250 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) 2) นำแบบประเมิน ความเป็นไปได้ ความเหมาะสมและความเป็นประโยชน์ ท่ี ได้ปรึกษาอาจารย์ที่ปรึกษาเพ่ือตรวจสอบความถูกต้องเรียบร้อย รูปแบบการเรียนรู้โครงงาน บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยสำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลบางขัน อำเภอบางขนั จังหวัดนครศรธี รรมราช 3) ปรับปรุงตามข้อเสนอแนะและให้อาจารย์ท่ีปรึกษา ตรวจสอบความ สอดคลอ้ งของข้อคำถามกับนิยามศพั ท์อีกครงั้ 4) นำข้อคำถามปรับปรุงตามข้อเสนอแนะนำของอาจารย์ที่ปรึกษา จึงทำเป็น ฉบับจรงิ เพือ่ เก็บขอ้ มลู เชงิ คุณภาพ ในข้นั ตอนการสนทนากลุ่ม (Focus Group) 5) แบบสนทนากลุ่ม-รูปแบบการเรียนรู้โครงงานบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยใน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลบางขัน อำเภอบางขัน จังหวัด นครศรีธรรมราช ผลการวิจยั การศกึ ษาการวจิ ัยเรอื่ งรูปแบบการเรียนรู้โครงงานบ้านนักวิทยาศาสตรน์ ้อยในศนู ย์ พัฒ นาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลบางขัน อำเภอบางขัน จังหวัด นครศรีธรรมราช ผลการวจิ ยั สรุปได้ดังน้ี 1. การศึกษาสภาพรูปแบบการเรียนรู้โครงงานบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยในศูนย์ พัฒ นาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลบางขัน อำเภอบางขัน จังหวัด นครศรีธรรมราช จากผลการวิจัยพบว่า การจัดทำแผนประจำปีและแผนการจัด ประสบการณ์ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดยเน้นการจัดประสบการณ์แบบบูรณาการโครงงาน บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ส่งผลให้นักเรียนมีพัฒนาการความสามารถและผลสัมฤทธิ์ตาม มาตรฐานด้านสติปัญญาได้ดีและมีการนิเทศ ติดตาม ประเมินการจัดประสบการณ์แบบมี ส่วนร่วม เป็นการศึกษาเพ่ือการสร้างนวัตกรรม เป็นการศึกษาเพ่ือพัฒนาเด็กปฐมวัยให้รัก วิทยาศาสตร์ผ่านการเล่นอย่างมีความหมาย ให้มีพัฒนาการตามธรรมชาติของเด็กและผ่าน กิจกรรมทเี่ หมาะสมกับวัยและจดั ประสบการณ์ใหเ้ ดก็ มีทกั ษะชีวิต โดยสามารถปฏิบัติตนตาม หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นคนดีคนเก่งมีวินัย โดยมีผู้ใหญ่เป็นแบบอย่างที่ดีของการ เรียนรู้ เป็นการศึกษาเพื่อให้เด็กปฐมวัยเข้ากับสังคมทำงานร่วมกันเป็นทีม เกิดการประสาน
วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 251 ความร่วมมือระหว่างศูนยพ์ ัฒนาเด็กเลก็ ผู้ปกครอง ชุมชนและทุกภาคสว่ นที่เกี่ยวข้องกับการ พัฒนาเด็กปฐมวัย มีองค์ประกอบประเด็นย่อย คือ (1) การจัดประสบการณ์ผ่านโครงงาน วิทยาศาสตร์น้อยสำหรับเด็กปฐมวัย (2) แผนการดำเนินงาน (3) การส่งเสริมสนับสนุน (4) การดำเนนิ กิจกรรม โดยใชท้ ักษะทางวิทยาศาสตรท์ ้ัง 7 ทกั ษะ (5) การตดิ ตามประเมินผล 2. รูปแบบการเรียนรู้โครงงานบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลบางขัน อำเภอบางขัน จังหวัดนครศรีธรรมราช จาก ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบการเรียนรู้โครงงานบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยสำหรับเด็กปฐมวัย โดยมี 1) หลักการและเหตุผล การจัดการศึกษาปฐมวัย สำหรับเด็กท่ีมีอายุตง้ั แต่แรกเกิด - 6 ปีน้ัน เป็นหลักการที่คำนึงถึงการพัฒนาเด็กอย่างเป็นองค์รวม เพ่ือให้เด็กมีโอกาสในการ พัฒนาในด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญา เพ่ือให้เด็กได้พัฒนาทุกด้าน ตามลำดับของพัฒนาการอย่างสมดุลและเต็มศักยภาพ ท้ังยังเน้นการส่งเสริมกระบวนการ เรียนรู้และพัฒนาให้เด็กทึกประเภท ทั้งเด็กปกติ เด็กด้อยโอกาส เด็กพิเศษ โดยจะต้อง คำนึงถึงความแตกต่างของแต่ละบุคคลและเน้นเด็กเป็นสำคัญ โดยจัดการศึกษาให้สอดคล้อง กับวิถีชีวิต สังคม วัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น และการประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาท้องถ่ินตาม ความเป็นอยู่จริงของเด็ก โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถ่ินเป็นองค์ความรู้ต่างๆ ให้แก่เด็ก การจัด ประสบการณ์ให้กับเด็กปฐมวัย ควรเป็นการศึกษาเพื่อการสร้างนวัตกรรม เพ่ือให้เด็กปฐมวัย เกิดการเรียนรู้ โดยท่ีไม่ใช่การศึกษาเพื่อวัตถุประสงค์ใด วัตถุประสงค์หน่ึงดังเช่นท่ีผ่านมา โดยเน้นการจัดประสบการณ์ต้องบูรณาการท้ังศาสตร์ ศิลป์ ชีวิต วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีเข้าด้วยกันอย่างกลมกลืน เพ่ือสร้างคนที่สังคมต้องการได้ในทุกมิติ และมี รปู แบบการจัดประสบการณ์ที่หลากหลาย สอดคล้องและตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการของเด็ก ปฐมวัย โดยครูอาจจะไม่มีความจำเป็นอีกต่อไปหรือถ้าจำเป็นต้องมีก็ต้องเปล่ียนแปลง บทบาทไปอย่างมาก 2) วัตถุประสงค์ของรูปแบบ มี 3 ข้อคือ (1.) เพ่ือกำหนดรูปแบบการ เรียนรู้โครงงานบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วน ตำบลบางขัน อำเภอบางขัน จงั หวัดนครศรีธรรมราช เป็นไปในทิศทางเดยี วกันทุกศูนยพ์ ัฒนา เด็กเล็กในสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลบางขัน (2.) เพ่ือกำหนดกจิ กรรมการประสบการณ์ ของเด็กให้เกิดประสิทธิภาพในการจัดการเรียนการสอนโดยเน้นกิจกรรมโครงงานบ้าน นักวิทยาศาสตร์น้อยในระดับปฐมวัย (3.) เพื่อนำกิจกรรมในโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์ น้อย(ประเทศไทย) มาพฒั นาเด็กให้มีคุณลักษณะท่พี ึงประสงค์ของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
252 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) 3) การดำเนินการของรูปแบบ มีขั้นตอนการจัดกิจกรรมดังนี้ ข้ันท่ี 1 ศึกษาทำความเข้าใจ เอกสารหลักสูตรและออกแบบการจัดประสบการณ์ ขั้นที่ 2 ศึกษาวิเคราะห์เด็กปฐมวัย รายบุคคล นำข้อมูลที่ได้มาออกแบบการจัดประสบการณ์และจัดประสบการณ์ที่ตอบสนอง ความต้องการของเด็กปฐมวัย ตามความแตกต่างและพัฒนาการทางสมองของเด็กปฐมวัย โดยคัดเลือกกิจกรรม 20 กิจกรรม ข้ันที่ 3 จัดทำหน่วยประสบการณ์ แผนการจัด ประสบการณ์ โดยบูรณาการคุณลักษณะพึงประสงค์ข้ันที่ 4 จัดเตรียมอุปกรณ์ละใช้สื่อการ สอนต่างๆขั้นท่ี 5 จัดสภาพแวดล้อมทั้งภายในและนอกห้องเรียนให้เอื้อต่อการจัด ประสบการณ์ ข้ันที่ 6 จัดประสบการณ์ด้วยกิจกรรมโครงงาน ข้ันท่ี 7 ประเมินผลด้วยวธิ ีการ ต่างๆที่หลากหลาย ข้ันที่ 8 สรุป อภิปราย ข้ันท่ี 9 นำผลการประเมินมาใช้เพ่ือพัฒนาเด็ก ปฐมวัย ตลอดจนปรับปรุงกิจกรรมการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบ 4) การติดตามและ ประเมนิ ผลเป็นกระบวนการติดตามประเมินผลและแนะนำชว่ ยเหลอื การดำเนินการจาก ครผู ู้ ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ประกอบด้วย (1) แต่งตั้งคณะกรรมการนิเทศ ติดตาม (2) ประชุม คณะกรรมการ นิเทศ ติดตาม (3) สร้างทีมเพ่ือคอยดูแลช่วยเหลือให้คำปรึกษาแก่ครูท่ีจัด กิจกรรม (4) เชิญบุคคลากรจากหน่วยงานอ่ืนๆ มาเป็นวิทยากรให้คำแนะนำแก่ครู (5) มี แผนการดำเนินการจัดกิจกรรม (6) สรุปผลการจัดกิจกรรม (7) ดำเนินการประเมินติดตาม และประเมินผล ภาคเรียนละ 2 คร้ัง 3. ขัน้ ตอนเสนอรปู แบบการเรยี นรู้โครงงานบ้านนกั วิทยาศาสตร์น้อยในศูนยพ์ ัฒนา เด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลบางขัน อำเภอบางขัน จังหวัดนครศรีธรรมราช จาก ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบสามารถนำไปใช้ได้จริงในการดำเนินการกับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลบางขัน เป็นรูปแบบการจัดประสบการณ์ระดับปฐมวัยที่ เก่ียวเน่ืองกับการบริหารจัดการศึกษา และสอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ตลอดจนการจัดการศึกษาระดับปฐมวัย ท่ีเน้นการจัดการเรียนรู้ให้กับเด็กปฐมวัย การ ประเมินคุณลักษณ์อันพึงประสงค์ของเด็กปฐมวัย โดยประเมินตามมาตรฐานด้านสติปัญญา ประกอบด้วย รูปแบบมีความเหมาะสมและเป็นไปได้ มีประโยชน์ การประเมินคุณลักษณ์อัน พึงประสงค์ของเด็กปฐมวัย โดยประเมินตามมาตรฐานด้านสติปัญญา ผู้ทรงคุณวุฒิได้ยืนยัน รูปแบบการเรียนรู้โครงงานบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ซ่ึงประกอบด้วย (1) ศึกษาทำความ เข้าใจเอกสารหลักสูตรและออกแบบการจัดประสบการณ์ (2) ศึกษาวิเคราะห์เด็กปฐมวัย รายบุคคล นำข้อมูลที่ได้มาออกแบบการจัดประสบการณ์และจัดประสบการณ์ที่ตอบสนอง
วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 253 ความต้องการของเด็กปฐมวัย ตามความแตกต่างและพัฒนาการทางสมองของเด็กปฐมวัย โดยคัดเลือกกิจกรรม 20 กิจกรรม (3) จัดทำหน่วยประสบการณ์ แผนการจัดประสบการณ์ โดยบูรณาการคุณลักษณะพึงประสงค์ (4) จัดเตรียมอุปกรณ์ละใช้ส่ือการสอนต่างๆ (5) จัด สภาพแวดล้อมท้ังภายในและนอกห้องเรียนให้เอ้ือต่อการจัดประสบการณ์ (6) จัด ประสบการณ์ด้วยกิจกรรมโครงงาน (7) ประเมินผลด้วยวิธีการต่างๆ ที่หลากหลาย (8) สรุป อภิปราย (9) นำผลการประเมินมาใช้เพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย ตลอดจนปรับปรุงกิจกรรมการ เรียนการสอนอย่างเป็นระบบ โดยมีผังข้ันตอนรูปแบบการเรียนรู้โครงงานบ้าน นกั วทิ ยาศาสตรน์ อ้ ย ดงั น้ี การส่งเสริม/ นโยบายการจดั ประสบการณโ์ ดยใช้ การตดิ ตาม/ประเมินผล สนบั สนุน โครงงานบ้านนักวทิ ยาศาสตร์น้อย 1) แต่งตงั้ คณะกรรมการ 1) การพฒั นา บุคลากร การทำแผนปฏบิ ตั ิการของ ติดตาม 2) การจดั สรร สถานศกึ ษา 2) ประชุคณะกรรมการ งบประมาณ และทรพั ยากร การทำโครงสร้างหลักสูตรของ นเิ ทศ ตดิ ตาม 3) การสง่ เสรมิ สถานศกึ ษา 3) สร้างทมี เพอ่ื คอยดูแล สนบั สนุนทาง วิชาการ การจัดกจิ กรรมจัดประสบการณ์ ชว่ ยเหลือใหค้ ำปรกึ ษา แบบโครงงานบา้ นนักวิทยาศาสตร์ แกค่ รู 4) เชญิ บคุ ลากรจาก น้อย หนว่ ยงานอน่ื มาให้ แผนการจัดกจิ กรรมแบบโครงงาน ความรูใ้ นการจัด บา้ นนกั วทิ ยาศาสตรน์ ้อย 20 หนว่ ย กิจกรรม 5) จัดทำแผนการ ประสบการณ์ ดำเนินการการจดั กจิ กรรม 6) สรุปผลการจดั กิจกรรม ตารางภาพ : รูปแบบการเรยี นรู้แบบโครงงานบ้านนักวิทยาศาสตร์นอ้ ยในศนู ยพ์ ัฒนาเด็กเล็ก สงั กดั องคก์ ารบริหารส่วนตำบลบางขนั อำเภอบางขัน จังหวดั นครศรธี รรมราช
254 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) อภิปรายผล การศกึ ษาการวิจยั เรอื่ งรูปแบบการเรยี นรู้โครงงานบ้านนกั วิทยาศาสตร์น้อยในศนู ย์ พัฒ นาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลบางขัน อำเภอบางขัน จังหวัด นครศรธี รรมราช มีผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู ท่คี วรนำมาอภปิ ราย ดังน้ี 1. การศึกษาสภาพรูปแบบการเรียนรู้โครงงานบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยในศูนย์ พัฒ นาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลบางขัน อำเภอบางขัน จังหวัด นครศรีธรรมราช การศึกษาสภาพ จากผลการวจิ ัยพบว่า จัดทำแผนประจำปีและแผนการจัด ประสบการณ์ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดยเน้นการจัดประสบการณ์แบบบูรณาการโครงงาน บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ส่งผลให้นักเรียนมีพัฒนาการความสามารถและผลสัมฤทธิ์ตาม มาตรฐานด้านสติปัญญาได้ดีและมีการนิเทศ ติดตาม ประเมินการจัดประสบการณ์แบบมี ส่วนร่วม มีการคัดเลือกจากหน่วย 10 หน่วย โดยแยกได้จาก น้ำ, อากาศ, ก๊าซคาร์บอนได ออกไซร์, ไฟฟ้า, แสงสีและการมองเห็น, แม่เหล็ก, คณิตศาสตร์, เสียง, น้ำและเทคโนโลยี และวิทยาการ โดยการคัดเลือกมา 20 กิจกรรม ที่เด็กปฐมวัยสนใจโดยจะแบ่งช่วยหรือให้ ครอบคลุมกันหน่วยการจัดประสบการณ์ที่ใช้อยู่ในแต่ละสัปดาห์ โดยจัดทำให้เสร็จสิ้น ภายใน 1 ปีการศึกษา พร้อมสรุปเป็นโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ซึ่งมีเด็กปฐมวัย ได้รับโอกาสในการต่อยอดกระบวนการประสบการณ์ โดยเน้นการสอนแบบบูรณาการ ส่งผลให้นักเรียนมีพัฒนาการความสามารถและผลสัมฤทธิ์ตามมาตรฐานด้านสติปัญญาได้ดี ส่งเสริมให้ทุกโรงเรียนมีโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ในแผนปฏิบัติการประจำปี ส่งเสริมศักยภาพการประสบการณ์ นิเทศ ติดตามและประเมินการจัดประสบการณ์แบบมี ส่วนร่วม ทั้งนี้เป็นเพราะว่ารูปแบบการจัดการเรียนรู้โครงงานบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย นำ เป็นต้องมีแบบปฏิบัติหรือข้อกำหนดตามทสี่ ำนักงานการศึกษาข้ันพ้ืนฐานท่ีได้ให้รายละเอียด ผ่านทักษะทั้ง 7 ทักษะ โดยตามข้ัน ดำเนินการ การเตรียมการ การส่งเสริมสนับสนุน การ ดำเนินกิจกรรมและการประเมินผล สอดคล้องกับผลการศึกษาของสุจินต์ ใจกระจ่าง (2553 : 3) ได้ศึกษาวิจัยเรื่อง“สภาพการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญของ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยรามคําแหง” ผลการวิจัยพบว่า 1) ความคิดเห็นของผู้บรหิ ารและ ครูผู้สอนเก่ียวกับสภาพการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญของโรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลยั รามคําแหง ท้ัง 5 ดา้ นคือ ด้านการ เตรียมความพร้อมของสถานศึกษา ดา้ นการ
วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 255 พัฒนาครูในสถานศึกษา ดา้ นการสง่ เสริมการ เรยี นร้ทู ีเนน้ ผู้เรยี นเปน็ สําคัญ ด้านการวจิ ัยเพ่ือ การเรียนรู้ และด้านการประเมินผลในการ จัดการเรียนการสอนทีเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ พบว่าอยู่ในระดบั มาก 2) ความคิดเห็นของนักเรียนเก่ียวกับสภาพการจัดการเรียนการสอนที่ เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยรามคําแหง อยู่ในระดับปานกลาง ยกเว้นขอ้ กิจกรรม การเรียนการสอนกระต้นุ ใหน้ ักเรียนได้คิดวิเคราะห์ สงั เคราะห์ พบวา อยู่ ในระดับมาก 3) ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้บริหารและครูผู้สอนเก่ียวกบสภาพ การเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยรามคําแหง ท่ีมีวุฒิ การศึกษา และระยะเวลาที่ปฏิบัติงานต่างกัน พบว่า แตกต่างน้อยอย่างไม่มีนัยสําคัญทาง สถิติ ท่ีระดับ.054 ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของนักเรียนเก่ียวกับสภาพการจัดการ เรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยรามคําแหง ท่ีมีระดบั ชั้น มธั ยมศึกษาตอนต้นและช้ันมธั ยมศกึ ษาตอนปลายต่างกัน พบว่า แตกต่างกนั อย่างมีนัยสําคัญ ทางสถติ ิที่ระดบั .05 2. รูปแบบการเรียนรู้โครงงานบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลบางขัน อำเภอบางขัน จังหวัดนครศรีธรรมราช จาก ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบการเรียนรู้โครงงานบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยสำหรับเด็กปฐมวัย เน้นทักษะทางวิทยาศาสตร์ 7 ทักษะ โดยคัดเลือกกิจกรรม 20 กิจกรรมจากการสนใจของ เด็กปฐมวัยแล้วทำโครงงานบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยให้เสร็จสิ้นภายใน 1 ปีการศึกษาน้ันๆ โดยประกอบด้วย (1) ทักษะการสังเกต จัดกิจกรรมให้เกิดได้ใช้ประสาทสัมผัสอย่างใดอย่าง หน่ึงหรือหลายอย่างรวมกัน เช่น ตา หู จมูก ปาก ล้ินและผิวสัมผัส (2) ทักษะการลง ความเห็นจากข้อมูล (3) จัดกิจกรรมให้เด็กสามารถจำแนกประเภท รูปร่าง สี ขนาด ได้ (4) ทักษะการวัด ใช้กิจกรรมที่ช่วยกระตุ้นสมองเด็กปฐมวัย ให้เด็กได้คิด ค้นหาคำตอบด้วย ตนเอง (5) ทักษะสื่อความหมายข้อมูลสามารถสื่อความหมายออกมาเป็นคำพูดหรือวาดภาพ หลังจากการจัดกจิ กรรมเสรจ็ (6) ทักษะการพยากรณ์การทำนายหรือการคาดคะเนคำตอบสิ่ง ที่จะเกิดขึ้นล่วงหน้า (7) ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปสและสเปสกับเวลา เพราะว่า โครงงานบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยเป็นรูปแบบที่มีการจัดทำขึ้นจากสำนักงาน การศึกษาขั้นพ้ืนฐานซึ่งได้ทำอย่างถูกต้องและเป็นการรวบรวมนักวิชาการทุกแขนงช่วยใน การจัดทำ สอดคล้องกับผลการวิจัยของกัญญา ศรีต้ิง (2563) ได้ศึกษาวิจัยเรื่อง“การจัดการ เรียนรู้ที่หลากหลายเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ในวิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล”
256 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) ผลการวิจัยพบว่า การจัดการเรียนรู้ที่หลากหลายเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ในวิทยาลัยการ อาชีพวังไกลกงั วล ทงั้ 5 ด้าน ในภาพรวมอยูใ่ นระดบั มาก แยกเป็นรายดา้ น เรียงค่าเฉล่ยี ของ ตามลำดับ ดังน้ี การจัดทำแผนการเรียนรู้ มีลำดับสูงสดุ รองลงมาคือ การนำแผนการจัดการ เรยี นรู้ไปใช้ในกระบวนการเรียนการสอน การประเมินการจดั การเรียนรู้ การนิเทศการจัดการ เรียนรู้ และมีลำดับต่ำท่ีสุดคือ การปรับปรุงแผนและกระบวนการจัดการเรียนรู้ ปัญหาของ การจัดการเรียนรู้ รูปแบบของกระบวนการยังไม่ชัดเจนและยังไม่สามารถประเมินหรือวัด ผลสัมฤทธ์ิของผู้เรยี นได้อย่างเต็มท่ี ข้อเสนอแนะ ควรปรับปรุงรูปแบบของการจัดการเรียนรู้ ให้มีความชัดเจน เพือ่ นำมาบูรณาการการเรียนการสอนให้สามารถวัดผงสมั ฤทธิข์ องผู้เรยี นได้ อย่างมีประสิทธิภาพและยังสอดคล้องกับผลการวิจัยของศิวรักษ์ บุญประเสริฐ (2558) ได้ ศึกษาวิจัยเรื่อง“การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนโครงงาน เพ่ือเสริมสร้างความคิด สร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ สาหรับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพสาขาช่าง อุตสาหกรรม” การวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) สร้างรูปแบบการเรียนการสอน2) ศึกษา ผลการใช้รูปแบบ ข้ันตอนการวจิ ัยมี 1) ขนั้ การสรา้ งและประเมินรูปแบบ 2) ขั้นการทดลองใช้ รูปแบบ ข้ันการสร้างและประเมินรูปแบบมี 8 ข้ันตอนย่อย คือ 1) ศึกษาข้อมูลพ้ืนฐาน 2) กำหนดองค์ประกอบ3) สร้างรูปแบบฉบับร่าง 4) วิพากษ์รูปแบบ 5) ปรับปรุงแก้ไขรูปแบบ 6) ประเมินรูปแบบ7) ทดลองนา ร่อง 8) แก้ไขปรับปรุง เพ่ือให้ได้รูปแบบที่สมบูรณ์ ข้ันการ ทดลองใช้มี 7 ข้ันตอนย่อยคือ 1) สร้างและหาคุณภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ 2) สร้าง และหาคุณภาพของแบบทดสอบวดั การทา โครงงาน แบบทดสอบวัดความคดิ สร้างสรรค์ทาง วิทยาศาสตร์ 3) คัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง4) ทดสอบก่อนเรียน 5) จัดการเรียนการสอน 6) ทดสอบหลังเรียน 7) สรุปผลการทดลอง กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพ ช้ันปี ท่ี 2 ช่างไฟฟา้ จำนวน 36 คน ใช้แบบแผนการทดลองกลมุ่ เดียววัดผลกอ่ นและ หลังทดลองใช้การทดสอบด้วย t –test (Dependent sample test) พบว่า1.รูปแบบการ เรียนการสอนท่ีพัฒนาข้ึน มี 6 องค์ประกอบคือ1) ความเป็นมาและความสำคัญ 2) ทฤษฏี และแนวคิดที่เก่ียวขอ้ ง 3) หลักการ 4) จุดประสงค์ 5) กระบวนการของรูปแบบ และ 6) การ วดั และประเมินผล กระบวนการของรูปแบบประกอบด้วย 5 ขั้นตอน 1) สร้างความสนใจ (ส 1) 2) สร้างความคิด (ส2) 3) สืบหาความจริง (ส3) 4) สรุปความรู้ (ส4) 5) สร้างสรรค์ นวัตกรรมเพื่อเผยแพร่ (ส5) ผลการประเมินรูปแบบมีความเหมาะสมมากท่ีสุด2.นักเรียนที่ ได้รับการจัดการเรียนการสอนโดยรูปแบบที่ได้พัฒนาข้ึน มีความคิดสร้างสรรค์ทาง
วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 257 วิทยาศาสตร์หลงั เรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนยั สำคัญทางสถิตทิ ่ีระดับ .05 และสามารถทา โครงงานวทิ ยาศาสตร์หลังเรียน สูงกวา่ ก่อนเรยี น อย่างมีนัยสำคัญทางสถติ ิทร่ี ะดับ .05 3. ขน้ั ตอนการนำเสนอรปู แบบการเรยี นรู้โครงงานบา้ นนักวิทยาศาสตร์น้อยในศนู ย์ พัฒ นาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลบางขัน อำเภอบางขัน จังหวัด นครศรีธรรมราช จากผลการวิจัยพบว่า รูปแบบมีความเหมาะสมและเป็นไปได้ มีประโยชน์ การประเมินคุณลักษณ์อันพึงประสงค์ของเด็กปฐมวัย โดยประเมินตามมาตรฐานด้าน สติปัญญา ผู้ทรงคุณวุฒิได้ยืนยันรูปแบบการเรียนรู้โครงงานบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ซึ่ง ประกอบด้วย (1) ศึกษาทำความเข้าใจเอกสารหลักสูตรและออกแบบการจัดประสบการณ์ (2) ศึกษาวเิ คราะห์เด็กปฐมวัยรายบุคคล นำข้อมูลท่ีได้มาออกแบบการจัดประสบการณ์และ จัดประสบการณ์ท่ีตอบสนองความต้องการของเด็กปฐมวัย ตามความแตกตา่ งและพัฒนาการ ทางสมองของเด็กปฐมวัย โดยคัดเลือกกิจกรรม 20 กิจกรรม (3) จัดทำหน่วยประสบการณ์ แผนการจัดประสบการณ์ โดยบูรณาการคุณลักษณะพึงประสงค์ (4) จัดเตรียมอุปกรณ์ละใช้ สื่อการสอนต่างๆ(5) จัดสภาพแวดล้อมทั้งภายในและนอกห้องเรียนให้เอื้อต่อการจัด ประสบการณ์ (6) จัดประสบการณ์ด้วยกิจกรรมโครงงาน (7) ประเมินผลด้วยวิธีการต่างๆ ที่ หลากหลาย (8) สรุป อภิปราย (9) นำผลการประเมินมาใช้เพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย ตลอดจน ปรับปรุงกิจกรรมการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบ เพราะว่า เป็นรูปแบบการจัด ประสบการณ์ระดับปฐมวัยท่ีเกี่ยวกับการบริหารจัดการสถานศึกษา รวมถึงหลักการจัด การศึกษาปฐมวัย ท่ีเน้นการจัดประสบการณ์ให้กับเด็กปฐมวัย ซ่ึงสอดคล้องกับงานวิจัยของ นภาภรณ์ เพียงดวงใจ (2558) ได้ศึกษาวิจัยเรื่อง การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์โดยใช้โครงงานร่วมกับเทคนิคการสืบเสาะหาความรู้ ตามแนวคิดห้องเรียนกลับ ด้าน เพ่ือเสริมสร้างความสามารถในการสร้างนวัตกรรมและจิตวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1.พัฒนาและหาประสิทธิภาพของ รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โดยใช้โครงงานร่วมกับเทคนิคการสืบเสาะหาความรู้ ตามแนวคิดห้องเรียนกลับด้าน และ2.ประเมินประสิทธิผลของรูปแบบ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3/1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง จำนวน 39 คน เครื่องมอื ทีใ่ ชใ้ นการวิจัยประกอบด้วย รปู แบบการจดั การเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ โดยใชโ้ ครงงานรว่ มกับเทคนิคการสืบเสาะหาความรู้ ตามแนวคิดหอ้ งเรียนกลับด้าน คู่มือการ ใช้รูปแบบ หน่วยและแผนการจัดการเรียนรู้ แบบประเมินผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
258 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) วิทยาศาสตร์ แบบประเมนิ ความสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม แบบประเมินจติ วทิ ยาศาสตร์ และแบบสอบถามความคดิ เหน็ อภิปรายผล จากการศึกษาวิจัย เรื่องการพัฒนาการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ในการส่งเสริม พัฒนาการ เด็กปฐมวัยในยุคประเทศไทย 4.0 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์การบริหารส่วน ตำบลเขาพงั ไกร จงั หวดั นครศรธี รรมราช มีผลการวเิ คราะหข์ ้อมูลท่ีควรนำมาอภปิ ราย ดงั น้ี 1. การศึกษาสภาพการพัฒนา พบว่า เดก็ ปฐมวัยจะเรียนรูผ้ ่านการเคล่ือนไหว การทำ กจิ กรรมต่างๆ ได้ทำการเคลื่อนไหวกิจกรรมเข้าจังหวะ เพ่ือทำให้รา่ งกายของเดก็ พร้อมท่ีจะเรียนรู้ ทำกิจกรรมในห้องเรียนได้อย่างคล่องแคล่ว ดังนั้นการเตรียมความพร้อมและพัฒนาร่างกาย ของเด็กให้เจริญเติบโตแข็งแรงจึงเป็นสิ่งสำคัญในชีวิตประจำวันสำหรับเด็ก โดยผู้ปกครองและ คุณครูอาจมีส่วนร่วมกับเด็กๆ ทำกิจกรรมท้ังในร่มและกลางแจ้ง ไม่ว่าจะเป็นการออกกำลัง กายที่บ้านหรือท่ีสถานศึกษาการสนับสนุนให้มีเคร่ืองเล่นสนามให้เหมาะสมกับวัย เพ่ือ ส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายและกล้ามเน้ือมัดเล็กและกล้ามเนื้อมัดใหญ่ให้มีความแข็งแรง เนื่องจากเด็กวัยน้ีชอบเคล่ือนไหว ไม่ชอบอยู่น่ิงเฉยกล้ามเนื้อของเด็กวัยนี้เจริญอย่างรวดเร็ว ผูป้ กครองและครูดูแลเร่ืองโภชนาการให้ครบตามความต้องการของเด็กในวัยน้ี เนื่องจากการ ได้รับสารอาหารท่ีครบถ้วนและเพียงพอต่อความต้องการจะช่วยให้ร่างกายเด็กเจรญิ เตบิ โตได้ เต็มศักยภาพ พ่อแม่ ผู้ปกครองและครูจึงควรให้ความสำคัญกับการเลือกโภชนาการ ท่ี เหมาะสมให้กับเด็ก และต้องมีคุณค่าครบ 5 หมู่และต้องมีความหลากหลายด้วย สอดคล้อง กับพระราชบัญญัติการพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ.2562 (สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา 2562 : 14) หมวด 4 การพัฒนาเด็กปฐมวัย มาตราที่ 25 สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยที่มีหน้าท่ีจัดการศึกษา ให้แก่เด็กปฐมวัย ต้องจัดให้มีการอบรมเล้ียงดู เพ่ิมพูนประสบการณ์ ส่งเสริมพัฒนาการเรียนรู้ และจัดการศึกษาแก่เด็กปฐมวัยอย่างทั่วถึง รวมท้ังจัดให้มีการส่งเสริมพัฒนาการของเด็กปฐมวัย ที่เหมาะสมในช่วงรอยต่อต้ังแต่ก่อนระดับอนุบาลจนถึงระดับประถมศึกษาอย่างต่อเน่ืองผล การศึกษาของรัตนา ศรีสุข (2556 : 11) ได้กล่าวถึง ความสำคัญของผู้ปกครองว่า ผู้ปกครอง เปรียบเสมือนครูคนแรกของเด็ก มีความสำคัญต่อการจัดการศึกษาให้กับเด็ก เพราะเป็นบุคคลท่ี ใกล้ชิดสนิทสนมกับเด็กมากที่สุดต้ังแต่แรกเกิด มีบทบาทสำคัญในการสร้างการเรียนรู้ด้านต่างๆ
วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 259 ให้ตั้งแต่ยังเล็กและให้ความรักความอบอุ่นรวมท้ังการส่งเสริมพัฒนาการด้านต่าง ๆ ให้กับเด็ก อย่างดีย่ิง การพฒั นาเด็กชว่ งอายุ 3-5 ปี จะต้องยึดหลักการอบรมเลี้ยงดูควบคู่กบั การให้การศึกษา ท่ีคำนึงถึงความสนใจและความต้องการของเด็ก ท้ัง 4 ด้าน คือ (1) พัฒนาการด้านร่างกาย (2) พัฒนาการด้านอารมณ์ (3) พัฒนาการด้านสังคม (4) พัฒนาการดา้ นสติปัญญา และสอดคล้องกับ ผลการศึกษาของ อารมณ์ สุวรรณปาล (2549 :7) ได้ศึกษาเร่ือง“การจัดประสบการณ์สำหรับ เด็กปฐมวัย”พบว่าเด็กปฐมวัยควรดูแลในด้านต่างๆ ดังน้ี (1) ด้านสุขอนามัย ได้แก่ กิจกรรม ส่งเสริมด้านโภชนาการ (2) ด้านสุขนิสัย ได้แก่ กิจกรรมฝึกเด็กและดูแลให้เด็กปฏิบัติจนเป็นกิจ นิสัย ด้านการขบั ถา่ ยการดูแลความสะอาดรา่ งกาย การพักผ่อนและการออกกำลังกาย(3)ดา้ นประสาทการ รับรู้-การเคลื่อนไหว ได้แก่ กิจกรรมเล่นเกมประสาทสัมผัสต่างๆ เช่น เกมปิดตา เกมกล่อง ปริศนา เกมแตะส่วนต่างๆ ของร่างกายเกมโฮกกี้ โพกก้ี เป็นต้น (4) ด้านกลา้ มเน้ือใหญ่ได้แก่ การเล่นกลางแจ้ง การเล่นในร่ม การออกกำลังกายการเคล่ือนไหวร่างกาย (5) ด้านกล้ามเนื้อ เล็ก ได้แก่ กิจกรรมพัฒนากล้ามเน้ือเล็ก เช่น ปั้น ร้อย ตัดกระดาษ วาดภาพระบายสี ลากเส้นตอ่ จุด ฝึกโยงถงุ ถั่วลงตะกร้า โยนรับลูกบอล เปน็ ตน้ 2. พัฒนาการของเด็กปฐมวัยโดยการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในปัจจุบัน ผลการวิจัยพบว่า (1) พัฒนาการด้านร่างกาย เด็กมีร่างกายท่ีแข็งแรงสมบูรณ์ดี มีพัฒนาการ ด้านร่างกายเหมาะสมกับวัยและสามารถใช้ชีวิตประจำวันได้เป็นอย่างดี (2) พัฒนาการด้าน อารมณ์ และจิตใจ ส่วนใหญ่เด็กมีนิสัยร่าเริง แจ่มใส สามารถเล่นกับเพื่อนได้ มีการแบ่งปัน ของเล่นให้กบั เพ่ือนๆ ไดแ้ ละสามารถปรบั ตัวให้เข้ากับคนอ่ืนได้ (3) พัฒนาการดา้ นสังคม เด็ก มีพัฒนาการด้านสังคมที่หลากหลาย สามารถอยู่ร่วมกับเพ่ือนผู้อ่ืนได้ มีลักษณะการเป็นผู้นำ และผู้ตามท่ีดี (4) พัฒนาการด้านสตปิ ัญญามกี ารพัฒนาท่ีเปน็ ไปตามวยั สามารถใชก้ ล้ามเน้ือ มัดเล็กและมัดใหญ่ได้ดี วาดภาพอย่างง่าย ลากเส้น ระบายสี ปั้นดินน้ำมัน และสามารใช้ ความคิดสร้างสรรค์ได้ดี สอดคล้องกับผลการศึกษาขององอาจ นิลสุวรรณ (2551 : 67) ได้ ศึกษาวิจัยเรื่อง“การมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ในเขตองค์การ บริหารส่วนตำบลบ้านกาด อำเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่” ด้านร่างกาย พบว่าผู้ปกครองมีส่วน ร่วมในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย โดยรวมอยู่ในระดับมาก ซ่ึงส่วนใหญ่ผู้ปกครองได้มี ส่วนร่วมในการส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย โดยการฝึกให้เด็กช่วยเหลือตนเองในการแต่ง กาย การรับประทานอาหาร การด่ืมนม ด้านจิใจ อารมณ์ และสังคม พบว่า ผู้ปกครองมีส่วน ร่วมในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ซ่ึงโดยรวมอยู่ในระดับมาก ส่วนใหญ่ผู้ปกครอง
