Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วารสาร มจร.อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2563

วารสาร มจร.อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2563

Description: 16541-5445-PB (1)

Search

Read the Text Version

200 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) เพ่ือพัฒนาทักษะการส่ือสารภาษาอังกฤษในศูนย์เครือข่ายการศึกษาที่ 9 พุทธลีลาบางขัน สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษานครศรธี รรมราช เขต 2 1.2 ข้ันเลือกผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ผู้วิจัยพิจารณาว่าผู้ให้ข้อมูลน้ันมีความเหมาะสม หรือไม่ มีคุณสมบัติตรงตามความต้องการ สามารถตอบปัญหาที่ต้องการเกี่ยวข้องได้หรือไม่ รวมท้ังพิจารณาความเป็นไปได้ท่ีจะเข้าไปศึกษาตลอดจนพิจารณาความสะดวกและความ ปลอดภัยในการเดนิ ทาง 1.3 ข้ันแนะนำตัว ผู้วิจัยได้ส่งเอกสารขอความร่วมมือในการเก็บข้อมูลจากน้ัน จึงกำหนดวัน เวลาสัมภาษณ์ วิธีการดังกล่าวเป็นการกำหนดบทบาทของผู้วิจัยแบบเปิดเผย (Over role) 1.4 สัมภาษณ์รายบุคคล เพ่ือทำความเข้าใจเกี่ยวกับการเสนอรูปแบบการ บริหารหลักสูตรเพ่ือพัฒนาทักษะการส่ือสารภาษาอังกฤษในศูนย์เครือข่ายการศึกษาท่ี 9 พุทธลีลาบางขัน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 โดยให้ ความสำคัญกับความคิดเห็นในทัศนะของผู้ให้ข้อมูลมุ่งหาข้อมูลเชิงคุณภาพโดยใช้ข้อมูลเชิง พรรณนา มีประเด็นใน การสัมภาษณ์ท่ีชัดเจน ใช้คำถามอย่างเปิดกว้างมีการเตรียมตัวก่อน ทำการสัมภาษณ์โดยการหาความรู้เกี่ยวกับเรื่องท่ีสัมภาษณ์อย่างเพียงพอ และสร้าง ความสัมพันธ์ (Rapport) ผู้วิจัยแนะนำตัวตามบทบาทที่กำหนดโดยการสร้างปฏิสัมพันธ์เชิง บวก เพ่ือให้ผู้ถูกสัมภาษณ์เกิดความประทับใจ ไว้วางใจและกล้าท่ีจะเปิดเผยข้อมูลท่ี สัมภาษณ์ต้องการ การเก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจัยน้ีใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก (Indept Interview) ใช้เวลาประมาณ 2 ชว่ั โมง ซ่งึ ถือวา่ เป็นช่วงเวลาที่เหมาะสมสำหรับการสมั ภาษณ์ ในการทำวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้วิจัย ใช้วิธีการสัมภาษณ์โดยตรง (Face-to-Face) กับผู้ให้ข้อมูล สำคัญ ทั้งนี้ผู้วิจัยได้มีการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสำคัญเพ่ิมเติมทางโทรศัพท์ในกรณีของ การศึกษาเพื่อเป็นการเติมเต็มข้อมูลระหว่างการเก็บข้อมูล ให้ได้ข้อมูลเชิงลึกมากย่ิงขึ้น การ รวบรวมข้อมูลประกอบเพ่ิมเติม รวบรวมข้อมูลทุกส่วนเพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึก โดยการ สัมภาษณ์ บันทึกเสียง ถ่ายรปู สมุดบันทึก และถอดความออกมาเรยี บเรียงตอ่ ไป 2. ขั้นตอนการศึกษารูปแบบ ผู้วจิ ัยขอหนังสือจากศูนย์บัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยวิทยาเขตนครศรีธรรมราช ทำหนังสือขอความร่วมมือไปยัง ผู้เชี่ยวชาญ ท้ัง 3 คน เพื่อขออนุญาตสัมภาษณ์เชงิ ลึก เร่ือง รูปแบบการบรหิ ารหลักสูตรเพ่ือ

วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 201 พัฒนาทักษะการส่ือสารภาษาอังกฤษในศูนย์เครือข่ายการศึกษาที่ 9 พุทธลีลาบางขัน สำนกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 2 ขน้ั เลอื กผูใ้ ห้ข้อมูลสำคัญ ผู้วิจัยพิจารณาว่าผู้ให้ขอ้ มลู น้ันมีความเหมาะสมหรอื ไม่มี คุณสมบัติตรงตามความต้องการสามารถตอบปัญหาที่ต้องการเกี่ยวข้องได้หรือไม่ รวมท้ัง พิจารณาความเป็นไปได้ท่ีจะเข้าไปศึกษาตลอดจนพิจารณาความสะดวกและคว ามปลอดภัย ในการเดินทาง ผู้วิจัยได้ส่งเอกสารขอความร่วมมือในการเก็บข้อมูล จากนั้นจึงกำหนดวัน เวลา สัมภาษณ์ วิธีการดังกล่าวเป็นการกำหนดบทบาทของผู้วิจัยแบบเปิดเผย (Over role) จากน้ันสัมภาษณ์รายบุคคล โดยให้ความสำคัญกับความคิดเห็นในทัศนะของผู้ให้ข้อมูล การ เก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจัยน้ีใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก (Indept Interview) ใช้เวลา ประมาณ 2 ชั่วโมง ซึ่งถือว่าเป็นช่วงเวลาท่ีเหมาะสมสำหรับการสัมภาษณ์ในการทำวิจัยเชิง คุณภาพ ผู้วิจัยใช้วิธีการสัมภาษณ์โดยตรง (Face-to-Face) กับผู้ให้ข้อมูลสำคัญ รวบรวมข้อมูล ทุกส่วนเพ่ือให้ได้ข้อมูลเชิงลึก โดยการสัมภาษณ์ บันทึกเสียง ถ่ายรูป สมุดบันทึก และถอด ความออกมาเรยี บเรยี ง 3. ขัน้ ตอนการนำเสนอจดั สนทนากลุ่มเสนอรูปแบบการบริหารหลักสตู รเพ่อื พัฒนา ทกั ษะการสือ่ สารภาษาอังกฤษในศูนย์เครือข่ายการศกึ ษาท่ี 9 พทุ ธลีลาบางขนั สำนักงานเขต พ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 เพื่อให้ความเห็นและข้อเสนอแนะมี กระบวนการ ดังนี้ คือ 3.1 ทำหนังสือแจ้งผู้เข้าร่วมประชุมกลุ่มทราบพร้อมด้วยรูปแบบการบริหาร หลักสูตรเพื่อพัฒนาทักษะการส่ือสารภาษาอังกฤษในศูนย์เครือข่ายการศึกษาที่ 9 พุทธลีลา บางขัน สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 เพื่อให้ความเห็น และข้อเสนอแนะ 3.2 ดำเนินการประชุมกลุ่มสนทนาเพ่ือขอความเห็นและข้อเสนอแนะรูปแบบ การบริหารหลักสตู รเพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสารภาษาองั กฤษในศูนย์เครือข่ายการศึกษาท่ี 9 พุทธลีลาบางขัน สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 ตามวัน เวลาและสถานท่กี ำหนด 3.3 บันทึกผลการประชุมกลุ่มตามความเห็นและข้อเสนอแนะของผู้เข้าร่วม สนทนากลมุ่

202 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) ผลการวจิ ยั การเสนอผลการวิจัยในคร้ังนี้ ผู้วิจัยจะนำเสนอผลการวิจัยโดยมีวัตถุประสงค์ของ การวจิ ัย 3 ข้อคือการศึกษาสภาพการบริหารหลักสูตร การศึกษารปู แบบการบริหารหลักสูตร และการนำเสนอรูปแบบการบริหารหลักสูตรเพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษใน ศูนย์เครือข่ายการศึกษาที่ 9 พุทธลีลาบางขัน สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา นครศรีธรรมราช เขต 2 โดยการศึกษาค้นคว้าจากเอกสาร (Documentary investigation) การสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) และการประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group) ผลการวจิ ัยสรุปได้ ดงั นี้ 1. ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนมีความคิดเห็นต่อการบริหารจัดการหลักสูตร สถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานของผู้บริหารสถานศึกษา โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก ( X =3.64, S.D.=0.39) ยกเว้นด้านการปรับปรุงพัฒนา (Action) อยู่ในระดับปานกลาง (X =3.31, S.D.= 0.46) ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนมีความคิดเห็นต่อการบริหาร จัดการหลักสูตรสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานของผู้บริหารสถานศึกษา แตกต่างกันตามสถานภาพ ประสบการณ์ในการทำงานอย่างมีนัยสำคัญการประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติ คร้ังท่ี 6 วันที่ 26 มิถุนายน 2558 มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ 180 | P a g e ทางสถิติที่ระดับ .01 แต่ไม่ แตกต่างกันตามขนาดของสถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนท่ีมีสถานภาพ ต่างกันผู้บริหารสถานศึกษาภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( X =3.97, S.D.=0.2 3) ส่วนครูผู้สอน มีความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง (X =3.46, S.D.=0.34) จำแนกตามประสบการณ์โดย ภาพรวมแตกตา่ งกัน อยา่ งมีนยั สำคญั ทางสถติ ิท่รี ะดับ .01 จำแนกตามขนาดสถานศึกษา โดย ภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ยเรียงตามลำดับ ดังนี้ สถานศึกษาขนาดกลาง ( X = 3.68,S.D.=0.35) ขนาดใหญ่พิเศษ (X =3.64, S.D.=0.45) ขนาดใหญ่ (X =3.64, S.D.=0.4) และขนาดเล็ก (X =3.58, S.D.=0.27) ตามลำดับ ขอ้ เสนอแนะในการบริหารจัดการหลักสูตร คอื ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาและครูผู้สอนเห็นว่าควรกำหนดให้คณะกรรมการสถานศึกษาเข้ารว่ ม ประชุมการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพ้ืนฐานและขยายผลการประชุม จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้เพื่อ ระดมความคิดเห็นในการจดั ทำหลักสูตร มีการสำรวจสภาพปัญหาของผเู้ รยี นอย่างจรงิ จัง ให้ ผู้ที่มีความรอบรู้มาอบรมให้ความรู้แก่บุคลากรในโรงเรียนอย่างสม่ำเสมอและต่อเน่ืองและผู้

วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 203 ทีม่ าให้ความรคู้ วรเป็นผู้เช่ียวชาญ เพอ่ื สร้างความตระหนักและให้ความสำคญั กับหลักสตู รต่อ บุคลากร ควรมีการจดั ต้งั ศนู ย์ความรเู้ ก่ยี วกับหลกั สตู ร เผยแพร่ความรูเ้ ก่ียวกับหลักสูตรให้ครู บคุ ลากร ผ้ปู กครอง ชุมชนคณะกรรมการสถานศกึ ษาและผู้มสี ว่ นเก่ยี วข้องทราบ 2. การศึกษารูปแบบการบริหารหลักสูตรเพ่ือพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษในศูนย์ เครือข่ายการศึกษาที่ 9 พุทธลีลาบางขัน สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา นครศรีธรรมราช เขต 2 การวิจัยพบว่าการบริหารจัดการชั้นเรียนท่ีดีเป็นความสามารถของ ผู้สอนท่ีส่งผลตอ่ บรรยากาศการเรยี นรู้ของผ้เู รียนเป็นปัจจัยสำคญั ของการเรียนการสอน และ หมายความรวมถึง ผู้เรียนมีความสุขในขณะท่ีอยู่ในช้ันเรียน และผู้รับผิดชอบทางการศึกษา ต้องพยายามจัดให้มีการจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง และเน้นการใช้ ภาษาอังกฤษในการส่ือสารในชั้นเรียนให้มากท่ีสุด ท้ัง 4 ทักษะ คือ ทักษะการฟัง ทักษะการ พูด ทักษะการอ่าน และทักษะการเขียน มนุษย์สามารถรับรู้ภาษาได้โดยการส่ือสารและการ รับข้อมูลทางภาษาที่สามารถเข้าใจได้ (Comprehensible Input) การรับรู้ภาษาที่สองมี ลักษณะคล้ายการเรียนรู้ภาษาแม่ของเด็กเล็กที่เริ่มรับรู้ภาษา โดยไม่จำเป็นต้องสอนรูปแบบ หรือหลักการใช้ภาษาโดยตรง แต่ผู้เรียนสามารถพัฒนาทักษะความสามารถเป็นผู้ใช้ภาษาได้ เองอย่างมีประสิทธิภาพ ในสภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่อการรบั รู้ภาษา ดังนั้น ในช้ันเรยี นภาษาจึง ควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีปฏิสัมพันธ์กันระหว่างผู้เรียนเองและกับผู้สอน โดยใช้ ภาษาอังกฤษเป็นสื่อกลางในการส่ือสารให้มากท่ีสุดและมีเป้าหมายเพ่ือทำกิจกรรมหรือภาระ งาน (Task) ให้สำเร็จลุล่วง วิธีการสอนท่ีเกี่ยวข้องกับแนวคิดน้ี ได้แก่ การสอนภาษาแนว ส่ือสาร (CLT) และการสอนภาษาที่เน้นภาระงาน (Task-Based Language Teaching: TBLT) และผู้รับผิดชอบทางการศึกษาต้องพยายามจัดให้มีการจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียน เป็นศูนย์กลางและเน้นการใช้ภาษาอังกฤษในการส่ือสารในชั้นเรียนให้มากที่สุด ทั้งน้ีเป็น เพราะว่า การเรียนรู้ภาษาอังกฤษจะต้องเร่ิมจากทักษะการฟัง ทักษะการพูด ทักษะการอ่าน และทกั ษะการเขยี นตามลำดับ 3. การนำเสนอรูปแบบการศึกษารูปแบบการบริหารหลักสูตรเพ่ือพัฒนาทักษะ ภาษาอังกฤษในศูนย์เครือข่ายการศึกษาที่ 9 พุทธลีลาบางขัน สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 2 จากการสนทนากลุ่ม (Focus Group) เป็นรูปแบบการ บริหารหลักสูตรเพื่อพัฒนาทักษะการส่ือสารภาษาอังกฤษสำหรับผู้บริหารเพื่อนำไปใช้ในการ บริหารสถานศึกษ าโดยใช้กระบวนการ PDCA คือ กระบวนการศึกษาหลักสูตร

204 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) กระบวนการพัฒนาหลักสูตร กระบวนการประเมินหลักสูตร และกระบวนการปรับปรุง หลักสตู ร ดังแผนภาพ รูปแบบการบริหารหลักสูตรเพื่อพัฒนาทกั ษะการสอ่ื สารภาษาอังกฤษ ในศูนย์เครอื ข่ายพทุ ธลีลาบางขัน อำเภอบางขัน จังหวดั นครศรีธรรมราช รูปแบบการพฒั นาหลกั สตู รเพือ่ พฒั นาทกั ษะการ ส่อื สารภาษาองั กฤษในศูนย์เครอื ขา่ ยการศึกษาท่ี 9 พุทธลีลาบางขนั สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษา ประถมศกึ ษา นครศรธี รรมราช เขต 2 Act ปรบั ปรงุ หลกั สตู ร Plan ศกึ ษาหลกั สตู รเพอื่ เพอ่ื พัฒนาทกั ษะการส่อื สาร พัฒนาทกั ษะการส่ือสาร ภาษาองั กฤษ ภาษาอังกฤษ Check การวดั ผล Do กระบวนการพัฒนา ประเมนิ หลกั สูตรเพอ่ื หลกั สตู รเพื่อพฒั นาทกั ษะ พัฒนาทักษะสือ่ สาร การส่ือสารภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษ

วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 205 อภปิ รายผล จากการศึกษาวิจัย เรื่องรูรูปแบบการบริหารหลักสูตรเพื่อพัฒนาทักษะการส่ือสาร ภาษาอังกฤษในศูนย์เครือข่ายการศึกษาที่ 9 พุทธลีลาบางขัน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 2 มผี ลการวิเคราะหข์ ้อมลู ทีค่ วรนำมาอภิปราย ดงั น้ี 1. สภาพการบริหารหลักสูตรเพ่ือพัฒนาทักษะการส่ือสารภาษาอังกฤษในศูนย์ เครือข่ายการศึกษาที่ 9 พุทธลีลาบางขัน สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา นครศรีธรรมราช เขต 2 ผลวิจัยพบว่าการบริหารหลักสูตรมีจุดมุ่งหมายหลักเพ่ือการพัฒนา คุณภาพการศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษาเป็นผู้มีบทบาทสำคัญย่ิงในการบริหารหลักสูตรและ วางแผนดำเนินการอย่างมีระบบ การใช้หลักสูตรของสถานศึกษา ผู้บริหารจะต้องเข้าใจ หลักสูตรและส่งเสริมให้ครูผู้สอนมีความเข้าใจตรงกัน กระตุ้นให้ครูทําแผนการสอน คู่มือครู สนับสนุนให้มีการวางแผนพัฒนาการเรยี นการสอนเน้น กระบวนการยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง เน้นคุณภาพความรู้ความสามารถที่มีต่อเด็กเป็นเป้าหมาย ระบบติดตามผลการปฏิบัติ ตรวจสอบและนําแนวทางแก้ไขปัญหา อุปสรรคและมีการนําเอาภายในเพื่อปรับปรุงแก้ไข การปฏิบัติงานให้ดีข้ึน โดยคำนึงถึงความเหมาะสมของผู้เรียนแต่ละกลุ่ม ครูผู้สอนมีการ ประเมินผล ติดตามผลการใช้หลกั สูตรและรายงานผลต่อผู้บริหารเป็นระยะ องค์ประกอบของ หลักสูตรจะประกอบด้วย (1) จุดมุ่งหมายหรือจุดประสงค์ของหลักสูตร (2) เน้ือหาวิชา (3) การนำหลักสูตรไปใช้ (4) การวัดผลและประเมินผล ซ่ึงองค์ประกอบดังกล่าวเป็นเครื่องมือ สำคัญท่ีจะช่วยให้ครูสามารถใช้หลักสูตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งน้ีเพราะว่าหลักสูตร สถานศึกษาเป็นเหมือนเข็มทิศชี้นำทางของการจัดการเรยี นร้ขู องสถานศึกษาน้ันๆการจดั การ เรียนรู้ให้บรรลุเป้าหมายของการจัดการศึกษาได้ ต้องเริม่ ต้นดว้ ยการวิเคราะหห์ ลกั สูตรเตรยี ม ความพร้อมส่งเสริมสนับสนุนบุคลากรเข้ารับการอบรมความรู้เกี่ยวกับหลักสูตรและการ จัดการเรียนรู้ตามความต้องการของนกั เรียน ตลอดจนการติดตามประเมินหลกั สูตรทั้งกอ่ นใช้ ระหว่างใช้และหลังการใช้หลักสูตร เพื่อนำผลการประเมินมาใช้ปรับปรุง พัฒนาหลักสูตร สถานศึกษาต่อไป เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของการจัดการศึกษา สอดคล้องกับงานวิจัยของ ทองทิพย์ มนตรี, รัชตา ธรรมเจริญและรุจริ าพรรณ คงช่วย (2556 :บทคัดย่อ) ได้ทำการวิจัย เรื่อง การบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 16 ของานวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษา และเปรียบเทียบการบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาข้ันพื้นฐานของผู้บริหารสถานศึกษา

