไปพรอ้ มกันเพอ่ื ยืนยนั ผลการวจิ ัย และทำให้ผลการวิจัยทีพ่ บมีความหนกั แนน่ เพิ่มขึ้น (Creswell & Garrett, 2008, p.66-83) 1. ประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง ประชากรคือ การศกึ ษานีม้ ขี อบเขตดา้ นพน้ื ที่ เฉพาะวัดในเขตปกครองของคณะ สงฆภ์ าค 10 จำนวน 4,500 วดั ใน 6 จังหวดั (กรมการศาสนา, 2555 :7 ) กลุ่มตัวอย่างคือ จำนวนประชากรที่เป็นตัวแทนของประชากรดังกล่าวท่ีตอบ แบบสอบถามคือ พระสงฆแ์ ละฆราวาส จากวัด 4,500 วัด จำนวน 9,000 คน ทีไ่ ดม้ าจากการ คำนวณโดยสตู รของ Taro Yamane (Yamane, 1973 หนา้ 398) กลุ่มเป้าหมายในการวิจัยเชิงคุณภาพ ศึกษาข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์แนวลึกเฉพาะ ผเู้ ช่ียวชาญ (In-depth Interview of Experts) จำนวน 24 คน ทไ่ี ด้จากการสมุ่ ตวั อย่างแบบ ไม่ใช้ความน่าจะเป็น (Non-Probability Sampling) โดยเลือกแบบเฉพาะเจาะจงบุคคล (Purposive Sampling) 2. เคร่อื งมือท่ีใช้ในการวิจัย ในการศึกษาวิจัยคร้ังน้ี ผู้วิจัยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวม ข้อมูลเชิงปริมาณ และใช้แบบสัมภาษณ์เชิงลึก เป็นเครื่องในการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิง คุณภาพ เป็นเคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัย สร้างข้ึนจากการศึกษากรอบแนวคิด ทฤษฏีและ ผลงานวิจัยทเี่ ก่ียวขอ้ งแบง่ เป็นวิธกี ารทใ่ี ช้ในการวิจัย 3. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล 3.1 การเก็บข้อมูลทุติยภูมิ คือการเก็บข้อมูลที่ได้จากการรวบรวมทางเอกสาร ตำรา งานวิจัย บทความ เอกสารทางวิชาการ เอกสารเผยแพร่เพื่อการศึกษาเพื่อต้องการ ศึกษาข้อมลู เบ้ืองตน้ เกีย่ วกบั โจทยว์ ิจยั และประเด็นที่น่าสนใจประเด็นที่น่าศกึ ษาเพือ่ นำขอ้ มูล ท่ไี ด้มาพฒั นาเปน็ แนวทางการศึกษาวิจยั 3.2 การเกบ็ รวมรวมข้อมลู จากการลงพ้ืนท่ีคือผู้วจิ ยั ใช้วธิ สี มั ภาษณ์แบบเจาะจง กับกลุ่มเป้าหมาย เพ่ือให้ได้ข้อมูลท่ีตรงกับความต้องการของโจทย์วิจัย โดยกำหนดแนว ทางการสัมภาษณน์ น้ั ให้อยใู่ นกรอบของงานวิจยั และวัตถุประสงคข์ องงานวจิ ยั 4.การวิเคราะหข์ อ้ มูล การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ เป็นการวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ สำเร็จรูป โดยใช้วิธีทางสถิติท่ีนำมาใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ 1) การแจกแจงความถ่ี

วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 183 (Frequency) 2) สถิติพรรณนา (Descriptive Statistics) (1) ค่าความถดถอยแบบพหุ (Multiple Regression) (2) ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (Mean) ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ( ) ค่าเฉล่ีย 3) คา่ เบย่ี งเบนมาตรฐาน (standard deviation หรือ SD) การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ การวิเคราะห์ข้อมูลมีข้ันตอนต่างๆทำดัชนีข้อมูล (Indexing) โดยผู้วิจัยจะศึกษาข้อมูลท้ังหมด ทั้งข้อมูลปฐมภูมิและข้อมูลทุติยภูมิ ของผู้ให้ ข้อมูลสำคัญสำคัญแต่ละรายพร้อมดึงกลุ่มคำ (Keyword) ท่ีมีความหมายเก่ียวกับประเด็น ศึกษา ได้แก่ หนังสือ บทความ รายงานการวิจัย กฎหมายและระเบียบเกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎีและงานวจิ ัยที่เกย่ี วขอ้ ง ผลการวจิ ยั 1. การวิจยั เชงิ คณุ ภาพ 1.1 การพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุรสิ ธรรม7 ของพระสังฆาธกิ าร ในเขต ปกครองคณะสงฆ์ภาค 10 1) การพัฒนาตามหลักธัมมัญญุตา (1) รู้จักธรรม (2) รู้จักเหตุ (3) รู้หลัก ความจริง (4) รู้กฎแห่งธรรมดา (5) รู้หลักการท่ีจะทำให้เกิดผล (6) รู้กฏเกณฑ์กติกาที่ เกี่ยวขอ้ ง 2) การพัฒนาตามหลักอัตถัญญุตา (1) รู้ความมุ่งหมาย (2) รู้จักผลท่ีจะ เกิดขนึ้ เนอื่ งจากการกระทำ (3) มีความแน่วแนม่ งุ่ ม่นั ทจี่ ะไปใหถ้ ึงจุดหมาย 3) การพัฒนาตามหลักอัตตัญญุตา (1) รู้ความสามารถ (2) มีความอดทน (3) อยา่ ยดึ กบั ตนเองมากกว่าองคก์ ร (4) พัฒนาตนเองตลอดเวลา 4) การพัฒนาด้านมัตตัญญุตา (1) รู้จักประมาณตน (2) รู้จักความพอดี (3) รู้ องค์ประกอบและปจั จัยทเี่ ก่ยี วขอ้ ง 5) การพัฒนาด้านกาลัญญุตา (1) รู้กาลเวลาอันเหมาะสม (2) รู้จักวางแผน งานในการใชเ้ วลา 6) การพัฒนาด้านปริสัญญุตา (1) การเข้าได้กับวัฒนธรรมของชุมชน สังคม (2) รปู้ ญั หาและความต้องการของชุมชน 7) การพัฒนาด้านปุคคลัญญุตา (1) ไม่เลือกปฏิบัติ (2) เลือกคนให้เหมาะสม กบั งาน (3) มมี นษุ ยสมั พันธ์ (4) การพัฒนาฝกึ อบรม