260 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) ส่งเสริมพัฒนาการด้านจิใจ อารมณ์ และสังคม โดยการให้ขวัญและกำลังใจกับเด็กด้วยการยิ้ม แย้ม แสดงความสนใจ หรือการชมเชยเมื่อเด็กแสดงออกในส่งิ ทดี่ ี ใหเ้ ด็กได้มีโอกาสพบปะกับบุ คล และให้แก่เด็กอย่างสม่ำเสมอ เร่ืองของความสะอาดการรับประทานอาหาร การเก็บของ เข้าท่ีเมื่อใช้เสร็จแล้ว ด้านสติปัญญา พบว่า ผู้ปกครองมีส่วนรว่ มในการส่งเสริมให้เด็กได้มีการ ฝึกการใช้อวัยวะรับการสัมผัสต่างๆ ได้แก่ ตาดู หูฟัง จมูกดมกลิ่น ลิ้นชิมรส และสัมผัส ด้วย มือ ให้เด็กได้เล่นของเล่นที่เหมาะสมกับวัย และชี้แนะให้กับเด็กรู้จักคุณลักษณะ หรือคุณสมบัติ ของส่ิงต่าง ๆ รอบตัว เช่น เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก ธรรมชาติรอบตัว วัตถุส่ิงของเคร่ืองใช้ หรอื ของเล่นท่อี ยรู่ อบตวั 3. แนวทางและข้อเสนอแนะในการพัฒนาการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยในยุคประเทศไทย 4.0 มีดังน้ี (1) พัฒนาด้านร่างกาย จัด รายการอาหารที่มีความหลากหลายให้กับเด็กอย่างเพียงพอ การส่งเสริมและสนับสนุนให้มี กจิ กรรมกลางแจ้งที่เหมาะสมและการจัดการแข่งขันกีฬาเก่ียวกับการส่งเสริมพัฒนาการด้าน รา่ งกายโดยใหม้ ีพอ่ แม่ ผู้ปกครองมสี ่วนร่วมในกจิ กรรมต่างๆ ดว้ ย (2) พฒั นาการด้านอารมณ์ และจิตใจ การให้คำปรึกษา และทำความเข้าใจกับผู้ปกครองในการเลี้ยงดูเด็กปฐมวัย การ แสดงความรกั กบั เด็กอย่างถูกตอ้ งและเหมาะสมผู้ปกครองไม่ตามใจ เด็กจนเกินกวา่ เหตุ สอน ให้รู้จักผิดถูก ช่ัวดี และพิจารณาการเสนอโครงการกิจกรรมต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องกับการพัฒนา ด้านอารมณ์ และจิตใจ เช่น การเข้าวัดในวันพระ และวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา เพ่ือให้ เด็กในวัยนี้ได้ใกล้ชิดกับพระศาสนา โดยเชิญชวนผู้ปกครองเข้าร่วมกิจกรรม ตลอดจนการ ปลูกฝัง ให้เด็กรู้จักการรอคอย การมีน้ำใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่กัน และมีจิตอาสา (3) พัฒนาการ ด้านสังคม การปลูกฝังให้เด็กมีนิสัยจิตอาสา และรู้จักเสียสละ แบ่งปัน เปิดโอกาสให้เด็กร่วม แสดงความคิดเห็น ให้มีการประชุมผู้ปกครองประจำภาคเรียน และให้ความสำคัญในการ แสดงความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากผู้ปกครอง (4) พัฒนาการด้านสติปัญญา ส่งเสริม ให้ผู้ปกครองร่วมแสดงความคิดเห็นในการจัดซื้อสื่อการเรียนการสอน เพื่อเสริมพัฒนาการ เด็กด้านสติปัญญาจัดสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมกับการเรียนรู้ และให้เด็กเรียนรู้จาก ประสบการณ์จริงให้ซักถามและสามารถแก้ไขปัญหาได้ ตลอดจนการจัดประสบการณ์การ เรียนรู้อย่างมีเป้าหมาย จากสาระการเรียนรู้ ของหลักสูตรปฐมวัย สอดคล้องกับหลักสูตร การศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 (กระทรวงศึกษาธิการ 2560 : 4) เด็กทุกคนมีสิทธิที่จะ ได้รับการอบรมเลี้ยงดู และการส่งเสริมพัฒนาการตามอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก ตลอดจน
วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 261 ไดร้ ับการจัดประสบการณก์ ารเรยี นรู้อย่างเหมาะสม ด้วยปฏิสมั พนั ธท์ ่ีดีระหวา่ งเด็กกับพ่อแม่ เด็กกับผู้สอน เด็กกับผู้เลี้ยงดู หรือผู้ที่เก่ียวข้องกับการอบรมเลี้ยงดูการพัฒนา และให้ การศึกษาแก่เด็กปฐมวัย เพื่อให้เด็ก มีโอกาสพัฒนาตนเองตามลำดับข้ันของพัฒนาการทุก ด้าน อย่างเป็นองค์รวม มีคุณภาพและเต็มตามศักยภาพโดยกำหนดหลักการ ดังน้ี (1) ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และพัฒนาการที่ครอบคลุมเด็กปฐมวัยทุกคน (2) ยึดหลักการ อบรมเล้ียงดูและให้การศึกษาที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ โดยคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล และวิถีชีวิตของเด็กตามบริบทของชุมชน สังคม และวัฒนธรรมไทย (3) ยึดพัฒนาการและ การพัฒนาเด็กโดยองค์รวม ผ่านการเล่นอย่างมีความหมาย และมีกิจกรรมท่ีหลากหลาย ได้ ลงมอื กระทำในสภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ เหมาะสมกับวัยและมีการพักผ่อนเพียงพอ (4) จัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้เด็กมีทักษะชีวิต และสามารถปฏิบัติตนตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นคนดี มีวินัย และมีความสุข (5) สร้างความรู้ ความเข้าใจและ ประสานความร่วมมือในการพัฒนาเด็กระหว่างสถานศึกษากับพ่อแม่ ครอบครัว ชุมชน และทุกฝา่ ยทเี่ ก่ยี วขอ้ งกับการพัฒนาเด็กปฐมวยั องคค์ วามรู้ท่ีไดจ้ ากการศกึ ษา รูปแบบการเรียนรู้โครงงานบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด องคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลบางขนั อำเภอบางขนั จงั หวดั นครศรีธรรมราช มีการจดั นทิ รรศการ เปิดบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ในช่วงเดือนมีนาคมของทุกปี เพ่ือเสนอผลงานให้แก่ชุมชนใน การเสริมสร้างความสามารถของเด็กปฐมวัยเพ่ิมมากข้ึน อบรมให้ความรู้แก่ครูผู้จัด ประสบการณ์โครงงานบ้านนักวิทยาศาสตรน์ ้อย สามารถนำไปเป็นใช้ในการจัดประสบการณ์ ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก พัฒนารูปแบบการเรียนรู้โครงงานบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยทุก 2 ปี เพื่อรองรบั การเปลี่ยนแปลงของหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัย ตลอดจนมีการพัฒนาแผนการจัด ประสบการณ์อย่างต่อเนื่องเพื่อสนับสนุนให้เกิดการเรยี นรู้โครงงานบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ในศนู ยพ์ ัฒนาเด็กเล็กให้มากทส่ี ุด
262 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) เอกสารอ้างอิง กรมส่งเสริมการปกครองทอ้ งถ่นิ , (2546), คูม่ อื ศนู ย์พฒั นาเดก็ เล็กขององคก์ รปกครองส่วน ทอ้ งถ่นิ . กรุงเทพฯ : กระทรวงมหาดไทย. กระทรวงศึกษาธิการ, (2542), การจดั กระบวนการเรยี นรู้ท่มี ีผู้เรยี นเปน็ สำคญั ท่สี ดุ ตาม พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ.2542. กรงุ เทพฯ :กรมวชิ าการ. กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, (2558), คมู่ ือหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช 2546, กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ครุ สุ ภาลาดพรา้ ว, กระทรวงศึกษาธกิ าร,(2560), หลักสูตรการศกึ ษาปฐมวยั พทุ ธศกั ราช 2560, พิมพ์ครั้งที่ 3, กรุงเทพฯ : ชมุ ชนสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำกัด. กัญญา ศรตี งิ้ . (2558). การจัดการเรียนรู้ท่หี ลากหลายเพือ่ พฒั นาคณุ ภาพผ้เู รยี น ใน วิทยาลยั การอาชพี วงั ไกลกังวล. libdoc.dpu.ac.th/thesis/147916.pdf. นภาภรณ์ เพียงดวงใจ, (2558), การพฒั นารูปแบบการจัดการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตรโ์ ดยใช้ โครงงานร่วมกบั เทคนคิ การสืบเสาะหาความรู้ ตามแนวคิดหอ้ งเรยี นกลับดา้ นเพ่ือ เสรมิ สรา้ งความสามารถในการสรา้ งนวตั กรรมและจิตวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 3. บัณฑิตวทิ ยาลยั : มหาวิทยาลยั ศิลปากร. การประเมนิ โครงการบา้ นนกั วทิ ยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย รนุ่ 1- รุน่ 4 ของโรงเรียนใน สงั กดั สำนักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษา ประถมศกึ ษานครพนมเขต 1, วารสารรัชต์ภาคย์ ปที ี่ 10 ฉบับที่ 19 มกราคม-มถิ ุนายน 2559. ศศิธร เวยี งวะลยั , (2556), การจัดการการเรยี นรู้ Learning Management, กรุงเทพฯ : สำนกั พมิ พ์โอเดยี นสโตร์. ศิวรักษ์ บุญประเสรฐิ . (2559), การพัฒนารูปแบบการเรยี นการสอนโครงงาน เพ่อื เสริมสร้าง ความคดิ สร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ สำหรับนกั เรียนระดบั ประกาศนยี บตั รวิชาชพี สาขาชา่ งอตุ สาหกรรม, บัณฑติ วิทยาลยั : มหาลัยราชภัฎนครสวรรค์. จนิ ต์ ใจกระจ่าง, (2553), สภาพการจัดการเรียนการสอนทเ่ี น้นผู้เรียนเปน็ สำคัญของโรงเรียน สาธติ มหาวิทยาลัยรามคําแหง. รายงานวิจยั , โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย รามคำแหง : มหาวิทยาลยั รามคำแหง.
การพัฒนาหลกั สูตรการส่อื สารภาษาอังกฤษมคั คเุ ทศก์นอ้ ยตามรอย เส้นทางการท่องเท่ียวอำเภอโขงเจียม จงั หวดั อุบลราชธานี Development of the English Communication Curriculum for Young Local Guides following the Routes of Tourist Attractions in Khong Jiam District, Ubon Ratchathani Province 1พระมหาสุรยิ ัน อตุ ฺตโร, 2วารุณี ประไพรเมอื ง และ 3นคร จันทราช 1PhamahaSuriyun Uttaro, 2Warunee Praprimuang and 3nakhon Jantharat มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย, ประเทศไทย Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Thailand. [email protected], Received May 10, 2020; Revised July 12, 2020; Accepted August 25, 2020 บทคัดยอ่ การศึกษาวิจัยครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์ คือมีวัตถุประสงค์ 1) เพ่ือศึกษาแนวทางในการ พัฒนาหลักสูตรอบรมภาษาอังกฤษ “มัคคุเทศก์น้อยเพ่ือส่งเสริมการท่องเท่ียวของนักเรียน โรงเรียนโขงเจียมวิทยาคม อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี 2) เพ่ือสร้างหลักสูตรอบรม ภาษาอังกฤษ“มัคคุเทศก์น้อยเพื่อส่งเสริมการท่องเท่ียว 3) เพ่ือศึกษากระบวนการใช้หลักสูตร อบรมภาษาองั กฤษ “มัคคุเทศก์น้อยเพ่ือส่งเสริมการท่องเท่ียว 4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ เข้ารับการอบรม ซึ่งงานวิจัยนี้ใช้รูปแบบงานวิจัยเชิงปริมาณโดยใช้แบบสอบถามกับกลุ่ม ตวั อย่าง จำนวน 20 คน ผลการวจิ ัยพบว่า
264 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) 1. แนวทางการพัฒนาหลักสูตรเพื่อการพัฒนาภาษาอังกฤษสำหรับมัคคุเทศก์น้อย น้ันเป็นการสร้างความพร้อมและแรงจูงใจให้กับคนรุ่นใหม่หันมาสน ใจการเป็นมัคคุเทศก์ ท้องถิ่นของตนเอง อาจจะเริ่มจากการเป็นมัคคุเทศก์ฝึกหัดก่อน แล้วค่อยๆ พัฒนาตนเองจน สามารถเป็นมคั คุเทศก์ได้ในไมช่ ้าและอาจรวมถึงการสร้างรายได้ให้กบั ตนเองในระหว่างเรียน ได้อกี ดว้ ย 2. ผลการทดสอบความรู้และทักษะก่อนและหลังการฝึกอบรมของ ผู้เข้ารับการ ฝึกอบรม สรุปได้ว่าคะแนนหลังการฝึกอบรมสูงกว่าคะแนนก่อนการฝึกอบรมอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 ในด้านระดับความพึงพอใจของผู้เข้ารับการฝึกอบรมการใช้ หลักสูตรภาษาอังกฤษมัคคุเทศก์น้อย มีความพึงพอใจภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยแยก ผลลัพธ์แต่ละด้านดังน้ี ด้านวิทยากร ระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับมากท่ีสุด รองลงมาคือ ด้านวิธีการสอน ด้านหลักสูตร ด้านส่ือการสอนและสถานที่ และด้านการวัดผลประเมินผล ตามลำดบั ซึง่ ท้งั 5 ด้าน มรี ะดับความพึงพอใจอยใู่ นระดบั มาก 3. กระบวนการใช้หลักสูตรเนื้อหาสาระหรือหัวข้อวิชาที่จำเป็นในการสร้าง หลักสูตรฝึกอบรมการใช้ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสารในบริบทการนำเท่ียวของนักเรียน โรงเรียนโขงเจียมวิทยาคม มี 5 หัวข้อ วิชา ดังน้ี 1) ภาษาอังกฤษเพื่อการแนะนำตนเองและ ผู้อื่น 2) ภาษาอังกฤษเพ่ือโต้ตอบและสนทนา 3) ภาษาอังกฤษเพ่ือการทักทายและอาลา 4) การสนทนาภาษาอังกฤษเกี่ยวกับการท่องเที่ยว 5) การสนทนาภาษาอังกฤษเก่ียวกับสถานที่ ท่องเทีย่ วในอำเภอโขงเจยี ม จังหวัดอบุ ลราชธานี คำสำคญั : การพัฒนา การสื่อสารภาษาอังกฤษ โรงเรียนโขงเจียมวิทยาคม
วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 265 Abstract The objectives of this research included: 1) to study guidelines for developing the English communication curriculum for young local guides following the routes of tourist attractions for students at Khongjiamwittayakom school, Khongjiam district, Ubon Ratchathani province; 2) to create the English communication curriculum for young local guides; 3) to study the process of using the English communication curriculum for young local guides; and 4) to study the satisfaction of the trainees in the curriculum. This is a quantitative research by using questionnaires with the sampling groups of 20 persons. 1. The guidelines for developing the English communication curriculum for young local guides have prepared and motivated the new generation to be interested in being a local guide of their own locality. They may begin as local guide trainees, then gradually develop themselves till eventually become local guides. Moreover, this may also be a channel for generating their income during their study. 2. The results of knowledge and skill test of the trainees revealed that the results of pre and post-tests are significantly different in statistics at the level of 0.05. The overall satisfaction of the trainees in the English communication curriculum for young local guides was at high level that could be chronologically arranged by aspect from the highest to the lowest as the followings. The highest aspect was guest lecturer, followed by teaching method, the curriculum, the media used, the training site and the assessment and evaluation. All the five aspects were at high level. 3. The process of curriculum or topics necessary for creating the English Communication Curriculum in the context of local guide of students at Khongjiamwittayakom School include 4 topics as the followings: 1 English for introducing oneself and others; 2 Daily English conversation; 3 English for greetings and farewell; 5 English for tourist attractions in Khongjiam district, Ubon Ratchathani province. Keywords : Development, English Communication, Khongjiamwittayakom School