206 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 16 ตามความคิดเห็นของผู้บริหาร สถานศึกษาและครูผู้สอนจำแนกตามสถานภาพ ประสบการณ์ในการทำงานและขนาด สถานศึกษาและรวบรวม 2. การศึกษารูปแบบการบริหารหลักสูตรเพ่ือพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษในศูนย์ เครือข่ายการศึกษาที่ 9 พุทธลีลาบางขัน สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา นครศรีธรรมราช เขต 2 ผลวิจัยพบว่า 1) การบริหารจัดการช้ันเรียนท่ีดีเป็นความสามารถ ของผู้สอนท่ีส่งผลต่อบรรยากาศการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นปัจจัยสำคัญของการเรียนการสอน และหมายความรวมถึง ผู้เรียนมีความสุขในขณะที่อยู่ในชั้นเรยี น มนุษย์สามารถรับรู้ภาษาได้ โดยการส่ือสารและการรับข้อมูลทางภาษาท่ีสามารถเข้าใจได้ (Comprehensible Input) การรับรู้ภาษาท่ีสองมีลักษณะคล้ายการเรียนรู้ภาษาแม่ของเด็กเล็กท่ีเร่ิมรับรู้ภาษา โดยไม่ จำเป็นต้องสอนรูปแบบหรือหลักการใช้ภาษาโดยตรง แต่ผู้เรียนสามารถพัฒนาทักษะ ความสามารถเป็นผู้ใช้ภาษาได้เองอย่างมีประสิทธิภาพ ในสภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการรับรู้ ภาษา ดังนั้น ในช้ันเรียนภาษาจึงควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีปฏิสัมพันธ์กันระหว่างผู้เรียน เองและกับผู้สอน โดยใช้ภาษาอังกฤษเป็นส่ือกลางในการส่ือสารให้มากท่ีสุด และมีเป้าหมาย เพื่อทำกิจกรรมหรือภาระงาน (Task) ให้สำเร็จลุล่วง วิธีการสอนท่ีเกี่ยวข้องกับแนวคิดนี้ ได้แก่ การสอนภาษาแนวส่ือสาร (CLT) และการสอนภาษาที่เน้นภาระงาน (Task-Based Language Teaching: TBLT) และผู้รบั ผิดชอบทางการศกึ ษาต้องพยายามจัดให้มีการจดั การ เรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง และเน้นการใช้ภาษาอังกฤษในการส่ือสารในชั้นเรียนให้ มากที่สุด ท้ังน้ีเป็นเพราะว่า การเรียนรู้ภาษาอังกฤษจะต้องเริ่มจากทักษะการฟัง ทักษะการ พูด ทักษะการอ่านและทักษะการเขียนตามลำดับ สอดคลองกับงานวิจัยของเกรียงศักดิ์ ฐานะกองและนธิ ิดา อดภิ ัทรนันท์ (2555) ได้ทำการวิจัยเร่ือง “การใช้กิจกรรมการสอนภาษา เพ่ือการส่อื สารเพื่อเพ่ิมพนู ความสามารถในการฟงั -พดู ภาษาอังกฤษและความรูด้ ้านไวยากรณ์ ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี”การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาความสามารถในการ ฟัง-พูดภาษาอังกฤษของนักศึกษาหลังได้รับการสอนโดยใช้กิจกรรมการสอนภาษาเพื่อการ สื่อสาร และเพ่ือเปรียบเทียบความรู้ด้านไวยากรณ์ของนักศึกษาก่อนและหลังได้รับการสอน โดยใช้กิจกรรมการสอนภาษาเพ่ือการสื่อสาร กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัยคร้ังนี้ คือ นักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยพะเยา ที่ลงทะเบียนเรียนวิชาภาษาอังกฤษพัฒนา (001112) ปีการศกึ ษา 2557 จำนวน 36 คน เครื่องมือที่ใชใ้ นการวิจัยประกอบด้วย แผนการ

วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 207 สอนโดยใช้กิจกรรมการสอนภาษาเพ่ือการส่ือสำรวจ จำนวน 7 แผ่น แบบประเมิน ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใน ก า ร ฟั ง -พู ด ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ แ ล ะ แ บ บ วั ด ค ว า ม รู้ ด้ า น ไว ย า ก ร ณ์ ซึ่ ง วั ด ความสามารถของนักศึกษาทั้งก่อนและหลังการเรียนโดยใช้กิจกรรมการสอนภาษาเพื่อการ ส่ือสาร วิเคราะห์ข้อมูลเพ่ือหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและค่าร้อยละ ผลวิจัยพบว่า 1) หลังการเรียนโดยใช้กิจกรรมการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร นักศึกษามีความสามารถ ใน การฟัง-พดู ภาษาอังกฤษผ่านเกณฑท์ ่ีกำหนดไว้ อยใู่ นระดับดี 2) หลังการเรียนโดยใช้กิจกรรม การสอนภาษาเพอ่ื การสื่อสาร นกั ศกึ ษามคี วามรทู้ างด้านไวยากรณเ์ พิ่มขน้ึ 3. การนำเสนอรูปแบบการการบริหารหลักสูตรเพ่ือพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษใน ศูนย์เครือข่ายการศึกษาท่ี 9 พุทธลีลาบางขัน สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา นครศรีธรรมราช เขต 2 การวิจยั พบวา่ เปน็ รปู แบบการบริหารหลักสตู รเพ่ือพัฒนาทักษะการ สอ่ื สารภาษาอังกฤษสำหรบั ผู้บริหารเพอื่ นำไปใช้ในการบรหิ ารสถานศึกษาโดยใช้กระบวนการ PDCA คือ กระบวนการศึกษาหลักสูตร กระบวนการพัฒนาหลักสูตร กระบวนการประเมิน หลักสูตร และกระบวนการปรับปรุงหลักสูตร ทั้งน้ีเป็นเพราะว่าการสอนภาษาอังกฤษใน ปจั จุบันมุ่งเนน้ ส่งเสริมการจัด การเรียนการสอนแนวสื่อสาร (Communicative Approach) และเป้าหมายสูงสุดของการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ คือ การพัฒนาผู้เรียนให้สามารถใช้ ภาษาส่ือสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยจำเป็นอย่างย่ิงต้องปรับเปล่ียนวิธีการสอนแบบ ดั้งเดิมท่ีเน้นเพียงความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับหลักการใช้ภาษาไวยากรณ์ ท่ีมุ่งเน้นเพียงการ ท่องจำคำศัพท์ และโครงสร้างภาษา แต่ผู้เรียนไม่สามารถพูดส่ือสารได้ ให้เป็นชั้นเรียน ภาษาอังกฤษท่ีมีการจัดการเรียนการสอนด้วยวิธีสอนภาษาแนวส่ือสาร มีกิจกรรมเรียนรู้ท่ี ส่งเสริมให้ผู้เรียนใช้ภาษาส่ือสาร (Communicative Activities) ตามความสนใจของผู้เรียน เป็นหลักสูตรวิชาภาษาอังกฤษที่ยดึ ผู้เรยี นเป็นศนู ย์กลาง (Student-Centered Curriculum) การสอนภาษาอังกฤษที่เน้นภาระงาน (Task-Based Instruction) ช่วยให้ผู้เรียนพัฒนา ทักษะภาษาอังกฤษ ทักษะการคิด การแก้ปัญหาและการทำงานร่วมกัน ผู้เรียนสร้างความรู้ ใหม่ต่อยอดความรู้เดิม ส่งเสริมการคิดสร้างสรรค์นวัตกรรมและส่ิงใหม่ๆ นับเป็นการจัดการ เรียนการสอนภาษาอังกฤษแบบ Active Learning และยังเกี่ยวข้องกับการเรียนการสอน ภาษาเชิง Productive Learning ซึ่งสอดคล้องกับความจำเป็นทางสังคมท่ีผู้เรียนควรได้รับ การเตรียมพร้อมทักษะด้านต่างๆ เพื่อสามารถดาเนินชีวิตในศตวรรษท่ี 21 ได้ สอดคล้องกับ ผลการศึกษาของกฤษณา คิดดี (2552 :บทคัดย่อ) ได้วิจัยเรื่อง การพัฒนารูปแบบการ

208 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) ประเมินผลการจัดการเรียนการสอน ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ผลการวิจัยพบว่า 1) ตัวบ่งช้ี การเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญป ระกอบด้วย 4 องค์ประกอบคือ หนึ่ง สภาพแวดล้อม สองปัจจัยเบ้ืองต้นของการเรียนรู้ สามกระบวนการเรียนรู้ และส่ีผลการผลิต ของการเรียนรู้ 2) รูปแบบการประเมินการจัดการเรยี นรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญประกอบด้วย หน่ึงเป้าหมายของการประเมิน สองส่ิงท่ีมุ่งประเมิน สามวิธีการประเมิน และส่ีวิธีการตัดสิน 3) จากการประเมินประสิทธิผลของการใช้รูปแบบของการประเมินการจัดการเรียนการสอนท่ี เนน้ ผู้เรยี นเป็นสำคัญ ผลการวิจยั พบว่า 1. ครมู ีพฒั นาการของการจดั การเรียนการสอนครัง้ ท่ี 1 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01 โดยภาพรวมครูมีทัศนคติท่ีดี 2.การประเมินผลการ จดั การเรยี นการสอนทีเ่ นน้ ผู้เรียนเปน็ สำคัญ 3. ผมู้ สี ่วนได้ส่วนเสยี ยอมรบั ว่าการประเมนิ ผลที่ มีความเหมาะสมมีความเป็นไปได้ท้ังทางด้านการปฏิบัติและด้านงบประมาณ และ 4.ผลการ ประเมนิ มคี วามถูกต้อง องคค์ วามรทู้ ไ่ี ดจ้ ากการศกึ ษา จากการศึกษาวิจัยเร่ือง รูปแบบการการบริหารหลักสูตรเพ่ือพัฒนาทักษะ ภาษาอังกฤษในศูนย์เครือข่ายการศึกษาที่ 9 พุทธลีลาบางขัน สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 2 ในการบริหารสถานศกึ ษาควรกำหนดให้คณะกรรมการ สถานศึกษาเข้าร่วมประชุมการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ร่วมกับสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานและขยายผลการประชุม จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ ทุก กลุ่มสาระการเรียนรู้เพื่อระดมความคิดเห็นในการจัดทำหลักสูตร มีการสำรวจสภาพปัญหา ของผู้เรียนอย่างจริงจัง ให้ผู้ที่มีความรอบรู้มาอบรมให้ความรู้แก่บุคลากรในโรงเรียนอย่าง สม่ำเสมอและต่อเน่ืองและผู้ที่มาให้ความรู้ควรเป็นผู้เชี่ยวชาญ เพ่ือสร้างความตระหนักและ ใหค้ วามสำคัญกับหลักสูตรต่อบุคลากร ควรมกี ารจัดตง้ั ศนู ย์ความรู้เก่ยี วกับหลักสตู ร เผยแพร่ ความรู้เกี่ยวกับหลักสูตรให้ครู บุคลากร ผู้ปกครอง ชุมชนคณะกรรมการสถานศึกษาและผู้มี ส่วนเก่ียวข้องทราบ ผู้บริหารโรงเรียนจะต้องส่งเสริมให้ครูวิเคราะห์หลักสูตร และจัดทำหลักสูตรใน กลุ่มสาระท่ีตนเองรับผิดชอบให้เรียบรอ้ ย แล้วนำหลักสูตรไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ ผู้บริหาร จะต้องติดตามการใช้หลกั สูตรของครูในสถานศึกษา เพ่ือให้ผเู้ รยี นบรรลุตามนโยบายของการ

วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 209 จัดการศึกษา นอกจากนั้น ผู้บริหารสถานศึกษาเป็นผู้มีบทบาทสำคัญย่ิงในการบริหาร หลักสูตรและวางแผนดำเนินการอย่างมีระบบ การใช้หลักสูตรของสถานศึกษา โดยคำนึงถึง ความเหมาะสมของผู้เรียนแต่ละกลุ่มครูผู้สอนมีการประเมินผล ติดตามผลการใช้หลักสูตร และรายงานผลตอ่ ผู้บรหิ ารเป็นระยะ เอกสารอ้างอิง กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551. กรงุ เทพฯ : สหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย. ราชกจิ จานเุ บกษา. (2542), พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. เลม่ ที่ 116 ตอนท่ี 74 ก, สำนกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาต.ิ (2559).แผนพัฒนา เศรษฐกจิ และสังคม แห่งชาติฉบบั ที่ 12 (2560-2564) กรุงเทพฯ :สำนัก นายกรัฐมนตรี. สำนกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2552). แนวทางการ พฒั นาการพฒั นาการ วดั และการประเมินคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ตามหลกั สูตร แกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐานพทุ ธศักราช 2551.กรุงเทพฯ : สหกรณก์ ารเกษตร แห่งประเทศไทย. สำนักเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2553). แผนการศึกษาแห่งชาติ, ฉบับ ปรบั ปรุง (2552-2559). กรุงเทพฯ : พรกิ หวานกราฟฟคิ . เกรียงศักด์ิ ฐานะกองและนธิ ดิ า อดภิ ัทรนันท์. (2555), การใชก้ จิ กรรมการสอนภาษาเพอื่ การ สอ่ื สารเพอื่ เพมิ่ พูนความสามารถในการฟงั -พูดภาษาอังกฤษและความรดู้ ้าน ไวยากรณ์ของนกั ศกึ ษาระดับปรญิ ญาตรี, คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ทองทิพย์ มนตรี,รชั ตา ธรรมเจริญและรจุ ริ าพรรณ คงช่วย. (2556) การบริหารจัดการ หลักสตู รสถานศกึ ษาขั้นพื้นฐานของผู้บริหารสถานศึกษา สังกดั สำนักงานเขตพน้ื ที่ การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 16, บัณฑิตวิทยาลยั : มหาวทิ ยาลยั หาดใหญ่

210 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020)

ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งภาวะผนู้ ำเชิงพฤติกรรมของผบู้ ริหารสถานศกึ ษา กับแรงจงู ใจในการปฏิบัติงานของครูในอำเภอท่าศาลา สังกดั สำนักงาน เขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 The Relationship between behavioral leadership of School Administrators and Work Motivation of Teachers in Thasala District Under Nakhon Si Thammarat Primary Educational Service Area Office 4 1สรุ ยิ า พรหมเรอื ง, 2พระครพู ิจิตรศภุ การ และ 3มะลิวัลย์ โยธารักษ์ 1Suriya Promruang, 2Phrakhrupichitsupakarn and 3Wanchat Thippamas มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย, วิทยาเขตนครศรธี รรมราช, ประเทศไทย Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Nakhon Si Thammarat, Thailand. [email protected] Received May 10, 2020; Revised July 12, 2020; Accepted August 25, 2020 บทคดั ย่อ การวิจัยในคร้ังน้ี มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำเชิงพฤติกรรมของ ผู้บริหารสถานศึกษา 2) เพ่ือศึกษาแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครู 3) เพื่อศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงพฤติกรรมของผู้บริหารสถานศึกษากับแรงจูงใจในการ ปฏิบัติงานของครูในอำเภอท่าศาลา สังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา นครศรีธรรมราช เขต 4 เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัย ได้แก่ ครูใน สถานศึกษาที่ทำหน้าที่ด้านการสอนในอำเภอท่าศาลา สังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา

212 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) ประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 ปีการศึกษา 2561 จำนวน 48 โรงเรียน ครูจำนวน 226 คน ผลการวิจยั พบว่า 1) ระดบั ภาวะผู้นำเชิงพฤตกิ รรมของผู้บริหารสถานศกึ ษาในอำเภอ ทา่ ศาลา สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 อยู่ในระดับ มากท่ีสุด 2) ระดับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในอำเภอท่าศาลา สังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 อยู่ในระดับมากที่สุด 3) ความสัมพันธ์ ระหวา่ งภาวะผู้นำเชงิ พฤติกรรมของผู้บรหิ ารสถานศึกษากับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครู ในอำเภอท่าศาลา สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 มคี วามสัมพันธ์กันทางเต็มบวก อย่างนัยสำคัญกันทางสถิติ ท่ีระดับ .01 คำสำคัญ : ความสัมพันธ์, ภาวะผู้นำเชิงพฤติกรรม, แรงจงู ใจในการปฏิบัติงาน Abstract The objectives of the study included: 1) to study behavioral leadership of school administrators in Tha Sala District under Nakhon Si Thammarat Primary Education Area Office 4; 2) to investigate work motivation of teachers; and 3) to explore the relationship between behavioral leadership of school administrators and work motivation of teachers in Tha Sala District under Nakhon Si Thammarat Primary Education Area Office 4. It was a quantitative research. Sampling groups of this research included 226 school teachers in 48 schools under Nakhon Si Thammarat Primary Education Area Office 4. The findings of this research were as follows: 1) The overall level of behavioral leadership of school administrators in Tha Sala District under Nakhon Si Thammarat Primary Education Area Office 4 was at the highest; 2) The average level of work motivation of teachers in Tha Sala District under Nakhon Si Thammarat Primary Education Area Office 4 was at the highest; 3) The relationship between behavioral leadership of school administrators and work motivation of teachers in in Tha Sala District under Nakhon Si Thammarat Primary Education Area Office 4 was positive at a high level with statistical significance at the level of 0.1. Keywords: Relation; Behavioral Leadership; Work Motivation

วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 213 บทนำ การเปลี่ยนแปลงทั้งภายในและภายนอกประเทศในยุคกระแสโลกาภิวัตน์ ทำให้ ประเทศต่างๆ ตระหนักถึงการสร้างความเข้มแข็งให้แก่สังคมประเทศชาติ ด้วยเหตุน้ีระบบ การจัดการศึกษาของไทย จึงจำเป็นจะตอ้ งปรบั ตัว ให้ทันกับการเปลย่ี นแปลงทีเ่ กิดข้ึนท้ังดา้ น เศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านการเมืองและด้านวัฒนธรรม โดยจัดการศกึ ษาท่ีเน้นกระบวนสำคัญ ในการพัฒนาคนทั้งด้านความรู้ ความสามารถ รวมทั้งด้านพฤติกรรม เจตคติ ค่านิยมและ คณุ ธรรมต้ังแต่รากฐานชวี ติ และตอ่ เนอ่ื งตลอดชีวิต รวมทั้งยังสอดคล้องกับการพฒั นาในระยะ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (2560-2564) อีกด้วย สำหรับการจัด การศึกษาให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดขึ้นนั้นจำเป็นต้องเน้น การพัฒนาคุณภาพคนและ พฒั นาระบบการบริหารจัดการสู่ระดับสากล กระทรวงศึกษาธิการจึงมุ่งเน้น ปฏิรปู การศกึ ษา และการเรียนรูอ้ ย่างเปน็ ระบบใน 4ประเด็นหลัก คือ พัฒนาคนไทยยุคใหม่ โดยปรบั กระบวน ทัศน์การเรียนรู้เพ่ือให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ พัฒนาคุณภาพครูยุค ใหม่ พัฒนาสถานศึกษาและแหล่งเรียนรู้ยุคใหม่ พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการใหม่ โดย ปรับระบบ บริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพใหเ้ กิดความคล่องตวั เพอื่ เพ่ิมโอกาสทางการศกึ ษา และสง่ เสรมิ การมสี ่วนรว่ มของทุกภาคสว่ นในการบริหารจัดการศึกษา ผู้บริหารในฐานะผู้นำองค์การจึงถือว่าเป็นปัจจัยที่สำคัญในการรวมกลุ่มและจูงใจ คนเพ่ือให้ปฏิบัติตามในการแก้ปัญหาต่างๆ ชักชวน กระตุ้น ทำให้คนในองค์การเกิดแรง บันดาลใจและมีความเชื่อม่ัน ว่าเป็นผู้นำที่สามารถนำพาองค์การไปสู่จุดมุ่งหมายและ ความสำเร็จขององค์การในขณะเดียวกัน ผู้บริหารท่ีไม่มีภาวะความเป็นผู้นำอาจทำให้การ บริหารงานขาดประสิทธิภาพ จะส่งผลให้สถานศึกษา ขาดคุณภาพ ประสิทธิภาพการทำงาน ของครูและผลผลิตทเ่ี กิดขน้ึ ไม่มีคุณภาพเพยี งพอ ซง่ึ ก็อาจทำให้ เกดิ การไมล่ งรอยกนั หรอื ขาด ความสามัคคีในหมู่คณะ อันจะก่อให้เกิดความขัดแย้งระหว่างบุคลากรในสถานศึกษาหรือ แม้แต่อาจเกิดความขัดแย้งระหว่างสถานศึกษากับชุมชนได้ ในการบริหารสถานศึกษานั้น ยอ่ มอาจต้องเผชญิ กับความขดั แย้งชนดิ ท่หี ลีกเลยี่ งไม่ได้ โดยความขดั แย้งเปน็ ผลมาจากความ ไม่เห็นด้วยของบุคคลที่มีความแตกต่างกันในด้านความรู้ ทัศนคติ ประสบการณ์ รวมทั้ง ผลประโยชนต์ า่ งๆ ท่ีเกี่ยวข้องการบรหิ ารจัดการสถานศึกษาในยุคปจั จบุ ัน ภายใตร้ ูปแบบการ เปลี่ยนแปลงทางการศึกษา การแข่งขันเพ่ือสร้างข้อได้เปรียบและความก้าวหน้าของ เทคโนโลยีท่ีดำเนินไปอย่างรวดเร็ว และมีความหลากหลายน้ัน ต่างส่งผลกระทบต่อวงการ

214 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) วิชาชีพทางการศึกษา โดยเป็นผลสืบเน่ืองมาจากการปรับเปล่ียนบริบทและโครงสร้าง ผู้บริหารมีบทบาทสำคัญในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยจะต้องเลือกแบบการนำให้ สอดคล้องเหมาะสมกับรูปแบบการบริหารสถานศึกษา และจะต้องพัฒนาตนเองให้มีภาวะ ผู้นำ เพื่อให้สามารถนำครูและบุคลากรในองค์การให้ร่วมกัน พัฒนาคุณภาพการศึกษาของ สถานศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในส่วนของการบริหารงานของผู้บริหารสถานศึกษานั้น ต้องอาศัยความรว่ มมือจากบุคลากรทุกฝ่ายในองค์การ จึงเป็นทยี่ อมรบั กันอย่างกว้างขวางว่า ผู้บริหารขององค์การเป็นผู้ท่ีมีความสำคัญต่อความสำเร็จและความล้มเหลวขององค์การ ปัจจัยที่มีความสำคัญท่ีสุดของผู้บริหารในการนำพาองค์การให้อยู่รอดและเจริญก้าวหน้า ก็ คือ ภาวะผู้นำ องค์การใดมีผู้บริหารท่ีมีภาวะผู้นำที่ดีมีความสามารถย่อม นำพาองค์การสู่ ผลสำเร็จตามเป้าหมายในทางตรงกันขา้ มหากองค์การใดก็ตามมีผู้บริหารที่ด้อยคุณภาพ ย่อม ทำลายขวัญและกำลังใจของผู้ใต้บังคับบัญชา อันจะนำไปสู่ผลผลิตท่ีต่ำลงและผลการ ดำเนินงานท่ีล้มเหลว ท้ังนี้โดยทั่วไปแล้วความตอ้ งการทางจิตใจและความต้องการ ทางสงั คม ซ่ึงเป็นนามธรรมและเป็นเร่ืองของจิตใจ ไม่สามารถจับต้องได้แต่ก็เป็นส่ิงท่ีมนุษย์ต้องการ ภายหลังท่ีได้รบั การตอบสนองความต้องการทางกายท่ีคนๆน้ันคิดว่าตนพอแล้ว มนุษย์ก็ยังมี ความ ตอ้ งการทางจิตใจตอ่ ไปโดยไม่มที ส่ี ้นิ สดุ ดังน้ันผู้วิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาเรื่องแรงจูงใจเป็นการมุ่งท่ีจะตอบคำถามที่ว่าทำ อย่างไร จึงจะทำให้คนอยากทำงานหรือเต็มใจในการทำงาน ซึ่งแนวความคิดน้ีเชื่อว่าหากคน มคี วามตั้งใจและเต็มใจในการทำงานแลว้ ผลงานทอ่ี อกมาจะดูดีและผูท้ ่ีทำงานก็จะมีความสุข ในการทำงานเพราะได้ทำงานโดยมีเป้าหมายหรือทำเพ่อื สงิ่ ทต่ี นต้องการ วัตถปุ ระสงคก์ ารวิจยั 1. เพื่อศึกษาภาวะผู้นำเชิงพฤติกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาในอำเภอท่าศาลา สังกัดสำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 4 2. เพ่ือศึกษาแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในอำเภอท่าศาลา สังกัดสำนักงาน เขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 4

วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 215 3. เพ่ือศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงพฤติกรรมของผู้บริหาร สถานศึกษากับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในอำเภอท่าศาลา สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ี การศกึ ษาประถมศึกษานครศรธี รรม เขต 4 วิธดี ำเนินการวิจัย 1. ประชากรและกลุม่ ตัวอย่าง ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ครูในสถานศึกษา ท่ีทำหน้าท่ีด้านการสอนใน อำเภอท่าศาลา สังกดั สำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 4 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูในสถานศึกษาท่ีทำหน้าท่ีด้านการสอนในอำเภอท่าศาลา สงั กัดสำนกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 จำนวน 48 โรงเรียน ครูจำนวน 548 คน โดยกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตามตารางสำเร็จรูปของ เครจซี่และมอร์ แกน (krijcie & morgan) ไดก้ ลุ่มตัวอย่าง จำนวน 226 คน 2. เครื่องมอื ทใี่ ช้ในการวิจยั ในการวิจัยคร้ังนี้ ผู้วิจัยใช้เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบสอบถาม และแบบสมั ภาษณ์กึ่งโครงสรา้ ง จำนวน 2 ฉบบั คอื 2.1 ฉบับท่ี 1 มลี ักษณะเป็นแบบสอบถาม แบ่งออกเปน็ 3 ตอน ดงั น้ี ตอนที่ 1 เป็นแบบสอบถามข้อมูลท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม มีลักษณะเป็น แบบคำถามแบบตรวจสอบรายการ (Check List) ประกอบด้วย เก่ียวกับ เพศ อายุ ระดับ การศึกษา ตำแหน่งหนา้ ท่ี และประสบการณ์ทำงาน ตอนท่ี 2 เป็นแบบสอบถามเก่ียวกับภาวะผู้นำเชิงพฤติกรรมของผู้บริหาร สถานศึกษา 5 แบบ คือ 1) พฤติกรรมผู้นำแบบมุ่งความสำเร็จ 2) พฤติกรรมผู้นำแบบมุ่ง ความสัมพันธ์ 3) พฤติกรรมผู้นำแบบสายกลาง 4) พฤติกรรมผู้นำแบบทีม 5 ) พฤติกรรมด้าน คุณธรรม เป็นลักษณะคำถามแบบมาตราส่วน ประมาณค่า (Rating Scale) ตามแนวคิดของ ลิเคิรด์ (Likert)” 5 ระดบั คอื มากทสี่ ดุ มาก ปานกลาง นอ้ ยและนอ้ ยท่ีสดุ ตอนท่ี 3 แบบสอบถามเก่ียวกับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของของครูในอำเภอ ท่าศาลา สังกัดสำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 มี 3 ด้าน 1) แรงจูงใจด้านการดำรงชีวติ 2) แรงจูงใจด้านความสัมพันธ์ 3) แรงจูงใจด้านความก้าวหน้า

216 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) เป็นลักษณะคำถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) ตามแนวคิดของ ลิเคิร์ด (Likert)” 5 ระดบั คอื มากท่ีสดุ มาก ปานกลาง นอ้ ยและนอ้ ยที่สุด 2.2 ฉบับที่ 2 เป็นแบบสัมภาษณ์เกี่ยวกับผู้นำเชิงพฤติกรรมของผู้บริหาร สถานศึกษากับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครู มีลักษณะเป็นแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง (Semi Structure Interview Questionnaires) 3. การเก็บรวบรวมขอ้ มลู 3.1. ผู้วิจัยขอหนังสือจากบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย วิทยาเขตนครศรธี รรมราช ถึงผอู้ ำนวยการสถานศึกษาในอำเภอท่าศาลา สำนักงาน เขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 4 เพื่อขออนมุ ตั เิ ก็บข้อมูล 3.2 ผู้วิจัยทำแบบสอบถามจำนวน 226 ชุด โดยให้กลุ่มตัวอย่างในโรงเรียน ต่างๆ ตามจำนวนที่กำหนดไว้ 3. รวบรวมแบบสอบถามท่ีได้รับคืนจากกลุ่มตัวอย่าง นำมาตรวจสอบความ สมบูรณ์ของแบบสอบถาม แล้วนำแบบสอบถามไปวิเคราะห์ข้อมูลและสัมภาษณ์ผู้บริหาร สถานศึกษาตามข้ันตอนตอ่ ไป 4. การวิเคราะห์ข้อมลู 4.1 การวิเคราะห์ข้อมูลภาวะผู้นำเชิงพฤติกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา โดย หาค่าเฉล่ีย (x) และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เป็นรายด้านและรายข้อ โดยใช้เกณฑ์ ในการแปรความหมายเปน็ ชว่ งคะแนน 4.2 การวิเคราะห์ข้อมูลความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงพฤติกรรมของ ผู้บริหารสถานศึกษากับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครู โดยการหาค่าสัมประสิทธ์ิ สหสมั พันธข์ องเพยี ร์สัน (rxy) และมีการแปลผลในกรณที ี่มีคา่ (rxy) เป็นบวก ดังน้ี 4.3 วิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนาโดยรวบรวมเรียบเรียงข้อมูลนำมาใช้เป็น แนวทางในการปรบั พฤติกรรม เพื่อสร้างแรงจูงใจในการปฏิบตั ิงานให้กับครูทอี่ ยภู่ ายใต้บังคับ บัญชาเพ่ือจะได้ทำงานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพอันเป็นประโยชน์โดยตรงต่อการจัดการ เรยี นการสอนในสถานศึกษาต่อไป

วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 217 ผลการวิจยั การวิจัย เร่ือง ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงพฤติกรรมของผู้บริหาร สถานศึกษากับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในอำเภอท่าศาลา สังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ี การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 1. ระดับภาวะผู้นำเชิงพฤติกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา ในอำเภอท่าศาลา สังกดั สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 4 ปรากฏผลดงั น้ี ตารางท่ี 1 ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับภาวะผู้นำเชิงพฤติกรรมของผู้บริหาร สถานศึกษา ในอำเภอท่าศาลา สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาป ระถมศึกษา นครศรธี รรมราช เขต 4 โดยรวม ภาวะผู้นำเชิงพฤติกรรมของผบู้ ริหารสถานศกึ ษา  SD ระดับ 1 พฤตกิ รรมผู้นำแบบม่งุ ความสำเร็จ 4.58 0.42 มากทีส่ ดุ 2. พฤตกิ รรมผู้นำแบบม่งุ ความสมั พันธ์ 4.62 0.35 มากทส่ี ดุ 3. พฤติกรรมผนู้ ำแบบสายกลาง 4.08 0.32 มาก 4. พฤติกรรมผ้นู ำแบบทีม 4.66 0.30 มากท่ีสุด 5 พฤติกรรมดา้ นคณุ ธรรม 4.61 0.38 มากทส่ี ดุ รวม 4.51 0.30 มากที่สุด จากตาราง 1 พบว่า ภาวะผู้นำเชิงพฤติกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาในอำเภอท่า ศาลา สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 โดยรวม อยู่ ในระดับมากท่ีสุด (  = 4.51) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า พฤติกรรมผู้นำแบบทีม มี ค่าเฉล่ียสูงสุด (  = 4.66) รองลงมา คือ พฤติกรรมผู้นำแบบมุ่งความสัมพันธ์ มีค่าเฉล่ีย (  =4.62) สว่ นพฤติกรรมผู้นำแบบสายกลาง มคี า่ เฉล่ยี ตำ่ สดุ (  =4.08) ระดับภาวะผู้นำเชิงพฤติกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาในอำเภอท่าศาลา สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 โดยรวม อยู่ในระดับมาก ท่ีสุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า พฤติกรรมผู้นำแบบทีม มีค่าเฉล่ียสูงสุด รองลงมา คือ พฤตกิ รรมผนู้ ำแบบมุ่งความสัมพันธ์ ส่วนพฤตกิ รรมผู้นำแบบสายกลาง มีค่าเฉลี่ยตำ่ สุด โดยมี รายละเอียดดงั น้ี

218 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) 1) ด้านพฤติกรรมผู้นำแบบมุ่งความสำเร็จ ระดับภาวะผู้นำเชิงพฤติกรรมของ ผู้บริหารสถานศึกษาในอำเภอท่าศาลา สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา นครศรีธรรมราช เขต 4 โดยรวมอยู่ในระดับมากท่ีสุด เม่ือพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ผู้บริหารมีการกำหนดเปา้ หมายของการปฏิบตั ิงานอย่างชดั เจน มคี ่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา คือ ผบู้ ริหารมีความเชื่อมั่นในความสามารถของครู ส่วนผู้บรหิ ารสรา้ งความมีมาตรฐานดา้ นความ เป็นเลศิ แก่ครูสูง มีคา่ เฉลย่ี ต่ำสดุ 2) ด้านพฤติกรรมผู้นำแบบมุ่งความสัมพันธ์ ระดับภาวะผู้นำเชิงพฤติกรรมของ ผู้บริหารสถานศึกษาในอำเภอท่าศาลา สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา นครศรีธรรมราช เขต 4 โดยรวมอยู่ในระดับมากท่ีสุด เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ผู้บริหารเปิดโอกาสให้ตัดสินใจในการปฏิบัติงานด้วยตนเอง มีค่าเฉล่ียสูงสุด รองลงมาคือ ผู้บริหารให้คำแนะนำช่วยแก้ไขปัญหาทันทีที่ครูขอคำแนะนำ ส่วนผู้บริหารปฏิบัติตนเสมอ ภาคกบั ทกุ คน มคี า่ เฉลีย่ ตำ่ สดุ 3) ด้านพฤติกรรมผู้นำแบบสายกลาง ระดับภาวะผู้นำเชิงพฤติกรรมของ ผู้บริหารสถานศึกษาในอำเภอท่าศาลา สังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา นครศรีธรรมราช เขต 4 โดยรวมอยู่ในระดับมากท่ีสุด เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ผู้บริหารกระตุ้นให้ครูตระหนักถึงความเปลี่ยนแปลงต่อสังคม มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือ ผู้บริหารทำให้ผู้ร่วมงานเกิดความสบายใจและไว้วางใจในการ ส่วนผู้บริหารสร้างจิตสำนึกใน การสรา้ งค่านิยมขององคก์ ารใหบ้ คุ คลากรเกดิ การยอมรบั การเปลีย่ นแปลง มคี ่าเฉลีย่ ตำ่ สดุ 4) ด้านพฤติกรรมผู้นำแบบทีม ระดับภาวะผู้นำเชิงพฤติกรรมของผู้บริหาร สถานศึกษาในอำเภอท่ าศาลา สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา นครศรีธรรมราช เขต 4 โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ผู้บริหารมีการมอบหมายงาน บทบาทหน้าท่ีมีการแบ่งงานกันอย่างชัดเจน มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือ ผู้บริหารส่งเสริมทีมงานให้มีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน มีการกำหนดวิสัยทัศน์ จุดมุ่งหมายและวาแผนการปฏิบัติงาน ส่วนผู้บริหารให้ความสำคัญกับแนวคิดครูทุกคนและ ผบู้ รหิ ารชืน่ ชมผลสำเรจ็ ในการปฏบิ ตั ิงาน มีค่าเฉล่ียตำ่ สุด 5) พฤติกรรมด้านคุณธรรม ระดับภาวะผู้นำเชิงพฤติกรรมของผู้บริหาร สถานศึกษา ในอำเภอท่าศาลา สังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา นครศรีธรรมราช เขต 4 โดยรวมอยู่ในระดับมากท่ีสุด เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า

วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 219 ผู้บริหารมีความประพฤติปฏิบัติทางกายและวาจา เรียบร้อย ดีงาม ไมประพฤติเบียดเบียน ตนเองและผู้อ่ืน มีค่าเฉล่ียสูงสุด รองลงมาคือ ผู้บริหารได้ปฏิบัติตนอยู่ในระเบียบและ ข้อบังคับของสถานศึกษา ส่วนบริหารไมอคติหรือลำเอียง ด้วยความหลงรัก หลงชัง ด้วยความ กลัวเกรงและด้วยความหลงไมรจู ริง มีคา่ เฉล่ียต่ำสุด 2. ระดับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในอำเภอท่าศาลา สังกัดสำนักงาน เขต พื้นทกี่ ารศึกษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 4 ปรากฏผล ดงั น้ี ตารางที่ 2 ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูใน อำเภอท่าศาลา สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 โดยรวม แรงจงู ใจในการปฏบิ ตั ิงานของครู  SD ระดบั 4.59 0.37 มากทีส่ ดุ 1. แรงจงู ใจดา้ นการดำรงชีวิต 4.67 0.42 มากที่สดุ 2. แรงจูงใจดา้ นความสมั พนั ธ์ 4.70 0.34 มากท่สี ุด 3. แรงจูงใจดา้ นความกา้ วหนา้ 4.65 0.33 มากที่สุด รวม จากตาราง 2 พบว่า แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในอำเภอท่าศาลา สังกัด สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 โดยรวมอยู่ในระดับมาก ที่สดุ (  =4.65) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า แรงจูงใจด้านความก้าวหน้า มีค่าเฉลี่ยสูงสุด (  =4.70) รองลงมา คือ แรงจูงใจด้านความสัมพันธ์ มีค่าเฉล่ีย (  = 4.67) ส่วนแรงจูงใจ ดา้ นการดำรงชีวิต มีคา่ เฉล่ียต่ำสุด (  =4.59) ระดบั แรงจูงใจในการปฏบิ ัติงานของครูในอำเภอท่าศาลา สังกดั สำนักงานเขตพื้นท่ี การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เม่ือพิจารณา เป็นรายดา้ น พบว่า แรงจูงใจfดา้ นความก้าวหน้า มีค่าเฉลยี่ สงู สดุ รองลงมา คอื แรงจูงใจด้าน ความสัมพันธ์ ส่วนแรงจูงใจด้านการดำรงชีวิต มีค่าเฉล่ียต่ำสุด โดยมีรายละเอียดรายด้าน ดงั นี้ 1) แรงจูงใจด้านการดำรงชีวิตของครูในอำเภอท่าศาลา สังกัดสำนักงานเขต พื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 โดยรวมอยู่ในระดับมากท่ีสุด เม่ือ

220 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) พิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ข้อได้รับอนุญาตให้ลาหยุดงานเมื่อเจ็บป่วยและมีเหตุจำเป็น มี ค่าเฉล่ียสูงสุด รองลงมาคือ มีความรู้สึกมีความม่ันคงในตำแหน่งหน้าที่การงานในปัจจุบัน สว่ นขอ้ รบั เงินเดอื นเพียงพอกับการดำรงชีวติ ในปัจจุบัน มคี า่ เฉลีย่ ต่ำสุด 2) แรงจงู ใจด้านการความสัมพนั ธ์ของครูในอำเภอท่าศาลา สังกัดสำนักงานเขต พ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 โดยรวมอยู่ในระดับมากท่ีสุด เมื่อ พิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ข้อท่านมีความสัมพันธ์อันดีกับเพื่อนร่วมงาน มีค่าเฉล่ียสูงสุด รองลงมาคือ มีความรสู้ ึกเป็นส่วนหน่ึงของโรงเรยี น ส่วน ขอ้ ทา่ นพร้อมที่จะรว่ มงานกับทุกคน โดยคำนึงถึงความสำเรจ็ ของงาน 3) แรงจูงใจด้านความก้าวหน้าของครูในอำเภอท่าศาลา สังกัดสำนักงานเขต พ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 โดยรวมอยู่ในระดับมากท่ีสุด เมื่อ พจิ ารณาเป็นรายข้อ พบว่า ข้อได้รบั โอกาสในการพัฒนาตนเองฝกึ งาน ศกึ ษาดูงานและศึกษา ต่อ เพื่อเพ่ิมพูนความรู้และประสบการณ์ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือ ได้รับการยกย่องให้ เป็นบุคคลหนึ่งที่ทำให้โรงเรียนก้าวหน้า ส่วน ข้อท่านได้รับโอการใช้ความคิดสร้างสรรค์ใน การปฏิบัตงิ าน และขอ้ ทา่ นไดร้ ับมอบหมายให้ปฏิบตั งิ านท่ีสำคญั 3. ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงพฤติกรรมของผู้บริหารสถานศึกษากับ แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในอำเภอท่าศาลา สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศกึ ษานครศรธี รรมราช เขต 4 ปรากฏผลดงั นี้ ตารางที่ 3 ค่าสัมประสิทธิ์สหพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงพฤติกรรมของผู้บริหาร สถานศึกษากับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในอำเภอท่าศาลา สังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ี การศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรธี รรมราช เขต 4 โดยรวม

วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 221 ภาวะผนู้ ำเชิงพฤตกิ รรมของผบู้ ริหาร แรงจูงใจในการปฏบิ ัติงาน สถานศึกษา Pearson ระดบั ทิศทาง พฤตกิ รรมผูน้ ำแบบมุ่งความสำเร็จ พฤตกิ รรมผ้นู ำแบบมุ่งความสมั พนั ธ์ Correlation ความสมั พันธ์ ความพันธ์ พฤตกิ รรมผนู้ ำแบบสายกลาง พฤตกิ รรมผ้นู ำแบบทีม 0.691** ระดบั สงู บวก พฤตกิ รรมด้านคณุ ธรรม 0.667** ระดับสูง บวก รวมภาวะผู้นำเชงิ พฤติกรรม 0.732** ระดับสงู บวก 0.743** ระดบั สูง บวก 0.706** ระดบั สงู บวก 0.821** ระดับสูงมาก บวก จากตาราง 3 พบว่า ค่าสัมประสิทธ์ิสหพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงพฤติกรรมของ ผบู้ ริหาร สถานศึกษากับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในอำเภอท่าศาลา สังกัดสำนักงาน เขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 4 โดยรวม มคี วามสัมพนั ธ์กันทางบวก ในระดับสูงมากอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.1 เม่ือพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ค่า สัมประสิทธ์ิสหพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงพฤติกรรมของผู้บริหารสถานศึกษากับแรงจูงใจใน การปฏิบัติงานของครูในอำเภอท่าศาลา สังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา นครศรีธรรมราช เขต 4 โดยรวม มีความสัมพันธ์กันทางบวก ในระดับสูงมาก อย่างมี นัยสำคญั ทางสถิติท่รี ะดบั 0.1 สมั ประสทิ ธิ์สหสัมพันธร์ ะหวา่ งภาวะผู้นำเชงิ พฤตกิ รรมของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษากับ แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในอำเภอท่าศาลา สังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 โดยรวมมีความสมั พันธ์กันทางเต็มบวก อย่างนัยสำคัญ กันทางสถิติ ที่ระดับ .01 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า สัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์ระหว่าง ภาวะผู้นำเชิงพฤติกรรม ของผู้บริหารสถานศึกษากับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูใน อำเภอท่าศาลา สังกัดสำนักงานเขต พ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 โดยรวมมีความสัมพันธก์ ันทางเต็มบวก อยา่ ง นยั สำคญั กนั ทางสถิติที่ระดับ.01 ผลจากการสัมภาษณ์ผู้บริหาร พบว่า การจูงใจเป็นการรวมพลังเพื่อเป็นแรงขับ เคลื่อนที่สำคัญต่อการกระทำ หรือ พฤติกรรมของผู้ร่วมทำงาน ถ้าบุคคลมีแรงจูงใจในการ ทำงานสูง ย่อมทำให้มีความขยันขันแข็ง มีความกระตือรือร้นในการทำงาน ทำใหง้ านประสบ ความสำเร็จตามที่หวัง การจูงใจทำให้ผรู้ ่วมงานเกิดความพยายาม มีความอดทน มีความบาก

222 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) บ่ัน และคิดหาวิธีที่จะนำความรู้ความสามารถ และประสบการณ์ของตน มาใช้ให้เกิด ประโยชน์ในการทำงานมากที่สุด ไม่ทอ้ ถอยมีความพยายาม แม้วา่ งานจะมีอปุ สรรค แรงจงู ใจ สามารถมีอิทธิพลต่อการเปล่ียนแปลงรูปแบบวิธีการทำงานให้ประสบความสำเร็จได้ การ คน้ พบวิธกี ารทำงานท่ีดี หรอื ให้ประสบความสำเร็วตามเปา้ หมายมากกว่าเดิม การทำงานเป็น ทมี มสี ำคัญและทำให้เกดิ ความเจรญิ ก้าวหน้า มั่นคงในหนา้ ที่ท่ีรับผิดชอบ อภปิ รายผล การศึกษาวิจัยเร่ือง ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงพฤติกรรมของผู้บริหาร สถานศึกษากับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในอำเภอท่าศาลา สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ี การศกึ ษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 มปี ระเด็นที่นา่ สนใจ อภปิ รายผล ดังน้ี 1. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลภาวะผู้นำเชิงพฤติกรรมของผู้บริหารในอำเภอท่า ศาลา สงั กัดสำนักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษานครศรธี รรมราช เขต 4 ภาวะผู้นำเชิงพฤติกรรมของผู้บริหารในอำเภอท่าศาลา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 โดยรวมอยู่ในระดับมากทสี่ ุด เมอ่ื เรยี งลำดับ ค่าเฉล่ียจากมากไปหาน้อย พฤติกรรมแบบทีม พฤติกรรมผู้นำแบบมุ่งความสัมพันธ์ พฤติกรรมด้านคุณธรรม พฤติกรรมผู้นำแบบมุ่งความสำเร็จ พฤติกรรมผู้นำแบบสายกลาง ท้ังนี้อาจเป็นเพราะ พฤติกรรมผู้นำจะต้องแสดงถึงความสามารถในการนำกลุ่ม เพ่ือดำเนิน กิจกรรมต่างๆ ไปสู้เป้าหมายท่ีกำหนด หรือเป็นการแสดงออกถึงความสามารถของผู้นำที่ เหมาะสมในการโน้นน้าวจิตใจของผู้อ่ืน ให้ทำตามความต้องการของตน เพ่ือให้ดำเนินงาน เป็นไปด้วยความเรียบร้อยประสบผลสำเร็จ และให้หน่วยงานทีความเจริญก้าวหน้า เมื่อใคร ครวญพิจารณาตามรายด้านภาวะผู้นำเชิงพฤติกรรมท่ีน่าสนใจท่ีสุด 3 ลำดับแรกคือ คือ พฤติกรรมแบบทีม พฤติกรรมผู้นำแบบมุ่งความสัมพันธ์ พฤติกรรมด้านคุณธรรม อาจเป็น เพราะว่า พฤติกรรมแบบทีม เป็นพฤติกรรมท่ีผู้บริหารแสดงออกถึงความเชื่อมั่นในทีมและ การปฏิบัติงานของผู้บริหาร เน้นการทำงานเป็นทีมโดยมีผลสำเร็จของงาน เป็นเป้าหมายมี การประชุมกันอย่างต่อเนื่อง มีการกำหนดเป้าหมายอย่างชัดเจน มีการออกคำสั่งมอบหมาย งานอย่างชัดเจน กระตุ้นให้ครูมีความมุ่งมั่นในการทำงาน เปิดโอกาสให้สมาชิกมีส่วนร่วมใน การอภิปรายผลการทำงานการมีติดต่อสื่อสารแบบเปิดเผย ไม่ซ่อนเร้น เม่ือเกิดปัญหาในการ

วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 223 ปฏบิ ตั ิงานจะใชว้ ิธปี ระชุมผู้เกย่ี วข้องเพื่อหาวธิ ีแกไ้ ขผู้บริหารชน่ื ชมผลสำเร็จในการปฏิบตั ิงาน ในประเด็นพฤติกรรมผู้นำแบบทีมซ่ึงสอดคล้องกับเนตร์พัณณา ยาวิราช (2552:56) ที่ได้ กล่าวว่า การทำงานเป็นทีมเป็นการที่บุคคลหลายคน เข้ามาทำงานร่วมกันเพื่อวัตถุประสงค์ ร่วมกัน การทำงานเป็นจึงนับว่าเป็นองค์ประกอบสำคัญในความสำเร็จขององค์การ หน่วยงานที่มีทีมงานที่ดีในการประกอบกิจกรรมหรือภารกิจต่างๆจะทำให้การดำเนินงาน สำเร็จไปอย่างลุล่วง ราบร่ืนด้วยการอาศัยความสามารถของทีมงาน ความรู้ความสามารถ ประสบการณข์ องสมาชิกของ ทีมงานทช่ี ว่ ยสง่ เสริมสนับสนุนให้การทำงานประสบผลสำเรจ็ 2. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในอำเภอท่าศาลา สงั กดั สำนักงานเขต พนื้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 4 ดังนี้ แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในอำเภอท่าศาลาสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่ การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 4 โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน เรียงลำดับค่าเฉล่ียจากมากไปหาน้อย คือ แรงจูงใจดา้ นความก้าวหน้า แรงจูงใจตอ้ งการด้าน ความสัมพันธ์ แรงจูงใจด้านการดำรงชีวิตเม่ือพิจารณาใคร่ครวญอาจเป็นเพราะ การร่วมมือ ร่วมแรงร่วมใจในการทำงานสร้างบรรยากาศในการทำงานที่ดี ตลอดจนช่วยเหลือดูแลอย่าง สม่ำเสมอ ทำใหค้ รมู ีขวัญกำลังใจในการปฏิบัติงานทด่ี ีการสร้างสรรค์การทำงานย่อมทำใหเ้ กิด พลังของความสามัคคีของผู้ร่วมปฏิบัติงาน เกิดความรู้สึกท่ีดีต่อการปฏิบัติงานเป็นแรงจูงใจ ของบุคลากรทำให้เกิดความทุ่มเทในการทำงาน มีความพยายามในการทำงานอย่างสุด ความสามารถ แรงจูงใจจะแรงกระตุ้นท่ีทำให้มนุษย์ทำกิจกรรมหรือแสดงพฤติกรรมออกมา และเป็นพฤติกรรมท่ีจะดำเนินไปสู่เป้าหมายแรงจูงใจยังก่อให้เกิดการแสดงพฤติกรรมของ มนุษย์ออกมาซึ่งสอดคล้องกับสัมมา รธนิธย์ (2553:39) ได้กล่าว การจูงใจเป็นการรวมพลัง เพ่ือเป็นแรงขับเคลื่อนท่ีสำคัญต่อการกระทำหรือพฤติกรรมของผู้ร่วมทำงาน ถ้าบุคคลมี แรงจูงใจในการทำงานสูง ย่อมทำให้มีความขยันขันแข็ง มีความกระตือรือร้นในการทำงาน ทำให้งานประสบความสำเร็จตามท่ีหวัง การจูงใจทำให้ผู้ร่วมงานเกิดความพยายาม มีความ อดทน มีความบากบั่น และคิดหาวธิ ีทีจ่ ะนำความรู้ความสามารถและประสบการณข์ องตนมา ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการทำงานมากที่สุด ไม่ท้อถอยต่อความพยายามง่ายๆ แม้ว่างานจะมี อุปสรรค แรงจูงใจสามารถยังมีอิทธิพลและสามารถเปลี่ยนแปลงรูปแบบวิธีการทำงานและ การค้นพบช่องทางวิธีการทำงานท่ีดี หรือประสบความสำเร็วมากกว่าเดิม บุคคลที่มีแรงจูงใจ ในการทำงาน จะเป็นบุคคลท่ีมีความมุ่งม่ันรับผิดชอบต่อการทำงาน ทำให้งานมีความ

224 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) เจริญก้าวหน้า มวี นิ ัย มีความรับผดิ ชอบ ม่ันคงในหน้า ซง่ึ สอดคล้องกับนารีรัตน์ บัตรประโคน (2560 : 34) ได้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูกับสิทธิผลของ โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3 พบว่า แรงจูงใจใน การปฏิบัติงานของครูในโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3 ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ซึ่งสอดคล้องกบั เสาวลกั ษณ์ ณ รังสี (2556 :60) แรงจูงใจ และแนวทางการเสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในกลุ่มโรงเรียนสหวิทยาเขต จังหวัดระยอง 1 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 พบว่าแรงจูงใจ โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมากและสอดคล้องกับบุญเตือน กามินี ได้ศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมของผู้นำของผู้บริหารโรงเรียนกับแรงจูงใจในการปฏิบัติง าน ของครูเทศบาลใน จังหวดั ชลบุรี พบวา่ แรงจูงใจในการปฏิบัตงิ านของพนักงานครูเทศบาลใน จงั หวดั ชลบรุ ี โดยรวมอยู่ในระดบั มาก 3. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลความสัมพันธ์ภาวะผู้นำเชิงพฤติกรรมของผู้บริหาร สถานศึกษากับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานในอำเภอท่าศาลา สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่ การศกึ ษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 4 ดังนี้ สมั ประสิทธ์ิสหสมั พนั ธ์ระหว่างภาวะผูน้ ำเชิงพฤตกิ รรมของผบู้ รหิ ารสถานศึกษากับ แรงจงู ใจในการปฏิบตั ิงานในอำเภอท่าศาลา สังกัดสำนกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษา นครศรีธรรมราช เขต 4 โดยรวม มีความสัมพันธ์กันทางบวก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ ระดับ.01 เมอื่ เรยี งตามลำดับความสัมพันธ์ เมือ่ พิจารณาตามรายด้านภาวะผนู้ ำเชงิ พฤติกรรม ของผู้บริหารสถานศึกษาท่ีมีความสำคัญที่สุด 3 ลำดับแรกคือ พฤติกรรมผู้นำแบบทีม พฤติกรรมผู้นำมุ่งความสมั พันธ์ พฤติกรรมผนู้ ำดา้ นคุณธรรม การทำงานเป็นทมี มีความสำคัญ มากในการทำงาน เน่ืองจากงานในองค์การต้องอาศัยความคิด การร่วมแรงร่วมใจกันจากทุก ฝ่าย องค์การจึงจะอยู่รอด การที่คนหลายคนช่วยกันคิดช่วยกันแก้ปัญหาจึงเป็นสิ่งที่สำคัญ อยา่ งยง่ิ สำหรับองค์การ ซึง่ การทำงานเป็นทีมช่วยสรา้ งสัมพนั ธภาพที่ดีระหว่างสมาชกิ ในกลุ่ม โดยเฉพาะหัวหน้าและผู้ร่วมงาน ช่วยให้สมาชิกมีบทบาทหน้าท่ีของตนเองในการทำงานเป็น กลุ่ม เข้าใจกฎระเบียบข้อบังคับของกลุ่ม มีการติดต่อสื่อสารระหว่างสมาชิกในกลุ่ม เข้าใจใน กระบวนการทำงานของกลุ่ม สามารถท่ีจะแก้ไข้ปัญหาความขัดแย้งในกลุ่ม ช่วยสร้างความ รว่ มมือรว่ มใจในการทำงาน มีการเพ่ิมพูนทักษะความสามารถในการทำงาน ช่วยสร้างความ ผูกพันและความรู้สึกท่ีดีต่อองค์การ การทำงานเป็นทีมจึงมีความสำคัญที่จะช่วยให้การ

วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 225 ดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ซ่ึงสอดคล้องกับสมคิด บางโม : (2554) กล่าวทำงาน เป็นทีมหรือการต้ังทีมงานขึ้นมาเป็นที่นิยมทั่วไป เพราะมีความเช่ือม่ันว่าการช่วยกันทำงาน ดีกว่าการทำงานคนเดียวแม้แต่การบริหารองค์การก็ยังนิยมบริหารเป็น นั่นคือมีคณะบริหาร หัวใจสำคัญของทมี งานคือการยอมรับความสามารถและความไว้เนื้อเชื่อใจซง่ึ กนั และกัน สว่ น พฤติกรรมมุ่งความสัมพันธ์ น่าจะเป็นเพราะว่าหวังผลเท่ากับขวัญและกำลังใจของ ผปู้ ฏบิ ัติงานใช้ระบบราชการท่มี ีระเบียบแบบแผน ผลงานท่ีได้จากการปฏบิ ตั ิงานตามระเบียบ โดนเน้นความสัมพันธ์และขวัญกำลังใจ ความพึงพอใจหลีกเล่ียงการใช้กำลังและอำนาจ ยอมรับผลท่ีเกิดข้ึนตามความคาดหวังของผู้บริหาร มีการจัดต้ังคณะกรรมการในการทำงาน หลีกเล่ียงการทำงานท่ีเสี่ยงเกิดไป มีการประนีประนอม ใจการจัดความขัดแย้ง ซึง่ สอดคล้อง กับธีรดา สืบวงษ์ชัย : (2553) ได้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำของผู้บริหาร สถานศึกษากับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขต พน้ื ท่ีการศกึ ษาจันทบรุ ี เขต 2 พบวา่ ภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาด้านภาวะผู้นำแบบ มุ่งงาน และด้านภาวะผู้นำแบบมุ่งความมุ่งสัมพันธ์ อยู่ในระดับมาก และมีความสัมพันธ์กัน ทางบวกกับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของครูในครู ในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขต พืน้ ที่การศกึ ษาจันทบรุ ี เขต 2 องค์ความรทู้ ไ่ี ดจ้ ากการศึกษา ความสัมพันธ์ระหวา่ งภาวะผ้นู ำเชงิ พฤติกรรมของผูบ้ ริหารสถานศึกษากับแรงจูงใจ ในการปฏิบัติงานของครูในอำเภอท่าศาลา สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา นครศรีธรรมราช เขต 4 พบว่า พฤติกรรมแบบทีม มีความสัมพันธ์กับแรงจูงใจในการ ปฏิบัติงานของครู สูงสุด ดังนั้น ผู้บริหารควรจึง ควรพัฒนาตนเองให้มีพฤติกรรมแบบทีม จึง นับว่าเป็นองค์ประกอบสำคัญในความสำเร็จขององค์การ หน่วยงานท่ีมีทีมงานท่ีดีในการ ประกอบกิจกรรมหรือภารกิจตา่ งๆจะทำให้การดำเนินงานสำเร็จไปอย่างลุลว่ ง มีความราบร่ืน อาศัยความสามารถของทีมงาน ความรู้ความสามารถ ประสบการณ์ของสมาชิกของทีมงานท่ี ช่วย ส่งเสริมสนับสนุนให้การทำงานประสบผลสำเร็จ ซึ่งการทำงานเป็นทีมจะช่วยเพิ่ม ประสิทธิ์ภาพในการทำงานและทำให้เห็นประ สิทธิภาพขององค์การ จะทำให้บรรลุตาม วัตถุประสงค์ขององค์การและประสบความสำเร็จอย่างสูงสุด จึงควรเร่งดำเนินการสร้าง แรงจูงใจด้านความก้าวหน้า เพื่อให้ครูเกิดความเช่ือมั่นกับผู้บริหารขององค์การ พอใจใน

226 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) ตำแหน่งหน้าที่การงานท่ีปฏิบัติอยู่ ซ่ึงจะส่งผลให้ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการ ทำงาน เอกสารอ้างอิง ธรี ดา สบื วงษช์ ยั . (2553), ความสัมพันธร์ ะหว่างภาวะผู้นำของผบู้ ริหารสถานศึกษากับความ พึงพอใจในการปฏิบัตงิ านของครใู นสถานศึกษา สงั กดั สำนกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษา จันทบรุ ี เขต 2, บัณฑิตวิทยาลยั : มหาวทิ ยาลัยราชภัฎบุรีรมั ย์. เนตร์ พณั ณา ยาวิราช. (2552), ภาวะผู้นำและผู้นำเชงิ กลยทุ ธ์. กรุงเทพฯ: เซ็นทรลั เพลส์. นารีรัตน์ บัตรประโคน. (2560), ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครกู ับ สิทธผิ ลของโรงเรยี นในสังกดั สำนกั งานเขต พ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาบุรีรัมย์ เขต 3, บณั ฑติ วทิ ยาลัย : มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั บรุ ีรมั ย์. สมั มา รธนิธย์. (2553), ภาวะผู้นำผบู้ ริหาร. กรงุ เทพฯ : พิมพ์ลักษณ.์ สมคิด บางโม. (2554), องคก์ ารและการจดั องคก์ าร, กรุงเทพฯ: วทิ ยาพฒั น์. เสาวลกั ษณ์ ณ รงั สี. (2556), แรงจูงใจและแนวทางการเสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน ของครูในกลุ่มโรงเรียนสหวิทยาเขต จงั หวดั ระยอง 1 สังกดั สำนกั งานเขตพนื้ ที่ การศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 18. บัณฑติ วทิ ยาลยั : มหาวทิ ยาลยั บรู พา.

การพัฒนาการมสี ่วนร่วมของผู้ปกครองในการสง่ เสรมิ พัฒนาการเดก็ ปฐมวยั ในยุคประเทศไทย 4.0 ศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ สงั กดั องคก์ ารบรหิ าร ส่วนตำบลเขาพงั ไกร จงั หวดั นครศรธี รรมราช Development of parent’s participation in Enhancing early Childhood development in Thailand 4.0 at Child Development centers Under Khao Phang Krai Subdistrict Administration Organization, Nakhos Si Thammarat Province 1ณชิ าภัทร คงชมุ , 2ธีระพงษ์ สมเขาใหญ่ และ 3สำเริง จันชมุ , 1Nichapat Kongchum, 2Teeraphong Somkhaoyai and 3Samroeng Chanchum มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย, วิทยาเขตนครศรีธรรมราช, ประเทศไทย Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Nakhon Si Thammarat, Thailand. [email protected] Received May 10, 2020; Revised July 12, 2020; Accepted August 25, 2020 บทคัดย่อ สภาพปัจจุบันการพัฒนาการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง พบว่า (1) การส่งเสริมพัฒนาการ ด้านร่างกาย การสนับสนุน ให้เด็กได้มีโอกาสพัฒนาการใช้กล้ามเน้ือให้สัมพันธ์กับระบบ ประสาทในทำกิจวัตรประจำวัน (2) การส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจโดยผู้ปกครอง ดูแลเอาใจใส่ใกล้ชิด ด้วยความรักและความเข้าใจ การให้โอกาสเด็กได้เรียนรู้และฝึกทำส่ิงต่าง ๆ ในสภาพแวดล้อมท่ีปลอดภัย (3) การส่งเสริมพัฒนาการด้านสังคมโดยผู้ปกครองเป็นแบบอย่าง

228 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) ที่ดีให้กับเด็ก (4) การส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญา ผู้ปกครองสามารถจูงใจให้เด็กมีความใฝ่รู้ กลา้ แสดงความคดิ เห็น มกี ารฝึกให้เด็กเปน็ คนรู้จักคิด วิเคราะหแ์ ละแกไ้ ขปญั หาด้วยตนเอง การมีส่วนรว่ มของผปู้ กครอง พบวา่ (1) ด้านร่างกาย ผู้ปกครองมีความสนใจและมี ส่วนร่วมในการพัฒนาเด็กให้มีร่างกายที่แข็งแรง มีพัฒนาการเหมาะสมกับวัยและสามารถใช้ ชีวิตประจำวันได้เป็นอย่างดี (2) ด้านอารมณ์ และจิตใจ ผู้ปกครองมีส่วนร่วมโดยการปลูกฝังเด็ก รู้จักการแบ่งปัน สามารถปรับตัวให้เข้ากับคนอ่ืนได้ (3) ด้านสังคม ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการ อบรมส่ังสอนเด็กให้มีระเบียบวินัยทางสังคม มีสัมพันธ์ภาพท่ีดีกับผู้อื่นได้ดี (4) ด้านสติปัญญา ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการส่งเสริมการใช้กล้ามเน้ือมัดเล็ก และมัดใหญ่ได้ดี และส่งเสริมให้ใช้ ความคดิ สรา้ งสรรค์ สามารถคิดวเิ คราะห์ และแกไ้ ขปญั หาด้วยตนเองได้ แนวทางและข้อเสนอแนะในการพัฒนาการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการส่งเสริม พัฒนาการเด็กปฐมวัยในยุคประเทศไทย 4.0 ดังน้ี (1) ด้านรา่ งกาย ผปู้ กครองควรมีส่วนร่วมในการ ส่งเสริมด้านโภชนาการ และสนับสนุนให้มีกิจกรรมการแข่งขันกีฬาที่เหมาะสมโดยมีผู้ปกครอง ร่วมกิจกรรมด้วย (2) ด้านอารมณ์ และจิตใจการให้คำปรึกษาและทำความเข้าใจกับผู้ปกครองใน การเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยอย่างถูกต้องและเหมาะสมและมสี ่วนรว่ มในกิจกรรมวนั สำคัญทางศาสนา (3) ด้านสงั คม ผู้ปกครองมีส่วนรว่ มในการปลูกฝังให้เด็กมีนสิ ัยจิตอาสา ความเสียสละและการแบ่งปัน และให้ความสำคัญในการแสดงความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากผู้ปกครอง (4) พัฒนาการ ด้านสติปัญญา ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการจัดทำสื่อการเรียนการสอน ให้เด็กเรียนรู้จาก ประสบการณ์จริงและการใช้ส่ือเทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ตามสาระการเรียนรู้ของหลักสูตร ปฐมวยั พทุ ธศักราช 2560 คำสำคัญ : การมสี ่วนร่วมของผ้ปู กครอง, พัฒนาการเดก็ ปฐมวัย, ประเทศไทย 4.0 Abstract Concerning the current condition of the development of parents’ participation, the following components were found: (1) enhancing physical development by supporting the children to have the opportunity to develop the use of muscles in relation to the nervous system in their daily activities; (2) promoting emotional and psychological development by close care of parents with love and

วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 229 understanding and allowing children to learn and practice in doing things in a safe environment; (3) promoting social development by being a good model for children; (4) promoting intellectual development in which parents can motivate children to be curious and dare to express opinions by training children to think, analyze and solve problems by themselves. Regarding the participation of parents, it was found that parents' participation consisted of: (1) in physical aspect, the parents were interested and participated in developing children to have a healthy body with age-appropriate development and spent their daily life very well; (2) in emotional and psychological aspect, parents participated by cultivating children the habit of sharing and being adaptable with others; (3) in social aspect, parents were involved in guiding children to have social discipline and good relationships with others; (4) in intellectual aspect, parents were involved in promoting the use of Fine and Gross Motor Skills and encourage children to use creative thinking, think critically, and solve problems by themselves In terms of guidelines and suggestions for the development of parents' participation in the early childhood development promotion in Thailand 4.0, the guidelines and suggestions are: (1) in physical aspect; parents should participate in nutritional promotion and support appropriate sporting events with parental participation; (2) in emotional and mental aspects; by counseling and guiding parents in appropriately rearing preschool children and participating in important religious activities; (3) in social aspect; parents are involved in cultivating children on volunteer habits, sacrifices, and sharing, and attentive in the expression of opinions and suggestions from parents; (4) in intellectual aspect; parents are involved in creating teaching and learning materials for children to learn from real experience and creative use of technological media according to the Early Childhood Curriculum in 2560 B.E. Keyword : Parents’ Participation, Early Childhood Development, Thailand 4.0

230 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) บทนำ สภาพการเปล่ียนแปลงด้านเศรษฐกิจ สังคม และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี สารสนเทศประกอบกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 (2560:14) จะเห็น ได้ว่ามนุษย์เป็นทรัพยากรที่ทรงคุณค่าที่สุดในการขับเคลื่อนเพื่อพัฒนาประเทศชาติและควร เริ่มปลูกฝังค่านิยมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตั้งแต่ในช่วงปฐมวัย โดยพัฒนาคนให้ เหมาะสมตามช่วงวัย เพื่อให้เติบโตอย่างมีคุณภาพ การหล่อหลอมให้คนไทย มีค่านิยมตาม บรรทัดฐานที่ดีทางสังคมเป็นคนดี มีสุขภาวะที่ดี มีคุณธรรมจริยธรรม มีระเบียบวินัย และมีจิตสำนึกที่ดีต่อสังคมส่วนรวม การพัฒนาทักษะ ท่ีสอดคล้องกับความ ต้องการใน ตลาดแรงงานและทักษะท่ีจำเป็นต่อการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ซ่ึงสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580) (2560: ฉ) ขอ้ ที่ 3 ยุทธศาสตร์ชาติดา้ นการพัฒนาและเสรมิ สรา้ ง ศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ มีเป้าหมายการพัฒนาที่สำคัญเพื่อพัฒนาคนในทุกมิติและในทุก ช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่งและมีคุณภาพ โดยให้คนไทยมีความพร้อมท้ังกาย ใจ สติปัญญา มี พัฒนาการท่ีดีรอบด้านและมีสุขภาวะท่ีดีในทุกช่วงวัย มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อสังคม และผู้อ่ืน โดยสามารถเห็นเป็นรูปธรรมได้จากสาระบัญญัติที่กำหนดให้มีการเปล่ียนแปลง รูปแบบการบริหารและการจัดการศึกษาในหน่วยงานการศึกษาทุกระดับในการเปลี่ยนแปลง ครงั้ นีห้ นว่ ยงานดังกล่าวตอ้ งมีการบรหิ ารในรปู แบบคณะกรรมการท่ปี ระกอบดว้ ยตัวแทนทม่ี า จากคณะต่างๆ ในชุมชน เพื่อทำหน้าที่กำกับดูและส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษา นอกจากน้ี ยังมีสารบัญญัติอีกหลายประการท่ีกำหนดเป็นแนวทางให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วมใน การจัดการศึกษา เช่น การระบุให้สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจัดการเรียนรู้ให้ เกิดขึ้นได้ทุกเวลา ทุกสถานที่ โดยประสานความร่วมมือกับพ่อแม่ ผู้ปกครองและบุคคลใน ชุมชนทุกฝ่ายเพื่อร่วมกันพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ ซ่ึงนำไปสู่การกำหนดทักษะสำคัญ สำหรับเด็กในศตวรรษที่ 21 ที่มีความสำคัญต่อการกำหนดเป้าหมายในการพัฒนาเด็กปฐมวัย ให้มีความสอดคล้องและทันต่อการเปล่ียนแปลงทุกด้าน และเพื่อเพื่อให้การจัดการศึกษา ปฐมวัยที่ต้องพัฒนาเด็กต้ังแต่แรกเกิด-6 ปี ให้มีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม และสติปัญญาที่เหมาะสมกับวัย ความสามารถและความแตกต่างระหว่างบุคคลเป็นการเตรียม ความพร้อมท่ีจะเรียนร้แู ละสร้างรากฐานชีวิต ให้พัฒนาเด็กปฐมวยั ไปสคู่ วามเป็นมนุษย์ทส่ี มบูรณ์ เป็นคนดีมีวินัย ภูมิใจในชาติ และมีความรับผิดชอบ ต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม

วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 231 และประเทศชาติตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 54 ใหเ้ ด็กเป็นคนดี มีสขุ ภาวะทีด่ ี มีคุณธรรมจริยธรรมมรี ะเบียบวินัย และมีจิตสำนึก ที่ดีต่อสังคมส่วนรวมการพัฒนาทักษะที่สอดคล้องกับการเตรียมค วามพร้อมของกำลังคน ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีท่ีจะเปลี่ยนแปลงโลกใน อนาคต ตลอดจนการยกระดับ คุณภาพการศึกษาสู่ความเปน็ เลศิ ในปัจจุบันประเทศไทยกำลังก้าวเข้าสู่ยุค Thailand 4.0 (2561 : 12) ซึ่งขับเคลื่อน ประเทศด้วยเทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์ และนวัตกรรมไปสู่ความ “ม่ังคั่ง ม่ันคง และย่ังยืน” เน้นภาคการผลิตไปสู่ภาคบริการมากขึ้น และประชากรมีรายได้สูงโดยเฉพาะอย่างย่ิงประเทศไทย จะต้องมีการสร้างนวัตกรรมเป็นของตนเอง ดังน้ัน การศึกษาจึงต้องเร่งดำเนินการปฏิรูปการเรียนรู้ ให้กับผู้เรียนเพ่ือก้าวเข้าสู่ “การศึกษา 4.0” อย่างเป็นรูปธรรมด้วยเช่นกันซึ่งการศึกษาในยุค Thailand 4.0 มีเป้าหมายหลักเพ่ือผลผลิตท่ีมีคุณภาพโดยให้ผู้เรียนได้คิดวิเคราะห์และใช้ สถานการณ์ปัญหาเป็นฐานในการเรียนรู้ (Problem Base Learning) และใช้การเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) เน่ืองจากการจัดการเรียนรู้ลักษณะเหล่านี้เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางในการเรียนรู้ โดยผู้เรียนได้หาความรู้มาใช้ในการแก้ไขปัญหาที่ได้รับมอบหมายอย่างมีกระบวนการและมี ข้ันตอน ซึ่งจะทำใหไ้ ด้มาซึ่งความรู้ทีท่ นั ตอ่ เหตุการณแ์ ละเป็นความรู้ทผ่ี ้เู รยี นสามารถนำไปใช้ ในชีวติ ประจำวันได้จริงและพัฒนาไปสู่ความเปน็ มนุษยท์ ี่สมบรู ณ์ นอกจากน้สี ถานศึกษาควร มีการส่งเสริมการเรียนการสอนและนำ “STEM Education (Science, Technology, Engineering, Mathematics)” มาใช้ในการจัดการเรียนร้ใู ห้แก่ผู้เรียนโดยเฉพาะวิชาวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ เพราะเป็นศาสตรท์ ่ีศึกษาเกีย่ วกับโลกและวตั ถุตา่ งๆ ซึ่งมีความสำคัญยิง่ ซึ่ง จะช่วยให้ผู้เรียนมีความเข้าใจและรู้เท่าทันโลกหรือสถานการณ์ต่างๆ ท่ีเกิดข้ึน และสามารถนำ ความรใู้ นศาสตร์เหล่านี้ (STEM) ไปบูรณาการและพัฒนานวตั กรรม (Innovation) อันเป็นฐาน ในการพัฒนาประเทศตอ่ ไปในอนาคตได้ ด้วยเหตุผลดังกล่าว ผู้วิจัยมีความสนใจท่ีจะทำการวิจัยศึกษาการพัฒนาการมีส่วน ร่วมของผู้ปกครองในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยในยุคประเทศไทย 4.0 ศูนย์พัฒนา เด็กเล็กสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลเขาพังไกร จังหวัดนครศรีธรรมราช ให้เด็กปฐมวัยมี พัฒนาการท่ีเหมาะสมกับวัย โดยผู้ปกครองมีส่วนร่วมประสิทธิภาพ ในยุคประเทศไทย 4.0 เพ่ือมุ่งพัฒนานักเรียนไปสู่อนาคตและการมีชีวิตอย่างมีคุณค่าและเป็นกำลังสำคัญในการ พัฒนาประเทศชาติต่อไป