184 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) 1.2 ความคิดเหน็ เก่ียวกบั ภาวะผนู้ ำของพระสังฆาธกิ าร 1) ภาวะผู้นำแบบผู้ให้บริการ คือ (1) เป็นผู้ฟังท่ีดี (2) เคารพในความ แตกต่างทางความคิดและ วัฒนธรรม (3) รับรู้ปัญหาต่างๆ ด้วยความเป็นเหตุเป็นผล (4) พ่ึงพาการจูงใจมากกว่าอำนาจท่ีตัวเองมี (5) รู้จักแบ่งปันผลประโยชน์ส่วนรวมร่วมกัน (6) สร้างความผูกพันแบบครอบครัว และความจงรักภักดีต่อองค์กร (7) การทำงานเป็นทีม (8) แบ่งปันผลประโยชน์ร่วมกนั 2) ภาวะผู้นำแบบผู้นำท่ีแท้จริง คือ (1) คุณธรรมในตนเอง และความโปร่งใส อย่างมีเหตุผล (2) เข้าใจในจุดแข็ง จุดอ่อน และธรรมชาติในหลายด้านของตนเอง (3) วิเคราะห์ข้อมูลที่เก่ียวข้องท้ังหมดอย่างไม่มีอคติ (4) การกำหนดและชี้นำทิศทางขององค์กร (5) ประพฤติปฏิบัติตามค่านิยมอย่างสม่ำเสมอ (6) ความฉลาด หลักแหลม ทางด้าน สตปิ ัญญาและความฉลาดทางด้านวฒุ ิภาวะทางอารมณ์ (7) ตัดสินใจอย่างเดด็ ขาด 3) ภาวะผู้นำแบบนำตนเอง คือ (1) สร้างแรงบันดาลใจ (2) เป็นผู้รบั ฟังท่ีดี (3) การวางเป้าหมายเป็นและชัดเจนในเป้าหมาย (4) การทำงานเป็นทีม (5) มีวิสัยทัศน์ที่ กว้างไกล (6) การค้นหาสิ่งใหม่ๆ ตลอดเวลา (7) กล้าเปลี่ยนแปลง (8) กล้าท่ีจะรับผิดชอบ และช่วยเหลือเม่ือเกิดความผิดพลาด (9) มีมนุษยสัมพันธ์ (10) ความเป็นธรรม มีความ ยุตธิ รรม (11) กลา้ ตดั สนิ ใจ (12) สอ่ื สารให้ถกู กาลเทศะ (13) รู้จกั ควบคมุ อารมณ์ 4) ภาวะผู้นำแบบกระจายความรับผิดชอบ คือ (1) รับผิดและรับชอบท้ังเร่ือง ของงานและเรื่องส่วนตัว (2) กล้าคิดกล้านำเสนอ (3) การเข้าสังคม (4) การให้เกียรติเพื่อน รว่ มงาน (5) สรา้ งความสัมพันธใ์ นระยะยาวกบั ผ้อู นื่ (6) วนิ ยั ในตนเองสงู 1.3 ความคิดเหน็ เกีย่ วกบั แนวทางการพัฒนาภาวะผ้นู ำของพระสงั ฆาธิการ 1) ด้านการทำงานร่วมกัน คือ (1) ความคิดเห็นอย่างเปิดเผยตรงไปตรงมา (2) ไว้วางใจซึ่งกันและกัน (3) การมีจุดมุ่งหมายที่ชัดเจน (4) ส่วนในการตัดสินใจ (5) การ ตรวจสอบทบทวนผลงานและวธิ ใี นการทำงาน 2) ด้านการสอนงาน คือ (1) รู้จักลูกน้องของตัวเอง (2) การพัฒนาลูกน้อง หลาย ๆ รูปแบบ (3) การบริหารผใู้ ตบ้ ังคบั บัญชาท่ตี นตอ้ งดูแลรบั ผิดชอบ 3) ด้านการเป็นพ่ีเลี้ยง คือ (1) การถ่ายทอดความรู้ (2) เป็นเคร่ืองมือในการ พฒั นาบคุ คลากร (3) คำปรกึ ษาแนะนำถึงแนวทางการปฏบิ ตั งิ าน (4) การฟงั อยา่ งลกึ ซ้ึง

วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 185 4) ด้านการรู้จักตนเอง คือ (1) การวางแผนงาน (2) การจัดลำดับความสำคัญ ของงาน (3) การหาวิธีประเมินผลการปฏิบัติงานของตนเอง และของผู้ใต้บังคับบัญชา (4) การม่งุ เน้นที่ผลลัพธ์ (5) ประสิทธิภาพและประสิทธิผล (6) ทกั ษะในการรับฟัง (7) ทักษะการ ส่ือสาร (8) คาดคะเนการพยากรณ์ (9) การพฒั นาทรัพยากรบุคคล 2. การวิจัยเชงิ ปริมาณ 2.1 เพ่ือศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาภาวะผนู้ ำตามหลักสปั ปุริสธรรม7 ของพระสงั ฆาธิการ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 ปัจจัยหลักสัปปุริสธรรม7 ที่ส่งผลต่อการพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัป ปุริสธรรม 7 ของพระสังฆาธิการ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 ในภาพรวม ผลการวิเคราะห์ พบว่า ปัจจัยหลักสัปปุริสธรรม7 ที่ส่งผลต่อการพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม7 ของพระ สังฆาธิการ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 ในภาพรวม อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( x = 4.40) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน โดยเรียงลำดับจากค่าเฉล่ียมากไปหาน้อย พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ย มากที่สุด คอื ด้านกาลัญญุตา มีความคิดเหน็ อยู่ในระดบั มากท่ีสดุ ( x = 4.48) รองลงมา คือ ด้านหลักธัมมัญญุตา มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากท่ีสุด ( x = 4.44) ด้านหลักอัตถัญญุตา มคี วามคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด ( x = 4.42) ด้านมัตตญั ญุตา มีความคิดเห็นอยู่ในระดับ มากท่ีสุด ( x = 4.39,) ด้านปุคคลัญญุตา มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด ( x = 4.38) ด้านปริสัญญุตา มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด ( x = 4.37) และด้านท่ีมีค่าเฉล่ียน้อย ท่ีสุด คอื ดา้ นหลักอัตตัญญตุ า มคี วามคดิ เห็นอยใู่ นระดบั มากทสี่ ุด 2.2 ปัจจัยภาวะผู้นำของพระสังฆาธิการที่ส่งผลต่อการพัฒนาภาวะผู้นำตาม หลกั สัปปรุ สิ ธรรม7 ของพระสังฆาธกิ าร ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 ในภาพรวม 1) ผลการวิเคราะห์ พบว่า ปัจจัยภาวะผู้นำของพระสังฆาธิการที่ส่งผลต่อ การพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม7 ของพระสังฆาธิการ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ ภาค10 ในภาพรวม อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( x = 4.27) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน โดย เรียงลำดับจากค่าเฉล่ียมากไปหาน้อย พบว่า ด้านท่ีมีค่าเฉล่ียมากที่สุด คือ แบบกระจาย ความรับผิดชอบ มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด ( x = 4.35) รองลงมา คือ แบบผู้นำ ตนเองและแบบผู้ให้บริการ มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด ( x = 4.25) และด้านท่ีมี ค่าเฉล่ยี นอ้ ยทสี่ ุด คือ แบบผ้นู ำทแี่ ท้จริง มคี วามคิดเหน็ อย่ใู นระดบั มากที่สุด ( x = 4.23)