266 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) บทนำ ภาษาอังกฤษเป็นภาษาสากลท่ีสามารถใช้สื่อสารกับชาวต่างชาติทั่วโลก อีกทั้งยัง เป็น เคร่ืองมือท่ีใช้ในการแสวงหาข้อมูล ข่าวสาร และความรู้เกือบทุกแขนง ภาษาอังกฤษ นับว่าเป็น ภาษาต่างประเทศท่ีสำคัญและแพร่หลายท่ีสุด อาจกล่าวได้ว่าทุกประเทศในโลก เรยี นภาษาอังกฤษ เป็นภาษาต่างประเทศ ภาษาอังกฤษจงึ เป็นภาษาทจี่ ำเป็นในการศึกษาข้ัน สูงท้ังในและนอกประเทศ เพราะตำราทางวิชาการช้ันสูง ส่วนใหญ่ได้จัดพิมพ์เป็น ภาษาองั กฤษ ผทู้ ่ีรู้ภาษาอังกฤษจึงสามารถ เขา้ ใจความคิด ทัศนคติ วฒั นธรรมของชนชาตอิ ื่น ตลอดจนความก้าวหน้าทางวิทยาการและความ เคล่ือนไหวของโลกทั้งทางด้านการเมือง เศรษฐกิจและสังคมได้เป็นอยา่ งดี (ทศิ นา แขมณี,2545) การศึกษาภาษาอังกฤษมีบทบาทสำคัญ ใน การสร้างรากฐานการปฏิบัติงานและ เป็นการเพิ่มคุณค่าให้กับตนเอง ปัจจุบันการติดต่อส่ือสารเป็น ส่ิงจำเป็นของสังคมท่ีมีการ แข่งขันกันสูงในทุกๆด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านธุรกิจ การทำงาน การศึกษา การค้าขาย รวมถึง การเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วของการทำธุรกิจในยุคโลกาภิวัตน์ ประกอบกับการลงทุนของ บริษัทต่างชาติที่เข้ามาลงทุนในแถบภูมิภาคเอเชีย การจัดต้ังการค้าเสรี ทำให้เกิด ความ ต้องการบุคลากรและแรงงานท่ีมีความเช่ียวชาญและมีทักษะในการใช้ภาษาต่างประเทศมาก ข้ึน ในการติดต่อส่ือสารผู้ที่รู้ภาษาเพิ่มเติมจะได้เปรียบโดยเฉพาะอย่างย่ิงภาษาอังกฤษซ่ึง เป็นภาษาสากลทค่ี นใชก้ ันคอ่ นโลก (ทรงพล ภูมทิ ัศน์,2540) ดังน้ัน ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษจึงเป็นปัจจัยท่ีนำไปสู่ระดับของ ความสำเร็จหรือความล้มเหลวได้ ท่ีสำคัญคือ การส่ือสารหรือการอธิบายถึงวัฒนธรรมความ เป็นอยู่และการรักษาไว้ซ่ึงเอกลักษณ์ด้านวิถีชีวิต รวมถึงสถานที่สำคัญทางโบราณสถานท่ี สำคัญประเพณีวัฒนธรรมและสถานทท่ี ่องเท่ียวในบริเวณรอบๆ เขตอำเภอโขงเจยี ม เป็นส่ิงที่ ควรเร่งให้เกิดขึ้นโดยเร่งด่วน (จงกลนี ชุติมาเทวินทร์,2542) จึงนับได้ว่าธุรกิจนำเที่ยวมีส่วน สำคัญในการสนบั สนุนให้การท่องเท่ียวพัฒนาไปอย่างมปี ระสิทธิภาพ กลา่ วคือ สามารถสนอง ความต้องการของนักท่องเที่ยว สามารถสรา้ งรายได้เข้าสู่ประเทศ จังหวัด ชุมชนท้องถิ่นและ สามารถสร้างความพึงพอใจให้แก่ประชาชนเจ้าของท้องถ่ินในขณะเดียวกัน ยังสามารถรักษา เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมและสภาพแวดล้อมทางการท่องเที่ยวให้คงอยู่คู่สังคมมนุษย์ให้นาน ท่สี ุด (จงกลนี ชตุ มิ าเทวินทร์,2542)
วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 267 ผู้วิจัยเล็งเห็นถึงความสำคัญดังกล่าว จึงสนใจท่ีจะทำวิจัยเรื่อง การพัฒนาทักษะ ภาษาอังกฤษที่จำเป็นต้องใช้ในบริบทนำเที่ยว ในเขตอำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี เพ่ือการส่งเสริมการท่องเท่ียวในพ้ืนที่เขตอำเภอโขงเจียม เพื่อให้ได้มาซึ่งประสิทธิภาพการ ส่ือสารระหว่างคนนำเที่ยวและนักท่องเที่ยวการให้ขอ้ มูลท่ีถกู ต้องตามสถานทีท่ ่องเที่ยวต่างๆ แก่นักท่องเทย่ี วต่อไป วตั ถปุ ระสงคก์ ารวจิ ัย 1. เพื่อศึกษาแนวทางในการพัฒนาหลักสูตรอบรมภาษาอังกฤษมัคคุเทศก์น้อยที่จะ เป็นประโยชน์ต่อส่งเสริมการท่องเท่ียว อ.โขงเจียม จ.อุบลราชธานี กรณีศึกษา โรงเรียนโขง เจียมวทิ ยาคม อ.โขงเจียม จงั หวดั อบุ ลราชธานี 2. เพ่ือศึกษากระบวนการใช้หลักสูตรอบรมภาษาอังกฤษ มัคคุเทศก์น้อยในการ ส่งเสริมการท่องเท่ียว อ.โขงเจยี ม จ.อุบลราชธานี” กรณีศกึ ษา โรงเรียนโขงเจียมวิทยาคม อ. โขงเจียม จงั หวัดอุบลราชธานี 3. เพ่อื ศึกษาความพึงพอใจของผ้ใู ชห้ ลักสตู รอบรมภาษาอังกฤษ “มัคคุเทศกน์ ้อย” สำหรับส่งเสริมการท่องเท่ียว อ.โขงเจียม จ.อุบลราชธานี” กรณีศึกษา โรงเรียนโขงเจียม วทิ ยาคม อ.โขงเจียม จงั หวัดอุบลราชธานี วธิ ีดำเนนิ การวจิ ัย การวิจัยเร่อื ง การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมภาษาองั กฤษมัคคเุ ทศกน์ ้อยตามรอย เส้นทางการท่องเทย่ี ว อ.โขงเจยี ม จ.อบุ ลราชธานี ผ้วู จิ ยั ใชร้ ปู แบบการวิจัยแบบปริมาณ 1. ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่างในการวิจยั ประชากรท่ีใช้ในการวิจัยคร้ังน้ี ได้แก่ กลุ่มนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5 ประจำปี การศึกษา 2560 ณ โรงเรียนโขงเจียมวิทยาคม อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี จำนวน ทัง้ ส้ิน 20 คน ซึ่งมีนักเรยี นหญงิ ทั้งหมด15 คน และนักเรียนชายท้ังหมด 5 คนกลุ่มตัวอยา่ งท่ี ใช้ในการวิจัยครั้งน้ีได้แก่ กลุ่มประชากรคือนกั เรียนชัน้ มัธยมศกึ ษา ปีท่ี 5 ประจำปี การศกึ ษา 2560 โรงเรียนโขงเจียมวิทยาคม อำเภอโขงเจียม จงั หวดั อุบลราชธานี จำนวนทงั้ ส้นิ 20 คน
268 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) โดยใช้การสุ่มกลุ่มตัวอย่าง (Random Sampling) โดยจะต้องมีเวลาเข้าฝึกอบรมจนจบ หลักสตู ร ของระยะเวลาการฝกึ อบรม 2. เคร่ืองมือทใ่ี ชใ้ นการวิจัย เครื่องมอื ทใ่ี ชใ้ นการรวบรวมขอ้ มูล 2 ชุด คือ 2.1 เนอ้ื หาหลักสูตรและแบบทดสอบก่อนฝกึ อบรมและหลังฝึกอบรม 2.2 แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อหลักสูตรฝึกอบรมการใช้ภาษาอังกฤษ เพอื่ การสอื่ สารฯ โดยเครื่องมือทงั้ 2 ชดุ ดงั น้ี เคร่ืองมือชุดท่ี 1 เนื้อหาหลักสูตรเนื้อหาหลักสูตรมีดังนี้ หลักสูตรฝึกอบรมการใช้ ภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสารในบริบทการนำเท่ียว An English Communication Curriculum for Students’ High School of Khong Chiam Wittayakhom School เครื่องมือชุดท่ี 2 แบบสอบถามความพึงพอใจท่ีมีต่อหลักสูตรฝึกอบรมภาษาอังกฤษ มัคคุเทศก์น้อยตามรอยเส้นทางการท่องเที่ยว อ.โขงเจียม จ.อุบลราชธานี ซ่ึงผู้วิจัยได้กำหนด สร้างแบบสอบถามเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ มีเกณฑ์การให้ คะแนนในการวิเคราะหข์ อ้ มลู 3. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล 3.1 ศึกษารวบรวมแนวคิดและการพัฒนาหลักสูตร การฝึกอบรม ทฤษฎีการ เรียนรู้ ภาษาและ ภาษาต่างประเทศ ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร ตลอดจนงานวิจัยที่ เก่ียวข้อง เพื่อมาเป็นพ้ืนฐานข้อมูล ในการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมภาษาอังกฤษมัคคุเทศก์ นอ้ ยตามรอยเสน้ ทางการทอ่ งเที่ยว 3.2 รวบรวมข้อมูลจากการประเมินความเหมาะสมของหลักสูตรฝึกอบรม ภาษาอังกฤษมัคคุเทศก์น้อยตามรอยเส้นทางการท่องเที่ยว อ.โขงเจียม จ.อุบลราชธานี จาก ผเู้ ชี่ยวชาญเพือ่ นำไปปรบั ปรงุ แก้ไขและใชต้ อ่ ไป 3.3 รวบรวมข้อมูลจากการทดสอบก่อนการฝึกอบรม (Pre-test) เพื่อทราบ คะแนนก่อนการ ฝึกอบรมหลักสูตรฝึกอบรมการใช้ภาษาอังกฤษ เพื่อการส่ือสารในบริบทนำ เทย่ี วของนักเรยี น
วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 269 3.4 รวบรวมข้อมูลจากการทดสอบหลังการฝึกอบรม (Post-test) เพื่อทราบ คะแนนหลังการ ฝึกอบรม และนำมาเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิ ทางการฝึกอบรมก่อนและหลัง การฝึกอบรมหลักสตู ร 4. การวิเคราะห์ข้อมูล 4.1 การประเมินความเหมาะสมของหลักสูตรฝึกอบรมการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อ การท่องเท่ียว แบบสอบถามความพึงพอใจ ของนักเรียนโรงเรียน โรงโขงเจียมวิทยาคาร จังหวดั อุบลราชธานี โดยใช้ค่าเฉลี่ย 4.2 การประเมินค่าความสอดคล้องของหลักสูตรฝึกอบรมการใช้ภาษาอังกฤษ เพ่ือการท่องเที่ยว ของนักเรียนโรงเรียน โรงโขงเจียมวิทยาคาร จังหวัดอุบลราชธานี พร้อม ด้วยแบบทดสอบก่อนและหลังการฝึกอบรม โดยการใชค้ า่ เฉลี่ยและสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน 4.3 การวิเคราะห์ระดับความพึงพอใจท่ีมีต่อหลักสูตรฝึกอบรมการใช้ ภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว ของนักเรียนโรงเรียน โรงโขงเจียมวิทยาคาร จังหวัด อุบลราชธานี โดยการนำคะแนนท่ีได้รับจากการตอบแบบสอบถามมาแปลความหมาย ตาม เกณฑค์ ่าเฉล่ียทก่ี ำหนดไว้ ผลการวจิ ัย 1. ข้อมูลท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ทั้งหมด 20 คน เป็นเพศหญิง จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 75 และเป็นเพศชาย จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 25 กลุ่มประชากร ตัวอยา่ งคอื นักเรียนชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 5 โรงเรียนโขงเจยี มวิทยาคม อำเภอโขงเจียม จงั หวัด อบุ ลราชธานี 100 ขอ้ มูลผู้ตอบแบบสอบถาม 80 75 ชาย หญงิ 60 40 25 20 0 เพศ
270 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) 2. การพัฒนาหลักสูตรหลักสูตรฝึกอบรมภาษาอังกฤษมัคคุเทศก์น้อยตามรอย เส้นทางการท่องเท่ียว ผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการใช้ภาษาอังกฤษ เพ่ือการสื่อสาร ในด้านแนวคิดและการพัฒนาหลักสูตร การฝึกอบรม ทฤษฎี การเรียนรู้ ภาษาและภาษาต่างประเทศ ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารในบริบทต่างๆ และงานวิจัยทั้งใน ประเทศและต่างประเทศ (เพ็ญแข ประจนปัจจนึก,2527) พบว่าเด็กนักเรียนในระดับ มัธยมศึกษาตอนปลายไม่มีความมั่นใจในการส่ือสารภาอังกฤษกับนักท่องเท่ียวชาวต่างชาติ ไม่มีหลักสูตรที่จะพัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารในบริบทนำเที่ยว ย่ิงจังหวัด อุบลราชธานีที่มีสถานท่ีท่องเที่ยวมากมายและมีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติให้ความสนใจมา เท่ียวเป็นจำนวนมากจึงทำให้เกิดปัญหาของการใช้ภาษาอังกฤษ ในการส่ือสารในฐานะเจ้า บ้านที่ดี(อัจฉรา วงศ์โสธร,2544)จึงทำให้เกิดความต้องการในการฝึกอบรมการใช้ ภาษาอังกฤษในบริบทนำเที่ยว ซึ่งผู้วิจัยได้สร้างหลักสูตรการอบรมข้ึนจำนวน 6 หัวข้อใหญ่ ซึ่งแต่ละหัวข้อจะมีทฤษฎีและปฏิบัติติ ผู้วิจัยจึงได้นำหัวข้อ 6 หัวข้อดังกล่าวมาสร้างเป็น หัวข้อในการ ฝึกอบรมและผู้วิจัยได้นำไปขอคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ 2 ทา่ น 3. ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนมัธยมศึกษาช้ันปีที่ 5 โรงเรียนโขงเจียม วิทยาคม ท่ีมีต่อการฝึกอบรมการใช้ภาษาอังกฤษหลักสูตร มัคคุเทศก์น้อย พบว่า นักเรียนมี ความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมาก( X = 3.89 เม่ือพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้าน วิทยากรอย่ใู นระดับมากทีส่ ดุ ( X = 4.50) นอกนัน้ อยใู่ นระดับมาก ( X = 3.69-3.87) อภิปรายผล การวิจัยเรื่อง การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมภาษาอังกฤษมัคคุเทศก์น้อยตามรอย เส้นทางการท่องเที่ยว อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี มีประเด็นที่สามารถอภิปราย ผลได้ ดังนี้ 1. ผลการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมการใชภ้ าษาอังกฤษในบริบทท่องเทีย่ ว หลกั สตู ร มัคคุเทศก์น้อยท่ีพัฒนาขึ้นไปทดลองกับนักเรียนมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 5 โรงเรียนโขงเจียม วิทยาคม จังหวัด อุบลราชธานี พบว่า หลักสูตรฝึกอบรมการใช้ภาษาอังกฤษในบริบท ท่องเที่ยวที่พัฒนาขึ้นผ่านเกณฑ์และสามารถนำไปใช้ได้ ทั้งน้ีเน่ืองจากผู้วิจัยได้พัฒนา
วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 271 หลักสูตรด้วยการบูรณาการกระบวน การพัฒนาหลักสูตรของแนวคิดของทาบา ท่ีได้กำหนด กระบวน การพัฒนาหลักสูตรเป็นข้ันตอน คือต้องวิเคราะห์ปัญหาความต้องการและความ จำเป็น ของผูเ้ รียนในการกำหนดจุดมงุ่ หมายโดยอาศัยขอ้ มูลท่ไี ด้จากการวิเคราะห์ปญั หาและ ความต้องการ มาเป็นหลักในการพิจารณา การคัดเลือกหัวข้อที่จะนำมาใช้ในการจัดอบรม คำนึงถึง ความสอดคล้องกับจุดมุ่งหมายที่กำหนดไว้เป็นสำคัญ การจัดลำดับหัวข้อท่ีคัดเลือก มาโดย พิจารณาถึงความเหมาะสมท่ีจะให้ผู้เรียนได้รับความรู้ก่อนหรือหลัง และมีการ ประเมินผล ซ่ึงจะเป็น เครื่องชี้ว่าการดำเนินการพัฒนาหลักสูตรประสบความสำเร็จมากหรือ น้อยเพียงใด ดังน้ัน ผู้วิจัยจึงได้ นำหัวข้อท่ีสำรวจได้มาจัดลำดับเรียงในหลักสูตรและนำทุก ขั้นตอนมาปรบั ปรุงแก้ไข บรู ณาการให้เกิดความสอดคล้องและ เหมาะสมกับสถานการณ์จริง มากท่ีสุด แล้วจึงได้นำไปทดลองใช้ฝึกอบรมกับนักเรียนต่อไป ซึ่งสอดคล้องกับความคิดเห็น ของนิรมล ศตวุฒิ ท่ีกลา่ วว่า การจดั เน้ือหาหลักสูตรท่ีดี ไม่วา่ จะเป็นเน้ือหาหลักสูตรประเภท ใด จะต้องคำนึงถึงขอบเขต ความต่อเน่ือง ความเป็นลำดับและการบูรณาการ ความต่อเนื่อง คือการจัดเน้ือหาหลักสูตรจากระดับหน่ึง ไปอีกระดับหน่ึง จากเน้ือหาหน่ึงไปอีกเน้ือหาหน่ึง โดยไม่ขาดตอน ทำให้ผู้เรียนได้มีความกา้ วหน้าใน การเรียนรู้ไปเรื่อยๆ เน้นความคิดประเด็น สำคัญ เพ่ือให้ม่ันใจว่า ผู้เรียนได้ประสบการณ์ ซ่ึงการท่ีเนื้อหามีความต่อเนื่องกันผู้เข้า ฝึกอบรมมีการเรียนรู้โดยเป็นการ ลำดับขั้น ความสัมพันธ์ของการเรียนรู้ที่ได้รับ เพ่ือให้ สอดคล้องกบั ความตอ้ งการของผู้ท่ีเข้ารบั การฝกึ อบรม 2. ผลการทดลองใช้หลักสูตรฝึกอบรมภาษาอังกฤษมัคคุเทศก์น้อยตามรอยเสน้ ทาง การท่องเท่ียว อ.โขงเจียม จ.อุบลราชธานี ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5 โรงเรียนโขง เจียมวทิ ยาคม พบวา่ ผเู้ ขา้ รับการฝึกอบรมหลักสูตรฝึกอบรมภาษาองั กฤษมัคคุเทศก์น้อยตาม รอยเส้นทางการท่องเที่ยว มีคะแนนการทดสอบหลังการฝึกอบรมสูงกว่าคะแนนการทดสอบ ก่อนการฝึกการอบรม สรุปได้ว่าหลักสูตรฝึกอบรมภาษาอังกฤษมัคคุเทศก์น้อยตามรอย เส้นทางการท่องเท่ียว ที่ผู้วิจัยได้พัฒนาและสร้างขึ้นคร้ังน้ี ส่งผลต่อความรู้ความเข้าใจและ ทกั ษะทำใหผ้ ู้เข้ารับการฝึกอบรมได้ความรู้เพ่ิมข้ึนจากเดมิ ทั้งน้ีอาจเนื่องมาจากองค์ประกอบ ของหลักสูตรที่สอดคล้องกับความต้องการและเหมาะสมกับสถานการณ์จริง เป็นเพราะ หลักสูตรฝึกอบรมภาษาอังกฤษมัคคุเทศก์น้อยตามรอยเส้นทางการท่องเท่ียวที่สร้างข้ึน ได้ สนองความต้องการของนักเรียน โดยยึดหลักผู้เข้ารับการฝึกอบรมเป็นศูนย์กลางในการ ฝกึ อบรมและเน้นท่ีความต้องการของผู้ ฝึกอบรมในการนำภาษาองั กฤษไปปฏิบัติติงาน จึงทำ