232 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) วัตถปุ ระสงค์การวจิ ัย 1. เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันในการพัฒนาการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการ ส่งเสริมพัฒนาการ เด็กปฐมวัยในยุคประเทศไทย 4.0 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์การ บรหิ ารสว่ นตำบลเขาพังไกร จงั หวัดนครศรธี รรมราช 2. เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการส่งเสริม พัฒนาการเด็กปฐมวัยในยุคประเทศไทย 4.0 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์การบริหารส่วน ตำบลเขาพงั ไกร จังหวัดนครศรธี รรมราช 3. เพื่อนำเสนอแนวทางจากผลการศึกษาไปใช้ในการพัฒนา และส่งเสริมการมีสว่ น ร่วมของผู้ปกครองในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยในยุคประเทศไทย 4.0 ศูนย์พัฒนา เดก็ เล็กสังกัดองค์การบริหารสว่ นตำบลเขาพังไกร จังหวัดนครศรธี รรมราช วิธดี ำเนนิ การวจิ ัย การวิจัยนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ผู้วิจัยได้ดำเนินการ วจิ ยั เปน็ 3 ขนั้ ตอน ดงั นี้ 1. ขั้นตอนการศกึ ษาสภาพ ข้ันตอนการศึกษาสภาพการพัฒนาการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการส่งเสริม พัฒนาการ เด็กปฐมวัยในยุคประเทศไทย 4.0 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์การบริหารส่วน ตำบลเขาพังไกร จังหวัดนครศรีธรรมราช ได้กำหนดดังนี้ การศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ี เกี่ยวข้อง การสัมภาษณ์เชิงลึก การร่างรูปแบบ ผู้วิจัยคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposeful Selection) เป็นการเลือกแบบไม่มีโครงสร้างท่ีเคร่งครัด มีขั้นตอนและวิธีการ ด ำเนิ น การที่ ไม่ ซั บ ซ้ อ น เพื่ อท่ี จ ะได้ ตั วอ ย่ างที่ เห ม าะท่ี สุ ด เท่ าท่ี จ ะเป็ นได้ สำหรับแนวคิ ด จุดมุ่งหมาย และวัตถุประสงค์ของการศึกษากลุ่มตัวอย่างท่ีเลือกมีลักษณะเป็น “Information- rich case” คอื มขี ้อมูลให้ศึกษาในระดับลกึ ได้มากและสามารถสะทอ้ นความเป็นจริงได้ดีท่ีสุด ซึ่งจะมีความหมายต่อจุดมุ่งหมายหลักของการศึกษา เพ่ือให้ได้ผู้ให้ข้อมูลสำคัญท่ีเหมาะสม กับจุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ของการศึกษามากที่สุด โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth interview) จากผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง จำนวน 12 คน โดยมีเกณฑ์การคัดเลือกดังนี้ ผู้มีส่วน

วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 233 เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย ครูผู้ดูและเด็ก จำนวน 4 คน ผู้ปกครอง จำนวน 3 คน กรรมการ ศูนยพ์ ัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 2 คน สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล จำนวน 2 คน และ นกั วิชาการหรือผูไ้ ด้รบั มอบหมาย จำนวน 1 คน ผู้วิจัยได้ใช้เครื่องมือในการวิจัย ได้แก่ แบบการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth interview) ซึ่งมีลำดับขนั้ ในการสรา้ งเครือ่ งมือ ดังน้ี 1) ศกึ ษาเอกสารและงานวิจัยทีเ่ ก่ียวข้อง เกี่ยวกับการพัฒนาการ มีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยในยุค ประเทศไทย 4.0 2) กำหนดประเด็น การร่างแบบ การพัฒนาการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองใน การส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยในยุคประเทศไทย 4.0 โดยใช้หลักการในการส่งเสริม พัฒนาการเดก็ โดยมีการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองเป็นแนวทางการร่างแบบ 3) นำรา่ งแบบ การ พัฒนาการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยในยุคประเทศไทย 4.0 ท่ีได้ไปปรึกษาอาจารย์ ท่ีปรึกษาและปรับปรุงตามข้อเสนอแนะ 4) ปรับร่างแบบการ พัฒนาการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการสง่ เสริมพฒั นาการเด็กปฐมวยั ในยุคประเทศไทย 4.0 เป็น ประเดน็ คำถาม ในการสัมภาษณ์เชงิ ลกึ 2. ขัน้ ตอนการศกึ ษาการพัฒนา ขน้ั ตอนการศึกษาการพัฒนาการมีส่วนรว่ มของผู้ปกครองในการสง่ เสริมพัฒนาการ เด็กปฐมวัยในยุคประเทศไทย 4.0 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลเขาพัง ไกร จังหวัดนครศรีธรรมราช ได้กำหนด การร่างแบบการสัมภาษณ์เชิงลึก การสัมภาษณ์เชิง ลกึ ผ้เู ชย่ี วชาญ ผูใ้ ห้ขอ้ มลู สำคญั ในข้นั ตอนนไี้ ด้แก่ ผเู้ ชี่ยวชาญในการพัฒนาการมสี ว่ นร่วมของ ผู้ปกครองในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยในยุค ประเทศไทย 4.0 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลเขาพังไกร จังหวัดนครศรีธรรมราช คือ จากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 3 คน ซ่งึ ได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง โดยผ้ใู ห้ขอ้ มูลสำคัญมดี ังนี้ ครูปฐมวัยระดับ เชี่ยวชาญพิเศษ จำนวน 2 คน และนักวิชาการศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน จำนวน 1 คน ผู้วิจัยได้ใช้เคร่ืองมือในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามเก่ียวกับการพัฒนาการมีส่วน ร่วมของผู้ปกครองในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยในยุคประเทศไทย 4.0 ศูนย์พัฒนา เด็กเล็กสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลเขาพังไกร จังหวัดนครศรีธรรมราช ซึ่งมีลำดับข้ันใน การสร้างเคร่ืองมือ ดังน้ี 1) ร่างแบบการพัฒนาการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการส่งเสริม พัฒนาการเด็กปฐมวัยในยุคประเทศไทย 4.0 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์การบริหารส่วน

234 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) ตำบลเขาพังไกร จังหวัดนครศรีธรรมราช และจากการค้นคว้าเอกสารเพ่ิมเติม2) นำร่างแบบ ที่ไดไ้ ปสัมภาษณ์ผเู้ ชี่ยวชาญ และปรบั ปรงุ ตามข้อเสนอแนะ 3. ขั้นตอนการนำเสนอ ข้ั น ต อ น ก าร น ำเส น อ ก าร พั ฒ น าก ารมี ส่ ว น ร่ ว ม ข อ งผู้ ป ก ค ร อ งใน ก าร ส่ งเส ริ ม พัฒนาการเด็กปฐมวัย ในยุคประเทศไทย 4.0 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์การบริหารส่วน ตำบลเขาพังไกร จังหวัดนครศรีธรรมราช ได้กำหนดดังน้ี นำเสนอแบบการสนทนากลุ่ม ข้อเสนอแนะจากการสนทนากลุ่ม แบบสนทนากลุ่ม ผู้ให้ข้อมูลสำคัญในข้ันตอนนี้ได้แก่ ผู้ร่วม ประชุมกลุ่มสนทนา ผู้ให้ข้อมลู สำคัญ ในการเสนอการพัฒนาการมีสว่ นรว่ มของผู้ปกครอง ในการ ส่งเสริมพัฒนาการเดก็ ปฐมวยั ในยุคประเทศไทย 4.0 ศูนยพ์ ฒั นาเด็กเลก็ สงั กดั องค์การบรหิ ารส่วน ตำบล เขาพังไกร จังหวัดนครศรีธรรมราช คือ จากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 7 คน ซึ่งได้มาจาก การเลือกแบบเจาะจง โดยผู้ให้ข้อมูลสำคัญมี ดังน้ี หัวหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 2 คน ผู้บริหารท้องถิ่น จำนวน 1 คน ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล จำนวน 1 คน ผู้อำนวยการ สถานศึกษา จำนวน 1 คน ครูปฐมวัย ชำนาญการพเิ ศษ จำนวน 1 คน ตัวแทนผปู้ กครอง จำนวน 1 คน เคร่ืองมือที่ใช้ในขั้นตอนการศึกษาการบริหารจัดการ คือ แบบประเมินและแบบ การสนทนากลุ่ม (Focus Group) ซึ่งมีลำดับข้ันในการสร้างเคร่ืองมือ ดังนี้ 1) นำร่างแบบ การบริหารการพฒั นาการมสี ว่ นร่วมของผู้ปกครองในการส่งเสริมพฒั นาการเด็กปฐมวยั ในยุค ประเทศไทย 4.0 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลเขาพังไกร จังหวัด นครศรีธรรมราช ที่ได้จากการร่างรูปแบบมาจัดทำเป็นแบบประเมินความเป็นไปได้ความ เหมาะสมและเป็นประโยชน์ 2) นำแบบประเมิน ความเป็นไปได้ ความเหมาะสม และความเป็นประโยชน์ท่ีได้ปรึกษาอาจารย์ที่ปรึกษาเพ่ือตรวจสอบความถูกต้องเรียบร้อย ความครอบคลุม ขององค์ความรู้ท้ังการพัฒนาการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการส่งเสริม พัฒนาการเด็กปฐมวัย ในยุคประเทศไทย 4.0 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์การบริหารส่วน ตำบลเขาพังไกร จังหวัดนครศรีธรรมราช 3) ปรับปรุงตามข้อเสนอแนะ และให้อาจารย์ท่ี ปรึกษา ตรวจสอบความสอดคล้องของข้อคำถามกับนิยามศัพท์อีกคร้ัง 4) นำข้อคำถาม ปรับปรุงตามข้อเสนอแนะนำของอาจารย์ท่ีปรึกษา จึงทำเป็นฉบับจริงเพื่อเก็บข้อมูลเชิง คุณภาพ ในขั้นตอนการสนทนากลุ่ม (Focus Group) 5) แบบสนทนากลุ่ม-ใช้ร่างแบบการ พัฒนาการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ในยุคประเทศไทย

วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 235 4.0 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลเขาพังไกร จังหวัดนครศรีธรรมราช และร่างแบบการพัฒนาการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ในยุค ประเทศไทย 4.0 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลเขาพังไกร จังหวัด นครศรีธรรมราช ท่ีได้มาเป็นแนวทางสำหรับการให้ความเห็นและขอ้ เสนอแนะของอาจารย์ท่ี ปรึกษา ผลการวจิ ยั การเสนอผลการวิจัยในครั้งนี้ ผู้วิจัยจะนำเสนอผลการวิจัยโดยมีวัตถุประสงค์ของ การวิจัย 3 ข้อโดยการศึกษาค้นคว้าจากเอกสาร (Documentary investigation) การสัมภาษณ์ เชิงลึก (In-depth Interview) และการประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group) ผลการวิจัยสรุปได้ ดังน้ี 1. สภาพการการพัฒนาการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการส่งเสริมพัฒนาการ เด็กปฐมวัยในยุคประเทศไทย 4.0 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลเขาพัง ไกร จังหวัดนครศรีธรรมราช จากการศึกษาพบว่า (1) การส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย การสนับสนุน ให้เด็กได้มีโอกาสพัฒนาการ ใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ กล้ามเนื้อมัดเล็ก การ ประสานสัมพันธ์ระหว่างกล้ามเน้ือและระบบประสาทในทำกิจวตั รประจำวันหรือทำกจิ กรรม ต่างๆ และการส่งเสริมพัฒนาการสำหรับเด็กปฐมวัยโดยเด็กท่ีได้รับการสัมพันธ์โอบกอดจาก พ่อแม่ ผู้ปกครองจะเป็นการกระตุ้นพัฒนาการของเด็กและสนองตอบความตื่นตัวของระบบ ประสาทของเด็ก นอกจากนี้ พ่อแม่ ผู้ปกครองควรจัดเวลา สถานที่ เพ่ือให้เด็ก ได้เคล่ือนไหว ออกกำลังกายและเล่นได้อย่างปลอดภัย ซ่ึงเด็กจะเรียนรู้ได้จากการเล่นและการดูแลเร่ือง โภชนาการสำหรับเด็กอย่างเหมาะสม (2) การส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจโดย ผู้ปกครองดูแลเอาใจใสใ่ กล้ชิด ด้วยความรกั และความเข้าใจ ทำให้เด็กมจี ิตใจดี การให้โอกาส เด็กได้เรียนรู้ และฝึกทำสิ่งตา่ งๆ ในสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยและผปู้ กครอง มีเวลาพูดคุยรับ ฟังเด็ก เอาใจใส่เด็กกอย่างสม่ำเสมอ การฝึกให้เด็กเป็นคนมีน้ำใจมีคุณธรรม จริยธรรมเพื่อจะทำ ให้เด็กเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพในอนาคต (3) การส่งเสริมพัฒนาการด้านสังคมโดยผู้ปกครอง เป็นแบบอย่างที่ดีให้กับเด็ก และเด็กจะซึมซับค่านิยม และวัฒนธรรมท่ีดีจากผู้ปกครอง โดย การปลูกฝังมารยาททางสังคม กฎระเบียบของสังคม ให้เด็กรู้จักกาลเทศะ รู้ผิดรู้ชอบและ

236 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) คุ้นเคยกับส่ิงที่ดีงาม (4) การส่งเสรมิ พัฒนาการด้านสติปญั ญา ผู้ปกครองสามารถจูงใจให้เด็ก มีความใฝร่ ู้ กล้าแสดงความคดิ เห็น มีการฝึกให้เด็กเป็นคนร้จู ักคิดวิเคราะห์ โดยให้ความสนใจ ในสิง่ ท่ีเด็กกำลงั ทำ การฝึกให้เดก็ สังเกตส่ิงต่างๆ รอบตัวให้เด็กได้มีโอกาสเรียนร้จู ากการลอง ผิดลองถูกให้มีความคิดท่ีแปลกใหม่ พยายามให้เด็กได้คิดแก้ปัญหาด้วยตนเองครอบครัว จะ เป็นตัวกระตนุ้ ใหเ้ กดิ การสรา้ งสรรค์ สามารถประสบความสำเร็จในอนาคตได้ 2. พัฒนาการของเด็กปฐมวัยโดยการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในปัจจุบัน จากการ สัมภาษณ์เชิงลึกผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับเด็กปฐมวัย จากการศึกษาพบว่า (1) ด้านร่างกาย เด็กมี ร่างกายท่ีแข็งแรงสมบูรณ์ดี มีพัฒนาการด้านร่างกายเหมาะสมกับวัย และสามารถใช้ ชีวิตประจำวันได้เป็นอย่างดี (2) ด้านอารมณ์และจิตใจ ส่วนใหญ่เด็กมีนิสัยร่าเริง แจ่มใส สามารถเล่นกับเพื่อนได้มีการแบ่งปันของเล่นให้กับเพ่ือนๆ ได้ และสามารถปรับตัวให้เข้ากับ คนอ่ืนได้ (3) ด้านสังคม เด็กมีพัฒนาการด้านสังคมท่ีหลากหลาย สามารถอยู่ร่วมกับเพื่อน ผู้อื่นได้ มีลักษณะการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี (4) สติปัญญา มีการพัฒนาที่เป็นไปตามวัย สามารถใช้กล้ามเน้ือมัดเล็กและมัดใหญ่ได้ดี วาดภาพอย่างง่าย ลากเส้น ระบายสี ปั้นดิน น้ำมันและสามารใช้ความคดิ สร้างสรรค์ได้ดี 3. แนวทางและข้อเสนอแนะในการพัฒนาการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการ สง่ เสรมิ พัฒนาการเด็กปฐมวัยในยุคประเทศไทย 4.0 จากการศกึ ษาพบว่า (1) พัฒนาการด้าน ร่างกาย จัดรายการอาหารท่ีมี ความหลากหลายให้กับเด็กอย่างเพียงพอ การส่งเสริมและ สนับสนุนให้มีกิจกรรมกลางแจ้งที่เหมาะสมและการจัดการแข่งขันกีฬาเกี่ยวกับการส่งเสริม พัฒนาการด้านร่างกายโดยให้มีพ่อแม่ ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆด้วย (2) พัฒนาการด้านอารมณ์ และจิตใจ การให้คำปรึกษา และทำความเข้าใจกับผู้ปกครองในการ เล้ียงดูเด็กปฐมวัย การแสดงความรักกับเด็กอย่างถูกต้องและเหมาะสมผู้ปกครองไม่ตามใจ เดก็ จนเกนิ กว่าเหตุ สอนให้รู้จักผดิ ถูก ชวั่ ดี และพจิ ารณาการเสนอโครงการกิจกรรมต่าง ๆ ที่ เกี่ยวข้องกับการพัฒนาด้านอารมณ์ และจิตใจ เช่น การเข้าวัดในวันพระ และวันสำคัญทาง พระพุทธศาสนา เพ่ือให้เด็กในวัยนี้ได้ใกล้ชิดกับพระศาสนา โดยเชิญชวนผู้ปกครองเข้าร่วม กิจกรรม ตลอดจนการปลกู ฝัง ให้เด็กรจู้ ักการรอคอย การมีนำ้ ใจเอื้อเฟ้ือเผ่ือแผ่กัน และมีจิต อาสา (3) พัฒนาการด้านสังคม การปลูกฝังให้เดก็ มีนิสัยจิตอาสาและรู้จักเสียสละ แบ่งปัน การ เปิดโอกาสให้เด็กร่วมแสดงความคิดเห็น ให้มีการประชุมผู้ปกครองประจำภาคเรียน และให้ ความสำคัญในการแสดงความคิดเห็น และข้อเสนอแนะจากผู้ปกครอง (4) พัฒนาการด้าน

วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 237 สติปัญญา ส่งเสริมให้ผู้ปกครองร่วมแสดงความคิดเห็นในการจัดซื้อส่ือการเรียน การสอน เพ่ือเสริมพัฒนาการเด็ก ด้านสติปัญญาจัดสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมกับการเรียนรู้และให้ เด็กเรียนรู้จากประสบการณ์จริงให้ซักถามและสามารถแก้ไขปัญหาได้ ตลอดจนการจัด ประสบการณ์การเรียนรูอ้ ยา่ งมเี ป้าหมาย จากสาระการเรียนรู้ ของหลกั สูตรปฐมวัย อภิปรายผล จากการศึกษาวิจัย เร่ืองการพัฒนาการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ในการส่งเสริม พัฒนาการ เด็กปฐมวัยในยุคประเทศไทย 4.0 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์การบริหารส่วน ตำบลเขาพงั ไกร จังหวดั นครศรีธรรมราช มผี ลการวิเคราะหข์ อ้ มูลทค่ี วรนำมาอภปิ ราย ดังน้ี 1. การศึกษาสภาพการพัฒนา พบว่า เด็กปฐมวยั จะเรยี นรู้ผ่านการเคลื่อนไหว การทำ กิจกรรมต่างๆ ได้ทำการเคล่ือนไหวกิจกรรมเข้าจังหวะ เพ่ือทำให้รา่ งกายของเดก็ พร้อมที่จะเรียนรู้ ทำกิจกรรมในห้องเรียนได้อย่างคล่องแคล่ว ดังน้ันการเตรียมความพร้อมและพัฒนาร่างกาย ของเด็กให้เจริญเติบโตแข็งแรงจึงเป็นส่ิงสำคัญในชีวิตประจำวันสำหรับเด็ก โดยผู้ปกครองและ คุณครูอาจมีส่วนร่วมกับเด็กๆ ทำกิจกรรมทั้งในร่มและกลางแจ้ง ไม่ว่าจะเป็นการออกกำลัง กายที่บ้านหรือท่ีสถานศึกษาการสนับสนุนให้มีเครื่องเล่นสนามให้เหมาะสมกับวัย เพ่ือ ส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย และกล้ามเนื้อมัดเล็กและกล้ามเนื้อมัดใหญ่ให้มีความแข็งแรง เน่ืองจากเด็กวัยน้ีชอบเคลื่อนไหว ไม่ชอบอยู่น่ิงเฉยกล้ามเนื้อของเด็กวัยน้ีเจริญอย่างรวดเร็ว ผปู้ กครอง และครูดูแลเรื่องโภชนาการใหค้ รบตามความต้องการของเดก็ ในวัยน้ี เน่ืองจากการ ไดร้ ับสารอาหารท่ีครบถ้วนและเพียงพอตอ่ ความต้องการจะช่วยให้รา่ งกายเด็กเจริญเตบิ โตได้ เต็มศักยภาพ พ่อแม่ ผู้ปกครอง และครูจึงควรให้ความสำคัญกับการเลือกโภชนาการ ที่ เหมาะสมให้กับเด็ก และต้องมีคุณค่าครบ 5 หมู่และต้องมีความหลากหลายด้วย สอดคล้อง กับพระราชบัญญัติการพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ.2562 (สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา 2562 : 14) หมวด 4 การพัฒนาเด็กปฐมวัย มาตราที่ 25 สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยท่ีมีหน้าที่จัดการศึกษา ให้แก่เด็กปฐมวัย ต้องจัดให้มีการอบรมเลี้ยงดู เพ่ิมพูนประสบการณ์ ส่งเสริมพัฒนาการเรียนรู้ และจัดการศึกษาแก่เด็กปฐมวัยอย่างท่ัวถึง รวมทั้งจัดให้มีการส่งเสริมพัฒนาการของเด็กปฐมวัย ท่ีเหมาะสมในช่วงรอยต่อต้ังแต่ก่อนระดับอนุบาลจนถึงระดับประถมศึกษาอย่างต่อเนื่องผล การศึกษาของรัตนา ศรีสุข (2556 : 11) ได้กล่าวถึง ความสำคัญของผู้ปกครองว่า ผู้ปกครอง เปรียบเสมือนครูคนแรกของเด็ก มีความสำคัญต่อการจัดการศึกษาให้กับเด็ก เพราะเป็นบุคคลท่ี

238 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) ใกล้ชิดสนิทสนมกับเด็กมากท่ีสุดตั้งแต่แรกเกิด มีบทบาทสำคัญในการสร้างการเรียนรู้ด้านต่างๆ ให้ตั้งแต่ยังเล็กและให้ความรักความอบอุ่นรวมท้ังการส่งเสริมพัฒนาการด้านต่าง ๆ ให้กับเด็ก อย่างดียิ่ง การพัฒนาเด็กชว่ งอายุ 3-5 ปี จะต้องยึดหลักการอบรมเลี้ยงดูควบคู่กับการให้การศึกษา ท่ีคำนึงถึงความสนใจและความต้องการของเด็ก ทั้ง 4 ด้าน คือ (1) พัฒนาการด้านร่างกาย (2) พัฒนาการด้านอารมณ์ (3) พัฒนาการด้านสังคม (4) พัฒนาการด้านสติปัญญา และสอดคล้องกับ ผลการศึกษาของ อารมณ์ สุวรรณปาล (2549 : 7) ได้ศึกษาเร่ือง “การจัดประสบการณ์สำหรับ เด็กปฐมวัย”พบว่าเด็กปฐมวัยควรดูแลในด้านต่างๆ ดังน้ี (1) ด้านสุขอนามัย ได้แก่ กิจกรรม ส่งเสริมด้านโภชนาการ (2) ด้านสุขนิสัย ได้แก่ กิจกรรมฝึกเด็กและดูแลให้เด็กปฏิบัติจนเป็นกิจ นสิ ัย ด้านการขับถา่ ยการดูแลความสะอาดรา่ งกาย การพักผ่อนและการออกกำลังกาย(3)ด้านประสาทการ รับรู้-การเคลื่อนไหว ได้แก่ กิจกรรมเล่นเกมประสาทสัมผัสต่างๆ เช่น เกมปิดตา เกมกล่อง ปริศนา เกมแตะส่วนต่างๆ ของรา่ งกายเกมโฮกกี้ โพกกี้ เปน็ ต้น (4) ด้านกล้ามเน้ือใหญ่ได้แก่ การเล่นกลางแจ้ง การเล่นในร่ม การออกกำลังกายการเคลื่อนไหวรา่ งกาย (5) ด้านกล้ามเนื้อ เล็ก ได้แก่ กิจกรรมพัฒนากล้ามเน้ือเล็ก เช่น ป้ัน ร้อย ตัดกระดาษ วาดภาพระบายสี ลากเส้นตอ่ จดุ ฝึกโยงถุงถวั่ ลงตะกรา้ โยนรบั ลูกบอล เป็นตน้ 2. พัฒนาการของเด็กปฐมวัยโดยการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในปัจจุบัน ผลการวิจัยพบว่า (1) พัฒนาการด้านร่างกาย เด็กมีร่างกายท่ีแข็งแรงสมบูรณ์ดี มีพัฒนาการ ด้านร่างกายเหมาะสมกับวัยและสามารถใช้ชีวิตประจำวันได้เป็นอย่างดี (2) พัฒนาการด้าน อารมณ์ และจิตใจ ส่วนใหญ่เด็กมีนิสัยร่าเริง แจ่มใส สามารถเล่นกับเพ่ือนได้ มีการแบ่งปัน ของเล่นให้กับเพื่อนๆ ได้ และสามารถปรับตัวให้เข้ากับคนอื่นได้ (3) พัฒนาการด้านสังคม เด็กมีพัฒนาการด้านสังคมที่หลากหลาย สามารถอยู่ร่วมกับเพ่ือนผู้อ่ืนได้ มีลักษณะการเป็น ผู้นำและผู้ตามท่ีดี (4) พัฒนาการด้านสติปัญญามีการพัฒนาท่ีเป็นไปตามวัย สามารถใช้ กล้ามเน้ือมัดเล็กและมัดใหญ่ได้ดี วาดภาพอย่างง่าย ลากเส้น ระบายสี ปั้นดินน้ำมัน และสา มารใช้ความคิดสร้างสรรค์ได้ดี สอดคล้องกับผลการศึกษาของ องอาจ นิลสุวรรณ (2551 : 67) ได้ศึกษาวิจัยเร่ือง “การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ในเขต องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านกาด อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่” ด้านร่างกาย พบว่า ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย โดยรวมอยู่ในระดับมาก ซ่ึงส่วนใหญ่ ผู้ปกครองได้มีส่วนร่วมในการส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย โดยการฝึกให้เด็กช่วยเหลือ ตนเองในการแต่งกาย การรบั ประทานอาหาร การด่ืมนม ด้านจิใจ อารมณ์ และสังคม พบว่า

วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 239 ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ซ่ึงโดยรวมอยู่ในระดับมาก ส่วน ใหญผ่ ู้ปกครองส่งเสริมพัฒนาการด้านจิใจ อารมณ์ และสังคม โดยการให้ขวญั และกำลังใจกับเด็ก ด้วยการยิ้มแย้ม แสดงความสนใจ หรือการชมเชยเม่ือเด็กแสดงออกในส่ิงที่ดี ให้เด็กได้มโี อกาส พบปะกับบุคล และให้แก่เด็กอย่างสม่ำเสมอ เรื่องของความสะอาดการรับประทานอาหาร การเก็บของเข้าท่ีเม่ือใช้เสร็จแล้ว ด้านสติปัญญา พบว่า ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการส่งเสริมให้ เดก็ ไดม้ ีการฝึกการใช้อวยั วะรับการสัมผัสตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ ตาดู หูฟงั จมกู ดมกลน่ิ ลนิ้ ชิมรส และ สัมผัส ด้วยมือ ให้เด็กได้เล่นของเล่นที่เหมาะสมกับวัย และชี้แนะให้กับเด็กรจู้ ักคุณลักษณะ หรือ คุณสมบัติของสิ่งต่าง ๆ รอบตัว เช่น เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก ธรรมชาติรอบตัว วัตถุสิ่งของ เคร่ืองใช้ หรือของเล่นท่ีอยูร่ อบตัว 3. แนวทางและข้อเสนอแนะในการพัฒนาการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยในยุคประเทศไทย 4.0 มีดังน้ี (1) พัฒนาด้านร่างกาย จัด รายการอาหารท่ีมีความหลากหลายให้กับเด็กอย่างเพียงพอ การส่งเสริมและสนับสนุนให้มี กจิ กรรมกลางแจ้งที่เหมาะสมและการจัดการแข่งขันกีฬาเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการด้าน ร่างกายโดยใหม้ ีพ่อแม่ ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในกจิ กรรมต่างๆ ด้วย (2) พัฒนาการด้านอารมณ์ และจิตใจ การให้คำปรึกษา และทำความเข้าใจกับผู้ปกครองในการเลี้ยงดูเด็กปฐมวัย การ แสดงความรักกบั เด็กอย่างถูกต้องและเหมาะสมผู้ปกครองไมต่ ามใจ เด็กจนเกนิ กว่าเหตุ สอน ให้รู้จักผิดถูก ช่ัวดี และพิจารณาการเสนอโครงการกิจกรรมต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องกับการพัฒนา ด้านอารมณ์ และจิตใจ เช่น การเข้าวัดในวันพระ และวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา เพื่อให้ เด็กในวัยน้ีได้ใกล้ชิดกับพระศาสนา โดยเชิญชวนผู้ปกครองเข้าร่วมกิจกรรม ตลอดจนการ ปลูกฝัง ให้เด็กรู้จักการรอคอย การมีน้ำใจเอื้อเฟ้ือเผ่ือแผ่กัน และมีจิตอาสา (3) พัฒนาการ ดา้ นสังคม การปลูกฝังให้เด็กมีนิสัยจิตอาสา และรู้จักเสียสละ แบ่งปัน เปิดโอกาสให้เด็กร่วม แสดงความคิดเห็น ให้มีการประชุมผู้ปกครองประจำภาคเรียน และให้ความสำคัญในการ แสดงความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากผู้ปกครอง (4) พัฒนาการด้านสติปัญญา ส่งเสริม ให้ผู้ปกครองร่วมแสดงความคิดเห็นในการจัดซ้ือส่ือการเรียนการสอน เพื่อเสริมพัฒนาการ เด็กด้านสติปัญญาจัดสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมกับการเรียนรู้ และให้เด็กเรียนรู้จาก ประสบการณ์จริงให้ซักถามและสามารถแก้ไขปัญหาได้ ตลอดจนการจัดประสบการณ์การ เรียนรู้อย่างมีเป้าหมาย จากสาระการเรียนรู้ ของหลักสูตรปฐมวัย สอดคล้องกับหลักสูตร การศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 (กระทรวงศึกษาธิการ 2560 : 4) เด็กทุกคนมีสิทธิที่จะ

240 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) ได้รับการอบรมเลี้ยงดู และการส่งเสริมพัฒนาการตามอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก ตลอดจน ไดร้ ับการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้อย่างเหมาะสม ด้วยปฏิสมั พันธท์ ่ีดรี ะหว่างเด็กกับพ่อแม่ เด็กกับผู้สอน เด็กกับผู้เลี้ยงดู หรือผู้ท่ีเกี่ยวข้องกับการอบรมเลี้ยงดูการพัฒนา และให้ การศึกษาแก่เด็กปฐมวัย เพื่อให้เด็ก มีโอกาสพัฒนาตนเองตามลำดับขั้นของพัฒนาการทุก ด้าน อย่างเป็นองค์รวม มีคุณภาพและเต็มตามศักยภาพโดยกำหนดหลักการ ดังนี้ (1) ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และพัฒนาการท่ีครอบคลุมเด็กปฐมวัยทุกคน (2) ยึดหลักการ อบรมเลี้ยงดูและให้การศึกษาที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ โดยคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล และวิถีชีวิตของเด็กตามบริบทของชุมชน สังคม และวัฒนธรรมไทย (3) ยึดพัฒนาการและ การพัฒนาเด็กโดยองค์รวม ผ่านการเล่นอย่างมีความหมาย และมีกิจกรรมท่ีหลากหลาย ได้ ลงมอื กระทำในสภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ เหมาะสมกับวัยและมกี ารพักผ่อนเพียงพอ (4) จัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้เด็กมีทักษะชีวิต และสามารถปฏิบัติตนตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นคนดี มีวินัย และมีความสุข (5) สร้างความรู้ ความเข้าใจและ ประสานความร่วมมือในการพัฒนาเด็กระหว่างสถานศึกษากับพ่อแม่ ครอบครัว ชุมชน และทุกฝ่ายทีเ่ กี่ยวขอ้ งกบั การพัฒนาเด็กปฐมวัย องค์ความรู้ท่ไี ด้จากการศกึ ษา การพัฒนาการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยในยุค ประเทศไทย 4.0 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลเขาพังไกร จังหวัด นครศรีธรรมราชเพ่ือมุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของของพ่อแม่ และผู้ปกครองในการส่งเสริม พฒั นาการเด็กปฐมวัยในยุคประเทศไทย 4.0 ใหม้ ีความพร้อมทั้ง 4 ด้าน ดังน้ี (1) ด้านร่างกาย (2) ดา้ นอารมณ์ และจิตใจ (3) ดา้ นสังคม และ (4) ด้านสติปัญญา เพื่อให้มีคุณลักษณะทพี่ ึงประสงค์ และส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยสามารถคิดวิเคราะห์ เป็นเด็กเก่ง เด็กดี และมีสุข โดยมีครู พ่อแม่ หรือผู้ปกครองคอยดูแลอย่างใกล้ชิดเพ่ือให้การพัฒนาเป็นไปอย่างเต็มศักยภาพโดยมีความ สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของหลักสูตรระดับปฐมวัย และตามยุทธศาสตร์ชาติด้านการจัด การศกึ ษา ท่ีมุ่งพฒั นาคนไทยในทุกมิตแิ ละทุกช่วงวัยให้เปน็ พลเมืองท่ดี ี มีคุณภาพและก้าวทันใน ยุคที่สังคมมีความเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ดังน้ัน พ่อแม่ ผู้ปกครอง และครูปฐมวัยตลอด หน่วยงานต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องจึงต้องมีบทบาทและมีส่วนร่วมในการส่งเสริมพัฒนาการของเด็ก

วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 241 ปฐมวัยเป็นอย่างยิ่ง และต้องให้ความสำคัญในการส่งเสริม และสนับสนุนการมีส่วนร่วมเพ่ือร่วมกัน สรา้ งรากฐานท่มี ่นั คงให้กับอนาคตของชาติในยุคประเทศไทย 4.0 ตอ่ ไป เอกสารอ้างอิง กระทรวงศกึ ษาธกิ าร.(2560). หลักสูตรการศึกษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช 2560. กรุงเทพฯ. รตั น์ตยา ศรีสุข.(2556). การมีสว่ นรว่ มของผู้ปกครองในการจัดกจิ กรรมสง่ เสรมิ พฒั นาการ เด็กปฐมวยั ของศนู ย์พฒั นาเด็กเล็กเทศบาลตำบลเขาพนม. บณั ฑิตวทิ ยาลัย : มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั ภเู ก็ต. สำนกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา คณะกรรมการอิสระเพือ่ การปฏิรูปการศึกษา. (2562). พระราชบัญญัตกิ ารศกึ ษาปฐมวัย พ.ศ.2562, เลม่ ท่ี 163 ตอนท่ี 56 ก. องอาจ นลิ สวุ รรณ. (2551). การมีส่วนร่วมของผปู้ กครองในการสง่ เสริมพฒั นาการเด็ก ปฐมวัย ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านกาด อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่. บัณฑติ วิทยาลยั : มหาวิทยาลัยราชภฎั สวนดุสติ . อารมณ์ สุวรรณปาล. (2549). การจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัยดา้ นการคิด. หนว่ ย ที่ 8, ประมวลสาระ ชุดวิชาการจัดประสบการณ์สำหรับเดก็ ปฐมวัย, หน่วยที่ 7- 11, นนทบรุ ี :มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

242 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020)

รปู แบบการเรียนรู้โครงงานบ้านนักวทิ ยาศาสตร์นอ้ ยในศนู ยพ์ ัฒนา เดก็ เลก็ สังกดั องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำบลบางขัน อำเภอบางขัน จังหวดั นครศรีธรรมราช A Model of Little Scientist’s Home Project learning at the Early Childhood Development Center, Bangkhan Subdistrict Adminisation Organization, Bangkhan District, Nakhon Si Thammarat Province 1สุภาณี ทพิ ย์เทพ, 2มะลิวัลย์ โยธารกั ษ์และ 3วนั ฉัตร ทิพย์มาศ, 1Supanee Tiptep, 2Maliwan Yotharak and 3Wanchat Thippamas มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย, วิทยาเขตนครศรธี รรมราช, ประเทศไทย Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Nakhon Si Thammarat, Thailand. [email protected] Received May 10, 2020; Revised July 12, 2020; Accepted August 25, 2020 บทคดั ยอ่ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียนรู้โครงงานบ้าน นักวิทยาศาสตร์น้อยโรงเรียนต้นแบบ 2) เพ่ือศึกษารูปแบบการจัดการเรียนรู้โครงงานบ้าน นักวิทยาศาสตร์น้อย 3) เพื่อเสนอรูปแบบการจัดการเรียนรู้โครงงานบ้านนักวิทยาศาสตร์ น้อยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลบางขัน อำเภอบางขัน จังหวัด นครศรีธรรมราช ระเบียบวิธีวิจัยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีผู้ให้ข้อมูลสำคัญโดยการ สัมภาษณ์จากผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง จำนวน 10 คน ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 4 คน และผู้ทรงคุณวุฒิ

244 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) ในการสนทนากลุ่ม จำนวน 7 คน เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แบบสัมภาษณ์เชิงลึก แบบสัมภาษณ์ ผู้เชี่ยวชาญและแบบสนทนากลุ่ม ผลการวิจัยพบว่า 1) การศึกษาสภาพรูปแบบการเรียนรู้โครงงานบ้าน นักวิทยาศาสตร์น้อยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลบางขัน อำเภอ บางขัน จังหวัดนครศรีธรรมราช พบว่า จัดทำแผนประจำปีและแผนการจัดประสบการณ์ ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดยเน้นการจัดประสบการณ์แบบบูรณาการโครงงานบ้าน นักวิทยาศาสตร์น้อย ส่งผลให้นักเรียนมีพัฒนาการความสามารถและผลสัมฤทธิ์ตาม มาตรฐานด้านสติปัญญาได้ดีและมีการนิเทศ ติดตาม ประเมินการจัดประสบการณ์แบบมี ส่วนร่วม 2) รูปแบบการเรยี นรู้โครงงานบ้านนกั วทิ ยาศาสตรน์ ้อยในศนู ย์พัฒนาเด็กเลก็ สังกัด องค์การบรหิ ารส่วนตำบลบางขัน อำเภอบางขัน จงั หวัดนครศรีธรรมราช พบว่า รูปแบบการ เรียนรู้โครงงานบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยสำหรับเด็กปฐมวัย เน้นทักษะทางวิทยาศาสตร์ 7 ทักษะ โดยคัดเลือกกิจกรรม 20 กิจกรรมจากการสนใจของเด็กปฐมวัยแล้วทำโครงงานบ้าน นักวิทยาศาสตร์น้อยให้เสร็จสิ้นภายใน 1 ปีการศึกษา 3) การเสนอรูปแบบการเรียนรู้ โครงงานบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลบาง ขัน อำเภอบางขัน จังหวัดนครศรีธรรมราช พบว่า รูปแบบมีความเหมาะสมและเป็นไปได้ มี ประโยชน์ การประเมินคุณลักษณ์อันพึงประสงค์ของเด็กปฐมวัย โดยประเมินตามมาตรฐาน ด้านสติปัญญา คำสำคัญ : รูปแบบ, การจัดประสบการณ์, การเรียนรู้โครงงานบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย, ศนู ย์พัฒนาเด็กเลก็ Abstract The objectives of this research included; 1 ) to study the state of little scientists’ home project learning model; 2) to study a model of little scientists’ home project learning; 3) to present a model of little scientists’ home project learning in the early childhood development center, Bangkhan Subdistrict Administration Organization, Bangkhan district, Nakhon Si Thammarat province. The methodology of this research was Qualitative Research. The qualitative data were collected by in-depth interviews

วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 245 including: 10 related persons, 4 experts, focus group of 7 experts. The instruments used were: in-depth interview forms; interview formats for experts; and focus group discussion format. The results of the research found that: 1) The state of little scientists’ home project learning in the early childhood development center, Bangkhan Subdistrict Administration Organization, Bangkhan district, Nakhon Si Thammarat province in overall found that the formulation of annual plan and experience plan of early childhood development centers by focusing on integrated experience of the little scientists’ home project learning resulted in competence development and learning achievement according to intellectual standards. There were also supervision, follow-up and assessment of participatory experience; 2) The model of little scientists’ home project learning, in the early childhood development center, Bangkhan Subdistrict Administration Organization, Bangkhan district, Nakhon Si Thammarat province, found that learning styles for little scientists home project learning for Early Childhood focused on 7 scientific skills by selecting 20 activities from early childhood interests and completing the little scientist's home project learning within 1 academic year; 3) the proposed model of little scientists’ hpme project learning in the early childhood development center, Bangkhan Sub-district Administration organization, Bangkhan district, Nakhon Si Thammarat province was examined and approved by the experts that it is an appropriate, feasible and useful model. There should also be an assessment of the desired characteristics of preschool children by assessing according to intelligence standards. Keywords: Model, Experience Management, Little Scientists’ Home Project Learning, Early Childhood Development Center บทนำ ปัจจุบนั ประเทศไทยกา้ วเข้าสู่ประเทศไทย 4.0 ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีเป็นไปอย่างกว้างขวางและรวดเร็ว อีกท้ังยังเป็นเครือ่ งมือท่ีช่วยยกระดับมาตรฐาน ความเป็นอยู่ของประชาชนให้สูงขึ้น ความรู้วิทยาศาสตร์ยังช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการ พัฒนาเศรษฐกิจ สามารถแข่งขันและดำเนินชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมโลกได้อย่างมีความสุข การที่จะสร้างความเข้มแข็งทางด้านวิทยาศาสตร์นั้น องค์ประกอบที่สำคัญประการหนึ่งคือ

246 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) การจัดการศึกษาเพื่อเตรียมคนให้อยู่ในสังคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นท้ังผู้ผลิตและ ผู้บริโภคที่มี การพัฒนาประเทศในอนาคตต้องพึ่งพาบุคลากรท่ีมีความรู้ ความสามารถด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยต้องถือว่าการปลูกฝังความสนใจใฝ่รู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ เป็นเรือ่ งสำคญั ทส่ี ุด (การประเมินโครงการบา้ นนักวทิ ยาศาสตรน์ ้อยประเทศไทย รนุ่ 1-รุ่น 4, 2559) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ร่วมกับมูลนิธิสมเด็จพระกนิษฐาธิ- ราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และสถาบันส่งเสริมการสอน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ดำเนินโครงการ “บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย” ใน โรงเรียนนำร่องมาตั้งแต่ปีการศึกษา 2544 จนถึงปัจจุบันมีโรงเรียนในโครงการฯ จำนวน 9 รนุ่ รวม 10,065 โรงเรียน มีเปา้ หมายเพื่อพัฒนาการจัดประสบการณ์การเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ สำหรับเด็กปฐมวัย กำหนดแนวการจัดประสบการณ์โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ กล่าวคือ ใน การจดั ประสบการณส์ ำหรับเด็กปฐมวยั ผู้สอนต้องพจิ ารณาถึงแนวทางการจัดประสบการณท์ ี่ หลักสูตรกำหนด โดยคำนึงถึงพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคมและสติปัญญา รวมทั้งความสนใจความสามารถและสภาพแวดล้อมของเด็กเป็นสำคัญ ตลอดจนจัดกิจกรรม ให้สอดคล้องกับพัฒนาการของเดก็ โดยจัดให้เด็กไดเ้ รียนรู้ผ่านประสาทสัมผสั ทั้งห้า มีโอกาส ลงมือกระทำ เคล่ือนไหว สำรวจ สังเกต ทดลอง เล่น สืบค้น คิดแก้ปัญหาด้วยตนเอง (กระทรวงศึกษาธิการ, ค่มู ือหลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช 2546 :45) การเรียนการสอนด้วยกิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตร์มีข้อดีท่ีนักเรียนสามารถ พัฒนาศักยภาพตัวเองได้ เพราะเป็นกิจกรรมที่นักเรียนเป็นศูนย์กลางของการเรียนการสอน โดยแท้จริง เปิดโอกาสให้นักเรียน ศึกษาค้นคว้าตามความถนัดความสนใจ ส่งผลให้นักเรียน ประสบผลสำเร็จในการเรียนรู้ เป็นพลเมืองท่ีมีคุณภาพและจะเป็นบุคคลที่มีคุณภาพรู้จักคิด วิเคราะห์และแก้ปัญหาได้ด้วยตนเอง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการเรียนรู้แบบโครงงาน วิทยาศาสตร์มากขึ้นและสามารถนำความรู้ท่ีได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ใน ระดับหน่ึง (กระทรวงศึกษาธกิ าร, 2542:34) เด็กปฐมวัยที่อยู่ในช่วงอายุตั้งแต่แรกเกิดถึง 6 ปีบริบูรณ์ ซึ่งเป็นระยะเวลาอัน สำคัญท่ีสุดของการพัฒนาทั้งด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม และสติปัญญา อย่างเป็นองค์ รวม ภายใต้พื้นฐานของการอบรมเล้ียงดูและส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ของเด็กที่ตอบสนอง ต่อธรรมชาติ โดยการพัฒนาการตามวัยของเด็กแต่ละคนตามบริบทของท้องถิ่นและ

วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 247 วัฒนธรรมท่ีเด็กอาศัยอยู่ ด้วยความรักและความเข้าใจ ใส่ใจของทุกคน เพื่อเสริมสร้าง รากฐานคุณภาพชีวิตให้กับเด็กปฐมวัยและพัฒนาสู่การเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์แบบมีคุณค่าต่ อ ตนเอง ครอบครวั สังคมและประเทศชาติตอ่ ไป (กระทรวงศึกษาธิการ, 2560 : 2) การจัดการเรียนรทู้ ด่ี ีมปี ระสิทธิภาพตอ้ งขึ้นอยู่กบั ครูผ้สู อนที่จะต้องสอนบนพ้ืนฐาน ของแนวคิดตาม พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ คือ สอนด้วยการเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ คือให้ ความสำคัญแก่นักเรียนให้มากข้ึนด้วยการให้มีส่วนร่วมในการเรียนการสอน โดยจัดกิจกรรม ให้พวกเขาได้คิด ตัดสินใจและลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง ครูจะต้องเตรียมการสอน โดยจัด กิจกรรมให้พวกดีกว่าจะเตรียมกิจกรรมอะไร กิจกรรมลักษณะใดจึงสอดคล้องกับพัฒนาการ ของผเู้ รียนแต่ละระดับ และจงู ใจใหน้ กั เรียน (ศศธิ ร เวียงวะลัย, 2556 : 2) จากความสำคัญของการศกึ ษาดังกลา่ ว เด็กถือวา่ เป็นทรัพยากรท่ีทรงคุณค่า และมี ความสำคัญอย่างต่อการพัฒนาประเทศในอนาคต การพัฒนาเด็กให้มีความพร้อมท้ัง 4 ด้าน คือ ด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญา จึงนับเป็นภารกิจหลังท่ีสำคัญจะต้อง รับผิดชอบและให้ความสนใจเพ่ือให้การพัฒนาเด็กเป็นไปตามมาตรฐานและมีคุณภาพ เหมาะสมกับวัย องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในฐานะหน่วยงานซึ่งมหี น้าทรี่ ับผิดชอบด้านการ พฒั นาเด็ก ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญและกฎหมายว่าด้วยแผนและข้ันตอนการกระจาย อำนาจไม่ว่าจะเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในรูปแบบใดก็ตาม ท้ังองค์การบริหารส่วน ตำบล เทศบาล หรือเทศบาลเมืองพัทยาก็ดี ล้วนแต่มีบทบาทที่สำคัญในการบริหารจัดการ เกี่ยวกับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก พร้อมรับถ่ายโอนศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ซึ่งเติมอยู่ในความดูแล รับผิดชอบของส่วนราชการต่างๆ โดยองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินมีหน้าท่ีรับผิดชอบในการ ส่งเสริมและพัฒนาศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในทุกๆ ด้าน เพ่ือให้เด็กได้รับการพัฒนาอย่างเต็ม ศกั ยภาพและได้มาตรฐานต่อไป (กรมสง่ เสรมิ การปกครองทอ้ งถ่นิ , 2546 :1) องค์การบรหิ ารส่วนตำบลบางขันในฐานะหน่วยงานปกครองที่มีหนา้ ทร่ี ับผิดชอบใน การพัฒนาคุณภาพชีวิตและการจัดบริการสาธารณะให้แก่ประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบ จัดบริการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในความรับผิดชอบ 4 ศูนย์ โดยมีศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านปาก แพรก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านไสเตาอ้อย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคลองเสาเหนือ และศูนย์ พัฒนาเด็กเล็กบ้านไร่ยาว เพ่ือการจัดการศึกษาปฐมวัยให้เด็กได้รับการพัฒนาเตรียมความ พร้อมอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ ซึ่งการพัฒนาการในช่วงปฐมวัยเป็นพ้ืนฐานของการ พัฒนาการ ซึ่งจะส่งผลกระทบในวัยต่อๆ ไปของมนุษย์ ทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ

248 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) สังคม และสติปัญญา การพัฒนาในช่วงปฐมวัยจึงต้องการการเอาใจใส่ให้เด็กได้รับการพัฒนา ท่ีถูกต้อง และมีคุณภาพ ดังนั้น องค์การบริหารส่วนตำบลบางขัน จึงได้จัดต้ังศูนย์พัฒนาเด็ก เล็กข้ึนเพ่ือกระจายโอกาสการรับบริการพัฒนาความพร้อมให้แก่เด็กทุกคนในพ้ืนที่อย่างทั่ว ถือและมีคุณภาพ รวมทั้งเพ่ือให้เด็กได้รับการเตรียมความพร้อมอย่างถูกต้องและเหมาะสม กับวัยให้สามารถศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้นต่อไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นการแบ่งเบา ภาระการดูแลให้พ่อแม่และผู้ปกครอง สามารถประกอบอาชีพได้อย่างมีความสุขหมดความ กังวลในบตุ รหลาน จากความสำคัญข้างต้น ทำให้ผู้วิจัยมีความสนใจท่ีจะศึกษา รูปแบบการเรียนรู้ โครงงานบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลบาง ขัน อำเภอบางขัน จังหวัดนครศรีธรรมราช เพ่ือศึกษาถึงสภาพการดำเนินงานด้านรูปแบบ การจัดการเรียนรู้ เมื่อทราบผลแล้วจะได้นำผลมาใช้พัฒนาการจัดประสบการณ์ให้กับเด็ก ปฐมวัยของศนู ยพ์ ัฒนาเดก็ เลก็ สังกดั องคก์ ารบริหารสว่ นตำบลบางขนั ต่อไป วัตถปุ ระสงคก์ ารวจิ ัย 1. เพ่ือศึกษาสภาพการจัดการเรียนรู้โครงงานบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยโรงเรียน ต้นแบบ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในเขตพ้ืนที่อำเภอบางขัน จังหวัด นครศรธี รรมราช 2. เพ่ือศึกษารูปแบบการจัดการเรียนรู้โครงงานบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยในศูนย์ พัฒนาเดก็ เล็กสงั กัดองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำบลบางขนั อำเภอบางขัน จังหวัดนครศรธี รรมราช 3. เพ่ือเสนอรูปแบบการจัดการเรียนรู้โครงงานบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยในศูนย์ พฒั นาเด็กเล็กสังกัดองคก์ ารบริหารส่วนตำบลบางขนั อำเภอบางขัน จงั หวัดนครศรธี รรมราช วิธดี ำเนนิ การวจิ ยั ผู้วิจัยได้ศึกษาใน 3 ลักษณะ คือ ศึกษาค้นคว้าทางเอกสาร (Documentary investigation) การสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) และการประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group) ผ้วู ิจัยไดด้ ำเนนิ การวิจยั เปน็ 3 ขั้นตอน ดังน้ี

วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 249 1. ขัน้ ตอนการศกึ ษาสภาพ ในขั้นตอนการศึกษารูปแบบการเรียนรู้โครงงานบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยสำหรับ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลบางขัน อำเภอบางขัน จังหวัด นครศรีธรรมราช ผวู้ ิจัยได้ใช้เครอ่ื งมือในการวิจัย ได้แก่ แบบการสมั ภาษณ์เชิงลึก (In-depth interview) ซ่งึ มลี ำดับขัน้ ในการสร้างเครื่องมอื ดงั นี้ 1) ศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องเก่ียวกับรูปแบบการเรียนรู้โครงงาน บา้ นนกั วทิ ยาศาสตร์น้อย 2) กำหนดประเดน็ การร่างรูปแบบการเรยี นรู้โครงงานบา้ นนกั วทิ ยาศาสตร์น้อย 3) นำร่างรูปแบบการเรียนรู้โครงงานบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ท่ีได้ไปปรึกษา อาจารย์ ท่ปี รึกษา และปรบั ปรงุ ตามข้อเสนอแนะ 4) ปรับร่างรูปแบบการเรียนรู้โครงงานบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย เป็นประเด็น คำถามในการสมั ภาษณ์เชิงลกึ 2. ขน้ั ตอนการศกึ ษารูปแบบ ในขั้นตอนการศึกษารูปแบบการเรียนรู้โครงงานบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยสำหรับ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลบางขัน อำเภอบางขัน จังหวัด นครศรีธรรมราช ผู้วิจัยได้ใช้เครื่องมือในการวจิ ัย คือ แบบสอบถามเก่ียวกับรปู แบบการเรียนรู้ โครงงานบา้ นนกั วทิ ยาศาสตร์นอ้ ย ซึ่งมลี ำดับข้ันในการสร้างเครื่องมือ ดังน้ี 1) ร่างรูปแบบการเรียนรู้โครงงานบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยสำหรับศูนย์พัฒนา เด็กเล็กสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลบางขัน อำเภอบางขัน จังหวัดนครศรีธรรมราช จาก การค้นคว้าเอกสารเพิม่ เติม 2) นำร่างแบบที่ได้ ไปสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญและปรับปรุงตามขอ้ เสนอแนะ 3. ขั้นตอนการนำเสนอ เครื่องมือที่ใช้ในข้ันตอนการศึกษาการบริหารจัดการ คือ แบบประเมินและแบบการ สนทนากลุ่ม (Focus Group) ซึ่งมีลำดับขน้ั ในการสร้างเคร่ืองมือ ดังน้ี 1) นำร่างรูปแบบการเรียนรู้โครงงานบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยสำหรับศูนย์ พฒั นาเด็กเล็กสังกดั องคก์ ารบริหารส่วนตำบลบางขนั อำเภอบางขนั จังหวัดนครศรีธรรมราช ท่ีได้จากการร่างรปู แบบมาจัดทำเปน็ แบบประเมนิ ความเป็นไปได้ ความเหมาะสม และความ เปน็ ประโยชน์