186 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) 2) แบบผู้ให้บริการ อยู่ในระดับมากที่สุก ( x = 4.25) เมื่อพิจารณาเป็น รายข้อ พบว่า ข้อท่ีมีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ การยึดหลักคุณธรรม มีความคิดเห็นอยู่ในระดับ มากท่ีสุด ( x = 4.31) และข้อท่ีมีค่าเฉล่ียน้อยที่สุด คือ ความสุภาพถ่อมตนมีความคิดเห็น อยู่ในระดับมาก ( x = 4.14) 3) แบบผู้นำท่ีแท้จริง อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( x = 4.23) เมื่อพิจารณาเป็น รายข้อ พบว่า ข้อที่มีค่าเฉล่ียมากท่ีสุด คือ การตระหนักตน มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ท่ีสุด ( x = 4.29) และข้อที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ การประมวลผลท่ีสมดุล และมุมมองเชิง จริยธรรมภายในตน มคี วามคดิ เห็นอยู่ในระดับมากที่สดุ ( x = 4.21,) 4) แบบผู้นำตนเอง อยู่ในระดับมากที่สุด ( x = 4.25) เมื่อพิจารณาเป็น รายข้อ พบว่า ข้อที่มีค่าเฉล่ียมากท่ีสุด คือ สนับสนุนให้สมาชิกส่งเสริมและกระตุ้นบุคคลอ่ืน ต่อไปได้ และการพัฒนาสภาพแวดล้อมท่ีส่งเสริมที่ดี มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด ( x = 4.25) และข้อที่มีค่าเฉล่ียน้อยท่ีสุด คือ กระตุ้นให้เกิดการสังเกต และข้อคิดเห็น ระหว่างผ้ใู ต้บังคบั บัญชา และทำให้ผู้ใต้บังคบั บัญชาสามารถกำหนดเป้าหมายส่วนบคุ คลได้ มี ความคิดเห็นอยใู่ นระดบั มากท่ีสดุ ( x = 4.26) 5) แบบกระจายความรับผิดชอบ อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( x = 4.35) เม่ือ พิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ข้อที่มีค่าเฉล่ียมากที่สุด คือ การนับถือในความสามารถของผู้อ่ืน มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากท่ีสุด ( x = 4.45) และข้อที่มีค่าเฉลี่ยน้อยท่ีสุด คือ การมี ค่านิยมร่วมกนั มคี วามคดิ เหน็ อย่ใู นระดับมากท่ีสดุ ( x = 4.25) 2.3 แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม7 ของพระสังฆาธิการ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 1) ผลการวิเคราะห์ พบวา่ แนวทางการพัฒนาภาวะผนู้ ำทสี่ ง่ ผลต่อการพัฒนาภาวะ ผูน้ ำตามหลักสัปปุริสธรรม7 ของพระสังฆาธิการ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 ในภาพรวม อยู่ในระดับมากที่สุด ( x = 4.44) เม่ือพิจารณาเป็นรายด้าน โดยเรียง ลำดับจากค่าเฉล่ียมากไป หาน้อย พบว่า ด้านท่ีมีค่าเฉล่ียมากที่สุด คือ ด้านการสอนงาน มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ที่สุด ( x = 4.51) รองลงมา คือ ด้านการรู้จักตนเอง มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากท่ีสุด ( x = 4.49) ด้านการเป็นพ่ีเลี้ยง มีความคิดเห็นอยู่ในระดบั มากท่ีสุด ( x = 4.46) และด้านที่ มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ด้านการทำงานร่วมกัน มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด ( x = 4.31)

วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 187 2) ผลการวิเคราะห์การพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม7 ของพระ สังฆาธิการ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 ด้านการทำงานร่วมกัน อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( x = 4.31) เม่ือพจิ ารณาเปน็ รายข้อ พบว่า ขอ้ ท่ีมคี ่าเฉล่ียมากท่ีสุด คือ สรา้ งความเป็นหน่ึง เดียว มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด ( x = 4.45) และข้อท่ีมีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ การ มกี ารตดิ ตอ่ สอื่ สารกนั มคี วามคดิ เหน็ อยู่ในระดับมาก ( x = 4.06) 3) ผลการวิเคราะห์การพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม7 ของพระ สังฆาธิการ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 พบว่า ด้านการสอนงาน อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( x = 4.35) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ข้อท่ีมีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ทักษะการถามเชิง บวก มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากท่ีสุด ( x = 4.65) และข้อท่ีมีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ การ สร้างความสมั พนั ธร์ ะหว่างกนั มคี วามคิดเห็นอยูใ่ นระดับมากทส่ี ุด ( x = 4.32) 4) ผลการวิเคราะห์การพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม7 ของพระ สังฆาธิการ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 พบว่า ด้านการเป็นพ่ีเลี้ยง อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( x = 4.46) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ข้อท่ีมีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ เป็นตัวอย่างท่ีทำ ตามได้ มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากท่ีสุด ( x = 4.48) และข้อที่มีค่าเฉล่ียน้อยท่ีสุด คือ ถ่ายทอดองคค์ วามรไู้ ด้ มคี วามคิดเห็นอย่ใู นระดับมากทีส่ ดุ ( x = 4.45) 5) ผลการวิเคราะห์การพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม7 ของพระ สังฆาธิการ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 พบว่า ด้านการรู้จักตนเอง อยู่ในระดับมากท่ีสุด ( x = 4.49) เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ข้อท่ีมีค่าเฉล่ียมากท่ีสดุ คือ กล้าเปลี่ยนแปลง มี ความคิดเห็นอยู่ในระดบั มากท่ีสุด ( x = 4.59) และข้อท่ีมีค่าเฉล่ียน้อยที่สุด คือการวัดผล มี ความคิดเห็นอยู่ในระดบั มากทีส่ ดุ ( x = 4.37) อภปิ รายผล 1. การพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม7 ของพระสังฆาธิการ ในเขต ปกครองคณะสงฆ์ ภาค10 การพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม7 ของพระสังฆาธิการ ในเขตปกครอง คณะสงฆ์ภาค10 รูปแบบภาวะผู้นำของพระสังฆาธิการ เน้นผู้นำแบบการใช้ความสามารถ พิเศษ ท่ีต้องมีความสามารถเฉพาะเจาะจง หรือเช่ียวชาญด้านใดด้านหน่ึงหรือหลากหลาย ด้าน เชน่ ความสามารถทางดา้ นหลักพรหมวหิ ารธรรม รว่ มกับหลักสัปปุรสิ ธรรม รวมถงึ ต้อง