272 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) ใหผ้ ู้รบั การฝึกอบรมมคี วามรู้และทักษะดีขนึ้ ดังท่ี ทิศนา แขมณี กลา่ วว่า การฝกึ อบรมมักจัด ข้ึนเพ่ือให้ผู้เรียนสามารถนำความรู้และทักษะท่ีได้จากการเรียนรู้ไปใช้ในการปฏิบัติงานได้ ทันทีและมุ่งให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ ที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและการดำรงชีวิต และการท่ียึดผู้เรยี นเป็นจดุ ศูนย์กลางนน้ั จะทำให้ผู้เรยี นเกดิ ความตืน่ ตัวรอบด้าน อันจะสง่ ผล ใหเ้ กิดการเรยี นรูท้ ่ดี ตี ามมา 3. ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๕ โรงเรียนโขงเจียม วิทยาคม ที่มีต่อการฝึกอบรมหลักสูตรภาษาอังกฤษสำหรับมัคคุเทศก์น้อย พบว่านักเรียนมี ความพึงพอใจหลักสูตรฝึกอบรมการใช้ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารฯ โดยรวมอยู่ในระดับ มาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านวิทยากรอยู่ในระดับมากท่ีสุด นอกนั้นอยู่ในระดับ มาก ท้ังนี้อาจเน่ืองมาจากเนื้อหาของหลักสูตรท่ีผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้นนั้นเป็น ประโยชน์ต่อ บคุ ลากรผู้เข้ารับการฝกึ อบรมหลักสูตรภาษาองั กฤษสำหรับมัคคุเทศก์น้อย ในบริบทนำเที่ยว อันเป็นผลมาจาก ผู้วิจัยได้จัดทำหลักสูตรการฝึกอบรมที่ตรงกับความต้องการและความ จำเป็นของบุคลนักเรียน โดยได้ทำการสำรวจความต้องการของนักเรียนก่อน แล้ว จึงนำมา พัฒนาเป็นหลักสูตรท่ีใช้ในการฝึกอบรม ผลการวิจัยคร้ังน้ีซึ่งสอดคล้องกับคำกล่าวของ พัฒนา สุขประเสริฐ (2541) ท่ีว่าหลักสูตรการฝึกอบรมมีความสำคัญอย่างย่ิงต่อความสำเร็จ ในการจัดฝึกอบรม เพราะเป็นการประมวลกิจกรรมและประสบการณ์ท้ังหลายที่จัดข้ึนเพื่อ ช่วยให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้เกิดการพัฒนาในทุกด้าน ซ่ึงจากหลักสูตรที่ผู้วิจัยได้สร้างข้ึน ก่อให้เกิดความ สำเร็จในวัตถุประสงค์ท่ีนักเรียนผู้เข้าฝึกอบรมไว้ได้กำหนดไว้ นักเรียนจึงมี ความพึงพอใจโดยรวมในทุก ๆ ด้านระดับมาก อันได้แก่ ด้านเนื้อหาวิชา ด้านวิธีการสอน ดา้ นสือ่ การ สอนและสถานที่ในการฝึกอบรม และด้านการวัดและการประเมนิ ผล สำหรับด้านวิทยากร นักเรียนมีความพึงพอใจมากที่สุด ทั้งน้ีอาจเนื่องมาจาก บุคลากรมีความต้องการในการฝึกอบรมภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในบริบทนำเที่ยวเป็น พ้ืนฐาน เน่ืองจากสังคมปัจจุบันได้ให้ ความสำคัญการท่ีบคุ คลมีความรู้ภาษาองั กฤษ ท้ังนผี้ ทู้ ีม่ ี ความรู้ทางภาษาอังกฤษสามารถแสวงหา ความรใู้ นศาสตร์สาขาต่าง ๆ เม่ือนักเรียนได้เข้ามา รับการฝึกอบรมตามวัตถุประสงค์ท่ีต้ังไว้ อีกทั้งวิทยากรผู้ฝึกอบรมมีบุคลิก ลักษณะที่ดี มี ความชัดเจนในทักษะของภาษา ท้ังน้ำเสียงและกิริยาท่าทาง สนุกสนาน ไม่ทำให้บรรยากาศ การอบรมนา่ เบอ่ื มีกิจกรรมที่หลากหลาย ทำให้ผูเ้ ข้ารับการฝกึ อบรมไดม้ ีส่วนร่วมในกิจกรรม อย่างท่ัวถึง ไม่เบ่ือหน่ายในการฝึกอบรม และนักเรียนได้รับการถ่ายทอดความรู้จากวิทยากร
วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 273 ที่มีความตั้งใจและทุม่ เท ตลอดจนกระตนุ้ และให้ กำลังใจแก่ผเู้ ข้ารับการฝึกอบรมเม่ือผู้เข้ารับ การฝึกอบรมประสบปัญหาในการฝึกอบรม ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความมั่นใจในการสื่อสาร ระหว่างตนกับวิทยากร และเป็นการเสริมความรู้ด้านภาษาอังกฤษให้กับผู้เข้ารับการอบรม อย่างมคี ณุ ภาพ นักเรยี นจึงมีความพึงพอใจใน การฝึกอบรมมากท่สี ุด นอกจากนี้การที่นักเรียนมีความพึงพอใจหลักสูตรฝึกอบรมการใช้ภาษาอังกฤษ หลักสูตรมัคคุเทศก์น้อย โดยรวมอยู่ในระดับมากอันได้แก่ ด้านหลักสูตร ด้านวิธีการสอน ดา้ นส่ือการสอนและสถานที่ในการฝึกอบรม ด้านการวดั และการประเมนิ ผลน้ัน อาจพจิ ารณา ได้ เป็นประเด็นดังน้ี ด้านหลักสูตร พบว่านักเรียนเข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตรการใช้ภาษาอังกฤษ หลักสูตรมัคคุเทศก์น้อย มี ความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก เนื่องจากเน้ือหาท่ีผู้วิจัยได้กำหนด ไว้ในหลักสตู ร สอดคลอ้ งกับการนำไปใชใ้ นสถานการณ์จรงิ โดยเปน็ เนื้อหาดา้ นท่จี ดั ไว้สาหรับ ใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันและในบริบทนำเท่ียว เช่น เน้ือหาภาษาอังกฤษการทักทาย สอบถามข้อมูลเบ้ืองต้น เพ่ือบอกทิศทางและ ตำแหน่งของสถานที่ท่องเท่ียวต่าง ๆในอำเภอ โขงเจยี ม หรือสถานที่ท่องเท่ียวในประเทศไทย ดังผลจากการสำรวจทพ่ี บว่าเนอื้ หาวชิ ามีส่วน ช่วยให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมใช้ภาษาองั กฤษได้เหมาะสมตามกาลเทศะ และเน้ือหาวิชามีส่วน ช่วยให้ผู้เข้ารับการ ฝึกอบรมใช้ภาษาอังกฤษไปใช้ได้จริงในชีวิตประจำวันและในบริบทนำ เท่ียว อีกทั้งเนื้อหาวิชาภาคทฤษฎีและปฏิบัติมีความสอดคล้องกัน การท่ีนักเรียนได้เข้ามา ฝึกอบรมการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสารในบริบทนำเท่ียวน้ี เนื่องจากได้มีการพิจารณา แล้วว่า ผลของการฝึกอบรมจะนำไปสู่การแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในพัฒนาศักยภาพการใช้ ภาษาอังกฤษ อีกท้ังยังสามารถนาไปใช้ได้กับชีวิตประจำวันในด้านอื่นๆ โดยเฉพาะการนำ เท่ียวในท้องถ่ินให้กับนักท่องเท่ียวชาวต่างชาติ ซ่ึงสอดคล้องกับการวิจัยของวาสนา เพ่ิมพูล เรื่องการพัฒนาชุดการสอนเสริมวิชาภาษาอังกฤษระดับมัธยม ศึกษาตอนปลาย สาหรับ นักศึกษาการศึกษานอกโรงเรียน ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 พบว่าภาษาอังกฤษมีบทบาทสำคัญและความจำเป็นต่อการนำไปใช้ใน ชีวิตประจำวัน การ ประกอบอาชีพ แม้กระท่ังการทำงาน ก็ต้องใช้ภาษาอังกฤษ ในการติดต่อสื่อสารกับ สภาพแวดล้อมตา่ ง ๆ ด้ าน วิ ธี ก า ร ส อ น โด ย ร ว ม ข อ งนั ก เรี ย น ที่ เข้ า รั บ ก า รฝึ ก อ บ ร ม ห ลั ก สู ต ร ก า ร ใช้ ภาษาอังกฤษหลักสูตรมัคคุเทศก์น้อย พบว่ามีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ท้ังนี้อาจ
274 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) เนื่องมาจากวิธีการสอน ของวิทยากรที่ใช้คำถามกระตุ้นให้บุนักเรียนคิดและตัดสินใจด้วย ตนเอง ซ่ึงตรงกับซาวินยอง ได้สรุปหลักสำคัญว่าการสอนภาษาเพ่ือการส่ือสารเปิดโอกาสให้ ผู้เรียนใช้ วิธกี ารหลากหลาย ในการถา่ ยทอดความรทู้ ่ีมีอยู่อย่างเป็นระบบ เพ่ือส่ือความหมาย ผู้เรียนจะต้องมี ความต้องการและสนใจที่จะเรียน ผู้สอนจะต้องทำหน้าที่หลากหลายบทบาท เพอ่ื จัดเตรยี มให้ผเู้ รียน ได้แสดง และมีส่วนร่วมในการใช้ภาษาเพ่ือสื่อสารในด้านต่างๆ ดังน้ัน การที่นักเรียน มีความพอใจ ในวิธีการสอนที่วิทยากรมีการเตรียม การฝึกอบรมมาล่วงหน้า และยกตัวอย่างประกอบการอธิบาย อย่างชัดเจน รวมถึงการจัดกิจกรรมการฝึกอบรมเพื่อให้ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความกล้าที่จะแสดงออก จึงสอดคล้องกับหลักสำคัญ ของนักการ ศกึ ษา นอกจากนจี้ ากการท่ีวทิ ยากรใหก้ าร สนับสนนุ ให้ผู้เขา้ รบั การฝกึ อบรมเห็นความสำคัญ ในการฝึกอบรมภาษาอังกฤษและจัดกิจกรรมการ ฝึกอบรม เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมี ความกล้าที่จะแสดงออก สอดคล้องกับการวิจัยของชนิดา จันทรธ์ ีรยทุ ธ ที่ศกึ ษาเรื่องความพึง พอใจในการเรียนหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิตวิชาเอกบัญชี ของนิสิตระดับปริญญาตรีภาค ปกติ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พบว่านิสิตมีความพึงพอใจด้าน วธิ กี ารสอนเนื่องจากครูผ้สู อนมคี วามเอาใจใสต่ ่อผูเ้ รยี นและมคี วาม เข้าใจลกั ษณะของผู้เรียน ด้ าน ส่ื อการส อน แ ล ะส ถาน ท่ี ใน การอบ รม ของนั กเรีย น ที่ เข้ารับ การฝึ กอ บ ร ม หลักสูตรการใช้ภาษาอังกฤษหลักสูตรมัคคุเทศก์น้อย พบว่ามีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก เนื่องจากสื่อและอุปกรณ์ท่ีได้จัดไว้ในการฝึกอบรมครง้ั นี้เหมาะกบั เน้ือหาและเป็นอุปกรณ์ที่มี เทคโนโลยีในปัจจุบัน เช่น ภาพจากวิดีทัศน์ ข้อมูลจากคอมพิวเตอร์ เนื้อหาสาระที่เป็นท่ี สนใจของผู้เข้าฝึกอบรม และสามารถนำไปใช้ในสถานการณ์จริงได้ สำหรับสถานที่ท่ีใช้ในการ ฝึกอบรมคือ ห้องประชุม โรงเรียนโขงเจียมวิทยาคม ทำให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมี ความคุ้นเคย และไม่มีความจำเป็นเดนิ ทางไกล ซึง่ สะดวกในการเข้ามารับการ และขนาดของ ห้องไม่ใหญ่เกินไป เหมาะสาหรับผู้เข้าฝึกอบรม จำนวน 20 คน ดังท่ีโดนัลด์สัน ได้กล่าวถึง หลักพิจารณาสถานท่ีในการอบรมว่า ขนาดและลักษณะของห้องควรเหมาะสมกับขนาดของ กล่มุ ผู้ทเ่ี ขา้ รับการอบรมสอดคลอ้ งกบั งานวิจัยของสัญชัย จิตตป์ ระสงค์ ที่ศึกษาเกี่ยวกบั ความ พึงพอใจต่อสภาพแวดล้อมในการทำงานของครูที่ปฏิบัติการสอนในโรงเรียนสังกัดสานักงาน เขตพ้ืนท่ีการศึกษาราชบุรี เขต 1 พบว่า ครูมีความพอใจในระดับมาก เนื่องจากสถานที่ต้ัง อาคารไม่ใกล้หรือไกลจนเกินไป ห้องเรียน สะดวกต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และ งานวิจัยของจำโนทย์ ปล้องอุดม ที่ศึกษาเรื่องปัจจัยทีม่ ีความสัมพนั ธ์กับความพึงพอใจในการ
วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 275 ปฏบิ ัตงิ านของครูอาจารย์ผสู้ อนวิชา เกษตร โรงเรียนมัธยมศกึ ษาในจังหวัดชลบรุ ี พบว่าความ สภาพแวดล้อมในโรงเรียนเหมาะสม และ เอ้ืออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงาน เป็น ปัจจัยที่สัมพนั ธก์ ับความพงึ พอใจในการปฏบิ ตั งิ าน ของครูในระดับมาก ด้านการวัดและประเมินผลของนักเรียนที่เข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตรการใช้ ภาษาอังกฤษหลักสูตรมัคคุเทศก์น้อย พบว่ามีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ทั้งนี้อาจ เนื่องมาจากขณะท่ีฝึกอบรมจะ มีการประเมินการพูดจากบุคลากรผู้เข้ารับการฝึกอบรม โดย การตอบคาถามกับวิทยากรโดยตรง หรือการจับคู่ตอบระหว่างผู้เข้ารับการฝึกอบรมด้วยกัน การประเมินความสามารถของผู้เข้ารับการ ฝึกอบรมในการส่ือสารจากการพูด เพื่อท่ีจะได้ ทราบว่าการฝึกอบรมครั้งนี้ได้บรรลุวัตถุประสงค์หรือไม่ โดยเฉพาะอย่างย่ิงการใช้ ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร ทักษะการพูดนับได้ว่าเป็นทักษะท่ี สำคัญและจำเป็นมาก ดังที่ ซทิ โซปูลู อธิบายว่าการพูดไม่ใช่เพียงแต่ออกเสียงจากการฝกึ ตามโครงสร้างประโยคได้เท่านั้น แต่ต้องได้ความรู้ความเข้าใจ รวมทั้งสามารถแสดงความรู้สึกได้อย่างเหมาะสมด้วย ดังน้ัน การประเมินผลจากการพูดจึงเป็นส่ิงจำเป็น ซึ่ง สอดคล้องกับ วัชรา หมัดป้องกันตัว ท่ีศึกษา ปัญหาในการเรียนภาษาอังกฤษในทักษะทั้งสี่ด้านของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรช้ันสูง สาขาบริหารธุรกิจ โรงเรียนเกษมโปลีเทคนิค พบว่าการวัดและประเมินผล มีความยุติธรรม และ การวดั ผลพัฒนาการของผู้เข้ารับการ ฝึกอบรมระหว่างการฝึกอบรม ในการประเมินผล ทกุ คร้ังจะตอ้ งมคี วามเทีย่ งตรงและยุตธิ รรมต่อผู้เข้ารบั การฝึกอบรม องคค์ วามรู้ทไี่ ดจ้ ากการศึกษา นักเรียนมีความสนใจท่ีจะศึกษาเพิ่มเติมในการใช้ภาษาอังกฤษในบริบทนำเท่ียว และบริบทอื่นๆ โรงเรียนควรจัดตั้งชมรมเพ่ือฝึกอบรมการใช้ภาษาอังกฤษในบริบทนำเที่ยว เช่น ชมรมมัคคุเทศก์น้อยโขงเจียม และโรงเรียนควรจัดงบประมาณให้เพียงพอต่อการ ฝึกอบรมการใช้ภาษาอังกฤษในบริบทนำเท่ียวของนักเรียน เพ่ือฝึกให้นักเรียนได้เรียนรู้การ ทำงานในสถานการณ์จริงและสร้างรายได้เสริม มีการนำหลักสูตรการฝึกอบรมน้ีไปใช้ ควรมี การศึกษารายละเอียดของหลักสูตรฝึกอบรมในการปรับให้เข้ากับการปฏิบัติงานของผู้เข้ารับ การฝึกอบรม และคำนึงถึงระยะเวลาในการ ฝึกอบรม ซ่ึงยืดหยุ่นให้เหมาะสมกับความพร้อม ของผู้เข้ารับการฝึกอบรม ในการดำเนินการจัดฝึกอบรม มีวิทยากรท่ีมีความสามารถหรือมี
276 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) ความเชี่ยวชาญในภาษาอังกฤษและมีบุคลิกภาพที่น่าสนใจ เพ่ือเป็นแรงจูงใจให้แก่ผู้เข้ารับ การฝึกอบรม หลังจากเสร็จส้ินการฝึกอบรม มีการประเมินคุณภาพของผู้เข้ารับการฝึกอบรม เปน็ การต่อเนือ่ ง และสรา้ งแรงจูงใจในการลงพ้ืนท่ีฝกึ จริงให้กบั ผทู้ ่ีได้รับการฝึกอบรมเพือ่ ทจ่ี ะ สร้างความม่นั ใจและพัฒนาใหเ้ กดิ ศกั ยภาพสูงสดุ เอกสารอ้างองิ จงกลนี ชุตมิ าเทวินทร์. (2542). การฝกึ อบรมเชิงพัฒนา. กรงุ เทพฯ: พี เอ ลิฟวิ่ง. ทรงพล ภูมิทศั น์. (2540). จติ วทิ ยาทว่ั ไป. กรงุ เทพฯ: ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา ฝา่ ยเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยศรีปทุม. ทิศนา แขมณี. (2545). ศาสตร์การสอน. กรงุ เทพฯ: ศนู ย์หนงั สอื จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั . อัจฉรา วงศโ์ สธร. (2544). การทดสอบและประเมินผลการเรยี นการสอนภาษาองั กฤษ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย. เพญ็ แข ประจนปจั จนกึ . (2527). ลักษณะมุ่งอนาคต. เอกสารสอนชดุ วิชาพัฒนาการวยั รุ่น และการอบรม หน่วยที่ 9-15. นนทบรุ :ี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช. ชนดิ า จันทร์ธีรยุทธ, (2545), ความพึงพอใจในการเรียนหลกั สตู รบริหารธรุ กิจบณั ฑติ วิชาเอก บัญชีของนสิ ติ ระดับปรญิ ญาตรีภาคปกติ คณะสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ, บัณฑิตวิทยาลยั : มหาวทิ ยาลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒ. พฒั นา สขุ ประเสรฐิ , (2541), กลยทุ ธ์ในการฝึกอบรม, กรุงเทพฯ: พิมพล์ กั ษณ์ นิรมล ศตวฒุ ิ, (2551), การจดั การศกึ ษาแบบเชญิ ชวน :นวัตกรรมทางการศึกษา, กรุงเทพฯ: บรษิ ัท มติ รภาพการพิมพแ์ ละสติวดิโอ.