188 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) มีความสามารถในการพัฒนาตนเองสอดคล้องกับกุลธิดา ล้ิมเจริญและพระมหาหรรษา ธมฺมหาโส (2562) ที่ผลการวิจัยพบว่า การพัฒนาผู้นำเพ่ือสันติภาพ สามารถบูรณาการได้ใน 4 มิติการพัฒนา คือ ความสามารถด้านกายภาพ ท่ีจำเป็นต้องพัฒนาบุคลิกภาพของผู้นำ เพราะบุคลิกภาพสะท้อนคุณค่าภายใน โดยการใช้หลักธรรมทางศาสนา เช่น หลักสัปปุริส ธรรม เพ่ือใช้ในด้านการทำงานร่วมกันอย่างมีความสุข นอกจากน้ี ธิดาวัลย์ อุ่นกอง (2560) ผลการวิจัยพบว่า ลักษณะสำคัญที่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลของงาน ที่ผู้นำต้องมีคือ ความพร้อมในการปรับปรุงตนเองเพ่ือให้ทันต่อการทำงานรูปแบบใหม่ ท่ีจำเป็นต้องอาศัย ความรู้ความสามารถทางด้านเทคโนโลยี รวมถึงการมีวิสัยทัศน์ที่กว้างไกล และมีความพรอ้ ม ในการปรับปรุงตนเองอยู่ตลอดเวลา ต้องเป็นผู้นำที่มีความรู้ ความสามารถ จูงใจให้ผู้อ่ืน ปฏิบัติตามได้ดั่งใจประสงค์ และเกิดความพึงพอใจถือได้ว่าเป็นผู้มีภาวะนำ ในทาง พระพุทธศาสนาได้กล่าวถึงภาวะผู้นำไว้ว่า ผู้นำต้องมีคุณสมบัติท้ังภายในและภายนอกคือ มี วสิ ัยทัศน์ ชำนาญงานและเป็นผู้มีอัธยาศัยดี เป็นที่วางใจของผูอ้ ื่น มีบคุ ลิกน่าเช่ือถือ สงา่ งาม แ ล ะต้ อ งรู้จั ก น ำห ลั ก ธ รรม ไป บู รณ าก ารใช้ อ ย่ างเห ม าะ ส ม ส อ ด ค ล้ อ งกั บ งาน วิจั ย ข อ ง พระมหาสงกรานต์ เทวนนโท (ม.ป.ป) การบริหารงานบุคคลตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของ ผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษา การบริหารงานบุคคลตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของผู้บริหารสถานศึกษา ในโรงเรียนมัธยมศึกษา ผลการวิจัยพบว่า หลักสัปปุริสธรรม 7 คือ ด้านอัตตัญญุตา ด้านปริสัญญุตา ด้านอัตถัญญุตา ด้านปุคคลัญญุตา ด้านกาลัญญุตา ด้านธัมมัญญุตา และด้านมัตตัญญุตามีความสัมพันธ์สูงกับภาพรวมในการนำหลักสัปปุริส ธรรม 7 มาใช้ในการบริหารงานบุคคลอย่างมีระดับนัยสำคัญทางสถิติท่ี .01 จึงยอมรับ สมมติฐานท่ีต้ังไว้ 4. แนวทางในการบริหารงานบุคคลตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของผู้บริหาร สถานศึกษา ในโรงเรียนมัธยมศึกษา รวมท้ังภาวะผู้นำของพระสังฆาธิการอกี 4 แบบคือ แบบ ผูใ้ ห้บริการ แบบผู้นำท่ีแท้จริงมี แบบผู้นำตนเอง และแบบกระจายความรับผิดชอบและแนว ทางการพัฒนาภาวะผู้นำของพระสังฆาธิการอีก 4 ด้านการทำงานร่วมกัน ด้านการสอนงาน ด้านการเป็นพ่ีเล้ียง และด้านการรู้จักตนเอง รู้จักบริหารตนเองอย่างชาญฉลาดและมีความ มั่นคงทางสติปัญญาและอารมณ์ รู้หลักบริหารตนและองค์กรอย่างรู้เท่าทันและเป็นการ ป้องกันความเสยี หาย อนั จะเกดิ ขึน้ แก่องค์กรพระสงั ฆาธิการท่ีจะทำหน้าทเ่ี ป็นผู้นำคนอนื่ ได้ดี น้ัน จะต้องสร้างการพัฒนาภาวะผนู้ ำ ท่ีมคี ุณสมบัติของความเป็นผู้นำของตนให้เหมาะสมกับ ความเป็นผนู้ ำเสียกอ่ น จงึ จะเปน็ ผู้นำคนอ่ืนได้ ผู้นำท่ยี ิ่งใหญ่และมีช่ือเสยี งนั้น จะตอ้ งเปน็ ผูท้ ี่

วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 189 มีความรู้ความสามารถ มีบารมีมีบุคลิกภาพของความเป็นผู้นำ มีคุณธรรมและจริยธรรม ประจำใจ มีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ รู้หลักหรือแนวทางในการ พัฒนาทั้งวัดและชุมชน สามารถเข้าถึงจิตใจผู้อ่ืนได้เปน็ อย่างดสี อดคล้องกับแนวคิดของพระธรรม ปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต) (2540) ว่า ผู้นำต้องรู้ว่าตนเอง คือใครมีภาวะเป็นอะไร อยู่ในสถานะใด มีคุณสมบัติ มีความ พรอ้ ม มคี วามถนัด มีสตปิ ญั ญา 2. ปัจจัยท่ีส่งผลต่อการพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม7 ของพระ สังฆาธิการ ในเขตปกครองคณะสงฆภ์ าค10 2.1 ปัจจัยหลักสัปปุริสธรรม7 ที่ส่งผลต่อการพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริส ธรรม7 ของพระสงั ฆาธิการ ในเขตปกครองคณะสงฆภ์ าค10 ด้านหลักธัมมัญญุตา เป็นการสะท้อนให้เห็นว่าการกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ คือ ทิศทางที่องค์กรวางแผนว่าจะไปให้ถึงในอนาคต เป็นแรงบันดาลใจที่ผู้นำองค์กรใช้ในการ กระตุ้นและขับเคล่อื นทกุ คนให้ไปในทิศทางเดียวกัน ตอ้ งมีความชัดเจน มคี วามเป็นไปได้ท่จี ะ เกดิ ขนึ้ และสามารถจับต้องได้ ถัดมาถงึ จะเป็นวางแผนกลยทุ ธ์เพอ่ื ไปสวู่ สิ ยั ทัศน์นน้ั ด้านหลักอัตถัญญุตา การทำงานต้องมีการกำหนดวัตถุประสงค์ท่ีชัดเจน แต่การ บรรลุวัตถุประสงค์จนถึงตัวชี้วัดเป็นไปได้ยากเพราะต้องพบกับปัญหาและอุปสรรคมากมาย สะท้อนให้เห็นว่าการทำงานต้องมีเป้าหมายก่อน แต่ถ้าไม่ถึงเป้าหมายก็นำมาถอดบทเรียน เพอื่ แลกเปล่ยี นเรยี นรทู้ ง้ั องค์กร เพราะเหตุใด ทำไมถึงไม่บรรลุวัตถุประสงคน์ น้ั ด้านหลักอัตตตัญญุตา การพัฒนาตนเอง คือความดีงามที่ถูกปลูกฝังขึ้นในจิตใจ จนเกิดจิตสำนึกที่ดีมีความกตัญญู จริยธรรม คือการประพฤติปฏิบัติตามความดีงามแห่ง คุณธรรมนั้น สว่ นการพฒั นาตนเองเปน็ การทร่ี ู้จักการเข้าใจตนเองก่อน ทำอย่างไรทจ่ี ะพัฒนา บุคลิกภาพที่น่าเช่ือถือและสร้างศรัทธาแก่ผู้พบเห็น ทุกข้อในด้านนี้อยู่ในระดับมากที่สุดทุก ข้อ ไม่วา่ ข้อใดเฉล่ยี มากหรอื น้อย การพฒั นาภาวะผนู้ ำตอ้ งมพี ร้อมทุกข้ออยแู่ ลว้ ด้านหลักมัตตัญญุตา สะท้อนให้เห็นว่าในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 ยังเป็นวัด ไม่ค่อยเจริญสักเท่าไหร่ การเป็นอยู่ของพระจึงดำเนินชีวิตแบบปรกติแบบงานประจำ ยังไม่ ค่อยมีนวัตกรรมเข้ามาถึง รวมถึงความพอเพียงในสิ่งที่ตัวเองมีอยู่ ซึ่งสอดคล้องไปในทิศทาง เดียวกนั ด้านหลักกาลัญญุตา การตรงต่อเวลาในกิจกรรมหรือพิธีการของพระ มักจะถูก กำหนดจนเป็นวัฒนธรรมจนไม่รู้สึกว่าเป็นส่วนหน่ึงในชีวิต เช่นพระตีระฆังตอน 10.30 บอก

190 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) ถึงว่าจะฉันท์เพลแล้ว หรือตีระฆังเวลา 17.00 พระต้องสวดมนต์ตอนเย็น ส่วนการบริหาร เวลาพระไมร่ ู้วา่ ทำสิง่ ใดกอ่ นส่ิงใดหลัง ขาดการจัดลำดับความสำคัญจงึ มคี า่ เฉลย่ี น้อย ด้านหลักปริสัญญุตา การรู้จักวัฒนธรรมประเพณี สะท้อนให้เห็นว่าการรู้จัก วัฒนธรรม ประเพณีของท้องถิ่นหรือบริบทของแต่ละท้องถ่ินนั้นๆ ที่ต่างที่ต่างถิ่นก็มี วัฒนธรรม ประเพณีท่ีแตกต่างกัน เป็นการรู้จักสร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อผู้ใต้บังคับบัญชา ท่ี สอดคล้องกับการมีมนษุ ยสัมพนั ธ์ในการทำงานรว่ มกบั ผ้อู นื่ ที่มีระดบั มากท่ีสดุ เหมือนกนั ดา้ นหลกั ปุคคลัญญุตา ความเสมอภาคไมใ่ ช่ความเท่าเทยี ม หากแต่หมายความว่าทุก คนจะได้ การเข้าถึงโอกาสเหมือนกันเพราะสถานภาพในสังคมของคนไม่เหมือนกัน โอกาสไม่ เท่าเทียมกนั ทำให้เกิดอุปสรรคในการเข้าถึงโอกาส เกิดความไม่เสมอภาคกัน สะท้อนให้เห็น ว่าพระในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 มีความเป็นธรรมและเสมอภาค โดยไม่เลือกปฏิบัติ และเมอ่ื การบริหารคนเป็นจำนวนมากกต็ ้องมคี วามขัดแยง้ เกดิ ข้ึน ซ่งึ การบริหารความขดั แย้ง อยา่ งสรา้ งสรรค์ กม็ ีความคดิ เห็นเฉลยี่ อยูใ่ นระดบั มากทีส่ ุดเหมือนกัน 2.2 จากข้อสมมตฐิ านปัจจยั หลักสัปปุริสธรรม7 ท่สี ง่ ผลต่อการพัฒนาภาวะผนู้ ำ ตามหลักสัปปุริสธรรม7 ของพระสังฆาธิการ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 ผลจากการ วิเคราะห์ พบว่า ปัจจัยหลักสัปปุริสธรรม7 5 ตัวแปร ส่งผลต่อการพัฒนาภาวะผู้นำตาม หลักสัปปุริสธรรม7 ของพระสังฆาธิการ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 คือ ด้าน หลักธัมมัญญุตา ด้านหลักอัตถญั ญุตา ด้านหลกั อัตตัญญุตา ดา้ นกาลัญญุตาและดา้ นปริสัญญุ ตา โดยตัวแปรอิสระทั้ง 5 ตัวแปรดังกล่าวสามารถร่วมกันทำนายการพัฒนาภาวะผู้นำตาม หลักสัปปุริสธรรม7 ของพระสังฆาธิการ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 ได้อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีค่าสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.542 อำนาจทำนาย ประมาณร้อยละ 29.40 (R Square = 0.294) ค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของการ ทำนายมีค่า 1.914 สอดคล้องกับงานวิจัยของ อรนุช โขพิมพ์, เอกฉัท จารุเมธีชน, ประยูร แสงใส, สุแทพ ปาลสาร (2557) ภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของผู้บริหารโรงเรียน พระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา จังหวัดขอนแก่น ผลการวิจัยพบว่า 1. ภาวะผู้นำของ ผู้บริหารตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดขอนแก่น ในภาพรวมมีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ในรายด้านพบว่าทุกด้านมีความ คิดเห็นอยู่ในระดับมาก เรยี งลำดับจากด้านค่าเฉล่ียที่มีมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านอัตถัญญุตา ด้านปริสัญญุตา ด้านกาลัญญุตา ด้านปุคคลปโรปรัญญุตา ด้านมัตตัญญุตา ด้านธัมมัญญุตา

วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 191 และด้านอัตตัญญุตา 2. การเปรียบเทียบภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของผู้บริหาร โรงเรียนพระปริยตั ิธรรมแผนกสามัญ จังหวัดขอนแก่นตามความคดิ เห็นของบคุ ลากร จำแนก ตามสถานภาพและประสบการณ์ พบว่า มีระดับความคิดเห็นในภาพรวมและรายด้านทุก ด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญท่ีระดับ 0.05 กล่าวคือผู้นำน้ันจะต้องรู้จักเหตุ รู้หลักการ ด้านอัตถัญญุตา ผู้บริหารควรเปิดใจให้กว้างและยอมรับฟังความคิดเห็น ความรู้สึกของ ผู้ร่วมงาน และปล่อยวางให้มาก ด้านอัตตัญญุตา ผู้บริหารควรควบคุมอารมณ์ของตนเอง มี ความอดทน อดกลั้น และอย่ายึดกับตนเองมากกว่าองค์กร ควรนำหลักธรรมมาปฏิบัติให้เกิด ตามหลักของทางสายกลางให้มากข้ึน ด้านมัตตัญญุตา ผู้บริหารควรท่ีจะรู้จักประมาณตน ควรจะนำงบประมาณที่ส่วนกลางจัดสรรให้ไปใช้อย่างเหมาะสม ไม่ใช้ด้านอื่นนอกจากด้าน การศึกษา และพฒั นาองค์กรให้เจรญิ ขึ้น ด้านกาลญั ญุตา ควรรู้เวลาและโอกาสในการพัฒนา โรงเรียน ควรมีแผนในการพัฒนาที่ดีกว่านี้ การปฏิบัติงานหรืองานในโรงเรียนใช้เวลาให้ เหมาะสม ไม่เอาเวลาเรยี นของสามเณรไปใช้ในงานสว่ นตัว และควรท่จี ะมเี ป้าหมายและแผน ในการดำเนินงานให้ชัดเจน ด้านปริสัญญุตา ผู้บริหารควรเป็นมิตรแท้กับชุมชน องค์กรอื่นๆ เพื่อที่จะทำให้ได้รับความไว้วางใจจากบคุ คลภายในและภายนอก ด้านปุคคลัญญุตา ผู้บรหิ าร ไม่ควรท่ีจะเลือกปฏิบัติ ควรเลือกบุคคลากรในการทำงานให้เหมาะสมกับความสามารถของ บุคคลน้ันๆ และควรให้มีการอบรมการบริหารงานด้านบุคลากรเพ่ือให้เกิดประโยชน์และ คณุ คา่ แก่ผ้ปู ฏบิ ัตงิ านทุกคน 2.3 จากข้อสมมติฐานปัจจัยภาวะผู้นำของพระสังฆาธิการส่งผลต่อการพัฒนา ภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม7 ของพระสังฆาธิการ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 ผล การวิเคราะห์พบว่า ตัวแปรอิสระ 2 ตัวแปร ได้แก่ แบบผู้ให้บริการ และแบบกระจายความ รับผิดชอบ สามารถทำนายการพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม7 ของพระสังฆาธิการ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยค่าสัมประสิทธ์ิ สัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ0.507 อำนาจทำนายประมาณร้อยละ 25.70 (R Square = 0.257) ค่า ความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของการทำนายมีค่า 1.893 ภาวะผู้นำแบบผู้ให้บริการ รูปแบบ ภาวะผู้นำแบบใจใฝ่บริการ มีหลักการเดียวกับการศึกษาเพ่ือการเปลี่ยนแปลง (Change Education) ซึ่งสามารถนำไปใช้ให้เกิดผล ประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่ 1. บริบทของภาวะ ผู้นำแบบใจใฝ่บริการของผู้บริหารเพื่อพัฒนาโรงเรียนสังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรใน ประเทศไทยอย่างย่ังยนื มี 5 องค์ประกอบย่อย คือ หลักการ วัตถุประสงค์ ภาวะผู้นำแบบใจ

192 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) ใฝ่บริการ สภาพปัจจุบัน และสภาพท่ีพึงประสงค์ของภาวะผู้นำแบบใจใฝ่บริการและวิธีการ/ เทคนิคในการบริหารให้เกิดความย่ังยืน 2. แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำแบบใจใฝ่บริการ ประกอบด้วย ตัวป้อน (Input) กระบวนการ (Process) ผลผลิต (Output) และข้อมูล ย้อนกลับ (Feedback) โดยหัวใจสำคัญของแนวทางน้ีคือ การศึกษาเพ่ือการเปล่ียนแปลง (Change Education) ท่ีมุ่งเน้นการปรับเปล่ียนวิธีคิด (Mindset) ซึ่งเกิดจากการฝึกปฏิบัติ การส่ังสมประสบการณ์และการสร้างวัฒนธรรมองค์กร เพ่ือนำสู่การเปล่ียนแปลงอย่างเป็น ระบบ 3. แนวทางการนำรูปแบบการศกึ ษาเพื่อการเปลี่ยนแปลงไปใช้ในการพัฒนาภาวะผู้นำ แบบใจใฝ่บริการควรกำหนดเป็นนโยบายอย่างชัดเจน โดยกำหนดให้การศึกษาเพื่อการ เปล่ียนแปลงเป็นหลักเกณฑ์ในการเข้าสู่ตำแหน่งและการพิจารณาความดีความชอบ เพ่ือ ผลักดันให้การบริหารจัดการโรงเรียนมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลอย่างยั่งยืน ส่วนภาวะ ผู้นำแบบกระจายความรับผิดชอบ สอดคล้องกับงานวิจัยของอรอนงค์ พรหมเดช,อโนทัย ประสาน,สุรพงศ์ เอ้ือศิริพรฤทธ์ิ (2561) ผลการวิจัยพบว่า 1. การกระจายภาวะผู้นำของ ผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดเทศบาลนครนครศรีธรรมราชอยู่ในระดับมากทุกด้านโดยเรียง ตามลำดับดังต่อไปนี้การกระจายภาวะผู้นำ การมีพันธกิจวิสัยทัศน์ และเป้าหมายร่วมกันมี ค่าเฉลี่ยมากท่ีสุด รองลงมาคือ วัฒนธรรมการทำงานเป็นทีมและการตัดสินใจร่วมกัน และ การปฏิบัติภาวะผู้นำมีค่าเฉลี่ยน้อยท่ีสุด 2. การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา สงั กัดเทศบาลนครนครศรธี รรมราชอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงตามลำดับดงั ตอ่ ไปนี้การ เป็นบุคคลท่ีรอบรู้ มีค่าเฉลี่ยมากท่ีสุด รองลงมาคือ การมีแบบแผนความคิดการสร้าง วิสัยทัศน์รว่ มและการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม และการคิดอย่างเป็นระบบมีค่าเฉล่ียน้อยท่ีสุด3. ความสัมพันธ์ระหว่างการกระจายภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษากับองค์การแห่งการ เรียนร้ขู องสถานศึกษาสังกัดเทศบาลนครนครศรีธรรมราช อยา่ งมนี ยั สำคัญทางสถิตทิ ่ี .01 3. แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม7 ของพระสังฆาธิการใน เขตปกครองคณะสงฆภ์ าค10 ด้านการทำงานร่วมกัน การทำงานร่วมกันเป็นการร่วมมือกับบุคคลอื่น ในการสร้าง ความความเข้าใจซ่ึงกันและกัน ซึ่งมีบุคคลอยู่สองฝ่ายคือผู้ขอความร่วมมือและผู้ให้ความ ร่วมมือ การทำงานร่วมกันจะเกิดขึ้นได้เม่ือฝ่ายผู้ให้เต็มใจและยินดีจะให้ความร่วมมือ สอดคล้องกับการมีการติดต่อสื่อสารกันท่ดี ี เหตผุ ลท่ที ำให้การทำงานร่วมกันขาดความรว่ มมือ ไมช่ ว่ ยเหลือกนั คอื การสอื่ สารทไี่ มเ่ ปน็ มติ รตอ่ กันท้ังผู้ฟังและผู้พูด

วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 193 ด้านการสอนงาน สะท้อนให้เห็นว่าคำตอบทั้ง 2 ข้อไปในทิศทางเดียวกัน การถาม เชิงบวกก่อให้เกิดกระบวนการคิด ตรึกตรอง และค้นหาคำตอบ การถามจึงเป็นการกระตุ้น ความคิด การฝึกฝนคิดบ่อยๆ ผู้ที่ถูกถามจะสามารถคิดและแก้ปัญหาได้ด้วยตัวเอง และ คำถามทดี่ คี วรเป็นคำถามปลายเปดิ (Open Question) เพื่อให้ผู้ถูกถามได้แสดงความคิดเห็น แตใ่ นระหว่างการสอนงานท้ังผู้สอนและผู้ถกู สอนต้องมีการสร้างความสมั พนั ธท์ ดี่ ีระหว่างกัน ดา้ นการเปน็ พเ่ี ลี้ยง สะท้อนใหเ้ ห็นว่าคำตอบทง้ั 2 ข้อไปในทิศทางเดียวกนั ก่อนท่จี ะ เป็นผู้นำที่ดีก็ต้องเคยเป็นผู้ตามที่ดีมาก่อน ผ่านการเรียนรู้ท่ีมีการลองผิดลองถูก มีทักษะใน การปฏิบัติงานมานาน ไปสู่การมีทัศนคติท่ีดีในการพ่ีเล้ียง ท่ีสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ได้ดี จาการที่สะสมประสบการณ์มาอย่างยาวนาน ด้านการรู้จักตนเอง สะท้อนให้เห็นว่าคำตอบทั้ง 2 ข้อไปในทิศทางเดียวกัน ผู้นำท่ี กล้าเปล่ียนแปลงจะแสดงออกด้วยการเป็นแม่แบบที่เข้มแข็ง ให้ผู้ตามได้เห็นเกิดการรับรู้ใน พฤติกรรมของผูน้ ำ ทำให้เกดิ การลอกเลยี นแบบพฤติกรรมผู้นำขึ้น และยังมีพฤตกิ รรมปฏิบัติ ที่มีมาตรฐานทางศีลธรรม และศีลธรรมสูงจนเกิดการยอมรับว่าเป็นส่ิงท่ีถูกต้องดีงาม สอดคล้องกบั การวดั ผลงานทีต่ นได้ทำการเปลี่ยนแปลงแลว้ ผลลัพธ์ทีไ่ ด้เปน็ อย่างไร องคค์ วามร้ทู ไี่ ดจ้ ากการศกึ ษา จากการศึกษา การพฒั นาภาวะผนู้ ำตามหลักสัปปรุ สิ ธรรม7 ของพระสังฆาธิการใน เขตปกครองคณะสงฆภ์ าค 10 ผู้นำตอ้ งมีทัศนคติในทางบวก มีความเช่อื มนั่ ในตนเอง มีความ ตั้งใจในการทำงานเต็มท่ี เต็มกำลังความสามารถไม่ย่อท้อต่อปัญหาและอุปสรรค มีความคิด วิสัยทัศน์กว้างไกลใจกว้าง มีความคิดที่ต้องการเรียนรู้ส่ิงต่างๆ อย่างต่อเน่ือง เพ่ือการพัฒนา ตนเองและผู้เกี่ยวข้อง นำความรู้ที่ไดจ้ ากการเรียนรไู้ ปสกู่ ารปฏบิ ัติจริง มีความกลา้ หาญ และ เดด็ ขาดในการตัดสินใจ สามารถยอมรับความคดิ ของบุคคลผู้เก่ียวขอ้ งได้และความคิดต้องอยู่ บนพนื้ ฐานของหลกั ความเป็นธรรม คือหลักสัปปุริสธรรมและหลกั ธรรมทางศาสนาอ่ืนๆท่ีผู้นำ ควรต้องมี เช่น หลักอิทธบิ าท 4 พรหมวิหาร สงั คหวตั ถุ