ประสทิ ธิผลการดำเนนิ งานตามระบบดแู ลช่วยเหลอื นกั เรยี น แบบมีส่วนรว่ มของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพน้ื ท่ี การศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 12 The Effectiveness of the Operation According to the Participatory Student Support System of the Schools Under the Secondary Educational Service Area Office 12 1ทัชชกร งามเลศิ , 2พระมหาสพุ จน์ สุเมโธ และ 3พระครูพิจติ รศภุ การ, 1Tatchakorn Ngamlert, 2Phramahasupot Sumeto and 3Phakrupijit Suphakan มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, วิทยาเขตนครศรีธรรมราช, ประเทศไทย Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Nakhon Si Thammarat, Thailand. [email protected] Received May 10, 2020; Revised July 12, 2020; Accepted August 25, 2020 บทคดั ย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาประสิทธิผลการดำเนินงานตามระบบ ดูแลช่วยเหลือนักเรียนแบบมีส่วนร่วมของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 12 2) เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิผลการดำเนินงานตามระบบดูแล ช ่ว ย เห ล ือ น ัก เร ีย น แ บ บ ม ีส ่ว น ร ่ว ม ข อ ง โ ร ง เร ีย น ส ัง ก ัด ส ำ น ัก ง า น เข ต พื ้น ที ่ก า ร ศ ึก ษ า มัธยมศึกษา เขต 12 และ 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาประสิทธิผลการดำเนินงาน ตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนแบบมีส่วนร่วมของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 12 ดำเนินการวิจัยโดยวิธีวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative
278 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้าบริหารงาน ทั่วไปหรือหัวหน้างานกิจการนักเรียนและครูผู้รับผิดชอบงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ปี การศึกษา 2562 จำนวน 213 คน เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสอบถาม โดยมีความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.996 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน การทดสอบค่าที (t-test), One-Way-ANOVA, (F-test) ทดสอบความแตกต่าง ของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธี LSD (Least Significant Different) และแบบสัมภาษณ์ เกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาประสิทธิผลการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน แบบมีส่วนร่วมของโรงเรียน ผลการวิจัยพบว่า 1. ประสิทธิผลการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนแบบมีส่วนร่วม ของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 12 โดยภาพรวมและราย ด้านทั้ง 5 ด้าน พบว่าอยู่ในระดับมาก 2. ประสิทธิผลการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนแบบมีส่วนร่วม ของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 12 จำแนกตามเพศและ อายุ ขนาดของโรงเรียน ประสบการณ์การทำงาน และการฝึกอบรม โดยภาพรวมและราย ด้านแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ี .05 3. แนวทางการพัฒนาประสิทธิผลการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือ นักเรียนแบบมีส่วนร่วมของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 12 สรุปได้ดังนี้ 1) ด้านการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล ต้องสร้างความรู้ความเข้าใจในบทบาท ของครู เน้นการทำงานเป็นทีม มีวิธีการที่หลากหลาย 2) ด้านการคัดกรองนักเรียน กำหนด นโยบาย แต่งตั้งผู้รับผิดชอบให้ชัดเจน ใช้ระบบเครือข่ายออนไลน์ในการคัดกรองและ ประเมินผล 3) ด้านการส่งเสริมนักเรียน เน้นการมีส่วนร่วมของทุกฝ่าย พัฒนานักเรียนตาม ความต้องการและเหมาะสมกับวัยของนักเรียน 4) ด้านการป้องกันและแก้ปัญหา กำหนด นโยบายและแต่งตั้งผู้รับผิดชอบอย่างชัดเจน ร่วมมือกับภาคีเครือข่ายในการจัดกิจกรรม มี การกำกับ ติดตาม สรุป และรายงานผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง และ 5) ด้านการส่งต่อ กำหนดนโยบายที่ชัดเจน มีการประสานและส่งต่อข้อมูล ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน อย่างต่อเน่ือง คำสำคญั : ประสทิ ธผิ ล, ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน, การมีสว่ นรว่ ม
วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 279 Abstract The purposes of this research included: 1) to study the effectiveness of the operation according to the participatory student support system of the schools under the Secondary Educational Service Area Office 12; 2) To compare the effectiveness of operation according to the participatory student support system of the schools under the Secondary Educational Service Area Office 12; and 3) to suggest guidelines for the development of the operation according to the participatory student support system of the schools under the Secondary Educational Service Area Office 12. This research was conducted by quantitative method. The total 213 samplings of the research included the school administrators, head of student affairs and the teachers responsible for the student support system in the academic year 2012. The instruments used were questionnaires with a confidence value of 0.996. The statistics used for data analysis were frequency, percentage, standard deviation, T-test, One-Way-ANOVA and (F-test). The differences of the mean were tested in pair by LSD (Least Significant Different) method and the interview forms on the guidelines for improving of the operation according to the participatory student support system of the schools. The results of the study were as follows. 1. The overall effectiveness and by aspect of the operation according to the participatory student support system of the schools under the Secondary Educational Service Area Office 12, was found to be at a high level. 2. The effectiveness of the operation according to the participatory student support system of the schools under the Secondary Educational Service Area Office 12 classified by gender and age, school size, work experience and training in overall and by aspect was significantly different in statistics at 0.05 level. 3. The guidelines for developing the effectiveness of the operation according to the participatory student support system of the Secondary Educational Service Area Office 12 can be summarized by aspect as follows: 1) Studying individual student by enhancing knowledge and understanding of the role of teachers, focusing on teamwork and using various methods. 2) Screening students by defining policy, assigning clear responsible persons, using online network system in categorizing and evaluating; 3) Supporting students by focusing on participation of all parties, developing students
280 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) appropriating to their needs and ages; 4) Preventing and solving problems by defining policy, assigning clear responsible persons, collaborating with network partners in organizing activities, monitoring, following up, concluding and reporting the operation continuously; and 5) Transferring each case by defining a clear policy. Coordinating and transferring information, following up and evaluating the operation continuously. Keywords: Effectiveness; Student Support System, Participation บทนำ พระราชบัญญัติการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพมิ่ เติม (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2545 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2553 การพัฒนานักเรียนให้นักเรียนเป็นบุคคลท่ีมีคุณภาพทั้งด้าน ร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความสามารถ มีคุณธรรม จริยธรรมและมีวิถีชีวิตท่ีเป็นสุขตามที่ สังคมมุ่งหวังไว โดยผ่านกระบวนการทางการศึกษานั้น นอกจากจะดำเนินการด้วยการ ส่งเสริม สนับสนุนนักเรียนแล้ว การป้องกันและการช่วยเหลือแก้ปัญหาต่างๆ ที่เกิดข้ึนกับ นักเรียนก็เป็นสิ่งสำคัญประการหน่ึงของการพัฒนา เนื่องจากสภาพสังคมในปัจจุบันเกิดการ เปลย่ี นแปลงอย่างมาก ท้ังในการการสอ่ื สาร เทคโนโลยีต่างๆ ซึง่ นอกจากจะส่งผลกระทบต่อ บุคคลในสังคมในทางบวกแล้ว ก็ส่งผลกระทบในทางลบได้ เช่น ปัญหาเศรษฐกิจ ปัญหาการ ระบาดของสารเสพติด ปัญหาการแข่งขันในรูปแบบต่างๆ ปัญหาครอบครัว ซึ่งก่อเกิดความ ทุกข์ ความวิตกกังวล ความเครียด การปรับตัวที่ไม่เหมาะสมหรืออ่ืนๆ ท่ีเป็นผลเสียต่อ สุขภาพจิต และสุขภาพกายของบุคคลท่ีเกี่ยวข้อง ดังนั้น การพัฒนาผู้เรียน ให้เป็นไปตามที่ มุ่งหวังนั้น จึงต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกฝ่ายทุกคน โดยเฉพาะอาจครูที่ปรึกษาซึ่งเป็น หลักสำคัญในการดำเนินการต่างๆ เพื่อการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างมีประสิทธิผล (กระทรวงศึกษาธกิ าร, พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ.2542, 2553) สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 12 กำหนดทิศทางการพัฒนา การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เพ่ือให้สอดคล้องกับนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พ้ืนฐาน ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2579 ซ่ึงระบุไว้ ในแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2561 ด้านการส่งเสริมสนับสนุนการสร้างความ เข้มแข็งระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน เพ่ือให้การดำเนินงานมีประสิทธิภาพสอดคล้องกับ
วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 281 นโยบายและแผนปฏิบัติงานข้างต้น จึงจำเป็นต้องมีการศึกษาประสิทธิภาพการดำเนินงาน ตามระบ บดูแลช่วยเหลือนั กเรียน แบ บมีส่ว นร่ว มของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเ ขตพ้ื นที่ การศึกษามัธยมศึกษา เขต 12 ท่ีตอบสนองนโยบาย กระทรวงศึกษาธิการที่ต้องการให้ โรงเรยี นในสังกัดเอาใจใส่ดูแลนักเรยี นอย่างเป็นระบบ มีกระบวนการทำงานทม่ี ีคุณภาพและ ดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง ให้ส่งผลต่อการพัฒนาเด็กและเยาวชนเติบโตอย่างมีคุณภาพ มี ศักยภาพ เป็นทรัพยากรท่ีสมบูรณ์ ท้ังร่างกาย สติปัญญา มีคุณธรรมจริยธรรมและมีชีวิตที่ เป็นสุข โดยบุคลากรในโรงเรียนท้ังผู้บริหาร ครูทุกคน คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง และชุมชน ร่วมมือร่วมใจในการดูแลช่วยเหลือนักเรียนไปในทิศทางเดียวกันอย่างมีคุณภาพ (สำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 12, 2562 : 41) ผู้วิจัยในฐานะท่ีรับผิดชอบงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน จึงสนใจที่จะศึกษา ประสิทธิผลการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนแบบมีสว่ นร่วมของโรงเรยี นสงั กัด สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 12 เพ่ือจะได้นำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ใน การบริหารและการดำเนินงานโรงเรียนระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนแบบมีส่วนร่วมให้มี ประสิทธผิ ลตอ่ ไป วัตถุประสงค์การวจิ ยั 1. เพื่อศึกษาประสิทธิผลการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนแบบมี ส่วนร่วมของโรงเรียนสงั กดั สำนกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 12 2. เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิผลการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน แบบมีสว่ นร่วมของโรงเรียนสังกดั สำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 12 3. เพ่ือเสนอแนะแนวทางการพัฒนาประสิทธิผลการดำเนินงานตามระบบดูแล ช่วยเหลือนักเรยี นแบบมีส่วนร่วมของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 12
282 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) วธิ ีดำเนนิ การวิจยั การวิจัยเรื่องนี้ ผู้วิจัยได้ทำการศึกษาวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ดำเนินการวิจยั ตามขนั้ ตอน ดังนี้ 1. ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง 1.1 ประชากร ท่ีใช้ในการวิจัยคร้ังนี้ ได้แก่ ผู้อำนวยการสถานศึกษาและ ครูผู้สอน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 12 เฉพาะโรงเรียนในจังหวัด นครศรีธรรมราช ปีการศึกษา 2562 จำนวน 71 โรงเรียน รวมผู้อำนวยการสถานศึกษาและ ครผู ้สู อนทง้ั ส้ิน จำนวน 3,097 คน 1.2 กลุ่มตวั อยา่ ง ท่ีใช้ในการวิจัยคร้ังน้ี ได้แก่ ผู้อำนวยการสถานศกึ ษา จำนวน 1 คน หวั หน้างานบริหารงานทั่วไป จำนวน 1 คนและครูผรู้ ับผิดชอบงานระบบดแู ลชว่ ยเหลือ นักเรียน จำนวน 1 คน เฉพาะโรงเรียนในจังหวัดนครศรีธรรมราช สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ี การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 12 จำนวน 213 คน ใชว้ ิธกี ารสมุ่ ตัวอยา่ งแบบเจาะจง 2. เครือ่ งมือที่ใชใ้ นการรวบรวมข้อมลู 2.1 แบบสอบถามเก่ียวกับประสิทธิผลการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือ นักเรียนของโรงเรยี นสังกัดสำนักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 12 2.2 แบบสัมภาษณเ์ กีย่ วกบั แนวทางการพัฒนาประสิทธผิ ลการดำเนินงานระบบ ดแู ลช่วยเหลอื นักเรียนของโรงเรียนสงั กัดสำนักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 12 3. การวิเคราะหข์ อ้ มลู ในการวิเคราะห์ขอ้ มลู ผวู้ ิจัยดำเนนิ การตามลำดับ ดงั นี้ 3.1 วิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่างท่ีตอบแบบสอบถาม โดยหาความถี่ (Frequency) และคา่ รอ้ ยละ (Percentage) 3.2 วิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับประสิทธิผลการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือ นักเรียนของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 12 โดยการหา ค่าเฉลี่ย ( ) และค่าเบยี่ งเบนมาตรฐาน (SD) 3.3 วิเคราะห์การเปรียบเทียบประสิทธิผลการดำเนินงานตามระบบดูแล ชว่ ยเหลือนักเรียนแบบมีส่วนร่วมของโรงเรียนสงั กดั สำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 12 จำแนกตามเพศ อายุ การศึกษา ขนาดโรงเรียน ประสบการณ์ และการฝึกอบรม
วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 283 โดยการวิเคราะห์ทดสอบสมมติฐานด้วยค่า (t–test) และการทดสอบสมมติฐานด้วยค่า (F– test/One Way ANOVA) ในกรณีตวั แปรต้นตัง้ แต่สามตัวขึ้นไป 3.4 วิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนาโดยรวบรวม เรียบเรียงข้อมูล เพ่ือนำมาเสนอ แนวทางพัฒนาประสิทธิผลการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนสังกัด สำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 12 ผลการวจิ ัย 1. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับประสิทธิผลการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือ นกั เรยี นของโรงเรยี นสงั กัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 12 ดงั ตารางที่ 1 ตารางท่ี 1 ค่าเฉล่ีย และค่าเบ่ียงเบนมาตรฐานประสิทธิผลการดำเนินงานตามระบบดูแล ชว่ ยเหลือนักเรยี นแบบมีสว่ นร่วมของโรงเรียนสงั กดั สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษา มธั ยมศกึ ษา เขต 12 โดยรวม ประสทิ ธิผลการดำเนนิ งานตามระบบดูแลชว่ ยเหลือ 4.19 SD ระดับ นักเรยี นแบบมสี ว่ นร่วม 4.38 0.50 มาก 4.30 0.36 มาก 1. ด้านการรจู้ กั นักเรียนเป็นรายบคุ คล 4.26 0.36 มาก 2. ดา้ นการคดั กรองนกั เรียน 4.34 0.44 มาก 3. ด้านการสง่ เสรมิ นักเรยี น 0.52 มาก 4. ด้านการป้องกนั และการแกป้ ญั หา 4.29 0.39 มาก 5. ด้านการการสง่ ตอ่ รวม จากตารางท่ี 1 พบว่า ประสิทธิผลการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลอื นกั เรียน แบบมีส่วนร่วมของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 12 โดยรวม อยู่ในระดับมาก มคี ่าเฉลี่ย ( = 4.29) เม่ือพจิ ารณารายด้าน พบวา่ ดา้ นการคัดกรองนักเรยี น มีค่าเฉล่ียสูงสุด ( = 4.38) รองลงมาคือ ด้านการการส่งต่อ ( =4.34) ส่วนด้านการรู้จัก นกั เรียนเป็นรายบุคคล มีคา่ เฉลย่ี ตำ่ สุด ( =4.19) 2. ผลการวิเคราะห์วิเคราะห์การเปรียบเทียบประสิทธิผลการดำเนินงานตามระบบ ดูแลช่วยเหลือนักเรียนแบบมีส่วนร่วมของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
284 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) มัธยมศึกษา เขต 12 จำแนกตามเพศ อายุ การศึกษา ขนาดโรงเรียน ประสบการณ์และการ ฝึกอบรม แสดงดงั ตารางท่ี 2-3 ตารางที่ 2 ผลการเปรยี บเทยี บประสิทธิผลการดำเนนิ งานตามระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรียน แบบมีสว่ นรว่ มของโรงเรียนสงั กัดสำนักงานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 12 จำแนกตามเพศและระดบั การศกึ ษา โดยรวม ประสิทธผิ ลการดำเนนิ งานตามระบบ เพศ n SD t Sig ชาย 171 4.35 0.40 4.70* 0.00 ดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี นแบบมีส่วนร่วม 1. เพศ 2. ระดบั การศึกษา หญงิ 42 4.05 0.23 ปริญญาตรี 14 3.98 0.20 - 0.00 ปรญิ ญาโทขน้ึ ไป 199 4.32 0.39 3.18* จากตารางท่ี 2 พบว่า ประสิทธิผลการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลอื นักเรียน แบบมีส่วนร่วมของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 12 จำแนก ตามเพศและตามระดบั การศึกษา โดยรวมอยู่ในระดบั ดีและแตกต่างกนั อยา่ งมนี ัยสำคัญทาง สถิตทิ ี่ระดบั .05 ตารางท่ี 3 ผลการเปรียบเทียบประสิทธิผลการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน แบบมีส่วนร่วมของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 12 จำแนกตามอายุ ตามขนาดของโรงเรียน ตามประสบการณ์การทำงานและการ ฝึกอบรม ประสิทธิผลการดำเนินงานตามระบบ ความ SS df MS F Sig. ดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี นแบบมสี ่วนรว่ ม แปรปรวน 1. อายุ ระหวา่ งกลมุ่ 1.05 2 0.52 3.52* 0.03 ภายในกลุ่ม 31.20 210 0.15 รวม 32.25 212 2. ขนาดโรงเรียน ระหว่างกลมุ่ 11.73 2 5.87 60.06* 0.00 ภายในกลุม่ 20.51 210 0.10 รวม 32.25 212
วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 285 3. ประสบการณก์ ารทำงาน ระหว่างกลมุ่ 0.50 2 0.25 1.66 0.19 4. การฝึกอบรม ภายในกลุ่ม 31.74 210 0.15 รวม 32.25 212 ระหว่างกลมุ่ 1.01 2 0.50 3.40* 0.04 ภายในกลุม่ 31.24 210 0.15 รวม 32.25 212 จากตารางท่ี 3 พบว่า ประสิทธิผลการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน แบบมีส่วนร่วมของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 12 จำแนก ตามอายุ จำแนกตามขนาดโรงเรียน และจำแนกตามการฝึกอบรม โดยรวมแตกต่างกัน อย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 เม่ือจำแนกตามประสบการณ์การทำงาน โดยรวมไม่แตกต่าง กนั อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดบั .05 3. แนวทางการพัฒนาประสิทธิผลการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียน แบบมีส่วนร่วมของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 12 ดังนี้ โรงเรียนควรมีการกำหนดนโยบายการส่งต่อนักเรียน และจัดทำระบบการส่งต่อนักเรียนท้ัง ภายใน และภายนอก สถานศึกษาให้มีความชัดเจน มีผู้รับผิดชอบในแต่ละขั้นตอน มีการจัด ประชุมบุคลากรทุกฝ่าย ตัวแทนนักเรียน ผู้ปกครองและหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องเพื่อสร้างความ ตระหนัก และความรู้ความเข้าใจต่อความสำคัญของการส่งต่อนักเรียน รวมไปถึงชี้แจง กระบวนการดำเนินงานของสถานศึกษา ตลอดจนเปิดโอกาสให้ทุกคนมีส่วนรว่ มในการแสดง ความคิดเห็นและร่วมกันสร้างแนวทางการส่งต่อนักเรียน ในการดำเนินงานต้องประสานกับ หน่วยงานภายนอก เพ่ือสร้างความร่วมมือเกี่ยวกับการดำเนินงานส่งต่อนักเรียนหรือการให้ คำปรึกษาในสถานศึกษาแทนการส่งต่อไปหน่วยงานภายนอก เช่น การเชิญบุคลากรจาก หนว่ ยงานภายนอกมาจัดกจิ กรรมสังคมบำบัดแกน่ ักเรยี นในโรงเรียน เป็นต้น สิง่ สำคญั คือการ ส่งต่อนักเรียนท้ังภายใน และภายนอกสถานศึกษาควรมีการเชิญผู้ปกครอง มาร่วม ปรึกษาหารือเพ่ือหาแนวทางการแก้ไขปัญหา ตลอดจนต้องมีการกำกับ ติดตามการ ดำเนินการส่งต่อนักเรียนท้ังภายในและภายนอกอย่างต่อเนื่อง เพ่ือให้การดำเนินงานมีความ สอดคล้องกันในแต่ละฝ่ายและสามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างทันท่วงที มีการสรุป และ ประเมนิ ผลเพือ่ ทบทวนระบบการสง่ ตอ่ นักเรยี นภายใตก้ ารมสี ่วนร่วมของทกุ ฝ่ายที่เกยี่ วข้อง
286 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) อภิปรายผล จากผลการวิจัย เร่ืองประสิทธิผลการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน แบบมีส่วนร่วมของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 12 ผู้วิจัยได้ อภิปรายผลของการวจิ ัย ดังนี้ 1. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับประสิทธิผลการดำเนินงานตามระบบดูแล ช่วยเหลือนักเรียนแบบมีส่วนร่วมของโรงเรยี นสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 12 โดยภาพรวม 5 ด้าน พบว่า ผู้อำนวยการโรงเรียน หัวหน้างานบริหารงานทั่วไปและ ครูผู้รับผิดชอบงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในโรงเรียนเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 12อยู่ในระดับมาก ท้ังน้ีเป็นเพราะว่าโรงเรียนมีการกำหนดแนวนโยบายในการ ดำเนินงานท่ีสอดคล้องกับนโยบายการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ และสำนักงาน เขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 12 ท่ีใหค้ วามสำคญั กับระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดย มีการกำหนดนโยบาย การช่วยเหลือ อย่างเป็นระบบ มีการประชุมชี้แจงในการดำเนินงาน ให้แก่ครู และบุคลากรทางการศึกษาภายในโรงเรียนให้รับทราบ มีการแต่งตั้งคณะกรรมการ ดำเนินงานท่ีชัดเจน นอกจากน้ียังมีการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงานอย่าง ต่อเน่ืองสอดคล้องกับ ผล พรมทอง (2552: 77) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ทุกด้านมี ประสิทธิผลการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรียนแบบมีส่วนรว่ มระดับมากทกุ ด้าน โดยมีดา้ นการคัดกรองนกั เรียนมีประสิทธิผลอยู่ในระดับมากทีส่ ุด รองลงมา ได้แก่ ด้านการส่ง ตอ่ สว่ นดา้ นการรูจ้ กั นักเรียนเปน็ รายบคุ คลมปี ระสทิ ธผิ ลอยู่ในระดบั น้อยทส่ี ุด 1.1 ด้านการรู้จักนักเรียนรายบุคคล พบว่า ประสิทธิผลการดำเนินงานตาม ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนแบบมีส่วนร่วมของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา มัธยมศึกษา เขต 12 โดยรวมอยู่ในระดับมาก ซ่ึงสอดคล้องกับงานวิจัยของ ผล พรมทอง ( 2555: 66) พบวา่ การดำเนนิ งานระบบดแู ลช่วยเหลือในดา้ นการเรยี นรู้นักเรียนเป็นรายบคุ คล มีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก และสอดคล้องกับงานวิจัยของรองรัตน์ ทองมาลา (2558: 117) พบว่า การดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนตามทัศนะของผู้บริหารและครูในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสระบุรี ด้านการรู้จักนักเรียนรายบุคคล โดยรวมอยใู่ นระดบั มาก
วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 287 1.2 ดา้ นการคดั กรองนักเรยี น พบว่า ประสิทธผิ ลการดำเนินงานตามระบบดูแล ช่วยเหลือนักเรยี นแบบมีส่วนร่วมของโรงเรียนสงั กัดสำนักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 12 โดยรวมอยู่ในระดับมาก สอดคล้องกับงานวิจัยของรองรตั น์ ทองมาลา (2558: 117) พบว่า การดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนตามทัศนะของผบู้ ริหารและครูในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสระบุรี ด้านการคัดกรองนักเรียน โดยรวม อยู่ในระดับมาก ซ่ึงสอดคล้องกับของ ผล พรมทอง (2552: 79) พบว่า การคัดกรองนักเรียน มีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก ท้ังนี้เพราะการคัดกรองนักเรียนเป็นการแยกกลุ่มนักเรียน ออกเป็นกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มมีปัญหา เป็นห้องเรียนและระดับช้ันต่อไป เมื่อพิจารณา รายข้อ พบว่า ครูมีการใช้แบบประเมินคุณลักษณะของนักเรียน เพ่ือเป็นข้อมูลในการคัด กรองและโรงเรียนมีหลักเกณฑ์หรือวิธีการคัดกรอง จัดกลุ่มนักเรียนเป็นกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มมีปัญหา มีประสิทธิผลอยู่ในระดับมากท่ีสุด สว่ นครูมกี ารใช้แบบประเมินความฉลาดทาง อารมณ์ (EQ) เพอื่ เปน็ ข้อมลู ในการคัดกรองนักเรยี นมปี ระสทิ ธิผลอยู่ในระดับน้อยทส่ี ดุ 1.3 ด้านส่งเสริมนักเรียน พบว่า ประสิทธิผลการดำเนินงานตามระบบดูแล ช่วยเหลือนักเรียนแบบมสี ่วนร่วมของโรงเรียนสงั กัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 12 โดยรวมอยู่ในระดับมาก ท้ังน้ีอภิปรายว่า การส่งเสริมนักเรียน คือการสนับสนุนให้ นักเรียนทุกคนไม่ว่าจะเป็นนักเรียนกลุ่มปกติ หรือกลุ่มเส่ียง/มีปัญหา มีคุณภาพมากข้ึน มี ความภูมิใจในตนเองด้านต่างๆ ซึ่งจะช่วยป้องกันมิให้นักเรียนที่อยู่ในกลุ่มปกติกลายเป็น นักเรียนกลุ่มเส่ียง/มีปัญหาและเป็นการช่วยให้นักเรียนกลุ่มเส่ียง/มีปัญหา กลับมาเป็น นักเรียนกลุ่มปกติ และมีคุณภาพตามท่ีโรงเรียนหรือชุมชนคาดหวัง การส่งเสริมและพัฒนา ประกอบด้วยกิจกรรมต่างๆ ซึ่งสอดคลอ้ งกับงานวิจัยของ ผล พรมทอง (2555: 79) ได้ศึกษา เร่ือง“ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สวนกุหลาบวิทยาลัย ปทุมธานี สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 4”ผลการวิจัยพบว่า การส่งเสริม นักเรียน มีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก ทั้งน้ีเพราะการส่งเสริมนักเรียน เป็นหน้าที่หลักของ โรงเรียน ซ่ึงกิจกรรมการส่งเสริมนักเรียนในโรงเรียน นวมินทราชินูทิศ สวนกุหลาบวิทยาลัย ปทุมธานี ได้มีการวางแผนและจัดกิจกรรมโฮมรูมมากที่สุด โดยครูที่ปรึกษามีการพูดคุยให้ คำปรึกษาและบันทึกขอ้ มลู นกั เรียนเป็นลายลักษณอ์ ักษร สอดคล้องกับงานวจิ ัยของ รองรัตน์ ทองมาลา (2558: 117) พบว่า การดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนตามทัศนะของ ผู้บริหารและครูในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสระบุรี ด้านการ
288 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) คัดกรองนักเรียน โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ โดยเรียงลำดับค่าเฉล่ีย สูงสุด 3 อันดับแรก ได้แก่ การจัดกิจกรรมโฮมรูมเพื่อการร่วมมือช่วยเหลือนักเรียน และการ จัดกิจกรรมลูกเสือเนตรนารี หรือยุวกาชาด เพ่ือการเสริมสร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ส่วนข้อที่มีค่าเฉล่ียต่ำที่สุด ได้แก่ การเสริมสร้างความสามารถพิเศษของนักเรียนตาม ศักยภาพ ด้านการส่งเสริมนักเรียนพบว่าอยู่ในระดับมาก ซ่ึงจะต้องหาทางปรับปรุงให้ดีขึ้น ตามลำดับ ดังน้ี คณะครูจัดกิจกรรมประชุมผู้ปกครองนักเรียนคณะครูจัดกิจกรรมเยี่ยมบ้าน นักเรียน คณะครูมีการจัดกิจกรรมโฮมรูม คณะครูมีการจัดกิจกรรมลูกเสือเนตรนารี และ คณะครูจัดกิจกรรมกฬี า เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า ทุกข้อมีประสทิ ธผิ ลอยู่ในระดับมาก โดย โรงเรียนมีการจัดทำแผนการจัดกิจกรรมตามความถนัดและความสนใจของนักเรียนเพื่อให้ นักเรยี นแสดงความสามารถของตนเอง มคี ่าเฉล่ียมากท่สี ุด รองลงมา ไดแ้ ก่ โรงเรียนมีการจัด แนวทางการจัดกิจกรรมโฮมรูม และมีคู่มือการโฮมรูมและมีการบันทึกการจัดกิจกรรมโฮมรูม ส่วนโรงเรียนมีการสนับสนุนชื่นชม ยกย่องนักเรียนที่ประกอบคุณความดีตามระเบียบของ โรงเรียน มคี ่าเฉลย่ี ต่ำสุด 1.4 ด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหา พบว่า ประสิทธิผลการดำเนินงานตาม ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนแบบมีส่วนร่วมของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา มัธยมศึกษา เขต 12 โดยรวมอยู่ในระดับมาก ทั้งน้ีอภิปรายว่า การป้องกันและแก้ไขปัญหา คือการดูแลเอาใจใส่และช่วยนักเรียนทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน โดยเฉพาะนักเรียนกลุ่มสี่ยง หรอื กลมุ่ ที่มีปัญหาจำเปน็ ต้องได้รับการดแู ลเอาใจใสอ่ ย่างใกล้ชิด และหาวธิ ีการช่วยเหลอื โดย ใช้รูปแบบท่ีหลากหลาย ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของวิไล รุ่งโรจน์แสงจินดา (2556:132) พบว่า ควรสังเกตความต้องการพฤติกรรมนักเรียนเพ่ือช่วยเหลือได้ถูกจุด กระตุ้นเสริมสร้าง ความม่ันใจให้เกิดในตัวเด็ก ต้องทำต่อเน่ืองและจริงจังเป็นปัจจุบัน ขอความร่วมมือจาก ผู้ปกครอง ให้ช่วยป้องกันแก่บุตรหลานอย่างสม่ำเสมอ ครูสนทนา พูดคุย สร้างความสนิท สนมให้กับนักเรียนให้มากขึ้น ศึกษาข้อมูลและขอความร่วมมือในการป้องกันผู้เก่ียวข้อง เช่น ผู้ปกครอง ครูแนะแนวฯลฯ และครสู รา้ งสัมพันธท์ ่ดี กี ับนักเรียนกลุ่มเสย่ี ง 1.5 ดา้ นการสง่ ต่อ ประสิทธิผลการดำเนนิ งานตามระบบดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี น แบบมีส่วนร่วมของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 12 อยู่ใน ระดับมาก ทั้งนี้อภิปรายว่า การส่งต่อเป็นกระบวนการช่วยเหลือนักเรียนในกรณีที่มีปัญหา ยากต่อการช่วยเหลือ หรือช่วยเหลือแล้วแต่นักเรียนมีพฤติกรรมไม่ดีขึ้น หรือกรณีที่เด็กมี
วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 289 ความสามารถพิเศษ เด็กที่มีความต้องพิเศษ เด็กด้อยโอกาส ก็ควรส่งต่อผู้เชี่ยวชาญเฉพาะ ด้านหรือหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง เพื่อให้นักเรียนได้รับการส่งเสริมพัฒนาและช่วยเหลืออย่าง เหมาะสมต่อไป ซ่ึงสอดคล้องกับรองรัตน์ ทองมาลา (2558:117) พบว่า การดำเนินงานระบบ ดแู ลช่วยเหลือนกั เรยี นตามทัศนะของผบู้ ริหารและครใู นโรงเรียนสำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษา ประถมศึกษาสระบุรี ด้านการส่งต่อ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เม่ือพิจารณารายข้อ โดย เรียงลำดับสูงสุด 3 อันดับแรก ได้แก่ การส่งต่อนักเรียนให้ผู้เชี่ยวชาญหรือหน่วยงานที่ เกี่ยวขอ้ งเพื่อการชว่ ยเหลอื การใหค้ วามชว่ ยเหลือนักเรียนกลมุ่ ทม่ี ีปญั หาเป็นรายกรณีของครู ประจำชนั้ หรอื ครูที่ปรกึ ษา และการตดิ ตามผลการชว่ ยเหลือนกั เรยี นจากผเู้ กี่ยวขอ้ ง สว่ นข้อท่ี มคี ่าเฉลย่ี ตำ่ สดุ ได้แก่ การพจิ ารณารว่ มกนั ระหว่างคณะครูเพ่ือส่งต่อภายนอก 2. ประสิทธิผลการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลอื นักเรียนแบบมีส่วนร่วมของ โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 12 จำแนกตามเพศ อายุ ขนาด โรงเรียน ประสบการณ์การทำงาน การฝึกอบรม โดยภาพรวมและรายด้านแตกต่างกัน รายละเอียดดังนี้ 2.1 จากการเปรียบเทียบประสิทธิผลการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือ นักเรียนแบบมีส่วนร่วมของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 12 ที่มีเพศที่แตกต่างกัน มีประสิทธิผลการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โดยรวม แตกต่างกัน อย่างมนี ัยสำคญั ทางสถิติท่ีระดับ.05 โดยเพศชายจะมปี ระสทิ ธิผลการดำเนนิ งาน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนได้ดีกว่าเพศหญิงในทุกด้าน ซ่ึงสอดคล้องกับสมมติฐาน และ สอดคล้องกับงานวิจัยของพรชัย เชวงชุติรัตน์ (2553: บทคัดย่อ) ได้ศึกษาการปฏิบัติงานระบบ ดูแลช่วยเหลือนักเรียนของผู้บริหาร ครูที่ปรึกษาและครูแนะแนวในโรงเรียนสังกัดสำนักงาน เขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาตราด จำแนกตามเพศ โดยรวมและรายด้านทุกด้าน แตกต่างกันอย่างไม่มี นยั สำคัญทางสถติ ิ 2.2 จากการเปรียบเทียบประสิทธิผลการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือ นักเรียนแบบมีส่วนร่วมของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 12 ท่ีมีอายุแตกต่างกันประสิทธิผลการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนแบบมีส่วน รว่ มของโรงเรียน โดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิตทิ ่ีระดบั .05 อาจเป็นเพราะว่า ผู้อำนวยการสถานศึกษา หัวหน้างานบริหารงานทั่วไปและครูผู้รับผิดชอบงานระบบดูแล ช่วยเหลือนักเรียนภายในสถานศึกษาเป็นงานที่ต้องอาศัยทักษะ มีความรู้ความเข้าใจ และ
290 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) ต้องมีประสบการณ์ในการทำงาน จึงทำให้ผู้ท่ีมีอายุต่างกันมีการบริหารงานระบบดูแล ช่วยเหลือนักเรียนภายในสถานศึกษาต่างกัน ซ่ึงสอดคล้องกับงานวิจัยของวิไล รุ่งโรจน์แสง จินดา (2556: 135) ได้ศึกษาเร่ือง“การบริหารระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนด้วยการใช้หลัก จิตวิทยาของโรงเรียนประถมศึกษา เขตบางบอน สังกัดกรุงเทพมหานคร” ผลการวิจัยพบว่า การเปรียบเทียบระดับปฏิบัติงานการบริหารระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ความคิดเห็นของ ผู้บริหารและครู จำแนกตามอายุ ต่ำกว่า 30 ปี และ 30 ปีขึ้นไป มีความแตกต่างกันอย่างมี นยั สำคัญทางสถิติท่รี ะดับ .05 2.3 จากการเปรียบเทียบประสิทธิผลการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือ นักเรียนแบบมีส่วนร่วมของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 12 ท่ีมีระดับการศึกษาแตกต่างกัน ประสิทธิผลการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน แบบมีส่วนร่วมของโรงเรียน โดยรวมแตกต่างกัน ทั้งน้ีอาจเพราะผู้บริหารโรงเรียน หัวหน้า งานบริหารงานทวั่ ไปและครทู ี่รับผิดชอบงานระบบดแู ลช่วยเหลอื นักเรยี น ท่มี ีระดับการศกึ ษา ปริญญาโทขึ้นไปตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลช่วยเหลือมากกวา่ สอดคล้องกับรองรัตน์ ทองมาลา (2558: 121) ทำการวิจัยเร่ือง“การดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนตาม ทัศนะของผู้บริหารและครูในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา สระบุรี”พบว่า การดำเนินงานระบบดูแลชว่ ยเหลือนกั เรยี นตามทัศนะของผู้บริหาร และครูใน โรงเรียน สงั กัดสำนักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสระบุรี จำแนกตามระดับการศึกษา ในภาพรวม แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ท้ังน้ีอาจเป็นเพราะว่า ครูท่ีมี การศึกษาระดับปริญญาตรี ต่างก็มีความตระหนักและเห็นความสำคัญในการดูแลช่วยเหลือ นักเรียนโดยตรง ในขณะที่ผู้บริหารที่มีการศึกษาสูงกว่าปริญญาตรี มีความเห็นว่าการ ดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนจะเป็นประโยชน์ต่อผู้บริหารโรงเรียน ทำให้ผู้บริหารรู้ ศักยภาพของครูในการขับเคลื่อนให้เกิดการปฏิรูปการเรียนรู้ ทำให้ได้ข้อมูลพื้นฐานของ นักเรียน เพ่ือใช้ในการกำหนดแนวทางในการพัฒนาคุณภาพนักเรียน หลักสูตรและคุณภาพ การจัดการศึกษา ซึ่งท้ังผู้บริหารและครูที่มีการศึกษาต่างกัน ต่างมีแนวทางในการปฏิบัติ หนา้ ที่ของตนเองทแ่ี ตกตา่ งกัน 2.4 จากการเปรียบเทียบประสิทธิผลการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือ นักเรยี นแบบมีสว่ นร่วมของโรงเรียนสงั กดั สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 12 ท่ีมีขนาดโรงเรียนต่างกัน มีประสิทธิผลการดำเนินงานโดยรวมแตกต่างกัน ท้ังน้ีเพราะว่า
วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 291 โรงเรียนท่ีมีขนาดใหญ่งบประมาณสนับสนุนในการดำเนินงานหรือมีการกำหนดนโยบายท่ี ชัดเจนมากกว่า ไม่สอดคล้องกับรองรัตน์ ทองมาลา (2558: 123) พบว่า การดำเนินงาน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนตามทัศนะของผู้บริหาร และครูในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขต พ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสระบุรี จำแนกตามขนาดของสถานศึกษาในภาพรวม ไม่ แตกต่างกัน ท้ังนี้อาจเพราะผ้บู ริหารและครูท่ีปฏิบตั ิงานในสถานศึกษาท่ีมีขนาดตา่ งกัน ตา่ งมี เป้าหมายในการดำเนินงานเป็นไปในทิศทางเดียวกันทำให้มีความเห็นต่อต่อการดำเนินงาน ระบบดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรียน ไมแ่ ตกต่างกัน 2.5 การเปรียบเทียบประสิทธิผลการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือ นักเรียนแบบมีส่วนร่วมของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 12 ท่ีมีประสบการณ์การทำงานต่างกัน มีประสิทธิผลการดำเนินงานโดยรวมแตกต่างกัน ทั้งนี้ อาจเป็นเพราะผู้บริหารโรงเรียน หัวหน้างานบริหารงานท่ัวไปและครูผู้รับผิดชอบงานระบบ ดูแลช่วยเหลือนักเรียนท่ีมีประสบการณ์จะเข้าใจในหลักการดำเนินงานระบบดูแลช่ว ยเหลือ นักเรียนที่มากกว่า ซึ่งไม่สอดคล้องกับนริศรา จูแย้ม (2555: บทคัดย่อ) พบว่า การวิเคราะห์ เปรียบเทียบการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนตามความคิดเห็นของผู้บริหารและ ครูผู้สอนในโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชนจังหวัดระยอง ที่จำแนกตามเพศ ประสบการณ์ในการ ทำงาน ตำแหน่งการทำงานและขนาดโรงเรยี นมคี วามคิดเหน็ ไมต่ า่ งกัน 2.6 การเปรียบเทียบประสิทธิผลการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือ นักเรียนแบบมีส่วนรว่ มของโรงเรียนสงั กัดสำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 12 ที่มีการฝึกอบรมต่างกัน มีประสิทธิผลการดำเนินงานโดยรวมแตกต่างกัน ซ่ึงสอดคล้องกับ สมมติฐาน ท้ังน้ีอาจเป็นเพราะผู้บริหารโรงเรียน หัวหน้างานบริหารงานท่ัวไปและครู ผูร้ ับผิดชอบงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนท่ีไดร้ ับการฝึกอบรมมากกว่า จะมีความรู้ ความ เข้าใจหลักการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน หลักจิตวิทยาสำหรับใช้ในการ ดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือมากกวา่ สอดคล้องกับสลุ าลยั ทองดี (2560: 98) พบว่า ผลการวิเคราะห์ความแปรปรวนระดับ แนวทางการพัฒนาการดำเนินงานระบบดูแล ชว่ ยเหลือนกั เรียนตามหลักพรหมวหิ าร 4 ของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพ้นื ที่การศึกษา ประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 จำแนก ตามการเข้าร่วมอบรมโดยภาพรวม พบว่าไม่ แตกต่างกัน เมอื่ พิจารณาเป็นรายด้าน พบวา่ ทกุ ด้านไม่แตกตา่ งกนั
292 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) องคค์ วามร้ทู ไ่ี ด้จากการศึกษา จากการวิจัยเกี่ยวกับประสิทธิผลการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน แบบมีส่วนร่วมของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 12 การรู้จัก นักเรียนเป็นรายบุคคล โรงเรียนมีการวางแผนงาน/โครงการด้านการรู้จักนักเรียนเป็น รายบุคคล มีการจัดเก็บข้อมลู นักเรยี นอย่างเป็นระบบและเป็นความลับเพื่อเป็นประโยชน์แก่ ผู้ดูแลนักเรียนและตัวนักเรียนเอง และมีการน ำผลจากการติดตามป ระเมินผลมาพั ฒ น า ปรับปรุงการดำเนินงานเพ่ือให้การดำเนินงานด้านการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคลมี ประสิทธิภาพย่ิงข้ึน ด้านการคัดกรองนักเรียน โรงเรียนมีการวางแผนงาน/โครงการด้านการ คัดกรองนักเรียนมีการแต่งต้ังให้มีครูท่ีปรึกษา ครูแนะแนวหรือผู้เกี่ยวข้องในการติดตาม ประเมินผลการคัดกรองนกั เรยี น และมีการติดตามประเมินผลการคัดกรองนักเรียนอย่างเป็น ระบบและเปน็ ขั้นตอนเพื่องา่ ยต่อการจัดกลุ่มนักเรียนและการส่งเสรมิ นักเรียนต่อไป ด้านการ ส่งเสริมนักเรียน โรงเรียนมีการมอบหมายเจ้าหน้าที่และผู้เกี่ยวข้องกับการจัดกิจกรรมการ ส่งเสริมนักเรียนท่ีชัดเจนเพ่ือให้ง่ายต่อการดำเนินการส่งเสริมนักเรียน มีการจัดทำโครงการ ต่างๆเพ่ือส่งเสริมให้นักเรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์และมีการจัดกิจกรรมโฮมรูมที่ หลากหลายและเหมาะสมกับผู้เรียนในกลุ่มต่างๆ ด้านการส่งเสริมนักเรียน โรงเรียนต้องเก็บ ข้อมูลนักเรียนท่ีได้ช่วยเหลือไว้เป็นความลับไม่เปิดเผยให้ผู้ที่ไม่เกี่ยวข้องได้ทราบ นำผลจาก การป้องกันและการแก้ไขปัญหามาใช้ในการปรับกิจกรรมให้สอดคล้องกับกลุ่มนักเรียนมาก ย่ิงข้ึน มีการติดตาม ประเมินผล การป้องกันและการแก้ไขปัญหานักเรียนกลุ่มปกติและกลุ่ม เสีย่ ง ด้านการส่งตอ่ โรงเรยี นควรมกี ารวางแผนงาน/โครงการด้านการสง่ ต่อท่ชี ัดเจน เอกสารอา้ งอิง กระทรวงศึกษาธิการ. (2553), พระราชบัญญตั ิการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2542 และทแ่ี กไ้ ข เพิ่มเติม (ฉบับท่ี2). เมตต์ เมตการุณ์จติ . (2553), การบรหิ ารจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วม. พมิ พค์ รั้งที่ 3. กรงุ เทพฯ: บุค๊ พอยท์. ชยาภรณ์ ศฤงคารทวีกุล. (2557), การพัฒนารปู แบบการดำเนนิ งานการดแู ลชว่ ยเหลอื
วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 293 นักเรียนกลุ่มเส่ียง สำหรับโรงเรียนประถมศึกษาขนาดกลาง สังกัดสำนักงาน คณะกรรมการศึกษาขน้ั พื้นฐาน. บณั ฑิตวิทยาลยั : มหาวทิ ยาลัยนอร์ทกรุงเทพ. เตรียมศกั ด์ิ อินอุเทน. (2551), ประสทิ ธิผลการดำเนินงานระบบดแู ลช่วยเหลอื นกั เรียนใน โรงเรยี นสังกัดเขตพื้นทีก่ ารศึกษานครพนม เขต 2. บัณฑติ วทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั ราชภัฏสกลนคร. นรศิ รา จูแยม้ . (2555), การดำเนินงานระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรียนตามความคิดเห็นของ ผบู้ ริหารและครผู ู้สอนในโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชน จังหวัดระยอง. บัณฑิตวิทยาลยั : มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏรำไพพรรณ.ี ผล พรมทอง. (2555),ระบบดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี นของโรงเรียนนวมินทราชินูทิป สวนกหุ ลาบ วทิ ยาลยั ปทมุ ธานี สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 4. บัณฑติ วทิ ยาลัย: มหาวิทยาลยั ธุรกิจบัณฑติ ย์. พรชัย เชวงชตุ ิรตั น์. (2553), การปฏิบัตงิ านระบบดแู ลช่วยเหลือนกั เรียนของผ้บู ริหาร ครทู ่ี ปรกึ ษาและครแู นะแนวในโรงเรยี นสังกัดสำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาตราด. บณั ฑติ วทิ ยาลัย: มหาวทิ ยาลัยราชภฏั รำไพพรรณี. รองรัตน์ ทองมาลา. (2558), การดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรยี นตามทศั นะของ ผ้บู รหิ ารและครูในโรงเรยี นสังกัดสำนักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาสระบรุ ี. บณั ฑิตวิทยาลยั :มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เทพสตรี. วไิ ล รงุ่ โรจน์แสงจนิ ดา. (2556), การบริหารระบบดแู ลชว่ ยเหลือนักเรยี นด้วยการใช้หลกั จิตวทิ ยาของโรงเรียนประถมศึกษา เขตบางบอน สงั กัดกรุงเทพมหานคร. บณั ฑติ วทิ ยาลยั : มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี. สุลาลยั ทองด.ี (2560), แนวทางการพฒั นาการดำเนนิ งานระบบดแู ลช่วยเหลอื นักเรียน ตาม หลกั พรหมวิหาร 4 ของสถานศกึ ษาสังกดั สำนกั งานเขต พ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษา นครศรีธรรมราช เขต 2.บัณฑิตวทิ ยาลยั :มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 12. (2562), แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปี งบประมาณ 2562. กล่มุ นโยบายและแผน สำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 12 สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน.