194 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) เอกสารอา้ งอิง กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม. (2555).รายงานการสัมมนาทางวิชาการเร่ืองรูปแบบ การส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมในสังคมไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมชนสหกรณ์ การเกษตรแห่งประเทศไทย กุลธิดา ลิ้มเจรญิ และพระมหาหรรษา ธมมหาโส (2562) กระบวนการพฒั นาภาวะผนู้ ำเพ่ือ สันตภิ าพเชิงพุทธบูรณาการ, พระนครศรีอยุธยา: บัณฑติ วิทยาลยั มหาวทิ ยาลัย มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย. ธดิ าวัลย์ อนุ่ กอง, (2560), รูปแบบการพฒั นาพฤติกรรมภาวะผ้นู ำแบบมีสว่ นร่วมของ ผู้บริหารโรงเรยี นประถมศึกษาขนาดเลก็ ,วารสารบริหารการศึกษาบวั บัณฑิต, มหาวทิ ยาลยั พะเยา พระมหาสงกรานต์ เทวนนโฺ ท. (ม.ป.ป). การบรหิ ารงานบคุ คลตามหลกั สัปปรุ ิสธรรม 7 ของ ผู้บริหารสถานศกึ ษาในโรงเรยี นมัธยมศึกษา. บัณฑิตวทิ ยาลยั :มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณร์ าชวทิ ยาลยั พระธรรมปิฏก.(ป.อ.ปยุตโต).(2545). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม, (พิมพ์คร้ัง ที่ 10). กรุงเทพฯ: สอ่ื ตะวนั จำกัด. อรนุช โขพมิ พ์ เอกฉัท จารุเมธชี น ประยรู แสงใสและสุเทพ ปาลสาร. (2557). ภาวะผนู้ ำตาม หลักสปั ปุรสิ ธรรม 7 ของผู้บริหารโรงเรยี นพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา จงั หวดั ขอนแก่น, วารสารบณั ฑิตศึกษามหาจุฬาอนแกน่ , มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ อรอนงค์ พรหมเดช,อโนทยั ประสาน,สรุ พงศ์ เออ้ื ศิริพรฤทธิ์, (2561) การกระจายภาวะผนู้ ำ ของผบู้ ริหารทีส่ มั พนั ธ์กับองคก์ ารแหง่ การเรยี นรู้ สถานศึกษาสงั กดั เทศบาลนคร นครศรธี รรมราช, วารสารวิจัยและพฒั นา วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถัมภ์ สาขามนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์, ปที ี่ 13 ฉบับท่ี 1.

รูปแบบการบรหิ ารหลกั สตู รเพือ่ พัฒนาทกั ษะการสอื่ สารภาษาอังกฤษใน ศูนยเ์ ครือขา่ ยการศึกษาที่ 9 พุทธลลี าบางขนั สำนักงานเขตพืน้ ท่ี การศกึ ษา ประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 A Model of Curriculum Management for English Communicative Skill Development in Buddalilabangkhan Educational Network Center 9 under Nakhon Si Thammarat Primary Educational Service Area Office 2 1ธัญรดี เตง็ มีศรี, 2มะลวิ ัลย์ โยธารกั ษ์ และ3วันฉัตร ทพิ ย์มาศ, 1Tanradee Tengmeesri, 2Maliwan Yotharak and 3Wanchat Thippamas มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย, วิทยาเขตนครศรีธรรมราช, ประเทศไทย Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Nakhon Si Thammarat, Thailand. [email protected] Received May 10, 2020; Revised July 12, 2020; Accepted August 25, 2020 บทคดั ยอ่ การวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาสภาพการบริหารหลักสูตรเพ่ือ พัฒนาทักษะการส่ือสารภาษาอังกฤษ 2) เพื่อศึกษารูปแบบการบริหารหลักสูตรเพ่ือพัฒนา ทักษะการส่ือสารภาษาอังกฤษ 3) เพื่อนำเสนอรูปแบบการบริหารหลักสูตรเพ่ือพัฒนา ทักษะการส่ือสารภาษาอังกฤษ ในศูนย์เครือข่ายการศึกษาท่ี 9 พุทธลีลาบางขัน สำนักงาน เขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ

196 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนวิชาภาษาอังกฤษจำนวน 10 คน สัมภาษณ์ผู้เช่ียวชาญ ศึกษานิเทศนก์ท่ีรับผดิ ชอบสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ และผู้บริหาร สถานศึกษา จำนวน 3 คน และสนทนากลุ่ม (Focus Group) ผู้บริหารสถานศึกษาและ ครูผ้สู อนวชิ าภาษาอังกฤษ จำนวน 7 คน ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพการบริหารหลักสูตรโรงเรียนในศูนย์เครือข่าย การศึกษาท่ี 9 พุทธลีลาบางขัน สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 จากการศึกษาผู้บริหารสถานศึกษาเป็นผู้มีบทบาทสำคัญยิ่งในการบริหารหลักสูตร การใช้หลักสูตรของสถานศึกษาต้องเร่ิมต้นด้วยการวิเคราะห์หลักสูตร ตลอดจนการติดตาม ประเมินหลักสูตรท้ังก่อนใช้ ระหว่างใช้และหลังการใช้หลักสูตร เพ่ือนำผลการประเมินมาใช้ พัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาต่อไป 2) รูปแบบการบริหารจัดการช้ันเรียนท่ีดีจะ ส่งผลต่อบรรยากาศการเรียนรู้ของผู้เรียน เน้นการใช้ภาษาองั กฤษในการสือ่ สารในชน้ั เรียนให้ มากท่สี ุด รวมถึงผเู้ รียนมีความสุขในขณะที่อยู่ในชั้นเรียน และผรู้ ับผดิ ชอบทางการศึกษาโดย ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง และเน้นการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสารในช้ันเรียนให้ครบท้ัง 4 ทักษะคือ ทักษะการฟัง ทักษะการพูด ทักษะการอ่าน และทักษะการเขียน 3) การนำเสนอ รปู แบบการศึกษารปู แบบการบริหารหลักสูตรเพ่ือพัฒนาทักษะภาษาองั กฤษในศูนย์เครอื ขา่ ย การศึกษาท่ี 9 พุทธลีลาบางขัน สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 จากการสนทนากลุ่ม (Focus Group) เป็นรูปแบบการบริหารหลักสูตรเพื่อพัฒนา ทักษะการส่ือสารภาษาอังกฤษสำหรับผู้บริหารท่ีมีความเหมาะสมนำไปใช้ในการบริหาร สถานศกึ ษาได้ คำสำคัญ : การบริหารหลักสตู ร, การจัดการเรียนรู้, ทกั ษะการสื่อสารภาษาองั กฤษ Abstract The objectives of this research included: 1 ) to study the state of curriculum management for English communicative skill development; 2) to study the model of curriculum management for English communicative skill development; 3) to present a model of curriculum management for English communicative skill development in Buddalilabangkhan educational network center 9 under Nakhon Si Thammarat Primary

วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 197 Educational Area Office 2. The methodology of this research was Qualitative Research. The qualitative data were collected by in-depth interviews of: 10 persons including school administrators and English teachers; 3 experts responsible for English learning section; and focus group discussions with 7 persons including school administrators and English teachers. The results of the research found that: 1) The state of curriculum management in Buddalilabangkhan educational network center 9 under Nakhon Si Thammarat primary educational service area office 2 in the overall found that school administrators have a very important role in curriculum management. The curriculum implementation of the school must begin with the course analysis as well as following up and evaluating the curriculum before, during and after using the course in order to bring the evaluation results to develop and improve the school curriculum. 2) Good classroom management style that have good effects on the learning atmosphere of students include: focusing on using English in most communication in the classroom; happiness of learners while they are in the class; learners-centered policy; and focusing on using all 4 skills in learning English namely listening , speaking , reading and writing. 3) The proposed model of curriculum management for English communicative skill development in Buddalilabangkhan educational network center 9 under Nakhon Si Thammarat Primary Educational Service Area Office 2, views from the focus group, it is an appropriate curriculum management model for administrators to develop English communication skills and to be used in school administration. Keywords: Curriculum Management, Learning Management, English Communicative Skill บทนำ การจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 มีจุดมุ่งหมาย และหลักการของการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนษุ ย์ที่สมบูรณ์ท้ังร่างกาย จติ ใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำเนินชีวิต สามารถอยู่ ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข (ราชกิจจานุเบกขา, พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 : 4) มิใช่พัฒนาเพียงด้านหนึ่งเดียวเมื่อเติบโตขึ้นจะได้เป็นผู้ที่มีคุณภาพเป็นกำลังหลัก

198 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) ในการพัฒนาประชาติต่อไป ซ่ึงตรงกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ.2560-2564) ที่มีวัตถปุ ระสงค์เพือ่ วางรากฐานให้คนไทยเป็นมนษุ ย์ทสี่ มบูรณ์ มีคุณธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย ค่านิยมที่ดีงาม มีจิตสาธารณะและมีความสุข โดยมีสุขภาวะและ สุขภาพที่ดี ครอบครัวอบอุ่น ตลอดจนเป็นคนเก่งที่มีทักษะความรู้ความสามารถและพัฒนา ตนเองได้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต (สำนักคณะกรรมการแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ, 2560 : 63) เชือ่ มโยงกับบทบาทและอำนาจหน้าท่ีของกระทรวงศึกษาธิการมาเป็น กรอบแนวคิดในการดำเนินการโดยมีเป้าหมายสำคัญ คือ มุ่งให้คนไทยได้เรียนรู้ตลอดชีวิต อย่างมีคุณภาพเป็นคนดี คนเก่ง มีความสุขมีภูมิคุ้มกันรู้เท่าทันสังคมโลก (กระทรวง ศึกษาธิการ,หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช, 2551 :5) จุดหมายของ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน “มุ่งพฒั นาผเู้ รยี นให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสขุ มี ศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกำหนดเป็นจุดหมายเพ่ือให้เกิดกับผู้เรียน เมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน (กระทรวงศึกษาธิการ,หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช, 2551 :5) หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เป้าหมาย การจัดการศึกษามุ่งพัฒนาผเู้ รียนทุกคน ซ่งึ เป็นกำลังของชาติให้เป็นมนุษย์ท่ีมีความสมดุลท้ัง ด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสำนึกในการเป็นพลเมืองไทยและพลเมืองโลก ยึดมั่นใน การปกครองอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพ้ืนฐาน รวมทั้งเจตคติ ที่จำเป็นต่อการศึกษาต่อการประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็น สำคัญบนพื้นฐานความเช่ือว่าทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มศักยภาพ เพ่ือให้ อยู่ร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมีความสุขในการพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ จำเป็นต้อง อาศัยการจัดกิจกรรมให้ผเู้ รียนได้ร่วมอย่างหลากหลายและเกิดผลในการพัฒนาผู้เรยี นได้ตรง ตามวัตถุประสงค์ การจัดทำหลักสูตรถือเป็นบทบาทหน้าที่ของผู้บริหารสถานศึกษา ครูและผู้ที่ เก่ียวข้อง โดยท่ีเป้าหมายและจุดมุ่งหมายของหลักสูตรจะบรรลุผลตามที่ระบุไว้ในเอกสาร หลักสตู รหรือไม่และมากน้อยเพียงใด จึงขึ้นอยู่กับศักยภาพในการบริหารของผู้ที่เก่ียวข้องทุก ฝ่ายอย่างจริงจัง จึงถือว่าเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่งที่ผู้บริหารสถานศึกษา ครูและผู้ท่ีเกี่ยวข้อง จะต้องรับรู้เรื่องราวและมีความเข้าใจเก่ียวกับการบริหารหลักสูตรเป็นอย่างดี (สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน, 2550 : 35)

วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 199 ดังน้ัน ผู้วิจัยจึงมีความสนใจท่ีจะศึกษารูปแบบการบริหารหลักสูตรเพ่ือพัฒนา ทักษะการส่ือสารภาษาอังกฤษในศูนย์เครือข่ายการศึกษาท่ี 9 พทุ ธลีลาบางขัน สำนกั งานเขต พื้นท่ีการศึกษา ประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 เพ่ือจะได้เป็นข้อมูลในการพัฒนา หลกั สูตรโรงเรียนในศนู ย์เครอื ข่ายตอ่ ไป วัตถุประสงค์การวิจยั 1. เพ่ือศึกษาสภาพการบริหารหลักสูตรโรงเรียนในศูนย์เครือข่ายการศึกษาท่ี 9 พุทธลลี าบางขนั สำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 2 2. เพือ่ ศึกษารูปแบบการบรหิ ารหลักสูตรเพ่ือพัฒนาทักษะการส่ือสารภาษาองั กฤษ ในศูนย์เครือข่ายการศึกษาที่ 9 พุทธลีลาบางขัน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครศรธี รรมราช เขต 2 3 .เพ่ื อ น ำ เส น อ รู ป แ บ บ ก า ร บ ริ ห า ร ห ลั ก สู ต ร เพื่ อ พั ฒ น า ทั ก ษ ะ ก า ร ส่ื อ ส า ร ภาษาอังกฤษในศูนย์เครือข่ายการศึกษาท่ี 9 พุทธลีลาบางขัน สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ประถมศกึ ษานครศรธี รรมราช เขต 2 วิธีดำเนินการวิจัย การวิจัยนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ผู้วิจัยได้ดำเนินการ วจิ ัยเป็น 3 ข้ันตอน คือ ขั้นตอนการศึกษาสภาพ ข้ันตอนการศึกษารูปแบบ และข้ันตอนการ นำเสนอรปู แบบ 1. ข้ันตอนการศึกษาสภาพ ผู้วิจัยได้กำหนดวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลพื้นฐานของ สถานศึกษาและเก็บรวบรวมข้อมูล การสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth interview) มีขั้นตอน ดงั นี้ 1.1 ผู้วิจัยขอหนังสือจากศูนย์บัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช ทำหนังสือขอความร่วมมือไปยังผู้บริหารสถานศึกษาใน ศูนย์เครือข่ายการศึกษาที่ 9 พุทธลีลาบางขัน สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา นครศรีธรรมราช เขต 2 เพ่ือขออนุญาตสัมภาษณ์เชิงลึกเรื่อง รูปแบบการบริหารหลักสูตร