294 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020)
บทบาทผู้บริหารสถานศกึ ษายุคไทยแลนด์ 4.0 ในการส่งเสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรมนกั เรยี น สังกดั สำนักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษา สุราษฎรธ์ านี เขต 3 Roles of School Administrators in Thailand 4.0 Era to Promote Morals and Ethics of Students Under Suratthani Primary Educational Service Area Office 3 1พไิ ลลักษณ์ แสงพรหม, 2พระครพู จิ ติ รศภุ การ และ 3มะลวิ ลั ย์ โยธารกั ษ์ 1Pilailak Sangprom, 2 Phrakhru Phichitsuphakan and 3Maliwan Yotharak มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, วิทยาเขตนครศรีธรรมราช, ประเทศไทย Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Nakhon Si Thammarat, Thailand. [email protected] Received May 10, 2020; Revised July 12, 2020; Accepted August 25, 2020 บทคดั ยอ่ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาบทบาทผู้บริหารสถานศึกษายุคไทย แลนด์ 4.0 ในการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม 2) เพื่อเปรียบเทียบบทบาทผู้บริหาร สถานศึกษายุคไทยแลนด์ 4.0 ในการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม 3) เพื่อเสนอแนะบทบาท ผู้บริหารสถานศึกษายุคไทยแลนด์ 4.0 ในการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมนักเรียน สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) และกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ใน การวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้อำนวยการ สถานศึกษา ปีการศึกษา 2562 จำนวน 113 คน มีผู้ให้ข้อมูลสำคัญโดยการสัมภาษณ์
296 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) จำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แบบสัมภาษณ์และแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูล คอื คา่ ความถ่ี ค่ารอ้ ยละ สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน One-Way-ANOVA, t-test, F-test ผลการวิจัยพบว่า 1. ผู้อำนวยการสถานศึกษาในโรงเรียนเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ ธานี เขต 3 โดยรวม 5 ด้าน อยู่ในระดับมาก พบว่า ด้านการบรหิ ารและการนิเทศ มีค่าเฉล่ีย สูงสดุ ส่วนด้านการจดั กิจกรรมนกั เรียน มีค่าเฉล่ียตำ่ สดุ 2. ผลการเปรียบเทียบบทบาทผู้บริหารสถานศึกษายุคไทยแลนด์ 4.0 ในการ ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม พบว่า ผู้อำนวยการสถานศึกษาที่มีระดับการศึกษา และ ประสบการณ์การทำงานต่างกัน มีระดับบทบาทผู้บริหารสถานศึกษายุคไทยแลนด์ 4.0 ใน การสง่ เสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรมนกั เรียน โดยรวม ไมแ่ ตกตา่ งกัน 3. แนวทางการส่งเสริมบทบาทผู้บริหารสถานศึกษายุคไทยแลนด์ 4.0 ในการ ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมนักเรียน คือ ผู้บริหาร ควรพัฒนาด้านกายภาพ ส่งเสริมให้ครูมี การบูรณาการการสอนทุกกลุ่มสาระ รวมทง้ั มีการจัดอบรมครูด้านคุณธรรม จริยธรรมเพื่อนำ ความรู้มาสอดแทรกในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ทั้งนี้ผู้บริหารและครูเป็นแบบอย่าง ท่ีดีในการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมนักเรียนมีการจัดกิจกรรมเสริมสร้างลักษณะนิสัยแก่ นักเรียนโดยให้วัดและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม รวมไปถึงผู้บริหารควรมีระบบการประเมิน บุคลากรทป่ี ฏบิ ัตติ นเป็นแบบอยา่ งที่ดีและมีความเป็นกัลยาณมิตรต่อศิษย์ คำสำคัญ : บทบาท, ผ้บู ริหารสถานศึกษา, การส่งเสริมคุณธรรมจรยิ ธรรม, ยคุ ไทยแลนด์ 4.0 Abstract The objectives of this research included: 1) to study the roles of school administrators in Thailand 4.0 era in promoting moral and ethical behavior of students; 2) to compare the roles of school administrators in Thailand 4.0 in promoting moral and ethical behavior of students; and 3) to propose a guideline of the roles of school administrators in Thailand 4.0 in promoting moral and ethical behavior of students under Suratthani Primary Educational Service Area Office 3. The study employed a quantitative research and the sampling groups used in this research included 113 school directors in
วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 297 the academic year 2018 and 5 key informants through interviews. The instruments used included interview formats and questionnaires. The statistics used for data analysis were frequency, percentage, standard deviation, One-Way-ANOVA, t-test, and F-test. The findings were as follows: 1. Regarding school administrators in the Surat Thani Primary Educational Service Area Office 3 in all 5 aspects were at a high level. It was also found that the highest mean was in administration and supervision while the lowest mean was organizing student activities. 2. The comparison of the administrators' role in Thailand 4 .0 in promoting moral and ethical behavior of students, it was found that the school administrators with different educational level and work experience had no difference in their roles in Thailand 4.0 era in promoting moral and ethical behavior of students. 3. Guidelines for enhancing the roles of school administrators in Thailand 4.0 in promoting moral and ethical behavior of students were as the followings. The administrators should develop physical environment, promote teachers in integrating all learning groups in their teaching, training teachers on application of morality and ethics in learning and teaching activities. The school administrators and teachers should be a good model in promoting moral and ethical behavior. There should also be activities in enhancing characters of students by integrating the involvement of temples and communities. Moreover, the school administrators should assess the performance of their personnel to be a good model and be true friends of the students. Keywords: Roles, School Administrators, Promotion of Morals and Ethics, Thailand 4.0 Era บทนำ การศึกษาเป็นรากฐานของชีวิต เปน็ เครื่องมือที่สำคัญในการสร้างสรรคส์ ังคมให้เกิด ความเจริญรุ่งเรือง คนท่ีมีการศึกษาสามารถใช้ความรู้ความคิดวิจารณญาณเพ่ือแก้ไขปัญหา ตา่ งๆให้สำเร็จลลุ ่วงไปดว้ ยดี เพราะการศึกษาเป็นกระบวนการท่ีช่วยให้คนมีพัฒนาการในทุก ดา้ น เช่นการวางรากฐานของชีวิตการพฒั นาศักยภาพขีดความสามารถประกอบสมั มาชพี และ ดำรงตนอย่ใู นสงั คมได้อย่างมีความสขุ การจดั การศึกษาในปจั จบุ ันเป็นไปตามพระราชบญั ญัติ
298 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) การศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ.2545 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2553 มาตรา 6 ได้กำหนดความมุ่งหมาย และหลักการจัดการศกึ ษาต้องเป็นไปเพื่อพฒั นาคนไทยให้ เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ท้ังร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรมและ วัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข มาตรา 24 กล่าวถึง กระบวนการจัดการเรียนรู้ไว้ว่า จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่างๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกัน รวมท้ังปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมที่ดีงามและคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ไว้ในทุกวิชา ซึ่งในมาตราดังกล่าวนี้แสดงให้เห็นถึงความพยายามที่ต้องการให้ สถานศกึ ษาเป็นองคก์ รสำคญั ในการปลูกฝงั คณุ ธรรมจริยธรรม ในปัจจุบันคุณธรรมและจริยธรรมของคนไทยลดลง ขณะเดียวกันวัฒนธรรมและ ระบบคุณค่าท่ีดีงามของสังคมไทยเร่ิมเส่ือมถอย คนไทยกำลังประสบปัญหาวิกฤตค่านิยม คุณธรรม จริยธรรม และพฤติกรรมท่ีเปลี่ยนไปโดยเป็นผลกระทบมาจากการเลื่อนไหลทาง วัฒนธรรมจากต่างชาติเข้ามาสู่ประเทศไทยผ่านส่ือและเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยเฉพาะเด็ก และเยาวชนยังขาดทักษะในด้านการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบไม่สามารถคัดกรองและ เลือกรับวัฒนธรรมที่ดี ปัจจุบันเว็บไซด์ลามกขยายตัวสูงขึ้นนอกจากน้ีส่ือมวลชนอ่ืนๆท้ังสื่อ โทรทัศน์ ส่ิงพิมพ์ ส่ืออิเล็กทรอนิกส์จำนวนมาก ขาดความเข้มงวดทางจรรยาบรรณในการ เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารในทางลบ ขาดจิตสำนึกสาธารณะให้ความสำคัญกับส่วนตนมากกว่า ส่วนรวมทำให้คณุ ธรรมและจริยธรรมลดลง นำไปสู่ปัญหาสงั คมตา่ งๆ สถานบันหลกั ทางสงั คม ทมี่ ีบทบาทสำคญั ต่อการปลกฝงั ศีลธรรมใหส้ ำนึกในคุณธรรม จริยธรรม และอบรมหล่อหลอม ให้ความร้แู ก่เด็กและเยาวชนมีความเข้มแข็ง เน่ืองจาก วถิ ชี ีวติ สมัยใหม่มีผลใหค้ วามเช่อื ความ ศรัทธาในศาสนาเส่อื มถอยการใช้ประโยชน์จากศาสนสถาน ซึ่งมีมากมายกว่า 3 หม่ืนแห่งทั่ว ประเทศและการประกอบกิจทางศาสนาน้อยลง อยู่ในวงแคบและในกลุ่มผู้สูงอายุเป็นหลัก ส่วนสถาบันการศึกษาเปล่ียนจากในอดีตท่ีมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงอย่างใกล้ชิดกับสถาบัน ครอบครัวและสถาบันทางศาสนาเพ่ือให้เด็กและเยาวชนมีคุณธรรมและจริยธรรม ความรู้ใน การดำเนินชีวิตร่วมกับผูอ้ ื่นในสังคม ปัจจุบันเป็นระบบการจัดการศึกษาที่มุ่งเน้นหลักวิชา ให้ ความสำคัญกับใบรับรองการศึกษามากกว่าความรู้ท่ีนำมาปฏิบัติจริงการเรียนการสอนเน้น ทอ่ งจำมากกวา่ ความเข้าใจและนำไปปฏิบตั ิได้ไม่เชอื่ มโยงกับวิถีชีวิตของคนในสังคม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 มีสถานศึกษาใน สังกัดจำนวน 157 โรงเรียน มีผู้บริหารและข้าราชการครู จำนวน 1,649 คน มีนโยบาย
วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 299 พัฒนาคุณภาพการศึกษาตามกลยุทธ์ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ กลยุทธ์ท่ี 2 ปลูกฝังคุณธรรม ความสำนึกในความเป็นชาติไทยและวิถี ชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จากสภาพและปัญหาที่ผา่ นมา พบว่านักเรียนขาดจิต สาธารณะ เนื่องมาจากสังคมท่ีแตกต่างกันไม่สามารถเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมนักเรียนได้โดย ทันที เกดิ จากปัจจยั ภายนอกและปัจจัยภายใน ส่งผลกระทบตอ่ การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม ของนักเรียน สภาพการเรียนการสอนหรือหลักสูตรไม่สามารถตอบสนองการขาดคุณธรรม จริยธรรมของนกั เรยี นได้ ผูเ้ ก่ียวขอ้ งไม่สว่ นในการวางแผนการส่งเสริมคณุ ธรรม จริยธรรม ไม่ มีการเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจให้ผู้เกี่ยวข้อง รวมถึงไม่มีการกำหนดบทบาทหน้าที่ของ ชุมชนในการมีส่วนร่วมในการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม อย่างเป็นรูปธรรมที่ชัดเจน การ กำกับติดตามและประเมินผลน้ันขาดเครื่องมือท่ีใช้ในการกำกับติดตาม และประเมินผลท่ี หลากหลาย ไม่มีการนำผลการประเมินไปใช้เป็นข้อมูลในการปรับปรุงการส่งเสริมคุณธรรม จรยิ ธรรมใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพย่ิงขึ้น จ า ก ส ภ า พ ปั ญ ห า ดั งก ล่ า ว ข้ างต้ น ผู้ วิ จั ย จึ งส น ใจ ที่ จ ะศึ ก ษ า บ ท บ า ท ผู้ บ ริ ห า ร สถานศกึ ษายคุ ไทยแลนด์ 4.0 ในการส่งเสรมิ คุณธรรม จริยธรรมนักเรียน สังกัดสำนักงานเขต พื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 จะได้ตระหนักถึงความสำคัญบทบาทของ ผู้บริหารสถานศึกษาใน การส่งเสริมพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ให้แก่นักเรียนท่ีจะเป็นกำลัง สำคัญในการพัฒนาชาติบ้านเมืองในอนาคต และเพ่ือเป็นข้อมูลสารสนเทศสำหรับ สถานศกึ ษา และผู้ทีเ่ กีย่ วข้องเพอ่ื ใช้เปน็ แนวทางในการวางแผนพฒั นาการศึกษาต่อไป วัตถุประสงคก์ ารวจิ ยั 1. เพื่อศึกษาบทบาทผู้บริหารสถานศึกษายุคไทยแลนด์ 4.0 ในการส่งเสริม คุณธรรม จริยธรรมนักเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 2. เพ่ือเปรียบเทียบบทบาทผู้บริหารสถานศึกษายุคไทยแลนด์ 4.0 ในการส่งเสริม คุณธรรม จริยธรรมนักเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 จำแนกตามระดบั การศึกษาและประสบการณ์การทำงาน
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 517
- 518
- 519
- 520
- 521
- 522
- 523
- 524
- 525
- 526
- 527
- 528
- 529
- 530
- 531
- 532
- 533
- 534
- 535
- 536
- 537
- 538
- 539
- 540
- 541
- 542
- 543
- 544
- 545
- 546
- 547
- 548
- 549
- 550
- 551
- 552
- 553
- 554
- 555
- 556
- 557
- 558
- 559
- 560
- 561
- 562
- 563
- 564
- 565
- 566
- 567
- 568
- 569
- 570
- 571
- 572
- 573
- 574
- 575
- 576
- 577
- 578
- 579
- 580
- 581
- 582
- 583
- 584
- 585
- 586
- 587
- 588
- 589
- 590
- 591
- 592
- 593
- 594
- 595
- 596
- 597
- 598
- 599
- 600
- 601
- 602
- 603
- 604
- 605
- 606
- 607
- 608
- 609
- 610
- 611
- 612
- 613
- 614
- 615
- 616
- 617
- 618
- 619
- 620
- 621
- 622
- 623
- 624
- 625
- 626
- 627
- 628
- 629
- 630
- 631
- 632
- 633
- 634
- 635
- 636
- 637
- 638
- 639
- 640
- 641
- 642
- 643
- 644
- 645
- 646
- 647
- 648
- 649
- 650
- 651
- 652
- 653
- 654
- 655
- 656
- 657
- 658
- 659
- 660
- 661
- 662
- 663
- 664
- 665
- 666
- 667
- 668
- 669
- 670
- 671
- 672
- 673
- 674
- 675
- 676
- 677
- 678
- 679
- 680
- 681
- 682
- 683
- 684
- 685
- 686
- 687
- 688
- 689
- 690
- 691
- 692
- 693
- 694
- 695
- 696
- 697
- 698
- 699
- 700
- 701
- 702
- 703
- 704
- 705
- 706
- 707
- 708
- 709
- 710
- 711
- 712
- 713
- 714
- 715
- 716
- 717
- 718
- 719
- 720
- 721
- 722
- 723
- 724
- 725
- 726
- 727
- 728
- 729
- 730
- 731
- 732
- 733
- 734
- 735
- 736
- 737
- 738
- 739
- 740
- 741
- 742
- 743
- 744
- 745
- 746
- 747
- 748
- 749
- 750
- 751
- 752
- 753
- 754
- 755
- 756
- 757
- 758
- 759
- 760
- 761
- 762
- 763
- 764
- 765
- 766
- 767
- 768
- 769
- 770
- 771
- 772
- 773
- 774
- 775
- 776
- 777
- 778
- 779
- 780
- 781
- 782
- 783
- 784
- 785
- 786
- 787
- 788
- 789
- 790
- 791
- 792
- 793
- 794
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 550
- 551 - 600
- 601 - 650
- 651 - 700
- 701 - 750
- 751 - 794
Pages: