650 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) ความรู้ ดังนั้นการจัดเป็นงานบุญเกี่ยวกับการอนุรักษ์คัมภีร์ประจำปี จงึ เป็นวิธกี ารท่ีสำคัญ ที่ จะสืบสาน รักษาและต่อยอด การอนุรักษ์คัมภีร์แบบมีส่วนร่วมของชุมชน สืบต่อนานอย่าง ยั่งยนื ต่อไป 3. แนวทางการเสริมสร้างเครือข่ายการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลานของวัดและชุมชน ในประเทศไทยด้วยกระบวนการทางวัฒนธรรมและเทคโนโลยี ผลการวิจัยพบว่า ประกอบด้วย 2 แนวทางหลัก ได้แก่ 1) แนวทางการสรา้ งเครือข่ายการอนุรักษค์ ัมภีร์ใบลาน และ 2 ) แนวทางการรกั ษาเครือข่ายให้อยอู่ ย่างยงั่ ยืน โดยมีรายละเอียดงั นี้ 3.1 แนวทางการสร้างเครือข่ายการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลาน ประกอบด้วย 5 แนวทาง ได้แก่ 1) ทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมืออย่างเป็นทางการ MOU 2) เชิญเป็นท่ี ปรึกษา เป็นกรรมการ 3) สมัครเป็นสมาชิกเครือข่ายขององค์กรที่จัดตั้งอยู่แล้ว 4) มีการ รวมกลุ่มกันและจัดตั้งเป็นเครือข่ายร่วมกันอย่างเป็นทางการ หรือ ไม่เป็นทางการ และ 5) ประสานงานสว่ นตวั 3.2 แนวทางการรักษาเครือข่ายให้ยั่งยืน ประกอบด้วย 17 แนวทาง ได้แก่ 1) มีการร่วมงานของกันและกันอย่างต่อเนื่องท้ังท่ีเป็นทางการและไม่ทางการ 2) มีการรักษา สัมพันธภาพทีดีแก่สมาชิกเครือข่าย 3) มีการจัดงานหรือกิจกรรมร่วมกัน 4) มีการแบ่ง บทบาทในการพัฒนาร่วมกัน 5) มีการจัดสรรผลประโยชน์ร่วมกันอย่างเป็นธรรม 6) มีการ กำหนดแผนพัฒนาและมาตรฐานในการดำเนินงานร่วมกัน 7) มีการให้กำลังใจกันและให้ ความช่วยเหลือกัน 8) มีความเคารพและไว้วางใจระหว่างกัน มีความจริงใจ ซื่อสัตย์ มีสัจจะ เสียสละและไม่เอาเปรียบ ซ่ึงกันและกัน 9) ให้เกียรติ ยอมรับความแตกต่างทางวัฒนธรรมทั้ง ในด้านพื้นท่ีและองค์กร 10) ให้เกียรติยอมรับความเป็นอิสระขององค์กรที่ร่วมเป็นเครือข่าย 11) มีระบบสร้างแรงจูงใจในการเป็นเครือข่าย 12) มีระบบการยกย่องบุคลากรในเครือข่าย 13) มีการสร้างผู้สืบทอดเครือข่ายอย่างต่อเน่ือง 14) มกี ารจัดระบบการบริหารเครือข่าย 15) มีศูนย์ประสานและมีผู้ประสานงานเครือข่าย16) มีงบประมาณที่กิจกรรมเครือข่ายและ 17 ) มกี ารตติ ามประเมนิ ผลและสรุปบทเรยี นรว่ มกันในการเป็นเครือข่าย
วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 651 อภิปรายผล การอภิปรายผลการวิจัยในครั้งน้ี จะกล่าวถึงประเด็นท่ีสำคัญและน่าสนใจและ นำมาอภปิ รายตามวตั ถปุ ระสงคก์ ารวจิ ัย ดังน้ี 1. กระบวนการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลานของวัดและชุมชน และ สถานศึกษา ของ ประเทศไทย ผลการวิจัยพบวา่ มี 3 ขั้นตอนดังน้ี ขั้นท่ี 1 ก่อนการอนุรักษ์ เริ่มท่ีสร้างศรัทธา ให้คนในสถานศึกษา และ วัด และ ชุมชน เห็นความสำคัญและต้องการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลาน ด้วยตนเอง จากน้ันให้ต้ังคณะกรรมการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลานเพ่ือบริหารในรูปของ คณะกรรมการ ส่วนระดับสถานศึกษา เป็นองค์ที่มีคณะทำงานอยู่แล้ว จากน้ันให้จัดทำแผน ดำเนินงานด้านการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลานตลอดปีและมีการอบรมพัฒนาบคุ ลากรในหน่วยงาน ด้านความรู้ตามหลักวิชาการและความรู้ทางด้านวัฒนธรรมก่อนปฏิบัติงานอนุรักษ์ ขั้นท่ี 2 ข้ันปฏิบัติการอนุรักษ์ในระดับวัดและชุมชน เริ่มที่ประกาศให้เป็นงานบุญพิธีทาง พระพุทธศาสนาของชุมชนและมีการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลานทั้งกระบวนการทางวฒั นธรรมและ เทคโนโลยี โดยเริ่มที่มีพิธีขออนุญาตก่อนปฏิบัติการและดำเนินการอนุรักษ์ตามหลักวิชาการ และเทคโนโลยี โดยเฉพาะการอนรุ ักษด์ ้วยระบบดิจิตอล ในปัจจบุ ัน ซ่ึงเป็นประโยชน์อยา่ งย่ิง ในการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลานต้นฉบับและข้ันที่ 3 ขั้นสร้างความยั่งยืนในการอนุรักษ์ ได้จัดทำ แหล่งเรียนรู้และมีการเผยแพร่และบริการวิชาการ มีการสร้างเครือข่ายอนุรักษ์คัมภีร์ใบลาน มีระบบยกย่อง มีประเมินผลการปฏิบัติงานประจำปีและมีการสืบสาน รักษา ต่อยอด คุณธรรม ด้วยการจัดงานบุญอนุรักษ์คัมภีร์ปีละ 1 คร้ัง เช่น พิธีไหว้ครูคัมภีร์ พิธีทำบุญอุทิศ บุญให้ผู้สร้างคัมภีร์และผู้ที่เก่ียวข้องกับคัมภีร์ เป็นต้น แต่ในระดับ วัดและชุมชน ได้จัดงาน บุญพิธีทางพระพุทธศาสนาของชุมชนในการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลานของชุมชน เช่น ประเพณี ตากธัมม์ ประเพณีแห่หนังสือใบลาน เป็นต้น โดยเฉพาะการอนุรักษ์ด้วยระบบประเพณี ความเชื่อเป็นการส่งเสริมให้คนในชุมชนหรือคนท่ีเก่ียวข้องกับการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลานใน พ้ืนที่ได้ตระหนักเห็นความสำคัญอย่างต่อเนื่องเพราะมีการถ่ายทอดชุดความเชื่อท่ีเป็นภูมิ ปัญญาจากรุ่นหนึ่งไปสู่รุ่นหนึ่งเพราะคนคือหัวใจสำคัญของการอนุรักษ์ที่ยั่งยืน ซึ่ง สอดคล้องกับงานวิจัยของพระมหาสทุ ิตย์ อาภากโรและคณะ, (2558) ไดก้ ารศกึ ษาวิจัยเรือ่ ง “การจัดการความรู้ทางวัฒนธรรมในประเพณีตากธรรมของวัดสูงเม่น จังหวัดแพร่ ” การศึกษาคร้งั น้ีเป็นการศกึ ษาวิจัยเชงิ ปฏิบัติการแบบมีส่วนรว่ มท่ีมงุ่ เน้นให้คนในชมุ ชนมีส่วน ร่วมในการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรมของตนเอง จากการศึกษาพบว่า ประเพณีตากธรรม
652 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) เป็นประเพณี เชิงกุศโลบายท่ีต้องการให้ประชาชนเข้าถึงหลักธรรมคำสอนทาง พระพุทธศาสนาและการส่งเสริมการให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดเก็บและการดูแลรักษา สภาพคัมภีรธ์ รรมใบลานหรือมรดกทางวัฒนธรรมให้มีอายกุ ารใช้งานที่ยาวนาน ซึ่งอาจกล่าว ได้ว่า ประเพณีตากธรรม เป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้ชาวสูงเม่นมีการดูแลรกั ษาและเกบ็ รวบรวม คัมภีรธ์ รรมใบลานภาษาลา้ นนาไว้ไดม้ ากทสี่ ดุ ในประเทศไทย ผลจากการศึกษาวิจัยทำให้ประชาชนในท้องถิ่นมีความตระหนักและเห็น ความสำคัญของมรดกทางวัฒนธรรมของชุมชน ซึ่งนำไปสู่การขยายผลและการเรียนรู้ใน ระดับท้องถนิ่ ซ่ึงกระบวนการดังกล่าวจะสำเร็จมิได้ ถา้ หากขาดการมีส่วนร่วมของประชาชน ดังน้ัน มีข้อเสนอแนะว่าชุมชนท้องถิ่นควรมีการส่งเสริมการเรียนรู้ของชุมชนอย่างต่อเนื่อง เพ่ือนำไปสู่การจัดการและการปรับตัวของชุมชน ในขณะที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นก็ควร สนับสนุนกิจกรรมการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และทรัพยากรวัฒนธรรมของชุมชนเพ่ือให้เกิด การเรยี นร้แู ละการพฒั นาสังคม ซึ่งทั้ง 3 ขั้นตอนการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลาน เบื้องต้น มีความ สอดคล้องกับงานวิจัยของสมยั วรรณอุดร, (2559), ได้วจิ ัยเรื่อง คัมภีรใ์ บลานกบั กระบวนการ สร้างศนู ยเ์ รียนรชู้ ุมชน ด้านเอกสารโบราณวัดศรจี ันทร์ ชุมชนบ้านนาอ้อ อำเภอเมือง จงั หวัด เลย เพื่อเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม พบว่า มีกระบวนการอนุรักษ์ลักษณะ 3 ตอน คลา้ ยกัน คือ1 ) กอ่ นอนุรกั ษเ์ ริม่ ท่ี ศรัทธา คือ กระบวนการกอ่ นทจ่ี ะมีการปฏบิ ัติการอนุรักษ์ คัมภีร์ใบลานในภาควิชาการ กระบวนการการสร้างความศรัทธา หรือ ความเชื่อ หรือ กระบวนการชุมชนควรจะเริ่มก่อน ได้แก่ มีการประชุมพบปะแกนนำชุมชน เพื่อทำความ เข้าใจร่วมกันเกี่ยวกับกิจกรรมท่ีจะดำเนินการในโครงการน้ีระหว่างกลุ่มงาน อนุรักษ์เอกสาร โบราณฯ กับพระสงฆ์ผู้นำชุมชน และชาวบ้าน 2) กระบวนการอนุรักษ์ เร่ิมท่ีทำการอนุรักษ์ ให้เป็นงานงานบุญ เร่ิมที่การทำบุญเล้ียงพระเป็นอันดับแรกเพ่ือ ความเป็นสิริมงคลจากนั้น จึงร่วมกับพระสงฆ์ผู้นำชุมชนและชาวบ้านทำพิธี ขอขมาและขออนุญาตบูรพาจารย์เพื่อ สำรวจคัมภีร์ใบลาน เสร็จแล้วจึงเร่ิมขนย้ายคัมภีร์ใบลานออกจากหีบพระธรรม โดยได้รับ ความร่วมมือชาวบ้านเป็นอย่างดีชาวบ้านยังร่วม ทำความสะอาดคัมภีร์ใบ จึงเข้าสู่ กระบวนการสำรวจ คัดแยกช่ือเร่ืองคัมภีร์ ลำดับไปตามหลักวิชาการ จนถึงข้ันเก็บและ 3 ) กระบวนการสร้างความยั่งยืนอนุรักษ์ คือ มีการสร้างศูนย์เรียนรู้ ชุมชนด้านเอกสารโบราณ วัดศรีจันทร์ ชุมชนบ้านนาอ้อ อำเภอเมือง จังหวัดเลย และเกิดเป็น “ศูนย์เรียนรู้ชุมชนด้าน เอกสารโบราณ วัดศรีจันทร์”มีภารกิจเผยแพร่และสร้างธัมมทายาท โดยมีการแสดง ประวัติ
วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 653 บ้านนาอ้อ ประวัติคัมภีร์ใบลานวัด ศรีจันทร์ ความรู้เกี่ยวกับประวัติและภาพแสดงตัวอักษร โบราณ ได้แก่ตัว อักษรขอมไทย ตัวอักษรธรรมอีสาน และตัวอกั ษรไทยนอ้ ย ความรู้เกย่ี ว กับ หมวดหมู่และสาระการเรียนรู้ในคัมภีร์ใบลาน ความรู้เกี่ยวกับหีบพระ ธรรมและความรู้ เก่ียวกับผ้าห่อคัมภีร์ใบลาน และจัดทำบัญชีรายช่ือเอกสาร โบราณเพ่ือเป็นฐานข้อมูลแห่งน้ี ด้วยโดยตั้งชื่อสถานที่จัดแสดงคัมภีร์ใบลาน แห่งน้ีใหม่ว่า“ศูนย์เรียนรู้ชุมชนด้านเอกสาร โบราณวัดศรีจันทร์ บ้านนาอ้อ ตำบลนาอ้อ อำเภอเมือง จังหวัดเลย”โดยเป็นส่วนหน่ึงของ พิพธิ ภัณฑ์ ประภศั ร์จนั ทโชตอิ นุสรณ์วิจารณ์สงั ฆกิจ 2 รูปแบบการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลานของวัดและชุมชนในประเทศไทยด้วย กระบวนการทางวัฒนธรรมและเทคโนโลยี ผลการวิจยั พบว่า มี 5 ข้ันตอน ตามแบบ สูงเม่น โมเดล ดังนี้ ข้ันที่ 1 การสร้างศรัทธา ( สัมมาทิฏฐิ) เร่ิมที่กระบวนการทางวัฒนธรรม คือ ถ่ายทอดชุดความเชื่อให้คนในชุมชนเห็นความสำคัญของการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลานอย่าง ถูกต้องท้ังทางโลกและทางธรรม เพ่ือมีความต้องการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลานด้วยชุมชนเอง ชุด ความเชอื่ เช่น คุณคา่ และมูลคา่ ของคัมภีร์ อานิสงส์ของการอนุรักษ์คัมภีร์ เพราะหัวใจสำคัญ ของการอนุรักษ์ คือ การมีส่วนร่วมของชุมชน การท่ีชุมชนจะมีส่วนร่วมได้จำเป็นต้องทำให้ อย่างไรให้เขามีศรทั ธาต่อส่ิงนน้ั เพือ่ เขาจะได้รว่ มอย่างจรงิ ใจ ขน้ั ท่ี 2 การจัดระบบขอ้ มลู และ กระบวนการทำงาน (ศีล) คือ บริหารด้วยคณะกรรมการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลานเฉพาะ จัดทำ แผนและเตรียมความพร้อมอบรมบุคลากรอนุรักษ์คัมภีร์ด้วยกระบวนการทางวัฒนธรรมและ เทคโนโลยี ข้ันที่ 3 การปฏิบัติการอนุรักษ์ (สมาธิ) เร่ิมที่กระบวนการทางวัฒนธรรม คือ ประกาศเป็นงานบุญ ทำพิธีงานบุญขออนุญาตอนุรักษ์คัมภีร์ใบลาน พระสงฆ์และชาวบ้าน ร่วมพิธีและตามด้วย การอนุรักษ์ตามหลักวิชาการและเทคโนโลยี 12 ขั้นตอน คือ 1) ผู้ปฏบิ ตั ิงานใส่ถงุ มือ และ หน้ากากอนามยั เพื่อป้องกันสุขภาพ 2)บนั ทึกภาพสภาพของคมั ภรี ์ ใบลานก่อนการสำรวจ 3) ทำความสะอาดท่เี ก็บคัมภรี ์ 4) สำรวจ สภาพคมั ภีร์ และ คดั แยก คมั ภีร์ 5) จัดเรยี งใบลานคมั ภรี ์ท่ีไม่สมบรู ณ์ ใหส้ มบูรณ์ 6) ทำความสะอาดคัมภรี ์ 7) จัดหมวด หมูคัมภีร์ 8) ลงทะเบียนคัมภีร์ 9) ถ่ายคัมภีร์ระบบดิจิทัล 10) ทำทะเบียนคัมภีร์ 11) ห่อ คัมภีร์ ติดป้ายรหัส 12 ) เก็บคัมภีร์ในห้องท่ีเหมาะสม โดย มีพิธีงานบุญในการอัญเชิญเก็บ คัมภีร์ ขั้นท่ี 4 การพัฒนาเป็นแหล่งเรียนรู้ (ปัญญา) การอนุรักษ์คัมภีร์ใบลานด้วย กระบวนการทางวัฒนธรรมและเทคโนโลยี และ ข้ันที่ 5 การแผ่ขยายสู่ความย่ังยืน (เมตตา) คอื มีการเผยแพร่และบริการองค์ความรู้การอนุรักษ์คัมภีร์ใบลานและเน้ือหาในคัมภีร์ใบลาน
654 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) ให้เกิดประโยชน์ มีการสร้างเครือข่ายอนุรักษ์คัมภีร์ใบลาน มีระบบยกย่อง มีการประเมินผล และ มีการสืบสาน รักษา ต่อยอดคุณธรรม ด้วยกระบวนการทางวัฒนธรรม คือ มรี ะบบการ สร้างธัมมทายาท และ มีการจัดงานบุญประเพณีของชุมชนด้านการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลาน ปี ละ 1 ครั้ง เช่น ประเพณีตากธัมม์ ประเพณีแห่คัมภีร์ใบลาน เป็นต้น เพื่อสร้างความศรัทธา ของชมุ ชนใหม้ ีต่อการอนุรกั ษ์คมั ภรี ์ใบลานอยา่ งย่ังยืนสืบไป ซึ่งทั้ง 5 ขั้นตอนนี้ ได้สอดคล้อง กับงานวิจัยของประสทิ ธิชัย เลิศรัตนเคหกาล (2559). ได้ศกึ ษาเร่ือง “การพัฒนารูปแบบการ จัดการคัมภีร์ใบลานในประเทศไทย ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพการจัดการคัมภีร์ใบลานใน ประเทศไทยเป็นการจัดการกระจายในแต่ละภูมิภาคในลักษณะโครงการ โดยมีนโยบาย จดั ตั้งเปน็ สถาบนั ศูนย์หรือพิพิธภัณฑท์ ่ีมีแผนพัฒนาคัมภีร์ใบลานใหอ้ ยู่ในรูปดิจิทัล และมีกล ยุทธ์การสร้างเครือข่ายความร่วมมือ 2) ปัจจัยท่ีเอ้ือต่อความสำเร็จในการจัดการคัมภีร์ใบ ลาน ได้แก่ การกำหนดให้การจัดการคัมภีร์ใบลานเป็นนโยบายหลักขององค์กร การมี โครงสร้างองค์กรท่ีชัดเจนและมีบุคลากรรับผิดชอบ ภาวะผู้นำของผู้บริหาร เครือข่ายความ รว่ มมือระหวา่ งบุคคล และ มีกระบวนการทางวัฒนธรรมและเทคโนโลยี มาใช้ต้ังแต่ตน้ จนจบ กระบวนการ 3) ปัญหาการจัดการคัมภีร์ใบลานในประเทศไทย ได้แก่ โครงสร้างองค์กรไม่ ชดั เจนและขาดบุคลากรท่รี บั ผิดชอบโดยตรง ความไม่ตอ่ เน่ืองของงบประมาณสนับสนุน และ เทคโนโลยีสารสนเทศไม่ทันสมัย 4) รูปแบบท่ีเหมาะสมของการจัดการคัมภีร์ใบลานใน ประเทศไทยประกอบด้วย ด้านการบริหารองค์กรคัมภีร์ใบลานมี 3 ระดับ ได้แก่ ระดับชาติ ระดับหน่วยงานและระดับท้องถิ่น 3. แนวทางการเสริมสร้างเครือข่ายการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลานของวัดและชุมชน ในประเทศไทยด้วยกระบวนการทางวัฒนธรรมและเทคโนโลยี ผลการวิจัยพบว่า มี 5 แนวทางการสร้างเครือข่ายการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลาน คือ 1) ทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ อย่างเป็นทางการ MOU 2) เชิญเป็นกรรมการ 3)เข่าร่วมสมัครเป็นเครือข่าย 4) ร่วมกลุ่มต้ัง เครือข่ายเอง 5) เครือข่ายส่วนตัว ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ Boissevain, Jeremy and J. Clyde Mitchell, (2015), วิจัยเร่ือง“การเป็นเครือข่าย”ผลการวิจัยพบว่า เครือข่ายมี หลาย 3 ประเภท ดังนี้ (1) เครือข่ายเชิงพื้นท่ี (area network) หมายถงึ การรวมตัวของกลุ่ม อ ง ค์ ก ร เค รื อ ข่ า ย ท่ี อ า ศั ย พื้ น ที่ ด ำ เนิ น ก า ร เป็ น ปั จ จั ย ห ลั ก ใน ก า ร ท ำ ง า น ร่ ว ม กั น เป็ น กระบวนการพัฒนาที่อาศัยกิจกรรมที่เกิดข้ึนในพ้ืนที่เป็นเป้าหมายนำทางและเป็นการพัฒนา แบบบูรณาการท่ีไม่แยกส่วนต่างๆออกจากกัน โดยยึดเอาพ้ืนที่เป็นที่ต้ังแห่งความสำเร็จใน
วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 655 การทำงานร่วมกันของทุกฝ่ายลักษณะและโครงสร้างของเครือข่าย (2) เครือข่ายเชิงประเด็น กิจกรรม (issue network) หมายถึง เครือข่ายที่ใช้ประเด็นกิจกรรมหรือสถานการณ์ท่ี เกิดขึ้นเป็นปัจจัยหลักในการรวมกลุ่มองค์กร เช่น เครือข่ายป่าชุมชน เครือข่ายภูมิปัญญา ชาวบ้าน เครือข่ายธนาคารหมู่บ้าน เครือข่ายผู้สูงอายุ เครือข่ายด้านคุ้มครอง ผู้บริโภค เครือข่ายสิ่งแวดล้อม เครือข่ายปฏิรูปการศึกษา เครือข่ายสิทธิมนุษยชน เครือข่ายสุขภาพ และ (3) เครือข่ายแบ่งตามโครงสร้างหน้าที่ หมายถึง เครือข่ายที่เกิดข้ึนโดยอาศัยภารกิจ/ กิจกรรม และการก่อตัวของกลุ่มผลประโยชน์ในสังคมเป็นแนวทางในการแบ่ง เครือข่าย 3) เครือขา่ ยองค์กรพัฒนาเอกชน เช่น เครอื ข่ายเพ่ือนตะวันออกเครือข่ายองค์กร พัฒนาเอกชนภาคเหนือ เครือข่ายด้านแรงงานสวัสดิการสังคม เครือข่ายมูลนิธิ YMCA ฯลฯ และ 4) เครือข่ายภาคประชาชน เช่นเครือข่ายปราชญ์อีสาน เครือข่ายประมงพ้ืนบ้าน เครือข่ายสมัชชาคนจน ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ Paul Starkey, (1997), ได้วิจัยเร่ือง “การสรา้ งเครือข่ายเพื่อการพัฒนา ” ผลการวิจัยพบวา่ ความหมายของ\"เครือข่าย\" คือ กลุ่ม ของคนหรือองค์กรทีส่ มัครใจแลกเปลี่ยนข่าวสารข้อมูลระหวา่ งกัน หรือทำกิจกรรมรว่ มกนั ใน ลักษณะท่ีบุคคลหรือองค์กรสมาชิกยังคงมีความเป็นอิสระในการดำเนินกิจกรรมของตน การ สร้างเครือข่ายเป็นการทำให้บุคคลและองค์กรที่กระจัดกระจายได้ติดต่อและแลกเปล่ียน ข้อมูลข่าวสาร และการร่วมมือกันด้วยความสมัครใจ อีกท้ังให้สมาชิกในเครือข่ายมี ความสัมพันธ์กันฉันท์เพ่ือนที่ต่างก็มีความเป็นอิสระ มากกว่าสร้างการคบค้าสมาคมแบบ พ่งึ พงิ ตอ่ ไป องค์ความร้ทู ี่ไดจ้ ากการศึกษา รูปแบบการอนุรกั ษ์คัมภีร์ใบลานของวดั และชุมชนและสถานศึกษา ในประเทศไทย ด้วยกระบวนการทางวัฒนธรรมและเทคโนโลยี ท่ีได้จากการศึกษาวิจัยในคร้ังนี้ไป ศึกษาและ พัฒนาเพ่ิมเติม นำไปปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วมพ้ืนท่ีจริง ได้แก่ องค์กร หรือ วัดและชุมชน ต่างๆ ที่มีการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลาน เพื่อประโยชน์ในการพัฒนารูปแบบการอนุรักษ์คัมภีร์ใบ ลานที่ยังยืน สร้างแหล่งเรียนรู้ สร้างเครือข่ายและมีการเผยแพร่องค์ความรู้ เพราะการมี แหล่งเรียนรู้และเครือข่ายด้านการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลาน จะช่วยทำให้คนที่สนใจทั้งในพื้นท่ี และจากท่ีอื่นสามารถมาศึกษาข้ันตอนการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลานและมีระบบการแลกเปล่ียน เรียนรู้ซึ่งกันและกัน อันจะเป็นประโยชน์ต่อการสร้างแรงบันดาลใจและสร้างธัมมทายาท
656 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) สนใจในการอนุรักษ์มากขึ้น มีการจัดทำคู่มือวิธีการและมาตรฐานการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลาน เผยแพร่ ทั้งนี้เพ่ือเป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลานท่ีได้มาตรฐานของวัดและ ชุมชนและองค์กรต่างๆ ท่ีมีคัมภีร์ใบลานในพ้ืนท่ี ซึ่งควรต้องทำท้ังในรูปของเอกสารและเป็นองค์ ความร้เู ผยแพร่ ทางสอ่ื ออนไลน์ จะเปน็ ประโยชน์อย่างต่อการอนุรักษค์ ัมภรี ์ใบลานของชาติไทย เอกสารอา้ งอิง โครงการ Tipitaka (DTP), ความรูร้ อบตัว/อนุรักษค์ ัมภรี ใ์ บลานไทยรักษาไว้ให้แผ่นดิน.html, http://www.dmc.tv/pages/ [ 3 พฤษภาคม 2562]. ประสทิ ธชิ ัย เลิศรัตนเคหกาล, (2559). การพัฒนารปู แบบการจดั การคัมภรี ใ์ บลานในประเทศ ไทย, บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, สถาบันอนรุ กั ษค์ ัมภีรใ์ บลาน วดั สูงเมน่ , (2559), เมืองคัมภรี ์ธมั มโ์ บราณ มรดกธัมม์ มรดก โลก วดั สูงเม่น. ศนู ยส์ ยามทรรศนศ์ กึ ษา คณะศลิ ปะศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหดิ ล : ไทยอุตสาหะการพิมพ.์ พระมหาสุทติ ย์ อาภากโรและคณะ, (2558). การจัดการความรทู้ างวัฒนธรรมในประเพณี ตากธรรมของวัดสงู เมน่ จังหวดั แพร่. รายงานการวจิ ยั . สำนักงานคณะกรรมการ วฒั นธรรมแหง่ ชาติ กระทรวงวัฒนธรรม. สมัย วรรณอดุ ร, (2559). คัมภีรใ์ บลานกบั กระบวนการสร้างศนู ยเ์ รียนรชู้ ุมชน ด้านเอกสาร โบราณวัดศรีจันทร์ ชมุ ชนบา้ นนาออ้ อำเภอเมอื ง จงั หวัดเลย, รายงานการวจิ ัย : มหาวิทยาลยั มหาสารคาม. Boissevain, Jeremy and J.Clyde Mitchell, (2015), How to be Networks : Studies in Human Interaction, (Netherlands : Mouton & Co, P.54. Starkey, Paul, (1997), Networking for Development, IFRTD (The International Forum for Rural Transport and Development London P.67-68.
รูปแบบการสง่ เสรมิ พฒั นาการเดก็ ปฐมวยั ตามหลักภาวนา 4 ของโรงเรยี นในสังกดั สำนกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษา ประถมศกึ ษาสุราษฎรธ์ านี เขต 3 A Model for Promotion of early Childhood Development Based on cultivation (Bhavana) Principle of Schools under Suratthani Primary Educational service area Office 3 1วนดิ า แพเพชรทอง, 2พระปลดั โฆษิต โฆสโิ ต, 3ธรี ะพงษ์ สมเขาใหญ่และ 4สามิตร อ่อนคง 1Wanida Pheaphetthong, 2Prapalad Kosit Kosito, 3Teeraphong Somkhaoyai and 4Samit Onkone 1,2,3มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย, ประเทศไทย 4มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, ประเทศไทย 1,2,3Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Thailand. 4Mahamakut Buddhist university, Thailand. [email protected], [email protected] Received May 10, 2020; Revised July 12, 2020; Accepted August 25, 2020
658 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) บทคดั ยอ่ การวิจัยคร้งั นี้มีวัตถุประสงค์ 1)เพอื่ ศึกษาสภาพการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก 2) เพ่ือ ศึกษารูปแบบการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยตามหลักภาวนา 4 ของโรงเรียนในสังกัด สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 และ3)เพ่ือนำเสนอรูปแบบ การส่งเสรมิ พัฒนาการเดก็ ปฐมวัยตามหลักภาวนา 4 ของโรงเรียนในสังกดั สำนักงานเขตพื้นท่ี การศึกษาประถมศกึ ษาสุราษฎรธ์ านี เขต 3 เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้ใหข้ ้อมูลสัมภาษณ์ คือ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูปฐมวัย จำนวน 15 คน ผู้เช่ียวชาญ คือ พระภิกษุสงฆ์และ ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 4 รูป/คน และผู้ทรงคุณวุฒิในการสนทนากลุ่ม จำนวน 7 ท่าน เครือ่ งมอื ท่ีใช้ได้แก่ แบบสมั ภาษณ์เชงิ ลึกและแนวทางในการสนทนากลุม่ ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพการจัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ประกอบด้วย กิจกรรมที่ส่งเสริมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน ตามหลักสูตรปฐมวัย 2) รูปแบบการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยตามหลักภาวนา 4 ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 ซ่ึงมีผลการดำเนินการดังนี้ การจัด กิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้ 6 กิจกรรมหลัก การติดตามผลและประเมินผล 3) รูปแบบ การส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยตามหลักภาวนา 4 ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 ประกอบด้วย (1) หลักการและเหตุผล (2) วัตถุประสงค์ของรูปแบบเพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยตามหลักภาวนา 4 ของ โรงเรียนในของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 (3) กระบวนการดำเนนิ การ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักสูตร ทัง้ 6 กิจกรรม ท่ีส่งเสริมพัฒนาการ 4 ด้านมาการบูรณาการกับหลักภาวนา 4 ดังนี้ ก) การพัฒนาด้าน ร่างกาย คือ กายภาวนา ข) การพัฒนาด้านสังคม คือ ศีลภาวนา ค) การพัฒนาด้านอารมณ์ จิตใจ คอื จติ ตภาวนา ง) การพัฒนาด้านสติปัญญา คือ ปัญญาภาวนา (4) การติดตามผลและ ประเมนิ ผล คำสำคัญ : รปู แบบ, การส่งเสริม, พัฒนาการเดก็ ปฐมวัย, หลกั ภาวนา 4
วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 659 Abstract The objectives of this research included: 1 ) to study the conditions of child development promotion; 2) to investigate the model for promotion of early childhood development based on the cultivation (Bhavana) principle of schools under Suratthani Primary Educational Service Area Office 3; and 3 ) to propose the model for promoting early childhood development according to the cultivation (Bhavana) principle of schools under the Suratthani Primary Educational Service Area Office 3 . This is a qualitative research with key informants consisting of: 15 school administrators and teachers; 4 specialists including monks and school administrators; and 7 experts in focus group discussion. Instruments used were in-depth interview forms and a guideline in group discussion. The findings could be revealed as the followings. 1) The condition of activities for early childhood development consists of 4 aspects according to the early childhood curriculum. 2) The model for the promotion of early childhood development based on the principle of cultivation (Bhavana) of the schools under Suratthani Primary Educational Service Area Office 3 included the following implementation: teaching and learning activities was arranged by using 6 main activities, follow-up and evaluation. 3) The model for the promotion of early childhood development based on the principle of the cultivation (Bhavana) of the schools under Suratthani Primary Educational Service Area Office 3 consisted of: (1) rationale; (2) objectives of the model to promote early childhood development based on the principle of the cultivation (Bhavana) of the schools under Suratthani Primary Educational Service Area Office 3; (3) the process of learning and teaching according to the curriculum with 6 activities that promoted four development aspects with an integration of the principle of the cultivation (Bhavana) included: (a) body development (Kayabhavana), (b) social development (Silabhavana), (c) emotional and mental development (Cittabhavana), and (d) intellectual development (Pannabhavana); (4) Follow-up and evaluation. Key word : Model, Promotion, Early Childhood Development , Bhavana 4
660 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) บทนำ การศึกษาปฐมวัยเป็นการพัฒนาเด็กต้ังแต่แรกเกิดถึง 6 ปีบริบูรณ์ อย่างเป็นองค์ รวม บนพ้ืนฐานการอบรมเลย้ี งดูและการส่งเสรมิ กระบวนการเรียนรู้ท่ีสนองต่อธรรมชาติและ พัฒนาการตามวัยของเด็กแต่ละคนให้เต็มตามศักยภาพ ภายใต้บริบทสังคมและวัฒนธรรมที่ เด็กอาศัยอยู่ด้วยความรัก ความเอื้ออาทรและความเข้าใจของทุกคนเพื่อสร้างรากฐาน คุณภาพชีวิตให้เด็กพัฒนาไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เกิดคุณค่าต่อตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน สังคมและประเทศชาติ (คมู่ อื หลักสตู รการศกึ ษาปฐมวัย, 2560: 3) เด็กวัย 0-6 ป เปนชวงอายุท่ีมีความสําคัญที่สุดในชีวิตของมนุษย เพราะเปนระยะ ที่รางกายมีการพัฒนาสูงมากโดยเฉพาะทางสมอง ถาเด็กไดรับการพัฒนาเลี้ยงดูท่ีดีถูกตอง ตาม ห ลัก จิ ต วิท ย าแ ล ะห ลัก วิช าการอื่น ๆ เด็ก ก็ จะ พั ฒ น าได เต็ ม ศั กย ภ าพ แ ล ะส าม ารถ เจริญเติบโตเปนพลเมืองที่มีคุณภาพเปนกําลังในการพัฒนาประเทศชาติตอไป พัฒนาการใน ชวงปฐมวยั พื้นฐานของการพัฒนาการ จะสงผลกระทบตอในวยั ตอๆมาของมนุษย ทง้ั รางกาย จิตใจ สติปญญาอารมณและสังคม การพัฒนาในชวงปฐมวัยจึงตองไดรับการเอาใจใสเด็กได รับการพัฒนาอยางถูกวิธีและมีคุณภาพ เพ่ือเปนทรัพยากรท่ีมีคุณคา คร้ังโบราณการศึกษา กระทําที่วัดโดยมีพระภิกษุสงฆซึ่งมีความรูเปนผูจัดการศึกษาและเปนครู เด็กผูชายจะถูก นําไปเปนศิษยวัดหรือบวชเป็นสามเณรเพ่ือศึกษาเลาเรียนรวมทั้ง การอบรมศีลธรรมและ หลักธรรมทางศาสนา ทาํ ใหเด็กผูชายสามารถอานออกเขียนไดและมคี วามรูในดานหลักธรรม ทางศาสนาของสังคมโดยถือเปนเกียรติของตนและครอบครัว วัดไดมีบทบาทส่งเสริมด้าน การศึกษาของประชาชน และของสังคมโดยสวนรวมดวยเหตุน้ีวัดจึงเปนสถานท่ีใชในการ อบรมส่ังสอนและสงเคราะหประชาชนตลอดมา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 มาตรา 6 การจัดการศึกษาต้อง เป็นไปเพ่ือพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และ คุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิตสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี ความสุข มาตรา 22 กล่าวไว้ว่า การจัดการศึกษาต้องยึดหลกั ว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถ เรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษา ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ (กรมส่งเสริมการ ปกครองท้องถนิ่ , 2546: 1)
วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 661 เม่ือเด็กไดรับการพัฒนาเล้ียงดูท่ีดี ถูกตองตามหลักจิตวิทยาและหลักวิชาการอื่นๆ เด็กก็จะพัฒนาไดเต็มศักยภาพและสามารถเจริญเติบโตเปนพลเมืองท่ีมีคุณภาพเปนกําลังใน การพัฒนาประเทศชาติตอไป พัฒนาการในชวงปฐมวัยพ้ืนฐานของการพัฒนาการ จะสงผล กระทบตอในวัยตอๆมาของมนุษย ท้ังรางกาย จิตใจ สติปญญาอารมณและสังคมการพัฒนา ในชวงปฐมวัยจึงตองไดรับการเอาใจใสเด็กไดรับการพัฒนาอยางถูกวิธีและมีคุณภาพเพ่ือเปน ทรัพยากรท่มี ีคุณคา การศกึ ษาเลาเรียนรวมท้ัง การอบรมศีลธรรม และหลักธรรมทางศาสนา ทําใหเด็กสามารถอานออกเขียนไดและเพื่อให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะท่ีดีตามท่ีกำหนดไว้ใน หลักสูตร ควรนำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาท่ีเรียกว่า หลักภาวนา 4 ซ่ึงประกอบด้วย กาย ภาวนา สลี ภาวนา จิตภาวนา และปัญญาภาวนา มาพัฒนาคุณลักษณะของผู้เรยี น (พระธรรมปฎก, 2544 : 371) การนําพุทธศาสนามาเปนรากฐานในการจัดการศึกษาจึงเปนการกลอมเกลาเด็ก ดวยการฝกพฤติกรรม จิตใจและปญญา เพื่อใหเด็กเกิดจริยะที่ดีงาม คือการดําเนินชีวิตที่ดี งามไมแตกแยกจากความเปนจริงในชีวิตดวยปญญาที่รูเทาทันทําใหมีพฤติกรรมจิตใจและ ปญญาท่ีดีย่ิงข้ึนไป สอดคลองหลักการการจัดการศึกษาปฐมวัยที่เด็กทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับ การอบรมเลี้ยงดูและการส่งเสริมพัฒนาการ ตามอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก ตลอดจนได้รับ การจัดประสบการณ์การเรียนรู้อย่างเหมาะสม ด้วยปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างเด็กกับพ่อแม่ เด็ก กับผู้สอน เด็กกับผู้เลี้ยงดูหรือผู้ท่ีเกี่ยวข้องกับการอบรมเล้ียงดู การพัฒนาและให้การศึกษา แกเ่ ดก็ ปฐมวัย เพือ่ ให้เด็กมโี อกาสพัฒนาตนเองตามลําดับขั้นของพัฒนาการทุกด้านอย่างเป็น องค์รวมมีคุณภาพและเต็มตามศักยภาพ โดยกาหนดหลักการ ดังน้ี 1. ส่งเสริมกระบวนการ เรียนรู้และพัฒนาการที่ครอบคลุมเด็กปฐมวัยทุกคน 2. ยึดหลักการอบรมเล้ียงดูและให้ การศึกษาที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ โดยคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลและวิถีชีวิตของเด็ก ตํามบริบทของชุมชน สังคมและวัฒนธรรมไทย 3. ยึดพัฒนาการและการพัฒนาเด็กโดยองค์ รวม ผ่านการเล่นอย่างมีความหมายและมีกิจกรรมท่ีหลากหลาย ได้ลงมือกระทําใน สภาพแวดล้อมที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ เหมาะสมกับวัยและมีการพักผ่อนเพียงพอ 4. จั ด ประสบการณ์การเรียนรู้ให้เด็กมีทักษะชีวิตและสามารถปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง เป็นคนดี มีวินัยและมีความสุข 5. สร้างความรู้ ความเข้าใจและประสาน ความร่วมมือในการพัฒนาเด็กระหว่างสถานศึกษากบั พ่อแม่ ครอบครวั ชุมชน และทุกฝายท่ี เกยี่ วขอ้ งกบั การพัฒนาเดก็ ปฐมวัย (ค่มู อื หลักสตู รการศึกษาปฐมวยั , 2560 :4)
662 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) ปรัชญาการศึกษาปฐมวัยที่มุงพัฒนาเด็กบนพื้นฐานของการอบรมเลี้ยงดูและการ สงเสริมกระบวนการเรียนรูทสี่ นองตอธรรมชาตแิ ละพฒั นาการของเด็กแตละคนตามศกั ยภาพ ภายใตบริบทสังคมวัฒนธรรมที่เด็กอาศัยดวยความรักความเอื้ออาทรและความเขาใจของทุก คนเพ่ือสรางรากฐานคุณภาพชีวิตใหเด็กพัฒนาไปสูความเปนมนุษยที่สมบูรณเกิดคุณคา ตอตนเองและสังคม นอกจากน้ี การนํายุทธวิธีทางพระพุทธศาสนาเขามาใชในการจัด การศึกษายังเปนการเนนการเขาถึงการเปนจิตนิยม มากกวาทุนนิยม การใหประสบการณ เรียนรูต้ังแตแรกจะทําใหเกิดการมองและสรางจุดมุงหวังในชีวิต (cultural goal) เก่ียวกับ สังคมซ่ึงจะเปนสิ่งที่นาํ ไปสูการเปนผูใหญที่ดีในอนาคต ด้วยเหตุน้ีผู้วิจัยสนใจที่จะทำการวิจัยในเร่ืองรูปแบบการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ปฐมวัยตามหลักภาวนา 4 ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา สุราษฎรธ์ านี เขต 3 เพอื่ ใหไ้ ด้ขอ้ มลู มาพฒั นาการจัดการศกึ ษาปฐมวยั ของสถานศกึ ษาต่อไป วตั ถปุ ระสงค์การวจิ ัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ของโรงเรียนในสังกัด สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุราษฎรธ์ านี เขต 3 2. เพ่ือศึกษารูปแบบการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยตามหลักภาวนา 4 ของ โรงเรยี นในสังกดั สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 3. เพื่อนำเสนอรูปแบบการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยตามหลักภาวนา 4 ของ โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาสรุ าษฎรธ์ านี เขต 3 วธิ ีดำเนินการวจิ ัย ผู้วิจัยได้ศึกษาใน 3 ลักษณะ คือ ศึกษาค้นคว้าทางเอกสาร (Documentary investigation) การสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) และการประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group) ผู้วิจยั ได้ดำเนนิ การวิจยั เป็น 3 ขนั้ ตอน ดังน้ี 1. ขน้ั ตอนการศึกษาสภาพ ขั้นตอนการศึกษาสภาพรูปแบบการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยของโรงเรียนใน สังกัดสำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาสุราษฎรธ์ านี เขต 3 ได้กำหนดดงั น้ี
วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 663 1) ผู้วิจัยดำเนินการนำรายละเอียดจากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ี เก่ียวข้องในการจัดทำร่างรูปแบบการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยตามหลักภาวนา 4 โรงเรียนในสังกัดสำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาสุราษฎรธ์ านี เขต 3 2) นำเสนออาจารย์ท่ีปรกึ ษาเพือ่ ขอความเห็นและข้อเสนอแนะเบ้ืองต้น 3) การสัมภาษณ์ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง จำนวน 15 ท่าน ประกอบด้วย ผู้บริหาร สถานศกึ ษา จำนวน 5 ท่าน ครูปฐมวยั จำนวน 10 ท่าน 2. ข้นั ตอนการศึกษารปู แบบการเรียนรู้ ข้ันตอนการศึกษารูปแบบการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ของโรงเรียนในสังกัด สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 ได้กำหนดดังนี้ 1) ร่างแบบการสัมภาษณเ์ ชงิ ลกึ 2) การสัมภาษณ์เชิงลึกผู้เชี่ยวชาญ ประกอบด้วย พระภิกษุสงฆ์ จำนวน 1 รูป ผู้อำนวยการโรงเรียน จำนวน 3 ทา่ น 3. ขัน้ ตอนการนำเสนอ ขั้นตอนการนำเสนอรูปแบบการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยตามหลักภาวนา 4 ของโรงเรียนสงั กดั สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาสรุ าษฎรธ์ านี เขต 3 ดังนี้ 1) ดำเนินการสนทนากลุ่มโดยมีผู้ทรงคุณวุฒิ 8 ท่าน ประกอบด้วย พระภิกษุ สงฆ์ จำนวน 1 รูป ผู้อำนวยการโรงเรียน จำนวน 4 ท่าน ศึกษานิเทศก์ 1 ท่าน ครูปฐมวัย 1 ทา่ น 3) สรุปผลรูปแบบการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยตามหลักภาวนา 4 ของ โรงเรียนใน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 จาก ขอ้ เสนอแนะของผทู้ รงคณุ วฒุ ิทีไ่ ดจ้ ากการสนทนากล่มุ ผลการวิจยั 1. สภาพการจัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย จากการศึกษา พบว่า (1) กิจกรรมที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายได้แก่ กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะการเล่น กลางแจ้งและกิจกรรมสร้างสรรค์ (2) กิจกรรมท่ีส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจได้แก่ กจิ กรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ กิจกรรมสร้างสรรค์ กิจกรรมกลางแจ้ง กิจกรรมเสรี กิจกรรม การเล่านิทาน และการฝึกนั่งสมาธิก่อนการทำกิจกรรมประจำวันในชั้นเรียน (3) กิจกรรมท่ี
664 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) ส่งเสริมพัฒนาการด้านสังคม ได้แก่ กิจกรรมการเคล่อื นไหวและจังหวะ กิจกรรมเสรี กิจกรรม กลางแจ้ง กิจกรรมเกมการศึกษาและกิจกรรมเสริมประสบการณ์ (4) กิจกรรมที่ส่งเสริม พัฒนาการด้านสตปิ ัญญา ได้แก่ กิจกรรมสร้างสรรค์ กิจกรรมเกมการศึกษาและกิจกรรมเสริม ประสบการณ์ ปัญหาและอุปสรรคในการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (1) ปัญหาและอุปสรรคในการจัดกิจกรรมเพ่ือส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้านร่างกายขาด เคร่ืองเล่นสนามบางชิ้นในการส่งเสริมพัฒนาการนักเรียนบางคนเลือกรับประทานอาหาร มี ปัญหาการโภชนาการก่อนเข้าโรงเรียน ความผิดปกคติทางด้านร่างกายของเด็กเอง (2) ปญั หาและอุปสรรคในการจัดกิจกรรมเพ่อื ส่งเสรมิ พฒั นาการด้านอารมณ์ จิตใจ เด็กมีพ้ืนฐาน ทแี่ ตกตา่ งกันดังน้ันการแสดงออกทางอารมณจ์ ึงแตกต่างกัน ปราศจากการเล้ียงดูท่ผี ู้ปกครอง ปล่อยปละละเลยเด็กเอาแต่ใจตนเองเข้าสังคมไม่ได้ (3) ปัญหาและอุปสรรคในการจัด กิจกรรมเพ่ือส่งเสริมพัฒนาการด้านสังคม (4) ปัญหาและอุปสรรคในการจัดกิจกรรมเพ่ือ สง่ เสรมิ พัฒนาการด้านสตปิ ญั ญา 2. รูปแบบการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยตามหลักภาวนา 4 ของโรงเรียน ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 ซ่ึงมีผลดังนี้ (1) หลักการและเหตุผล (2) วัตถุประสงค์ของรปู แบบ (3)การจดั กิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้ 6 กิจกรรมหลัก คือ กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ กิจกรรมเสริมประสบการณ์ประกอบดว้ ย เรื่องราวเก่ียวกับตัวเด็ก เรื่องราวเก่ียวกับบุคคลและสถานท่ีแวดล้อมเด็ก ธรรมชาติรอบตัว และส่ิงต่างๆรอบตัวเด็ก กิจกรรมกลางแจ้ง กิจกรรมเสรี กิจกรรมสร้างสรรค์ เกมการศึกษา (4) การตดิ ตามผลและประเมินผล 3. การนำเสนอรูปแบบรูปแบบการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยตามหลัก ภาวนา 4 ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 ซง่ึ มีผลการดำเนนิ การดงั นี้ (1) หลักการและเหตุผล (2) วัตถุประสงค์ของรูปแบบเพ่ือ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยตามหลักภาวนา 4 ของโรงเรียนในของโรงเรียนในสังกัด สำนักงนเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 (3) กระบวนการดำเนินการ การจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนตามหลักสูตร ทั้ง 6 กิจกรรมท่ีส่งเสริมพฒั นาการ 4 ด้านมา การ บูรณาการกับหลักภาวนา 4 (4) การตดิ ตามผลและประเมินผล พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 มาตรา 6 การจัดการศึกษาต้อง เป็นไปเพ่ือพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และ
วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 665 คุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิตสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี ความสุข หลกั การจัดการศึกษาศึกษาปฐมวัยต้องยึดหลักว่าต้องส่งเสริมเด็กทุกคนมีสิทธ์ิที่จะ ได้รับการอบรมเลี้ยงดูและส่งเสริมพัฒนาการตามอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก ตลอดจนได้รับ การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้อย่างเหมาะสม ด้วยปฏิสมั พนั ธท์ ี่ดีระหว่างเดก็ กับพ่อแม่ เด็ก กับผู้สอน เด็กกับผู้เลย้ี งดูหรอื ผ้ทู ่ีเกย่ี วข้องในการอบรมเล้ียงดู การพัฒนาและให้การศกึ ษาแก่ เด็กปฐมวัย เพ่ือให้เด็กมีโอกาสพัฒนาตนเองตามลำดับขั้นของพัฒนาการทุกด้าน อย่างเป็น องค์รวม มคี ุณภาพและเต็มตามศกั ยภาพ ในทางพระพุทธศาสนาการพัฒนา คือภาวนา ซึ่งมีการพัฒนาอยู 4 ประเภทคือ กายภาวนา คือ การเจริญกาย พัฒนากาย ศีลภาวนา คือ การเจริญศีล พัฒนาความประพฤติ จิตตภาวนา คือ การเจริญจิต พัฒนาจิต การฝกอบรมจิตใจและปญญาภาวนา คือการเจริญ ปญญา พฒั นาปญญา ด้วยหลักการดังกล่าวข้างต้น ผู้วิจัยจึงจัดทำรูปแบบการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ปฐมวัยตามหลักภาวนา 4 ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุ ราษฎรธ์ านี เขต 3 เพ่อื ให้ได้รูปแบบมาปรับใช้ในการสง่ เสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยทั้ง 4 ด้าน ตามหลักภาวนา 4 ท่ีเป็นรูปธรรม ตรงตามความต้องการของเด็ก ครู ชุมชนและเป็นไปตาม ยทุ ธศาสตรช์ าติด้านการจัดการศึกษา การใชร้ ะบบ PDCA คอื วงจรการบริหารงานคุณภาพ ย่อมาจาก 4 คำ ได้แก่ Plan (วางแผน), Do (ปฏิบัติ), Check (ตรวจสอบ) และ Act (การ ดำเนินการให้เหมาะสม) ข้ันตอนการดำเนินงานให้เหมาะสมจะพิจารณาผลที่ได้จากการ ตรวจสอบ ซึ่งมีอยู่ 2 กรณี คือ ผลท่ีเกิดข้ึนเป็นไปตามแผนที่วางไว้ หรือไม่เป็นไปตามแผนท่ี วางไว้ หากเป็นกรณีแรก ก็ให้นำแนวทางหรือกระบวนการปฏิบัตินั้นมาจัดทำให้เป็น มาตรฐาน พร้อมท้ังหาวิธีการที่จะปรับปรุงให้ดียิ่งข้ึนไปอีก ซ่ึงอาจหมายถึงสามารถบรรลุ เป้าหมายได้เร็วกว่าเดิม หรือเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าเดิมหรือทำให้คุณภาพดีย่ิงขึ้นก็ได้แต่ถ้า หากเป็นกรณีทีส่ อง คือ ผลทไ่ี ดไ้ ม่บรรลวุ ัตถุประสงค์ตามแผนท่วี างไว้ ควรนำข้อมูลทร่ี วบรวม ไว้มาวิเคราะห์และพิจารณาว่าควรจะดำเนินการอย่างไร เช่น มองหาทางเลือกใหม่ท่ีน่าจะ เป็นไปได้ ใช้ความพยายามให้มากขึ้นกว่าเดิมขอความช่วยเหลือจากผู้รหู้ รือเปล่ียนเป้าหมาย ใหม่ เปน็ ตน้
666 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) การสังเกตพฤติกรรม เป็นการเก็บข้อมูลจากการดูการปฏิบัติกิจกรรมของเดก็ โดย ไม่ขัดจังหวะการทำงานหรือการคิดของเด็ก การสังเกตพฤติกรรมเป็นส่ิงท่ีทำได้ตลอดเวลา แต่ควรมีกระบวนการและจุดประสงค์ที่ชัดเจนว่าต้องการประเมินอะไร โดยอาจใช้เครื่องมือ เช่น แบบมาตรประมาณค่า แบบตรวจสอบรายการ สมุดจดบันทึก เพื่อประเมินเด็กตาม ตวั ชี้วดั และควรสังเกตหลายครง้ั หลายสถานการณแ์ ละหลายช่วงเวลาเพื่อขจัดความลำอยี ง อภปิ รายผล 1. สภาพการจัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย จากการศึกษา เห็นว่า (1) กิจกรรมท่ีส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายได้แก่ กิจกรรมเคล่ือนไหวและจังหวะ การเล่น กลางแจ้งและกิจกรรมสร้างสรรค์ (2) กิจกรรมที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจได้แก่ กจิ กรรมเคล่ือนไหวและจังหวะ กิจกรรมสร้างสรรค์ กิจกรรมกลางแจ้ง กิจกรรมเสรี กิจกรรม การเล่านิทาน และ การฝึกน่ังสมาธิก่อนการทำกิจกรรมประจำวันในช้ันเรียน (3) กิจกรรมท่ี ส่งเสรมิ พฒั นาการด้านสงั คม ได้แก่ กจิ กรรมการเคลอ่ื นไหวและจงั หวะ กิจกรรมเสรี กิจกรรม กลางแจ้ง กิจกรรมเกมการศึกษาและกิจกรรมเสริมประสบการณ์ (4) กิจกรรมที่ส่งเสริม พฒั นาการด้านสติปญั ญา ได้แก่ กิจกรรมสร้างสรรค์ กิจกรรมเกมการศึกษาและกิจกรรมเสริม ประสบการณ์ ปัญหาและอุปสรรคในการจัดกิจกรรมเพ่ือส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (1) ปัญหาและอุปสรรคในการจัดกิจกรรมเพ่ือส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยด้านร่างกายขาด เครื่องเล่นสนามบางชิ้นในการส่งเสริมพัฒนาการ นักเรยี นบางคนเลือกรับประทานอาหาร มี ปัญหาการโภชนาการก่อนเข้าโรงเรียน ความผิดปกคติทางด้านร่างกายของเด็กเอง (2) ปัญหาและอุปสรรคในการจดั กิจกรรมเพอ่ื ส่งเสริมพฒั นาการด้านอารมณ์ จิตใจ เด็กมีพ้นื ฐาน ท่ีแตกต่างกันดังนั้นการแสดงออกทางอารมณ์จึงแตกต่างกันปราศจากการเลี้ยงดูที่ผู้ปกครอง ปล่อยปละละเลย เด็กเอาแต่ใจตนเองเข้าสังคมไม่ได้ (3) ปัญหาและอุปสรรคในการจัด กิจกรรมเพ่ือส่งเสริมพัฒนาการด้านสังคม (4) ปัญหาและอุปสรรคในการจัดกิจกรรมเพ่ือ ส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญา ทั้งน้ีเพราะการจัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย จำเป็นต้องมีการดำเนินการจัดกิจกรรมตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยปัญหาหรืออุปสรรคใน การจัดกิจกรรมส่วนหน่ึงมาจากพื้นฐานครอบครัว ซ่ึงสอดคล้องกับงานวิจัยของปฐม นวลคำ (2560:36) ผลการวิจยั พบว่า รปู แบบการส่งเสริมพัฒนาการเดก็ ปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเดก็ เล็ก
วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 667 จังหวัดแม่ฮ่องสอนประกอบด้วย 3 กลวิธี คือ 1) การจัดการเรียนการสอนกิจกรรมส่งเสริม พัฒนาการเด็กปฐมวัยตามหลักสูตรและแผนการสอนชุดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ปฐมวัยจังหวัด แม่ฮ่องสอนโดยครูพี่เล้ียงในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเป็นระยะเวลา 6 เดือน ติดต่อกัน 2) การเฝ้าระวังและคัดกรองพัฒนาการเดก็ปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโดยครูพี่ เล้ียงเด็ก และเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุขปีละ 2 ครั้งและ 3) การมีส่วนร่วมของชุมชนในการ ชว่ ยเหลอื ดา้ นเศรษฐกิจและสังคม 2. รูปแบบการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยตามหลักภาวนา 4 ของโรงเรียน ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 ซึ่งมีผลดังนี้ (1) หลักการและเหตุผล (2) วัตถุประสงค์ของรูปแบบ (3)การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้ 6 กิจกรรมหลัก คือ กิจกรรมเคลือ่ นไหวและจังหวะ กิจกรรมเสริมประสบการณ์ประกอบดว้ ย เรื่องราวเก่ียวกับตัวเด็ก เร่ืองราวเก่ียวกับบุคคลและสถานที่แวดล้อมเด็ก ธรรมชาติรอบตัว และสิ่งต่างๆรอบตัวเด็ก กิจกรรมกลางแจ้ง กิจกรรมเสรี กิจกรรมสร้างสรรค์ เกมการศึกษา (4) การติดตามผล ท้ังน้ีเป็นเพราะว่ารูปแบบการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยตามหลัก ภาวนา 4 ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 จำเป็นต้องมีการดำเนินการตามระเบียบปฏิบัติ ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของพระ ณรงค์เดช อธิมุตฺโต (2560:271) ได้ศึกษาวิจัยรูปแบบการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้โรงเรียนวิถี พุทธ พบว่าการพฒั นารูปแบบการพัฒนาศนู ยก์ ารเรียนรู้โรงเรียนวิถีพุทธ ไดด้ ังน้ี รูปแบบการ พัฒนาศูนย์การเรียนรู้โรงเรียนวิถีพุทธประกอบด้วยส่วนสำคัญ 3 ส่วนคือ ส่วนนำ, กระบวน การ,และการนำไปใช้ มีรายละเอียดอธิบายได้ดังน้ี (1) ส่วนนำประกอบด้วย หลักการ, วัตถุประสงค์, สภาพแวดล้อม, ตัวช้ีวัดศูนย์การเรียนรู้โรงเรียนวิถีพุทธ (2) กระบวนการ ประกอบด้วยได้แก่ องค์ประกอบของศูนย์การเรียนรู้โรงเรียนวิถีพุทธ, การดำเนินงานศูนย์ การเรียนรู้โรงเรียนวิถีพุทธ, การพัฒนาศูนย์การเรียนรู้โรงเรียนวิถีพุทธ, กิจกรรมพัฒนาศูนย์ การเรยี นรโู้ รงเรียนวิถีพทุ ธ (3) การนำรปู แบบไปใช้ ประกอบด้วย การเตรียมการดำเนินงาน, การนำไปใช้, การติดตามและประเมินผล ผลการนำเสนอรูปแบบการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ โรงเรียนวิถีพุทธจากวิเคราะห์ค่าความเหมาะสม โดยภาพรวม มีความเหมาะสมอยู่ในระดับ มาก เมื่อพิจารณาในแต่ละหัวข้อ พบว่าส่วนกระบวนการ องค์ประกอบด้านอาคารสถานที่ มี ความเหมาะสมมากที่สุด รองลงมา ส่วนการนำรูปแบบไปใช้ ส่วนกระบวนการด้านกิจกรรม มีความเหมาะสมเปน็ ลำดับท่ี 3
668 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) 3. รูปแบบการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยตามหลักภาวนา 4 ของโรงเรียน ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เข ต 3 มีผลการ ดำเนินการดังนี้ 1) หลักการและเหตุผล 2) วัตถุประสงค์ของรูปแบบเพ่ือส่งเสริมพัฒนาการ เด็กปฐมวัยตามหลักภาวนา 4 ของโรงเรียนในของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่ การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 3) กระบวนการดำเนินการ การจัดกิจกรรมการ เรียนการสอนตามหลักสูตร ท้ัง 6 กิจกรรมที่ส่งเสริมพัฒนาการ 4 ด้านมาการบูรณาการกับ หลักภาวนา 4 ดังน้ี (1) การพัฒนาด้านร่างกาย คือ กายภาวนา จัดประสบการณ์ให้เด็ก ปฐมวัยโดยบูรณาการกับกิจกรรม ดังน้ี 1) กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ กิจกรรมส่งเสริม สุขบัญญัติ 10 ประการ กิจกรรมส่งเสริมภาวะโภชนาการ กิจกรรมดื่มนมทุกวัน กิจกรรม ทดสอบสมรรถภาพทางร่างกาย การเล่นกลางแจ้ง กิจกรรมสร้างสรรค์ (2) การพัฒนาด้าน สงั คม คือ ศีลภาวนา จดั การเรยี นการสอนโดยบูรณาการกิจกรรมดงั นี้ กิจกรรมเสรี กจิ กรรม กลางแจ้ง กิจกรรมเสริมประสบการณ์ เช่น การเล่านิทานคุณธรรม กิจกรรมเกมการศึกษา กิจกรรมสุดสัปดาห์รักษาศีล บันทึกความดี กิจกรรมการออมทรัพย์ (3) การพัฒนาด้าน อารมณ์ จิตใจ คือ จิตตภาวนา จัดการเรียนการสอนโดยบูรณาการกับกิจกรรม ดังนี้ กจิ กรรมสรางสรรค์ เช่น ฝึกป้ันวาดภาพระบายสี งานประดิษฐ์ การปะติดกระดาษและเมล็ด พืช (4) การพัฒนาด้านสติปัญญา คือปัญญาภาวนา จัดการเรียนการสอนบูรณาการกับ กิจกรรมดังน้ี กิจกรรมเสริมประสบการณ์ กิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์ ท้ังน้ีเพราะเป็นรูปแบบ การส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยท่ีเก่ียวเน่ืองกับการบริหารจัดการสถานศึกษาและ สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ รวมถึงหลักการจัดการศึกษาปฐมวัยที่เน้น การจัดการเรียนรู้ให้กับเด็กปฐมวัย ซ่ึงสอดคล้องกับผลการวิจัยของขวัญฟา รังสิยานนท์ (2552:4) เร่ือง การพัฒนารูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูแนวพุทธ สําหรับเด็กปฐมวัย ผลการวิจยั พบวา รูปแบบการจดั กระบวนการเรียนรูแนวพุทธสําหรับเดก็ ปฐมวัย ท่ีพัฒนาข้ึน เปนรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูเพื่อพัฒนาจริยธรรมเด็กปฐมวัย ใช หลักธรรม ไดแก สัมมาทิฏฐิ ไตรสิกขาและปญญาวุฒิธรรม 4 โดยยึดหลักพัฒนาการ และการเรียนรูของเด็ก และครูถือเปนตัวแทนการขดั เกลาทางสังคมท่ีสาํ คัญในการหลอหลอม ใหเด็กเกิดการเรียนรูผ านการมปี ฏิสัมพันธกบั กจิ กรรม 2 ประเภท คอื (1) กิจกรรมใน ชีวิตประจําวนั เนนการสํารวม กาย วาจา ใจ ดวยการเจริญสติในชวงกิจกรรมยามเชากอนรับประทานอาหาร กอนนอน และกอนกลับบานและ (2) กิจกรรมในหน่วยการเรียนรู เนนการเรียนรูจากการไดยิน
วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 669 มองเห็น สูดดม ชิม สัมผัส และรับรูดวยใจ ผานสาระการเรียนรู ในหนวยตางๆ โดยลงมือ กระทําเปนรายบุคคล กลุมยอยและกลุมใหญ ข้ันตอนใน การจัดกระบวนการเรียนรูมี 5 ข้ัน คือ การจัดปจจัยสนับสนุนการเรียนรู การฝกการรับรู การพัฒนาการคิด การลงมือปฏิบัติ และการประเมิน 4) การติดตามผลและประเมินผล อาจจะกล่าวได้ว่า รูปแบบเป็นกรอบ แนวคิดทางด้านหลักการ ย่อมสามารถนำวิธีการดำเนินงานและเกณฑ์ต่างๆ ของระบบที่ สามารถยดึ ถือเป็นแนวทางในการดำเนินงานเพือ่ ใหบ้ รรลวุ ัตถุประสงค์ของงานได้ องคค์ วามรู้ทไี่ ดจ้ ากการศึกษา รูปแบบการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยตามหลักภาวนา 4 ของโรงเรียนใน สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 ซ่ึงมรี ูปแบบท่ีสำคัญ คือ (1) หลักการและเหตุผล (2) วัตถุประสงค์ของรูปแบบ (3)การจัดกิจกรรมการเรียนการ สอนโดยใช้ 6 กิจกรรมหลัก คือ กิจกรรมเคล่ือนไหวและจังหวะ กิจกรรมเสริมประสบการณ์ ประกอบด้วยเร่ืองราวเก่ียวกับตัวเด็ก เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานท่ีแวดล้อมเด็ก ธรรมชาตริ อบตวั และสงิ่ ตา่ งๆรอบตัวเด็ก กิจกรรมกลางแจ้ง กิจกรรมเสรี กจิ กรรมสร้างสรรค์ เกมการศึกษา (4) การติดตามผล ทั้งน้ีเป็นเพราะว่ารูปแบบการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ปฐมวัยตามหลักภาวนา 4 ของโรงเรียน ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 จำเป็นต้องมีการดำเนินการตามระเบียบปฏิบัติ การใช หลกั ธรรม ไดแก สัมมาทิฏฐิ ไตรสิกขาและปญญาวุฒธิ รรม 4 โดยยึดหลักพัฒนาการและการ เรียนรูของเด็ก และครูถือเปนตัวแทนการขัดเกลาทางสงั คมท่ีสําคัญในการหลอหลอม ใหเด็ก เกิดการเรียนรูผานการมีปฏิสัมพันธกับกิจกรรม 2 ประเภท คือ (1) กิจกรรมใน ชีวิตประจําวัน ที่เนนการสํารวม กาย วาจาและใจ ดวยการเจริญสติในชวงกิจกรรมยามเชา กอนทีจ่ ะรบั ประทานอาหาร กอนนอนและกอนกลับบาน และ (2) กิจกรรมในหนว่ ยการเรียน รู เนนการเรียนรูจาก การไดยิน มองเห็น สูดดม ชิม สัมผัส และรับรูดวยใจ ผานสาระการ เรียนรู ในหนวยตางๆ โดยลงมอื กระทําเปนรายบคุ คล กลุมยอยและกลุมใหญ ขัน้ ตอนใน การ จัดกระบวนการเรียนรูมี 5 ขั้น คือ การจัดปจจัยสนับสนุนการเรียนรู การฝกการรับรู การ พัฒนาการคิด การลงมือปฏิบัติและการประเมนิ 4) การตดิ ตามผลและประเมินผล
670 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) เอกสารอ้างองิ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน, (2546), คู่มือศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น, กรุงเทพฯ : กระทรวงมหาดไทย, ขวัญฟา รังสิยานนท์. (2552), การพัฒนารูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูแนวพุทธสําหรับ เด็กปฐมวยั . บณั ฑิตวทิ ยาลัย: หาวิทยาลยั รามคําแหง. พระณรงคเ์ ดช อธิมตุ ฺโต. (2560). รูปแบบการพฒั นาศูนยก์ ารเรียนร้โู รงเรยี นวิถีพุทธ. บณั ฑติ วิทยาลัย : มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระธรรมปฎก (ป.อ.ปยตุ ฺโต).(2544). พุทธธรรม (ฉบับเดมิ ). พิมพคร้งั ท่ี 11.กรุงเทพฯ : ดวงแกว. ปฐม นวลคำ. (2560), การพฒั นารปู แบบการส่งเสรมิ พฒั นาการ เด็กปฐมวัยในศนู ยพ์ ัฒนา เดก็ เล็กจังหวดั แม่ฮ่องสอน. วารสารสขุ ภาพภาคประชาชน, กระทรวงสาธารณสขุ . คูม่ ือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พทุ ธศกั ราช 2560, (สำหรับเด็กอายุ 3-6 ปี). Author, สำนัก วิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน
แนวทางพัฒนาการสง่ ออกสินค้าผา่ นดา่ นวังเต่า เมอื งโพนทอง แขวงจำปาสกั สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว Guidelines for the Development of Exportation via the Vangtao Border Crossing Point in Phontong District, Champasak Province, Lao PDR 1เลิศสะไหม วงคำหล้า, 2วัชราภรณ์ จนั ทนกุ ลู และ 3ไพศาล พากเพยี ร 1Lertsamai Wongkamlah, 2Watcharaporn Jantanukul and 3Paisarn Phakphian มหาวิทยาลัยราชภฏั อุบลราชธานี, ประเทศไทย Ubon Ratchathani Rajabhat University, Thailand. [email protected] Received May 10, 2020; Revised July 12, 2020; Accepted August 25, 2020 บทคดั ย่อ การวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาสภาพปัญหาการส่งออกสินค้าผ่านด่านวังเต่า เมืองโพนทอง แขวงจำปาสัก สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาวและเพอื่ ศกึ ษาแนวทาง พัฒนาการส่งออกสินค้าผ่านด่านวังเต่า เมืองโพนทอง แขวงจำปาสัก สาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 191 คน ใช้วิธีการเลือกตัวอย่างแบบ เจาะจง ใช้แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์เป็นเคร่ืองมือในการวิจัย สถิติท่ีใช้ในการ วิเคราะหข์ ้อมูล ได้แก่ คา่ ร้อยละ คา่ เฉลี่ย คา่ เบ่ยี งเบนมาตรฐาน และการวิเคราะหเ์ ชิงเน้ือหา ผลการวิจัยพบว่า สภาพปัญหาการส่งออกสินค้าของผู้ประกอบการผ่านด่านวังเต่า เมืองโพน ทอง แขวงจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ด้านเศรษฐกิจ ภาวะเศรษฐกิจปัจจุบันของประเทศลาวเป็นปัญหาต่อการส่งออก ด้าน
672 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) การเมืองและกฎหมายมีการลักลอบ ส่งออกสินค้าแบบผิดกฎหมาย และด้านสังคมและ วัฒนธรรมวัฒนธรรมและวันหยุดของลาวและไทยเป็นปัญหาต่อการส่งออกสินค้า แนวทาง พัฒนาการส่งออกสินค้าผ่านด่านวังเต่า เมืองโพนทอง แขวงจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว โดยภาพรวมอยู่ในระดบั มาก ด้านสถานที่ควรมกี ารจดั พน้ื ที่เพอ่ื ให้บริการมีความ เหมาะสมกับภาระงาน ด้านกระบวนการและข้ันตอนในการให้บริการผู้ให้บริการสามารถแจ้ง หน่วยงานเมื่อเกิดปัญหา ด้านคุณลักษณะผู้ให้บริการเจ้าหน้าท่ีผู้ให้บริการควรย้ิมแย้มแจ่มใส พูดจาไพเราะสุภาพ ดา้ นคา่ ใช้จ่าย หนว่ ยงานรัฐและผู้ประกอบการควรหารอื ร่วมกนั เกี่ยวภาษี ส่งออก ด้านความสะดวกในการรับบริการ ควรมีผู้ให้บริการคอยให้คำแนะนำและพร้อมแก้ไข ปัญหา ด้านข้อมูลข่าวสารและการประชาสัมพันธ์ ข้อมูลข่าวสารในป้ายประกาศต้องมีความ ทันสมัย จากการสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมาย พบว่า ด้านสถานที่ควรกำหนดจุดจอดรถให้ เหมาะสมเพียงพอและสถานท่ีตั้งควรเข้าถงึ ได้ง่าย ด้านความสะดวกในการรบั บริการควรนำ เทคโนโลยีมาใช้ให้เพียงพอด้านคุณสมบัติผู้ให้บริการ ควรพัฒนาตนเองอย่างสม่ำเสมอ ด้าน กระบวนการและข้ันตอนในการให้บริการ ควรลดขั้นตอนที่ไม่จำเป็นในการให้บริการ ควร เพ่ิมเจ้าหน้าท่ีในช่วงเวลาเร่งด่วน ด้านข้อมูลข่าวสารและการประชาสัมพันธ์ ควรประกาศ แจ้งข้อมูลผา่ นทางเว็บไซต์และการสอ่ื สารออนไลน์ คำสำคัญ : แนวทาง, การพัฒนา, การส่งออก Abstract The objectives of this research were to study the problems in exportation via the Vangtao border crossing point in Phontong district, Champasak province, Lao PDR; and to study the guidelines for the exportation via the Vangtao border crossing point in Phontong district, Champasak province, Lao PDR. The samples were 191 individuals, selected by a purposive sampling. The research instruments were questionnaires and interviews. Statistics used in data analysis were percentage, means, standard deviation, and content analysis. The research findings were as follows. The overall average of problems related to the exportation of the entrepreneurs at Vangtao border crossing point in Phontong district, Champasak province, Lao PDR were at a high level that could be considered by aspect as the followings. Economic aspect, the current economic
วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 673 condition of Lao PDR affected the exportation. Political and legal aspects, commodities were smuggled across the border. Social and cultural aspects, Lao and Thai official holidays were different and affected the exportation. The overall average guidelines for the development of the exportation via the Vangtao border crossing point in Phontong district, Champasak province, Lao PDR were at a high level that could be considered by aspect as the followings. Establishment aspect, the place or venues should be rearranged in proportion to the workloads. The aspect of process and steps of the service, the service providers should be able to abruptly inform the agencies concerned whenever the problems arose. The aspect of the characteristics of the service providers, they should be friendly, polite and hospitable. The aspect of related fees, state agencies and entrepreneurs should hold a talk on the export tax. The aspect of convenience for servicing the recipients, official staff should be assigned for giving advice and be ready to help when necessary. The aspect of information and public relations, the information on the announcement board should be updated. From interviewing the target sampling groups, it was found as the followings. The establishment aspect, there should be sufficient and convenient parking space. The aspect of servicing facilities, there should be sufficient technological access. The aspect of qualifications of the service providers, they should regularly develop themselves. The aspect of process and stages in providing services, unnecessary stages should be minimized and more staff should be available in rush hours. The aspect of information and public relations, information should be published in websites and online communication. Key words: Guidelines, Development, Exportation บทนำ การทำธุรกิจในสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว จำเป็นที่นักธุรกิจต้องให้ ความสำคัญต่อกฎ ระเบียบการค้าต่างๆกรมการนำเข้าและส่งออก กระทรวงอุตสาหกรรม และการค้าได้กำหนดกฎระเบียบและมาตรการด้านการนาเข้า-ส่งออกสินค้าของ สาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว ตามประกาศของกระทรวงการค้า เลขท่ี 2151/อค. กขอ. ลง วันที่ 30 ต.ค.52 เกี่ยวกับสินค้าควบคุมท่ีต้องขออนุญาตนำเข้า และส่งออกแบบไม่อัตโนมัติ ของสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว ซึ่งมสี ินค้าที่ห้ามนาเข้าและสง่ ออก เป็นประเภท
674 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) สินค้าท่ีมีผลกระทบร้ายแรง เป็นอันตรายต่อความมั่นคง ความสงบและความปลอดภัยของ ชาติ เพ่ือความเป็นระเบียบเรียบร้อยของสังคม มาตรฐานการดำรงชีวิตที่ดีของประชาชน รักษาประเพณีและวัฒนธรรมอันดีของชาติ การปกป้องชีวิตและสุขภาพของมนุษย์สัตว์หรือ พืชพันธุ์ การปกป้องมรดกแห่งชาติทางด้านศิลปะหรือคุณค่าทางด้านสถาปัตยกรรม การ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ การปฏิบัติพันธะภายใต้กฎบัติสหประชาชาติ การปฏิบัติตาม ข้อกำหนดของกฎหมายใดกฎหมายหน่ึงของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวที่มีผล บังคับใช้ รายการสินค้าท่ีห้ามนำเข้าและห้ามส่งออกต้องดำเนินการภายใต้กฎหมายของ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ซง่ึ สินคา้ ทั่วไปตามแผนการนำเข้า ผู้ดำเนินธุรกจิ ตอ้ ง เสนอแผนการนำเข้าของตนเองใน 6 เดือน หรือ 1 ปี ต้องแจ้งให้แผนกอุตสาหกรรมและ การค้าแขวง หรือนครหลวงเวียงจันทน์รับทราบ และนำแผนดังกล่าวไปแจ้งไว้กับหน่วยงาน บรกิ ารผา่ นประตเู ดยี ว (One Stop Service) ในการนำเข้าสินค้าแต่ละครัง้ สำหรับการส่งออกสินค้าในปัจจุบันนี้เป็นการส่งออกสินค้าเกษตรออกไปขาย ตา่ งประเทศจำเป็นจะต้องขอใบรับรองปลอดโรคพชื สารตกคา้ งหรอื แมลง เพ่ือรับรองคุณภาพ อาหารผลผลิตการเกษตรที่จะส่งออกจากกลุ่มบริการส่งออกสินค้าเกษตร ด่านตรวจพืช สำนักควบคุมพืชและวสั ดุการเกษตร กรมวิชาการเกษตร ณ คลงั สินคา้ ท่าอากาศยานสุวรรณ ภูมิ ซึ่งมีภารกิจหลักที่จะต้องปฏิบัติ คือ ควบคุม ดูแลตรวจสอบการนำเข้า ส่งออก นำผ่าน พืชและวัสดุการเกษตร มิให้มีโรคหรือศัตรูพืชติดมากับสินค้าเกษตร โดยการดำเนินงาน เกี่ยวกับการส่งออกจำเป็นต้องเป็นไปอย่างรวดเร็ว เพ่ือป้องกันความเสียหายจากการจัดส่งท่ี ล่าช้าและสินค้าถูกตีกลับ อันจะส่งผลเสียหายแก่สินค้าท่ีส่งออกผู้ประกอบการ และ ประเทศชาติ โดยยังคงรักษาระดับมาตรฐานให้เป็นที่ยอมรับจากนานาอารยประเทศ ดังนั้น การกำหนดระดับความปลอดภัยและการตรวจสอบมาตรฐานสินค้านำเข้า-ส่งออกจะต้อง สอดคล้องกับมาตรฐานระหว่างประเทศและต้ังอยู่บนพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ท่ีเช่ือถือได้ เป็นมาตรการที่แต่ละประเทศกำหนดขึ้นแต่ต้องให้เป็นที่ยอมรับและสอดคล้องกับมาตรฐาน ระหว่างประเทศ โดยมีหลักเกณฑ์สำคัญ 4 ประการ คือ หลักมาตรฐานสากล (Priority of international standards) หลักความเท่าเทียมกัน (Concept of equivalence) หลักการ ประเมินความเส่ียง(Risk assessment) และหลักความโปร่งใส (Transparency) ดังนั้นการ บริการที่มีแนวโน้มเจริญเติบโตอย่างต่อเน่ืองและมีรูปแบบต่างๆเกิดข้ึนอย่างมากมายและ นับวันจะมีความหลากหลายและสำคัญมากยิ่งข้ึน ทั้งในเรื่องของความสำคัญต่อผู้รับบริการ
วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 675 และความสำคัญต่อผ้ปู ฏิบัติงานบริการ หลักพ้ืนฐานของความสำเรจ็ ในการบริการที่เปน็ หัวใจ สำคัญนำไปสู่ความสำเร็จของการบริการท่ีมีคุณภาพ เช่น ความพึงพอใจของผู้รับบริการ ความคาดหวังของผู้รับบริการ ความพร้อมในการบริการ เป็นต้น ซึ่งการดำเนินการของกลุ่ม บริการส่งออกสินค้าเกษตร ด่านตรวจพืชสำนักควบคุมพืชและวัสดุการเกษตร กรมวิชาการ เกษตร ถือเป็นการให้บริการสาธารณะ (Public service delivery) และอาจถือได้ว่าเป็น หน้าที่หลักที่สำคัญย่ิงในการบริหารงานของภาครัฐ โดยเฉพาะในลักษณะงานท่ีต้องมีการ ติดต่อสัมพันธ์กับประชาชนหรือผู้รับบริการ ซึ่งมิลเล็ต (Millett. 1954 : 394-400) กล่าวว่า การให้บริการสาธารณะเป้าหมายสำคัญของการบริการ คือการสร้างความพึงพอใจในการ ให้บริการแก่ประชาชน นอกจากน้ี บรัดเนย์และอิงแลนด์ (Brudney and England. 1979 : 586) ได้กล่าวถึงการวัดการบรรลุเป้าหมายของการให้บริการสาธารณะสามารถวัดได้ 2 แนวทาง คือ 1) หน่วยงานที่มีหน้าท่ีให้บริการสาธารณะสามารถตอบสนองต่อความต้องการ หรือข้อเรียกรอ้ งของประชาชนได้หรอื ไม่อย่างไรและมีความเสมอภาคในการให้บริการหรือไม่ และ2) ระบบการให้บริการสาธารณะมีประสิทธิภาพหรือประสิทธิผลหรือไม่ ซ่ึง แจ่มจันทร์ ณ กาฬสินธ์ุ (2542 : 18) ที่กล่าวว่าปัจจัยที่มีผลต่อการให้บริการ ได้แก่ กลุ่มปัจจัยที่มีผล ก่อนรับบริการ ได้แก่ภาพพจน์ กิติศัพท์ ช่ือเสียงของบริษัท ความเช่ือถือ ไว้วางใจของบริษัท ค่าบริการ ค่าใช้จ่ายเพื่อขอรับบริการความแปลกใหม่ของการบริการ และกลุ่มปัจจัยที่มีผล ขณะรับบริการ ได้แก่ ความสะดวกสบายขณะใช้บรกิ าร ความถูกต้องแม่นยำของข้ันตอนการ บริการ กิริยามารยาทท่ีดีงามของผู้ให้บริการ ความซับซ้อนยุ่งยากในข้ันตอนการรับบริการ ความประณีตบรรจงและพิถีพิถันขณะบริการ ความเลินเล่อของผู้ให้บริการ ฝีมือ ภูมิปัญญา และความสามารถของการบริการ ผู้วิจัยในฐานะผู้ท่ีมีส่วนเกี่ยวข้องในการปฏิบัติหน้าที่ในแผนกอุตสาหกรรมและ การค้า แขวงจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว จึงสนใจท่ีจะทำการศึกษา แนวทางพัฒนาการส่งออกสินค้าด่านวังเต่า เมืองโพนทอง แขวงจำปาสัก สาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว เน่ืองจากเป็นภาระงานท่ีอยใู่ นความรับผิดชอบของแผนกที่ต้อง คอยกำกับดูแล ท้ังน้ีเพราะสภาพปัญหาการส่งออกสินค้านับได้ว่าเป็นเรื่องที่มีความสำคัญ ประกอบกับการบริการส่งออกสินค้าไปยังประเทศต่างๆ ยังประสบปัญหาที่ไม่เข้าใจตรงกัน หลายประการระหว่างผู้ประกอบการและผู้ให้บริการท่ีเป็นหน่วยงานภาครัฐ ท้ังน้ีเพื่อท่ีจะได้ ขอ้ มลู ที่เป็นแนวทางในการวางแผนการปฏิบตั งิ านและแนวปรับปรงุ แก้ไขการให้บริการตอ่ ไป
676 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) วัตถุประสงค์การวจิ ัย 1. เพอ่ื ศึกษาสภาพปัญหาการสง่ ออกสนิ คา้ ผ่านดา่ นวังเตา่ เมอื งโพนทอง แขวง จำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 2. เพ่อื ศึกษาแนวทางพัฒนาการสง่ ออกสนิ ค้าผ่านดา่ นวงั เต่า เมืองโพนทอง แขวง จำปาสัก สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว วธิ ีดำเนินการวจิ ยั การวจิ ยั เรอ่ื ง แนวทางพัฒนาการสง่ ออกสินค้าผา่ นดา่ นวงั เตา่ เมืองโพนทอง แขวง จำปาสัก สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว ผู้วิจัยไดด้ ำเนินการวจิ ัย ดงั น้ี 1. ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง ประชากรในการวิจัยครั้งนี้ เจ้าหน้าท่ีรัฐแผนกอุตสาหกรรมและการคา้ แขวงจำปา สัก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว จำนวน 15 คน และผู้ประกอบการส่งออก สนิ ค้า จำนวน 350 คน รวมท้ังส้ิน จำนวน 365 คน (แผนกอุสาหกรรมและการคา้ , 2560) กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยคร้ังนี้ คือ ผู้บริหาร เจ้าหน้าที่รัฐแผนกอุตสาหกรรมและ การค้า และผู้ประกอบการส่งออกสินค้า จำนวน 191 คน ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่างจากการเปิด ตาราง Krejcie & Morgan (1970 :107 อ้างถึงใน ธีระวุฒิ เอกะกุล, 2550 :138) โดยใช้ วธิ กี ารเลือกตัวอยา่ งแบบเจาะจง (Purposive Sampling) กลุ่มเป้าหมาย คือ ผู้บริหารแผนก จำนวน 2 คนเจ้าหน้าท่ีรัฐ จำนวน 4 คน ผู้ประกอบการ จำนวน 10 คน รวมท้ังสิ้นจำนวน 16 คน เพื่อสัมภาษณ์แนวทางพัฒนาการ ส่งออกสินค้าผ่านด่านวังเต่า เมืองโพนทอง แขวงจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว 2. เครื่องมือท่ใี ช้ในการวิจัย เคร่อื งมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสมั ภาษณแ์ ละแบบสอบถามเป็นแบบมาตราสว่ น ประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ คือมากท่ีสุด มาก ปานกลาง น้อยและน้อยที่สุด ท่ี เก่ียวข้องกับแนวทางพัฒนาการส่งออกสินค้าด่านวังเต่า เมืองโพนทอง แขวงจำปาสัก สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว
วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 677 3. การวิเคราะหข์ ้อมลู วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้สถิติพรรณนา (Descriptive Statistics) ได้แก่ คา่ ร้อยละ (Percentage) คา่ ความถ่ี (Frequency) คา่ เฉลี่ย (Mean) สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) วิเคราะห์จากการสัมภาษณ์แนวทางพัฒนาการส่งออกสินค้าด่านวังเต่า เมืองโพน ทอง แขวงจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวเป็นการวิเคราะห์เชิงคุณภาพ โดยการวิเคราะห์เชิงเน้ือหา (Content Analysis) แล้วนำเสนอแบบความเรียงและพรรณนา วิเคราะห์ ผลการวิจยั ผลจากการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการวิจัยแนวทางพัฒนาการส่งออกสินค้าผ่าน ด่านวังเต่า เมืองโพนทอง แขวงจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ผลการวจิ ยั พบวา่ 1. สภาพปัญหาการส่งออกสินค้าของผู้ประกอบการผ่านด่านวังเต่า เมืองโพนทอง แขวงจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( X = 3.71) เม่ือพิจารณาด้านท่ีมีค่าเฉล่ียสูงสุด คือ ด้านเศรษฐกิจ ( X = 3.91) ด้านการเมืองและ กฎหมาย( X = 3.71) และด้านสังคมและวัฒนธรรม ( X = 3.51) ดังตารางค่าเฉลี่ยและค่า เบีย่ งเบนมาตรฐานสภาพปัญหาการสง่ ออกสินค้าผ่านด่านวงั เต่า เมอื งโพนทอง แขวงจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว โดยภาพรวม ดังตารางที่ 1 ดังน้ี ตารางที่ 1 สภาพปัญหาการส่งออกสินค้าผ่านด่านวังเต่า เมืองโพนทอง แขวงจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว ลำดบั สภาพปญั หาและอุปสรรคการสง่ ออกสินคา้ ของ ระดบั ความคดิ เหน็ ผู้ประกอบการผ่านด่านวงั เต่า โดยภาพรวม X SD แปลผล 1 ดา้ นเศรษฐกิจ 3.91 1.03 มาก 3.71 0.94 มาก 2 ดา้ นการเมอื งและกฎหมาย 3.51 0.88 มาก 3.71 0.95 มาก 3 ด้านสังคมและวฒั นธรรม เฉล่ยี รวม
678 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) จากตารางท่ี 1 สภาพปัญหาการส่งออกสินค้าผ่านด่านวังเต่า เมืองโพนทอง แขวง จำปาสัก สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว โดยรวมทุกด้านอยู่ในระดบั มาก ( X = 3.71) เป็นรายด้านคอื 1. ด้านเศรษฐกิจ โดยรวม อยู่ในระดับมาก ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือภาวะเศรษฐกิจ ปจั จุบนั ของประเทศลาวเป็นปญั หาและอปุ สรรคตอ่ การส่งออก 2. ด้านการเมืองและกฎหมาย โดยรวมอยู่ในระดับมาก ข้อท่ีมีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ การลกั ลอบ สง่ ออกสินค้าแบบผดิ กฎหมายเปน็ ปัญหาต่อการส่งออกสินค้า 3. ด้านสังคมและวัฒนธรรม โดยรวมอยู่ในระดับมาก ข้อท่ีมีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ วฒั นธรรมและวันหยดุ ของลาวและไทยเปน็ ปญั หาต่อการสง่ ออกสนิ ค้า 2. แนวทางพัฒนาการส่งออกสินค้าผ่านด่านวังเต่า เมืองโพนทอง แขวงจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( X = 3.62) เม่ือ พจิ ารณารายด้านที่มีคา่ เฉล่ียสูงสุด คือ ด้านสถานที่ ( X = 3.84) ด้านกระบวนการและข้นั ตอน ในการให้บริการ ( X = 3.81) ด้านคุณสมบัติผู้ให้บริการ ( X = 3.67) ด้านค่าใช้จ่าย ( X = 3.64) ด้านความสะดวกในการรับบริการ ( X = 3.48) ด้านข้อมูลข่าวสารและการ ประชาสมั พันธ์ ( X = 3.29) ตารางที่ 2 แนวทางพัฒนาการส่งออกสินค้าผ่านด่านวังเต่า เมืองโพนทอง แขวงจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว ลำดบั แนวทางพฒั นาการให้บริการส่งออกสนิ คา้ ระดบั ความคิดเห็น ผา่ นด่านวงั เตา่ โดยภาพรวม X SD แปลผล 3.84 0.93 มาก 1 ดา้ นสถานที่ 3.48 0.91 ปานกลาง 3.67 0.75 มาก 2 ดา้ นความสะดวกในการรับบรกิ าร 3.81 0.67 มาก 3.29 0.83 ปานกลาง 3 ด้านคณุ สมบตั ิผใู้ ห้บรกิ าร 3.64 0.81 มาก 3.62 0.82 มาก 4 ดา้ นกระบวนการและขัน้ ตอนในการใหบ้ รกิ าร 5 ด้านขอ้ มลู ข่าวสารและการประชาสัมพนั ธ์ 6 ด้านค่าใชจ้ ่าย เฉลย่ี รวม
วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 679 จากตารางท่ี 2 แนวทางพัฒนาการส่งออกสินค้าผ่านด่านวังเต่า เมืองโพนทอง แขวง จำปาสกั สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยรวมทุกด้านอยู่ในระดับมาก ( X = 3.62) เป็นรายดา้ นคือ 1. ด้านสถานท่ี โดยรวมอยู่ในระดับมาก ข้อที่มีค่าเฉล่ียสูงสุด คือ การจัดพ้ืนที่ เพอ่ื ให้บริการมคี วามเหมาะสมกบั ภาระงาน 2. ด้านความสะดวกในการรบั บริการ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ขอ้ ท่ีมคี ่าเฉล่ีย สงู สดุ คือ มผี ้ใู ห้บริการคอยให้คำแนะนำและพรอ้ มแก้ไขปญั หา 3. ด้านคุณสมบัติผู้ให้บริการ โดยรวมอยู่ในระดับมาก ข้อท่ีมีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ เจา้ หน้าที่ผ้ใู หบ้ ริการยิ้มแยม้ แจ่มใส พูดจาไพเราะ สภุ าพ 4. ด้านกระบวนการและขั้นตอนในการให้บริการ โดยรวมอยู่ในระดับมาก ข้อท่ีมี คา่ เฉลยี่ สูงสดุ คอื ผูใ้ ห้บรกิ ารสามารถแจง้ หนว่ ยงานของท่านเม่อื เกดิ ปญั หา 5. ด้านข้อมูลข่าวสารและการประชาสมั พันธ์ โดยรวมอยใู่ นระดับปานกลาง ข้อท่ีมี คา่ เฉลีย่ สงู สดุ คือ ข้อมูลข่าวสารในปา้ ยประกาศมคี วามทันสมยั 6. ด้านค่าใช้จ่าย โดยรวมอยู่ในระดับมาก ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ หน่วยงานรัฐ และผ้ปู ระกอบการควรหารอื รว่ มกันเกย่ี วภาษสี ่งออก จากการสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมาย พบว่า แนวทางพัฒนาการส่งออกสินค้าผ่านด่าน วังเตา่ เมืองโพนทอง แขวงจำปาสัก สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว ด้านสถานท่ีควร กำหนดจุดจอดรถขนส่งสินค้าให้ชัดเจนและมีความเหมาะสมเพียงพอ และสถานท่ีต้ังของ หน่วยงานต้องสามารถเข้าถึงได้ง่าย ด้านความสะดวกในการรับบริการควรนำเทคโนโลยีเข้า ใช้ในการบริการให้เพียงพอ ด้านคุณสมบัติผู้ให้บริการเจ้าหน้าท่ีผู้ปฏิบัติ ควรพัฒนาตนเอง อย่างสม่ำเสมอ ควรจดั ให้มีการฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ผ้ปู ฏิบัตงิ าน ด้านกระบวนการและข้ันตอน ในการให้บริการ ควรลดข้ันตอนที่ไม่จำเป็นในการให้บริการ ควรเพิ่มเจ้าหน้าท่ีในช่วงเวลา เร่งดว่ นหรอื เทศกาลสำคญั ด้านข้อมูลข่าวสารและการประชาสัมพนั ธ์ ควรประกาศแจ้งขอ้ มูล ข่าวสารการขอรับบริการผ่านทางเว็บไซต์และการสื่อสารออนไลน์ ด้านค่าใช้จ่าย ควรนำ เทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการคำนวณภาษสี ง่ ออก และชำระภาษีอตั โนมตั ิ
680 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) อภปิ รายผล จากผลการวิจัยแนวทางพัฒนาการส่งออกสินค้าผ่านด่านวังเต่า เมืองโพนทอง แขวง จำปาสัก สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว สามารถนำผลมาอภิปรายได้ ดงั นี้ 1. สภาพปัญหาการส่งออกสินค้าผ่านด่านวังเต่า เมืองโพนทอง แขวงจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก สามารถอภิปรายผล เกี่ยวกับปัญหาด้านเศรษฐกิจด้านการเมืองและกฎหมายด้านสังคมและวัฒนธรรม ท้ังน้ี สภาพแวดล้อม ทางด้านเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรมเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลกระทบ โดยตรงต่อผู้ประกอบการในการส่งออกสินค้า ผ่านด่าน สากลวังเต่า ไม่ว่าจะเป็น ผู้ประกอบการขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ ดังนั้นในการประกอบธุรกิจส่งออกสินค้า ผ่านด่านวังเต่า จำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้ประกอบการจะต้องพิจารณาถึงปัจจัยสำคัญทั้งทางด้าน เศรษฐกิจ ความมั่นคง นโยบายของรัฐบาล อำนาจในการซ้ือของประชาชน รวมทั้งกฎหมาย ท่ีเก่ยี วขอ้ ง สภาพสังคมและวฒั นธรรมเหล่าน้ลี ว้ นมผี ลกระทบโดยตรงต่อการทำให้เกิดปัญหา และอุปสรรคในการประกอบการธุรกิจทั้งสิ้น เน่ืองจากปัญหาด้าน เศรษฐกิจ สังคมและ วัฒนธรรม ไม่ว่าจะเป็นระบบแลกเปลี่ยนเงินตราที่ไม่เหมือนกันระหว่างไทยกับลาว ระบบ การค้าท่ีไทยได้เปรยี บการค้าลาว กำลังซื้อของประชาชน ทั้งสองประเทศ ซ่ึงมีความแตกต่าง กันทำให้เกิดการแข่งขัน ที่ได้เปรียบเสียเปรียบ ล้วนส่งผลต่อ ผู้ประกอบการในการดำเนิน ธุรกิจ ซ่ึงสอดคล้องกับงานวิจัยของ Nan Htwe Phyu (2550 : ค) ท่ีได้ศึกษา ปัญหาและ อุปสรรคการส่งออกสินค้าจากชายแดนไทยพม่าในเขตอำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ผล การศึกษาพบว่าปัญหาและอุปสรรคของการส่งออกสินค้าจากชายแดนไทยพม่าในเขตอำเภอ แม่สาย จังหวัดเชียงราย ในภาพรวมอยู่ในระดับน้อยเมอ่ื พิจารณาแตล่ ะปญั หาพบว่าปัญหา ทมี่ ีค่าเฉลี่ยสูงสุดได้แก่ปัญหาด้านเศรษฐกิจ รองลงมาคือด้านการเมือง ด้านกฎหมาย ด้าน สังคมด้านและวัฒนธรรมตามลำดับ ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับปัญหาอุปสรรคของการส่งออก สินค้าจากชายแดนไทยพม่าได้แก่รัฐบาลควรแก้ไขปัญหาเรื่องน้ำมันเร่ืองดอกเบี้ยเงินกู้เพื่อ ช่วยลดปัญหาเร่ืองดอกเบี้ยของผู้ประกอบการการส่งออกรัฐบาลควรแก้ไขปัญหาเรื่อง ข้าราชการคอรัปชั่นโดยเฉพาะข้าราชการประจำที่มีการเรียกเก็บเงินใต้โต๊ะและรัฐบาลควร ส่งเสริมสนับสนุนเร่ืองการศึกษาและสอดคล้อกับงานวิจัยของแก้วเพ็ดสาคอน เทพพะรักสา (2560 : ค) ท่ีได้ศึกษาการศึกษาปัจจัยท่ีมีผลต่อการจัดเก็บรายได้ด่านศุลกากรละไล แขวง
วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 681 สาละวัน สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว ผลการวจิ ยั พบว่า สภาพการดำเนินงานการ จดั เก็บรายไดข้ องด่านศุลกากรละไล แขวงสาละวัน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยภาพรวม มีการดำเนินงานอยู่ในระดับมาก เม่ือพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มี ค่าเฉล่ียสูงสุดและรองลงไป คือ ด้านการชำระภาษี ด้านความรู้เก่ียวกับภาษี ด้านการรับรู้ ข้อมลู ข่าวสาร สว่ นดา้ นทมี่ ีค่าเฉลี่ยตำ่ สดุ คือ ดา้ นการประชาสัมพันธ์ ตามลำดับ ปจั จยั ที่ มีผลต่อการจัดเก็บรายได้ด่านศุลกากรละไล แขวงสาละวัน สาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก เม่ือพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มี ค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ปัจจัยด้านผู้รับชำระภาษี ปัจจัยด้านผู้ชำระภาษี ปัจจัยด้านข้อระเบียบ กฎหมาย ส่วนด้านท่ีมีค่าเฉล่ียต่ำสุด คือ ปัจจัยด้านองค์กร ตามลำดับ ข้อเสนอแนะการ จดั เก็บรายได้ของด่านศุลกากรละไล แขวงสาละวนั สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อเรียงลำดับค่าเฉล่ียจากมากไปหาน้อย 5 ลำดับแรก พบว่า ข้อที่มีค่า ร้อยละสูงสุด คือ ด่านศุลกากรควรปรับอัตราภาษีลดลง ควรลดขั้นตอนการเสียภาษีท่ี ยุ่งยาก ซับซ้อน เข้าใจยาก เจ้าหน้าท่ีรับชำระภาษี ควรตอบปัญหา ข้อสงสัยได้ ควรจัดหา วสั ดุอปุ กรณใ์ นการให้บริการชำระภาษี ให้เพยี งพอ ควรมกี ารประชาสัมพนั ธ์ในการชำระภาษี ส่วนขอ้ ทมี่ คี า่ ร้อยละน้อยที่สุด คือ ควรจัดสภาพพืน้ ทใ่ี นการตดิ ตอ่ ชำระภาษีให้สะดวก 2. แนวทางพัฒนาการส่งออกสินค้าผ่านด่านวังเต่า เมืองโพนทอง แขวงจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นราย ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านสถานท่ี ด้านกระบวนการและข้ันตอนในการให้บริการ ด้าน คุณสมบัติผู้ให้บริการ ด้านค่าใช้จ่าย ด้านความสะดวกในการรับบริการ ด้านข้อมูลข่าวสาร และการประชาสัมพันธ์ มีข้อควรอภิปราย ดังน้ี แนวทางในการพัฒนาการให้บริการส่งออก สินค้าผ่านด่านวังเต่า ไม่ว่าจะเป็นด้านสถานท่ี ด้านความสะดวกในการรับบริการ ด้าน คุณลักษณะผู้ให้บริการ ด้านกระบวนการและข้ันตอนในการให้บริการและด้านข้อมูลข่าวสาร และการประชาสัมพันธ์ ส่วนใหญ่การดำเนินงานของด่านวังเต่าจะมีข้อจำกัดในเรื่อง อาคาร สถานทีย่ ังไม่ไดร้ ับความสะดวกสบาย ท้ังนี้เนื่องจากระบบเศรษฐกิจของลาวอยู่ในช่วงการพัฒนา ทำให้พน้ื ท่ี ด่านวังเต่ายังไม่มเี พยี งพอต่อการให้บริการ ซง่ึ ในปจั จุบันกำลังดำเนนิ การพฒั นาด่าน วังเต่าให้มีความเป็นสากลมากยิ่งข้ึน ข้ันตอนการให้บริการยังไม่มีการนำใช้เทคโนโลยีท่ีดี พอสมควรนั้น ดังน้ันการให้บริการจะต้องมีการนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้เพื่อให้เกิดความรวดเร็ว ลดขั้นตอนเก่ียวกับการให้บริการ ต้องมีการจัดเจ้าหน้าที่ที่เก่ียวข้องเพ่ืออำนวยความสะดวก
682 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) ให้กับผู้ประกอบการ ดังน้ันแนวทางในการพัฒนาการให้บริการเพ่ือให้เกิดความพึงพอใจจะต้อง มีการ ประยุกต์ใช้องค์ความรู้ทางด้านการบริหารสมัยใหม่ ผู้ให้บริการจะต้องย้ิมแย้มแจ่มใส มี ความกระตือรือร้นในการให้บริการและให้คำปรึกษาแนะนำที่ดี ซ่ึงสอดคล้องกับงานวิจัยของ แก้วลำพัน แสงนวนจัน (2560 :ค) ได้ศึกษาความพึงพอใจการให้บริการด่านศุลกากรละไล แขวงสาละวัน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ผลการวิจยั พบว่า ความพึงพอใจการ ให้บริการด่านศุลกากรละไล แขวงสาละวัน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว โดย ภาพรวม มีการดำเนินงานอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด พบว่า ด้านการให้ความเชื่อม่ันแก่ผู้รับบริการ ด้านความเข้าใจและรู้จักผู้รับบริการ ด้าน ความเป็นรูปธรรมของการบริการ ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านการตอบสนองความ ต้องการของผู้รับบริการ ตามลำดับ แนวทางพัฒนาคุณภาพการให้บริการด่านศุลกากรละไล แขวงสาละวัน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยภาพรวม โดยรวมมีการ ดำเนินงานอยู่ในระดับมาก เม่ือพิจารณาด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านเจ้าหน้าท่ี ด้าน สถานท่ีและด้านการจัดการ ตามลำดับ ข้อเสนอแนะแนวทางพัฒนาคุณภาพการให้บริการ ด่านศุลกากรละไล แขวงสาละวัน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว สามารถสรุปได้ ดังน้ี ด้านความเป็นรูปธรรมของการบริการ ได้แก่ ควรจัดท่ีน่ังพักระหว่างการรอให้บริการ ต่างๆ ให้มีความเพียงพอ ด้านความน่าเช่ือถือไว้วางใจในบริการ ควรมีการกำหนดแนวทาง กระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมบริการท่ีดี ด้านการตอบสนองต่อผู้รับบริการ ควรเพ่ิมจุดสถานท่ี ให้บริการและควรเพ่ิมเจ้าหน้าให้บริการในช่ัวโมงเร่งด่วน ด้านการให้ความมั่นใจแก่ ผู้รับบริการ จัดอบรมเพื่อเสริมสร้างทักษะให้บริการท่ีดีและรักในการบริการ ด้านความ เข้าใจและรู้จักผู้รับบริการ ควรกระตือรือร้นเอาใจใส่ผู้มารบั บรกิ าร เจ้าหน้าที่ควรให้บริการท่ี ดีโดยไม่เลือกปฏิบัติและสอดคล้องกับงานวิจัยของเจนณรงค์ เกิดทองคำ (2558 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาเร่ือง การศึกษาคุณภาพการบริการด้านโลจิส ติกส์ในธุรกิจวัสดุก่อสร้าง จังหวัด เชียงราย ใช้วิธีการวัดคุณภาพการให้บริการ SERVQUAL ตาม 5 มิติสำคัญ ได้แก่ ด้าน รปู ลักษณ์ทางกายภาพ ด้านความนา่ เชื่อถือ ด้านการตอบสนองต่อลูกคา้ ด้านการสร้างความ มั่นใจให้กับลูกค้า และด้านการดูแลเอาใจใส่ ผลการศึกษา พบว่า ผู้ให้บริการโลจิสติกส์ใน ธุรกิจวัสดุก่อสร้างมีค่าเฉลี่ยของการรับรู้บริการ อยู่ในระดับมาก โดยมิติที่มีค่าเฉล่ียการรับรู้ มากท่ีสุด ได้แก่ มิติเรื่องความน่าเช่ือถือและมีค่าเฉล่ียรับรู้ น้อยที่สุด ในมิติเร่ืองการดูแลเอา ใจใส่ ในส่วนคุณภาพการบริการค่าเฉล่ียความคาดหวัง อยู่ในระดับปานกลาง โดยมิติท่ีมี
วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 683 ค่าเฉลี่ยความคาดหวงั มากทส่ี ุดได้แก่ รูปลักษณ์ทางกายภาพ และมีคา่ เฉลี่ยการรบั รนู้ ้อยที่สุด ในมิติด้านการดูแลเอาใจใส่ ในการเปรียบเทียบคุณภาพการให้บริการใน มุมมองของผู้ใช้ พบว่ามีค่าเฉลี่ยการรับรู้บริการอยู่ในระดับปานกลาง โดยมิติที่มีค่าเฉล่ียการรับรู้ มากท่ีสุด ได้แก่ มิติเร่ืองรูปลักษณ์ทางกายภาพ และมีค่าเฉลี่ยการรับรู้น้อยที่สุดในเร่ืองการดูแลเอาใจ ใส่ ในส่วนคุณภาพการบริการค่าเฉล่ียความคาดหวังอยู่ที่รูปลักษณ์ทางกายภาพ และมี ค่าเฉล่ียการรับรู้ น้อยที่สุดในเร่ืองการดูแลเอาใจใส่ จาการเปรียบเทียบคุณภาพในการ ให้บริการโดยการศึกษาช่องว่างคุณภาพการบริการท่ี 1 ช่องว่างคุณภาพบริการที่3 และ ช่องวา่ งคณุ ภาพการบรกิ ารท่ี 5 พบว่า ชอ่ งวา่ งคณุ ภาพบริการท่ี 1 ระหว่างความคาดหวงั ของ ผู้ให้บริการและความคาดหวงั ของผู้ใช้บริการ ไม่สามารถเข้าใจความ คาดหวังของลูกค้าได้ทุก ด้าน ซ่ึงด้านที่ผู้ให้บริการไม่เข้าใจความคาดหวังของลูกค้ามากที่สุด ได้แก่ การใช้ประโยชน์ ของทรพั ยากรมีความพรอ้ มทจี่ ะจัดหาให้ข้อมูลตามทีล่ ูกค้าคาดหวัง เมื่อเปรยี บ เทียบชอ่ งว่าง คณุ ภาพการบริการที่ 3 พบว่า ให้บริการโลจสิ ติกส์ในธุรกจิ วัสดกุ ่อสร้าง ให้บรกิ ารเปน็ ไปตาม ข้อกำหนดด้านคุณภาพตามนโยบายท่ีผู้ให้บริการคาดหวังไว้ เนื่องมีค่าเฉล่ียโดยรวมเป็นบวก และเมื่อเปรียบเทียบช่องว่างคุณภาพบริการที่ 5 ระหว่างการรับรู้การบริการในมุมมองของ ผู้ใช้บริการและความคาดหวังของผู้ใช้บริการ โดยภาพรวมผู้ให้บริการโลจิสติกส์ในธุรกิจวัสดุ ก่อสร้างยังไม่สามารถให้บริการเป็นไปตามความคาดหวังของลูกค้าได้ ซึ่งมิติที่ผู้ใช้บริการมี ช่องว่าง ในความคาดหวังมากที่สุดคือมิติการสร้างความม่ันใจให้กับลูกค้า ในด้านการมี นโยบายทีเ่ ป็นลายลักษณอ์ ักษร องค์ความร้ทู ไ่ี ด้จากการศึกษา แนวทางพัฒนาการส่งออกสินค้าผ่านด่านวังเต่า เมืองโพนทอง แขวงจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว จากสภาพปัญหาการส่งออกสินค้าของผู้ประกอบการ ผ่านด่านวังเต่า เมืองโพนทอง แขวงจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ในด้าน เศรษฐกิจ ภาวะเศรษฐกิจปัจจุบันของประเทศลาวเป็นปัญหาต่อการส่งออก ด้านการเมือง และกฎหมายมีการลักลอบส่งออกสินค้าแบบผิดกฎหมายและด้านสังคมและวัฒนธรรม วัฒนธรรมและวันหยุดของลาวและไทยเป็นปัญหาต่อการส่งออกสินค้าแนวทางพัฒนาการ ส่งออกสินค้าผ่านด่านวังเต่า เมืองโพนทอง แขวงจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน
684 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) ลาว ด้านสถานที่ควรมีการจัดพื้นท่ีเพื่อให้บริการมีความเหมาะสมกับภาระงาน ด้าน กระบวนการและขัน้ ตอนในการให้บริการผู้ให้บรกิ ารสามารถแจง้ หน่วยงานเม่ือเกิดปญั หา ดา้ น คุณลักษณะผู้ให้บริการเจ้าหน้าท่ีผู้ให้บริการควรยิ้มแย้มแจ่มใสพูดจาไพเราะสุภาพ ด้าน ค่าใช้จ่าย หน่วยงานรัฐและผู้ประกอบการควรหารือร่วมกันเกี่ยวภาษีส่งออก ด้านความ สะดวกในการรับบริการ ควรมีผู้ให้บริการคอยให้คำแนะนำและพร้อมแก้ไขปัญหา ด้านข้อมูล ขา่ วสารและการประชาสัมพนั ธ์ ข้อมลู ข่าวสารในป้ายประกาศต้องมีความทันสมัย เอกสารอ้างอิง แก้วเพ็ดสาคอน เทพพะรักสา. (2560). การศึกษาปัจจัยท่ีมีผลต่อการจัดเก็บรายได้ด่าน ศุลกากรละไล แขวงสาละวัน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว .บัณฑิต วทิ ยาลัย :มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏมหาสารคาม. แก้วลำพัน แสงนวนจนั . (2560). ความพึงพอใจการให้บริการดา่ นศลุ กากรละไล แขวงสาละ วนั สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. บัณฑิตวิทยาลยั : มหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาสารคาม. แจ่มจันทร์ ณ กาฬสินธุ์. (2542). ความพึงพอใจของลูกค้าต่อบริการของบริษัทไทยประกัน ชวี ติ จำกดั สาขามหาสารคาม. บัณฑิตวิทยาลยั : มหาวิทยาลยั มหาสารคาม. ธีรวุฒิ เอกะกุล. (2554). ระเบียบวิธีวิจัยทางพฤติกรรมศาสตรและสังคมศาสตร. อบุ ลราชธานี: วทิ ยาออฟเซ็ทการพมิ พ์. Brudney, Jeffrey L.& Robert E. England. (1979). Implementation. Berkeley: University of California Press. Millett, John D. (1954). Management in the Public Service. New York: McGraw- Hill.
ซ่ินตีนแดง : ผ้ามงคล ภูมิปัญญาทอ้ งถนิ่ Cinteandang: a Favorable Fabric of Local Wisdom 1ชยาภรณ์ สุขประเสริฐ 2พระครศู รีปญั ญาวิกรม, 3พระมหาถนอม อานนโฺ ท 4พระมหาพจน์ สุวโจ, และ 5ไว ชรึ มั ย์ 1Chayaporn Sukprasert 2Phrakru Sripanyavikrom 3Phramaha Thanom Ananto 4Phramaha Phot Suvajo and 5Wi Chueram มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์บุรีรัมย์, ประเทศไทย Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Buriram Buddhist College, Thailand [email protected], [email protected] Received May 10, 2020; Revised July 12, 2020; Accepted August 25, 2020 บทคดั ยอ่ ผ้าซ่ินตีนแดง เป็นผ้าทอพ้ืนเมืองภูมิปัญญาท้องถ่ินของชาวไทย ลาว โดยเฉพาะ พื้นที่ พุทไธสงและนาโพธิ์ จังหวัดบุรีรัมย์ ซ่ึงบรรพบุรุษได้ทอเพ่ือใช้เป็นเคร่ืองนุ่งห่มของคน ในครัวเรือน มีการถักทอจากมือรุ่นสู่รุ่นด้วยหยาดเหง่ือแรงงานของชาวบ้าน ด้วยภูมิปัญญา ทอ้ งถิ่นท่ีไดถ้ ่ายทอดกนั มา ถือเปน็ ผ้าเพ่ือใหเ้ กิดความเปน็ มงคล ผเู้ ฒา่ จะใช้ผ้าตีนแดงไปผูกไว้ กับเสาเอกของบ้าน เพ่ือให้ครอบครัวของเจ้าบ้านมีฐานะม่ันคงอาศัยอยู่ด้วยความสงบสุข ร่มเย็น บ้างก็เป็นผ้าเพื่อกราบไหว้ผู้ใหญ่ในงานมงคล งานแต่งงานหรือเป็นผ้ารับไหว้และ แม้แต่การนำมาแต่งกายให้พ่อนาคในงานบวชก็เพราะถือความเป็นสิริมงคล กาลเวลาล่วงไป ความศรัทธาและค่านิยมก็ไม่อาจต้านทานกระแสของการเปล่ียนแปลงไปได้ ภาพการนุ่งซ่ิน ตีนแดงของชาวบุรีรัมย์ก็เริ่มเลือนรางและลดบทบาทลง เพราะการมองไม่เห็นคุณค่าของ ผ้าซิ่นตีนแดงที่บรรพบุรุษสะสมความเป็นมงคลไว้ให้ กลับไปนิยมการสวมใสผ้าหยาบที่เกิด
686 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) จากการผลิตด้วยเคร่ืองจักร สวมใส่ไปวัดแต่งไปในงานบุญ บทความน้ีเขียนขึ้นและเผยแพร่ เพื่อหวังเพียงได้ปลูกตื่นฟ้ืนฟูการนุ่งซ่ินตีนแดง ผ้ามงคลภูมิปัญญาท้องถ่ินชาวอีสาน จังหวัด บุรีรัมย์ ให้กลับมามีชีวิตชีวาอีกครั้ง ภาพการนุ่งซิ่นตีนแดงไปทำบุญ ตักบาตร ฟังเทศน์ ปฏิบัตธิ รรมและแมก้ ารสวมใส่ไปทำงานของชาวอีสาน จงั หวดั บุรีรัมย์ หวนกลับคนื มาอกี ครงั้ คำสำคญั : ซนิ่ ตีนแดง, ผา้ มงคล,ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ Abstract Cinteandang is a local wisdom woven fabric of the native Thai and Lao, especially in Phutthaisong and Na Pho districts, Buriram province that the predecessors wove to be used as clothing in families. This local wisdom has been transferred for generations with laborious efforts of villagers. It is believed that this woven fabric is favorable with good fortune. The elderly use Teandaeng fabric for tying the founded main post of each house in order that the host family will have a wealthy, peaceful and tranquil life. This favorable fabric is also used for showing respect towards the elderly in various auspicious events such as wedding ceremony and even for dressing a Nak, a preordained monk, before wearing yellow robes. As time passed by, faiths and values of the local wisdom have its limited capacity in resisting the endless trends. The image of wearing Cinteandang of the Buriram people is fading away and the role of the fabric has been diminished because of not being able to see the value of the auspiciousness of the Cinteandang that the ancestors have accumulated. New generation turns to wear the fabric from factories when they join ceremonies in the temples. This article was written and published for hopefully awakening and restoring the lively Cinteandaeng as the favorable fabric of the northeasterners in Buriram province to be used in all occasions of merit making, listening to sermons, practicing Dhamma and even for works. Keyword : Cinteandang; Favorable Woven Fabric; Local Wisdom
วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 687 บทนำ \"เส้ือผ้า”เป็นหน่ึงในองค์ประกอบพื้นฐานท่ีสำคัญของมนุษย์ทุกคน แต่เส้ือผ้าไม่ใช่ เป็นเพียงแค่สิ่ง ท่ีนำมาปกปิดร่างกายหรือให้ความอบอุ่นเท่าน้ัน เส้ือผ้ายังสะท้อนถึง เอกลักษณ์ คุณค่า ความเป็นมากระบวนการต่างๆและถูกหลอมรวมจนกลายเป็นมรดกทาง วัฒนธรรมของ แต่ละประเทศและในส่วนของประเทศไทย\"ผ้าไทย”ถือว่าเป็นเอกลักษณ์ ประจำชาติอย่างหนง่ึ ของไทย เนื่องจากผา้ ไทยมีหลายชนิดและหลากหลายลวดลาย ซ่ึงแต่ละ ชนิดสามารถสะทอ้ นถงึ ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปวฒั นธรรม ศาสนาของแต่ละท้องถน่ิ ทมี่ ี ความแตกต่างกัน ผ้าทอมัดหมี่ตีนแดงของจังหวัดบุรีรัมย์ ซ่ึงเป็นจังหวัดหน่ึงของภาค ตะวันออกเฉียงเหนือที่มีการทอผ้าไหมจนเป็นเอกลักษณ์ดังคำขวัญของจังหวัดบุรีรัมย์ว่า “เมืองปราสาทหิน ถิ่นภูเขาไฟ ผ้าไหมสวย รวยวฒั นธรรม เลิศล้ำเมืองกีฬา”(คำขวัญประจำ จงั หวัดบุรรี ัมย์ https://th.wikiquote.org/wiki/) ประวัตคิ วามเป็นมาของผา้ ซน่ิ ตนี แดง ผ้ามัดหมี่ตีนแดงหรือช่ือเรียกตามภาษาท้องถิ่นท่ีว่า“ซ่ินหัวแดงตีนแดง”หรือ“ซ่ิน ตีนแดง”หรือ“ซ่ินหม่ีรวด”ถือได้ว่า เป็นผ้าไหมเอกลักษณ์ท้องถ่ินของชาวอำเภอพุทไธสง และอำเภอนาโพธ์ิ จังหวัดบุรีรัมย์ โดยลักษณะผ้าไหมจะเป็นมัดหมี่ลายพ้ืนเมืองทอด้วยไหม ท้ังผืน มีหัวซ่ินและตีนซ่ินของผ้าจะเป็นสีแดงสด สมัยโบราณทอด้วยฟืมเล็กแล้วนำมาต่อหัว และตีนซนิ่ ปัจจุบันมกี ารทอตอ่ เน่ืองเปน็ ผนื เดียวกันไมใ่ ชก้ ารต่อระหว่างตัวซิ่น หวั ซ่นิ และตีน ซิ่น ผ้ามัดหมี่ตีนแดง มีการเล่าสืบต่อกันมาว่าผลิต ขึ้นครั้งแรกโดยช่างฝีมือทอผ้าในคุ้มของ พระยาเสนาสงคราม (เจ้าเมืองคนแรกของอำเภอพุทไธสง) เม่ือประมาณกว่า 200 ปีมาแล้ว (ประทับใจ สิกขา,2555 : 3) สันนิษฐานว่าเป็นผ้าซิ่นของกลุ่มชนลาว ต่อมาการทอผ้าซ่ินตีน แดงได้แพร่ขยายสู่หมู่บ้านใกล้เคียงและบ้านนาโพธ์ิซ่ึงปัจจุบันเป็นอำเภอนาโพธิ์ และแพร่ ขยายการทอผ้าซ่ินตีนแดงออกไปอย่างกว้างขวาง ซึ่งอยู่แถวบ้านหัวแฮดและบ้านโนนหมาก เฟอื ง (ปัจจุบัน คือ บา้ นศีรษะแรด และบา้ นมะเฟือง) เชื่อว่า เป็นผ้าซ่ินท่ีกลุ่มคนเชื้อสายลาว เป็นผู้ประดิษฐ์คิดค้นข้ึน (อ้างอิงจากหลักฐานตำนานพระเจ้าใหญ่และการก่อตั้งบ้านศีรษะ แรด) ต่อมาได้แพร่ขยายการทอผ้าซ่ินตีนแดงจากบ้านศีรษะแรด และบ้านมะเฟืองไปยังบ้าน จาน บ้านแวงและบ้านนาโพธิ์ การทอผ้าซ่ินตีนแดงถือเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่น (จารุวรรณ
688 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) ธรรมวตั ร,2531 :37) ท่ีมีการถ่ายทอดด้วยหลายวิธี ไม่วา่ จะเปน็ การบอกเล่าจากรนุ่ สู่ร่นุ การ บันทึกลงในกระดาษลายเส้นกราฟ การพูดคุยแลกเปล่ียนความรู้ร่วมกันการสาธิตและการลง มอื ปฏบิ ัติ (มาริสสา อนิ ทรเกิดและคณะ,2561) 1. ผ้าซ่ินตีนแดง จังหวดั บุรรี มั ย์ จังหวัดบุรีรัมย์ เป็นอีกหนึ่งตัวอย่างของจังหวัดท่ีมีการอนุรักษ์ผ้าทอพื้นเมืองอย่าง จริงจัง แม้ว่าจะมีการพัฒนาลายผ้าใหม่อยู่เสมอ ก็ยังคงรักษารูปแบบของผ้าซ่ินตีนแดงที่มี การสืบทอดกันมาแต่โบราณ ผ้ามัดหมี่ตีนแดงแหล่งผลิตส่วนใหญ่อยู่ในพ้ืนท่ีอำเภอพุทไธสง และอำเภอนาโพธิ์ จังหวัดบุรีรัมย์ ในสมัยโบราณนิยมทอผ้ามัดหม่ีตีนแดงให้เด็กและวัยรุ่น สวมใสเ่ พราะเป็นสีที่มคี วามสดใสมาก โดยใชฟ้ ืมซาวหรือฟืม 20 เป็นผา้ ผนื เล็กเหมาะสำหรับ เด็กและวัยรุ่น ส่วนใหญ่เป็นลายด้ังเดิม คือ ลายนาค ลายแข่วเล่ือย(ลายฟันเลื่อย) ลายขอ ต่างๆต่อมามกี ารพัฒนาปรับปรงุ ให้เป็นผา้ ผนื ใหญ่สำหรับผใู้ หญ่ ไดส้ วมใส่ในงานบุญประเพณี สำคัญได้ นิยมใช้สวมใส่เฉพาะในงานพิธีกรรมทางศาสนา งานบุญประเพณีและพิธีการท่ี สำคัญ จึงนิยมใช้ฟืม 40 ในการทอ การทำซ่ินตีนแดงถือว่า มีความยุ่งยากมากกว่าการทอผ้า ชนิดอ่ืน โดยเฉพาะการมัดหม่ี ซ่ึงเกือบจะมีการสูญหายไป ต่อมามีการนำออกแสดง นิทรรศการในโอกาสต่างๆหลายครั้ง มีการรณรงค์ให้มีการผลิตและใช้แต่งกาย ผ้าซิ่นตีนแดง จึงกลับมาเป็นท่ีนิยมและเป็นท่ีรู้จักกันทั่วไป ในปี 2546 ผ้าซ่ินตีนแดง ก็ถูกเลือกให้เป็นผ้า เอกลกั ษณ์ของจงั หวดั บรุ ีรมั ย์(http://www.esanpedia.oar.ubu.ac.th/ubu-art-culture/?p=310) 2. ความเปน็ มา ผา้ ทอพุทไธสง บ้านแวง อำเภอพุทไธสง เป็นหมู่บ้านที่มีความอุดมสมบูรณ์ มีอาชีพหลักทำนา ปลูกผักและอีกอาชีพหน่ึงที่ทำให้คนในหมู่บ้านมีอยู่มีกินได้คือ การปลูกหม่อน เล้ียงไหมและ การทอผ้า ในสมัยก่อนการทอผ้าจะทอเพ่ือใช้เป็นเครื่องนุ่งห่มของคนในครัวเรือน คนใน สมัยก่อนผู้ชาย จะใช้ผ้าขาวม้าและผ้าโสร่งส่วนผู้หญิงจะสวมใส่ผ้าถุง เมื่อผู้ชายไปทำนา ผู้หญิงจะอยู่บ้านประกอบอาหารยามว่างจะมาน่ังทอผ้าและเรียกได้ว่างานทอผ้าเป็นงานท่ี แสดงถึงสถานภาพของผู้หญิง ท่ีจะต้องทำหน้าท่ีผลิตผ้าให้พอเพียงกับสมาชิกในครอบครัว และงานต่างๆในโอกาสพิเศษ ดังน้ันผู้หญิงจะต้องแสวงหาหนทางท่ีจะเรียนรู้ พัฒนาการทอ ผ้าให้มีคุณภาพและสวยงาม ต้องมีท้ังการฝึกฝน สังเกต จดจำมาทดลอง งานทอผ้าถือเป็น งานทม่ี ีความซบั ซ้อน ละเอียดอ่อน ใช้ความพยายามสูง (สวสั ด์ิ แกว้ แบนและคณะ,2559: 74)
วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 689 นับตั้งแต่เริ่มต้นมาถึงข้ันตอนการทอนั้นก็ยากลำบาก เพราะจะต้องปลูกหม่อน เพ่ือนำใบ หม่อนมาเลี้ยงไหม การเลี้ยงไหมต้องใช้เวลาหลายเดือนกว่าจะได้รังไหม มาสาวเป็นเส้นไหม นำเส้นไหม ไปฟอกย้อม มัดลาย แล้วนำมาทอเป็นผืนผ้าในรปู แบบและลวดลายที่ได้สวยงาม “ผา้ ซนิ่ ตนี แดง”ถูกถักทอจากมือ ด้วยภมู ิปัญญาของคนอำเภอพุทไธสงจากรุ่นสรู่ ุน่ ดว้ ยหยาด เหง่ือแรงงานของชาวบ้านโดยแท้ ชาวบ้านแวง ตำบลบ้านแวง อำเภอพุทไธสง ได้นำเอาภูมิ ปัญญาจากที่ได้รับการถ่ายทอดการทอผ้า“ผ้าซิ่นตีนแดง”มาสร้างสรรค์ลวดลาย ที่มีความ งดงามและแปลกตา มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว (https://souvenirbuu.wordpress.com/ภูมิ ปัญญาทอ้ งถนิ่ ไทย) 3.ความเป็นมาผา้ ทอนาโพธ์ิ ในอดีตชาวบ้านนาโพธิ์แร้นแค้นยากจน ไม่มีข้าว น้ำเป็นของหายาก ต้องเดินทาง ไปหาตาน้ำ ไปรอกันเป็นวันๆกว่าจะได้น้ำมากิน ส่วนข้าวต้องเดินทางไปขอจากต่างหมู่บ้าน จนชาวนาโพธเ์ิ ปน็ ท่ีรู้จกั ในนามหมู่บ้านขอทาน แต่เม่ือปี 2516 ทา่ นผหู้ ญิงสุประภาดา เกษม สันต์ (ถึงแก่อนิจกรรมแล้ว) กองเลขานุการในพระองค์และท่านผู้หญิงจรุงจิตต์ ทีขะระ ได้ สนองพระโอษฐ์ ราชเลขานุการในพระองค์ สมเด็จพระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลท่ี 9 เข้า มาร่วมสนับสนุนชาวบ้านจึงมีการจัดตั้งศูนย์หัตถกรรมพ้ืนบ้านนาโพธิ์ ในปี 2542 เกิดการ รวบรวมชาวบ้านที่มีฝีมือการทอผ้าไหมท่ีสวยงาม ก่อนจะชนะการประกวดผ้าไหมในระดับ ภาคและระดับประเทศ ภายใต้การสนับสนุนจากโครงการ ส่งเสริมอาชีพตามแนว พระราชดำริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในการสืบสานงานทอผ้า ไหมไทย สนองแนวพระราชดำริในสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ 9 หลังได้รับความนิยม ศูนย์หัตถกรรม พ้ืนบ้านนาโพธ์ิปรับปรุงกระบวนการผลิตให้มีมาตรฐาน ย่ิงขึ้น โดยผู้ว่าราชการจังหวัด ส่วนราชการต่างๆเข้ามาช่วยเร่ืองสีธรรมชาติและเร่ืองอ่ืนๆ สอนวิธีทำผ้าไหมลายใหม่ ส่งเสรมิ การทำลายด้ังเดิมพื้นเพของชาว นาโพธิ์ และรับซ้ือผ้าไหม ไปขายที่มลู นธิ ิ ศลิ ปาชพี ร้านภูฟ้าและงานโอทอ็ ปต่างๆโดยเฉพาะงานโอท็อปท่ีเมอื งทองธานี สร้างรายได้ให้ชาวนาโพธ์จิ ำนวนมาก ผ้าไหมของศนู ย์หัตถกรรมพื้นบ้านนาโพธิ์ ที่ได้รับความ นิยมคือผ้าพันคอ ผ้าคลุมไหล่ รวมไปถึงลายด้ังเดิม อาทิ ลายพญานาค ลายช่องพลู ลาย บันไดสวรรคแ์ ละลวดลายสมัยใหม่ทปี่ รับตามความต้องการของตลาด ผ้าบ้านนาโพธ์ิมจี ุดเด่น คือการทอมือ เน้ือแน่น เส้นใหญ่ ไม่มันวาว เส้นไหมละเอียด แม้เนื้อผ้าจะแน่น แต่เบาโปร่ง สบาย สร้างรายได้ ให้สมาชิกศูนยห์ ัตถกรรมพื้นบ้านนาโพธิ์ ประมาณ 3,000-5,000 บาทต่อ
690 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) เดือน (นางประคอง ภาสะฐิติ อายุ 75 ปี ประธานศูนย์หัตถกรรมพ้ืนบ้านนาโพธ์ิ https://www.khaosod.co.th/lifestyle/news_1200015) ลวดลายและกรรมวธิ กี ารทอ ผ้ามัดหมี่ตีนแดง มีลักษณะพิเศษ คือ ส่วนเชิงของผ้ามัดหม่ีทุกผืนเป็นพ้ืนสีแดง บางผืนจกลวดลายเป็นแถบรวิ้ ลายจกขนาดเล็ก ตีนซิ่นบางครั้งมีการใช้เทคนคิ การขิดเก็บเส้น ไหมสี หรือท่ีชาวบ้านในพื้นที่ เรียกว่า การเก็บตีนดาว มาผสมผสานเพ่ือความสวยงามและ แสดงฝีมือของผู้ทอ ผ้าซิ่นมัดหมี่ตีนแดงโบราณมีการต่อหัวซ่ินและตีนซ่ิน ลวดลายมัดหม่ีจะ ทอเป็นซ่ินหม่ีรวดหรือหมี่โลด ซ่ึงมาจากภาษาท้องถ่ินภาคอีสาน หมายถึง การมัดและทอ ลวดลายมัดหมี่ต่อเนื่องไปรวดเดียว ลักษณะลวดลายผ้ามัดหมี่แบบนี้ บางท้องท่ีในภาคอีสาน จะเรยี กว่าหม่ีหว่าน กรรมวิธีการทอผ้าผ้ามัดหมี่ตีนแดง เป็นการทอผ้ามัดหมี่เส้นพุ่ง คือมีการมัด ลวดลายและย้อมสเี ฉพาะเส้นพุ่ง สว่ นเส้นยนื ใชเ้ ส้นไหมย้อมสีตามท่ีตอ้ งการแต่ไม่มีการมัดทำ ลวดลาย ซ่ึงเป็นกระบวนการในการทอผ้ามัดหมี่ส่วนใหญ่ของประเทศไทย อุปกรณ์ในการ มดั หมี่ ได้แก่ โฮงหม่ี มีด เชือกกล้วย แต่ปัจจบุ ันนิยมใช้เชือกฟางทที่ ำจากพลาสตกิ เพราะหา ง่ายสะดวกกว่ากัน มีสีให้เลือกอีกด้วย เพราะการมัดหมี่จะมัดลวดลายครั้งเดียว ซึ่งใช้เวลา หลายวันกว่าจะเสร็จ ช่างมัดจะใช้เชือกฟางมัดหม่ีที่ละสี สะดวกในเวลาที่ต้องแก้ฟาง เพราะ บางจุดของลวดลายจะใช้สีขาว หรือไม่ต้องการท่ีจะผสมสีท่ีเกิดจากการย้อมทับเส้นหม่ี การ ย้อมยึดเป็นหลักจะต้องย้อมสีแดงก่อน ตามด้วยสีเหลอื ง จะยอ้ มสคี รามเป็นสีสดุ ท้าย แต่จาก ข้อสังเกต โดยเฉพาะสีธรรมชาติท่ีนำมาใช้ของชาวอำเภอนาโพธ์ิ จังหวัดบุรีรัมย์ จะไม่มีสี คราม สำหรับวัตถุดิบและสว่ นประกอบ ได้แก่ (1) วสั ดุในการทอผ้าไหม เส้นไหม สีเคมหี รือสี ธรรมชาติ ด่างฟอกไหม สบู่ซัลไล และ(2) อุปกรณ์ในการทอผ้าไหม ได้แก่ ภาชนะเคลือบ (หมอ้ กาละมัง ไนกรอด้าย ระวิง กง หลอดดา้ ย กระสวย โบก โฮงหมี่ เครอื่ งโยกหม่ีเคร่อื งค้น หมีแ่ ละแปลง
วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 691 ความเช่อื ความศรัทธาถอื เปน็ ผา้ มงคล เปน็ ผ้าซิ่นท่ีมีประวัตคิ วามเปน็ มาและมีความเชื่อว่า“ผ้าซิน่ ตีนแดง”เป็นผา้ มงคล มี ความสดใสและสวยงาม คนหนุ่มสาวมักนิยมสวมใส่ในงานบุญ และในงานแต่งงานซึ่งฝ่าย หญิงนยิ มใชผ้ า้ ซ่ินตีนแดงสำหรับไหวผ้ ู้ใหญ่ทางฝ่ายชายและยงั มีความเชอื่ เกีย่ วกบั ผ้าไหมชนิด อื่นๆ ด้วย ได้แก่ 1. ในงานบวชนยิ มแตง่ กายให้นาคด้วยผา้ ไหมหางกระรอกเพื่อความเป็นสริ ิมงคล 2. ในการสร้างบ้าน ใช้อักซึ่งเป็นอุปกรณ์หนึ่งในการทอผ้าไหม นำไปผูกไว้กับ เสาเอก เพ่อื ใหเ้ กดิ ความมน่ั คง 3. เด็กทารกแรกเกิดหากร้องให้ไม่หยุด ให้ผู้สูงอายุนำผ้าขาวม้าไหมมาอุ้มเพื่อให้ เดก็ หยดุ ร้อง ผ้าซ่ินตีนแดง จึงเป็นเสมือนสายไหมท่ีถักทอวิถีชีวิตของคนในชนบท ท่ีมีความ ผกู พนั และสานต่อภมู ิปญั ญาจากอดตี ถงึ ปจั จุบนั ความเช่ือความศรัทธาของผู้ทอ ได้สื่อแสดงออกให้เห็นด้วยลวดลายมัดหม่ี ดังเช่น ลายเก่าดั้งเดิม คือ ลายนาค ลายหงส์ ลายนก ลายแข่วเลื่อย(ลายฟันเล่ือย) ลายขอต่างๆนิยม ใช้สีเหลือง แดง ขาว มีเขียวปนบ้าง เช่นลายหมี่ขอ ลายขอนาคปาระวีและได้พัฒนาลาย ต่างๆ มี ลายกระตา่ ย ลายดอกไม้ ลายพฤกษา ลายม้านำ้ นอกจากน้ยี ังมีลวดลายท่ีช่างทอนึก สนุกนึกทอข้ึนตามสายตาท่ีมองเห็น เช่น ลายปาท่องโก๋ หมี่หยอดทอง ลายหวีกล้วย ลาย หวั ใจวา่ ง เป็นต้น การสร้างลวดลายท่ีเชื่อมโยงกับคติความเชื่อของคนไทยคือสัตว์มงคล เช่น นกหรือ หงส์ นาค กวาง ตามคติความเชื่อทางพระพุทธศาสนา มาไว้ที่เชิงผ้าซิ่นก็เพ่ือความเป็นสิริ มงคลของผู้เป็นเจ้าของผ้า ลวดลายที่ปรากฏอยู่บนผืนผ้าทอในอดีตน้ัน นอกจากจะเป็นการ ถา่ ยทอดภูมปิ ัญญา จากบรรพบรุ ุษจากรุ่นสู่รุ่นสบื ตอ่ กันมาแล้ว ลวดลายในรูปลักษณะต่างๆท่ี ปรากฏอยู่บนผนื ผ้าแต่ละผนื นั้น ยังมีความเชื่อมโยงกับคตคิ วามเช่ือท่ีเกีย่ วข้องกับศาสนา ส่ิง ศักดิ์สิทธ์ิ ประเพณี วัฒนธรรมของผู้ทอของแต่ละกลุ่มชนในยุคสมัยต่างๆท่ีสืบทอดกันมาแต่ โบราณอีกด้วย ลวดลายและสัญลักษณ์ต่างๆที่ปรากฏอยู่ในศิลปะผ้าทอไทยน้ันเช่ือกันว่ามีความ เช่ือมโยงกับคติความเชื่อของคนไทยที่สืบทอดกันมาแต่โบราณ ซึ่งอาจศึกษาเปรียบเทียบ ลวดลายสัญลักษณ์เหล่าน้ีกับสัญลักษณ์อย่างเดียวกันท่ีปรากฏอยู่ในศิลปะประเภทอื่นๆเช่น
692 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) ในจิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม และแม้แต่ในตำนานพ้ืนบ้านที่เล่าขานสืบต่อกัน มา หรอื ในวรรณกรรมตา่ งๆ ลวดลายทเ่ี ชอ่ื มโยงกบั ความเช่ือพืน้ บา้ นไทย ลาย“นาค” (นาค หรือพญานาค) ถือเป็นหนึ่งลายท่ีมักจะพบเห็นอยู่บนผืนผ้าทอ ท้ังของไทย และหลายประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ เช่น ลาว กัมพูชา เมียนมา เวียดนาม เป็นต้น ไม่ว่าลวดลายน้ันจะเป็นลักษณะของลาย“นาค”ท่ีมีความชัดเจนในตัวเอง หรือเป็นลายที่เป็นส่วนประกอบร่วมกับลายอื่นๆ ก็ตาม หรือการสร้างสรรค์ลายนาคใน ลกั ษณะเชิงสญั ลักษณ์ ก็ล้วนเป็นการแสดงสัญลักษณ์ตามคติความเช่ือในเร่ืองของ “นาค” ท่ี มมี าแต่โบราณกาลมากกว่า 2,000 ปี นาค หรอื พญานาค เป็นคติความเช่ือที่ถือกันว่าเป็น สัญลักษณ์แห่งความยิ่งใหญ่ ความเป็นมงคล ความอุดมสมบูรณ์ ความมีวาสนา และเช่ือ กันว่าเป็นบันไดนำไปสู่ดินแดนแห่งจักรวาล ในบางท้องถ่ินก็เช่ือว่าพญานาคอาศัยอยู่ใต้ดิน หรือบาดาล ขณะที่บางประเทศคติความเชื่อเร่ืองนาค อาจมีความสัมพันธ์กับวงจรชีวิตของ คนตั้งแต่เกิดจนตาย บางประเทศเชื่อว่านาค คือ บรรพบุรุษของตน โดยเฉพาะในแถบลุ่ม แม่น้ำโขง คนไทยและคนลาวต่างมีความเช่ือสืบทอดกนั มา เร่ืองพญานาค ซ่ึงอาศัยอยู่ท่ีเมือง บาดาลใต้แม่น้ำโขง จนกระทั่ง ทุกวันนี้ผู้คนในแถบนั้นก็ยังเช่ือดังจะเห็นมีงานบุญประเพณี เช่น งานไหลเรอื ไฟ ก็เชื่อว่าพญานาคจะขึ้นมาเล่นลูกไฟด้วย ดังที่มีผู้เห็นลูกไฟข้ึน จากลำน้ำ ในชว่ งเทศกาลงานไหลเรือไฟเป็นประจำเกือบทุกปี การผ้าทอในเกือบทุกวัฒนธรรมจึงมักทอ ให้มีสัญลักษณ์ของพญานาค หรือ นาค แต่ท้ังหมดก็เพ่ือความสวยงามและเป็นสิริมงคล นนั่ เอง หงส์และนกยูง เป็นสัญลักษณ์สำคัญท่ีปรากฏอยู่ในศิลปะผ้าทอพื้นบ้านและยัง ปรากฏในสถาปัตยกรรมล้านนาและล้านช้าง จะพบนกหรือหงส์เป็นองค์ประกอบที่สำคัญ ประดับอยู่บนหลังคาโบสถ์ คู่กับสัญลักษณ์นาคหรือบางแห่งก็มีแต่หงส์ประดับอยู่ตามจุด ต่างๆในวัด สัญลักษณ์นกหรือหงส์หรือนกยูง จะปรากฏอยู่ทั่วไปท้ังใน จิตรกรรม สถาปัตยกรรม และบนผืนผ้า นกยูงเป็นสัญลักษณ์ที่รัฐบาลจีนปัจจุบัน ได้นำมาใช้เป็น สญั ลักษณ์ของยนู านและไดม้ ีการประดิษฐน์ าฏลีลาสมัยใหมซ่ ง่ึ ใชแ้ สดงเป็นสัญลักษณข์ องชาว ไทลื้อในสิบสองปันนา เรียกว่า ระบำนกยูง ซิ่นท่ีมีตีนจกดิ้นเงินดิ้นทองล้วนแต่เต็มไปด้วย สัญลักษณ์ นกคู่หรือหงสค์ ู่ กนิ น้ำรวมกันเปน็ องค์ประกอบเลก็ ๆของตนี จกแทบจะทุกชนิ้ หงส์นี้ตามคติไทยและคติฮินดู-พุทธ ถือว่าเป็นสัตว์ท่ีเก่ียวข้องกับตำนานในศาสนา เช่น หงส์เป็นพาหนะของพระพรหม เป็นต้นและในศิลปะไทยก็ถือว่าหงส์เป็นของสูง จึงได้
วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 693 เชิญมาเปน็ สัญลักษณ์ของเรอื พระราชพิธี คือ เรอื สุพรรณหงส์ ซึง่ ใช้ในพระราชพิธีพยุหยาตรา ชลมารคจวบจนทุกวนั นี้ ลายนกยูง ผืนผ้าแต่ละผืน นอกจากจะถักทอด้วยความประณีตแล้ว ยังถูกร้อยเรียงด้วย เร่ืองราวภูมิปัญญา วิถีชีวิต ความเชื่อ สภาพแวดล้อม ความเป็นอยู่ เศรษฐกิจ แฝงไว้ด้วย วัฒนธรรมประเพณี ความผูกพันเก่ียวเน่ืองกับท่ีมาของการนำผ้าไปใช้ในอดีตของผู้คนในแต่ ละท้องถิ่น คุณค่าเหล่านี้ถูกถ่ายทอดผ่านกระบวนการถักทออันงดงามวิจิตร เป็นความ ภาคภูมิใจในความเป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่นให้คนรุ่นหลังได้เรียนรู้ อย่างเช่นเรื่องของผ้า มดั หมี่จากอีสานใต้อย่าง “ผ้าโฮลโบราณ”จังหวัดสุรินทร์ ท่ีสืบทอดโดย ครูสุรโชติ ตามเจริญ ครูศิลป์ของแผ่นดิน ปี 2559 และ“ผ้าซ่ินตีนแดง”จังหวัดบุรีรัมย์ ของครูรุจาภา เนียนไธสง ครูช่างศิลปหัตถกรรม ปี 2557 จากศูนย์ส่งเสริมศิลปาชพี ระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน) หรือ SACICT ก็เป็นผา้ มดั หมท่ี ่ีมเี ร่อื งเลา่ สบื ทอดกนั มาจากรุน่ สรู่ ุ่น
694 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) ผ้ามัดหม่ีท่ีเรียกวา่ “ผ้าซ่ินตีนแดง”จังหวัดบุรีรัมย์ เป็นอีกหนึ่งภูมิปัญญาท่ีสวยงาม ไม่แพ้กัน เสน่ห์ของผ้าซิ่นชนิดน้ีอยู่ที่หัวซนิ่ และตีนซิ่นสีแดงสด เปล่ียนจากสมัยก่อนท่ีนิยมใช้ โครงสีเข้ม หรอื สีเม็ดมะขามทอเป็นลวดลายโบราณ ท่ีตำบลบ้านยาง อำเภอพุทไธสง จังหวัด บรุ ีรัมย์มีการทอผ้าซ่ินตีนแดงกันหลายครัวเรือน โดยครรู ุจาภา เนียนไธสง ผู้ชำนาญผ้าซนิ่ ตีน แดงแห่งบุรีรัมย์ เล่าว่า ความเป็นมาของผ้าซ่ินตีนแดง ในยุคแรกเริ่มเป็นงานประณีตศิลป์ท่ี เกิดข้ึนในจวนเจ้าเมืองในสมัยพระยาเสนาสงครามเป็นเจา้ เมืองพทุ ไธสง เม่ือประมาณ 200 ปี มาแล้ว พระยาเสนาสงครามไดม้ คี ำสัง่ ใหก้ ลมุ่ สตรีในจวนทอผ้าซิ่นตีนแดงข้ึนเพื่อนำไปมอบให้ ภรรยาของตนเอง เมื่อมีงานพิธีต่างๆภรรยาของพระยาเสนาสงครามจึงส่ังให้สตรีในจวนนุ่ง ซ่ินตีนแดงเหมือนกันทุกคน ทำให้ผ้าซ่ินตีนแดงเป็นที่รู้จักมากขึ้นและแพร่หลายมาจากรุ่นสู่ รุน่ ถงึ ปัจจุบัน ปจั จุบัน ซ่ินตีนแดงได้รับการพัฒนามาอย่างต่อเน่ือง โดยเล้ียงไหมและสาวไหมเอง ซงึ่ เป็นไหมไทยพ้ืนบา้ นใช้การสาวลงตะกร้าด้วยมอื สว่ นลายท่ีโดดเด่นคือลายนกยูงทอง ท่ีใช้ เทคนิคใหม่การทอผสมผสานกับการเขียนทองสร้างมิติของลวดลาย ในปัจจุบันมีการพัฒนา เพม่ิ เติมสีสันและลวดลายในสว่ นของตวั ซน่ิ มากขึ้น เช่นสฟี ้า น้ำเงิน แดงหรอื สีอ่ืนๆตามความ ต้องการตลาด ในอดีตการย้อมเส้นไหมสำหรับทอซิ่นตีนแดงใช้สีจากธรรมชาติ เช่น คร่ัง เปลือกมะพูดและคราม เป็นวิธีการย้อมแต่โบราณดั้งเดิม แม้จะมีสีเคมีเข้ามาใช้บ้าง แต่ก็ ยังคงรกั ษาการย้อมสีด้วยวัสดุจากธรรมชาติไวม้ าจนถึงปัจจบุ ัน สว่ นลายท่ีได้รับความนิยมคือ ลายประตูวัง และลายบันไดสวรรค์ เพราะความเช่ือท่ีว่าหากผู้ใดมีผ้าลายน้ีก็จะได้ข้ึนสวรรค์ อกี ทง้ั ยงั เป็นผ้าประจำบา้ น ทหี่ ากบา้ นใดมไี ว้กเ็ ช่อื ว่าจะมบี ญุ วาสนาแก่คนในบ้านนน้ั “ในชุมชนมีความเชื่อว่าถ้าใครมีผ้าซ่ินตีนแดงครอบครองจะมีบุญวาสนา เร่ืองราว ความเชื่อเก่ียวข้องกับวิถีชีวิตผู้คนต้ังแต่เกิดจนตาย เช่น ใช้สำหรับรับขวัญแดงแรกเกิด โดย เชื่อว่าถ้านำผ้าซิ่นตีนแดงมารองรับขวัญเด็กแรกเกิดแล้วจะถือเป็นการปัดเป่าสิ่งช่ัวร้าย ท้ัง ภูตผี ผีศาจ ไม่ให้มาเข้าใกล้และเพื่อความเป็นสิริมงคลกับเด็กด้วย แล้วก็ในพิธีกรรมศาสนา ยังใช้สำหรบั งานบุญงานมงคลต่างๆ เช่นงานบวช งานมงคลสมรส งานบายศรีสู่ขวัญ งานข้ึน บ้านใหมด่ ้วย”ครูรจุ าภา กลา่ ว (https://www.thaipost.net/main/detail/10663)
วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 695 ชนิดของผา้ ทอของภาคอีสาน 1.. ผ้าทอสำหรับใช้ในชีวิตประจำวัน โดยผ้าทอชนิดน้ีจะเป็นผ้าพ้ืนไม่มีลวดลาย เพราะตอ้ งการความทนทานจงึ ทอดว้ ยฝา้ ยย้อมสี 2. ผ้าทอสำหรับโอกาสพิเศษ เช่น ใช้ในงานบุญประเพณีต่างๆงานแต่งงาน งาน ฟอ้ นรำ ดงั นน้ั ผา้ ทอจงึ มกั มีลวดลายสวยงาม และมสี ีสนั หลากหลาย เนื่องจากอีสานมีชนอยู่หลายกลุ่มวัฒนธรรม การผลิตผ้าพ้ืนเมืองจึงแตกต่างกันไป ตามกลุ่มวัฒนธรรม เช่น กลุ่มอีสานใต้ คือกลุ่มคนไทยเช้ือสายเขมรที่ตั้งถ่ินฐานอยู่ในแถบ จังหวดั สรุ ินทร์ ศรสี ะเกษและบุรรี ัมย์ เป็นกลมุ่ ที่มีการทอผา้ ท่มี สี ีสนั แตกต่างจากกลุ่มไทยลาว บุรีรัมย์มีชุมชนเผ่า 4 ชนเผ่า ผ้าไหมบุรีรมั ย์ จึงนิยมสสี ันลวดลายหลากหลาย ตาม ความนยิ ม ไดแ้ ก่ 1. ชนเผา่ ไทยเขมร นิยมผ้าไหมลายหางกระรอก ลายอัลปรม ลายโฮล ลายลูก แก้ว เปน็ ตน้ 2. ชนเผ่าชาวกูย นิยมแต่งกายแบบชาวไทยเขมร นิยมผ้าไหมกระเนียวลายร้ิวเป็น ทางยาว สตรีนิยมใส่ซน่ิ ท่ีมีหวั และตีนซิ่น และนิยมผา้ ไหมลายลูกแกว้ ยอ้ มมะเกลอื เป็นสีดำ 3. ชนเผ่าชาวไทยโคราช นิยมผา้ ไหมลายหางกระรอก 4. ชนเผ่าไทยลาว นยิ มผ้าย้อมครามและไหมลายมัดหมีล่ วดลายต่างๆที่มีช่ือเสยี ง และไดร้ บั การยอมรับวา่ เป็นผ้าเอกลักษณป์ ระจำจงั หวดั บรุ ีรัมย์ ไดแ้ ก่“ผ้าซ่ินตนี แดง”ซ่ึง ผลติ มาท่อี ำเภอพุทไธสงและนาโพธิ์ ส่วนรูปแบบการแต่งกายของชาวบุรีรัมย์ทั่วๆไป คือ ผู้ชาย มักนิยมสวมเสื้อ ม่อฮ่อม ซึ่งเป็นเส้ือแขนสั้นสีเข้มๆสวมกางเกงสีเดียวกับเส้ือจรดเข่า นิยมใช้ผ้าคาดเอวด้วย ผ้าขาวม้า ขณะที่ผู้หญิง มักสวมใส่ผ้าซิ่นแบบทอท้ังตัว สวมเส้ือคอกลม แขนยาว เล่นสีสัน แต่หากเป็นงานพิธีต่างๆอาจมีการห่มผ้าสไบเฉียง สวมเคร่ืองประดับตามข้อมือ ข้อเท้าและ คอ เพิ่มดว้ ย เอกลักษณ์/จุดเด่นผลิตภัณฑ์ของผ้าไหมตีนแดงเป็นผ้าไหมท่ีทอจากเส้นไหมไทย แท้ ทอด้วยมือ จากก่ีท่ีทำขึ้นเอง เนื้อผ้าจะแน่นหนา ลายผ้าหรือการให้สี จะคงอนุรักษ์ภูมิ ปัญญาดงั่ เดิมสอดแทรกเข้าไป ในผา้ แต่ละชิ้น รีดง่าย เกบ็ รักษางา่ ย
696 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) ปัญหาและอปุ สรรคในการอนรุ กั ษ์การนุง่ ซนิ่ 1.คา่ นิยมการนุง่ ซ่นิ เปลีย่ นแปลงไปตามกาลเวลา ในสมัยก่อนคนไทยส่วนใหญ่จะนิยมใส่ชุดท่ีตัดเย็บจากผ้าไทยไม่ว่าจะเป็นผ้าไหม ผ้าซ่ิน ผ้าฝ้าย เป็นต้น เพราะเป็นผ้าที่แต่ละชุมชนผลิตขึ้นเอง เน้ือผ้าก็ใส่สบายเหมาะสมกับ สภาพภูมิอากาศของประเทศไทย อีกทั้งคนไทยยังถูกบ่มเพาะให้มีความรักนวลสงวนตัว สุภาพเรียบร้อย รูปแบบของชุดเส้ือผ้าไทยจึงมีลักษณะที่สุภาพเรียบร้อย สามารถสวมใส่ได้ ทุกสถานท่ี แต่ด้วยวิวัฒนาการเครื่องจักรท่ีทันสมัยและการรับอิทธิพลของวัฒนธรรมต่างชาติ เข้ามาในประเทศไทย ทำให้ผู้หญิงไทยส่วนใหญ่โดยเฉพาะเด็กและเยาวชนหันมาสวมใส่ชุด เสื้อผ้าสำเร็จรูป ท่ีมีดีไซน์ทันสมัยสวมใส่ง่ายสะดวกตามยุคตามกระแสมากขึ้นและในทาง กลับกันกลุ่มคนที่สวมชุดใส่ผ้าไทยกลับกลาย เป็นวัยผู้ใหญ่จนถึงผู้สูงอายุ จากสถานการณ์ ดังกล่าวเม่ือดูผิวเผือนอาจคิดว่าเป็นเร่ืองปกติธรรมดาแต่เม่ือคิด ให้ถี่ถ้วนแล้วจะพบว่าเร่ือง ดังกล่าวถือเป็นปัญหาสำคัญมากก็ว่าได้ เพราะการที่คนส่วนใหญ่หันไปนิยมสวมใส่ชุดเสื้อผ้า ตามกระแสหรือตามแฟช่ัน อีกท้ังผ้าไทยนั้นจะมี กรรมวิธีการทอท่ีต้องอาศัยความประณีต และซับซ้อน ทำให้ทอผ้าได้ช้าเมื่อจำหน่ายได้ราคาไม่คุ้มค่า ทำให้ช่างทอผ้ารุ่นใหม่หันไป ประกอบอาชีพอ่ืนที่ได้ผลตอบแทนมากกว่า ดังนั้นการทอผ้าไหมพื้นบ้านจึงขาดการสืบทอด ทำให้เกิดการเส่อื มสญู ของผ้าไหมพืน้ บ้านของไทย 2. มกี ารรณรงค์และอนรุ กั ษใ์ หค้ นในสงั คมกลบั มานงุ่ ซิ่นมนี อ้ ย ปัญหาทีต่ ามมาของคา่ นยิ มในยคุ ปัจจบุ ัน ท่ไี ม่นยิ มนุ่งซ่ิน ปัญหาท่อี าจตามมาดังน้ี 2.1 ปัญหาการสูญหายของเอกลักษณ์ประจำชาติ คนไทยส่วนมากไม่นิยมการ แต่งกายด้วยผ้าไทยหรือรูปแบบท่สี ุภาพเรียบร้อยแบบไทยๆ จำนำมาใช้กันในเฉพาะงานพระ ราชพิธี งานมงคลต่างๆ 2.2 ปัญหาการแต่งกายท่ีไม่เหมาะสมกับกาลเทศะ ปัจจุบันแฟชั่นของเส้ือผ้า มี ลักษณะเสื้อผ้าน้อยช้ินรัดรูป อวดสัดส่วนของผู้สวมใส่ เช่น กางเกงขาส้ัน เส้ือแขนกุด เส้ือ สายเด่ียว กระโปรงส้ัน เป็นต้น เสื้อผ้าแฟช่ันดังกล่าวสามารถสวมใส่ได้ แต่ควรให้เหมาะสม
วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 697 กับกาลเทศะ อาทิเช่น ไม่ควรสวมใส่เขตพระราชวัง เขตศาสนสถาน เขตโบราณสถาน หรือ สว่ นราชการต่างๆ ความเป็นจริงแล้ว 2.3 ปัญหาความเคยชินนำไปสู่อันตรายทางเพศ การสวมใส่เส้ือผ้าท่ีไม่รัดกุม สวมเสื้อผ้าโชว์สัดส่วน เกิดความเคยชิน ได้สร้างความสนใจจากเพศตรงข้าม อาจนำไปสู่ ปญั หาการคุมคามทางเพศหรือการก่อคดีขม่ ขืนปจั จุบนั มีมากข้นึ กวา่ ในอดตี 2.4 ปัญหาการสูญหายของภูมิปัญญาท้องถน่ิ ท่สี บื ทอดกันมาอย่างยาวนานจาก บรรพบุรษุ 2.5 ภาพความทรงจำความงดงามของผ้าไทย ซึ่งตีนแดงเลือนหายไปจากความ ทรงจำในท่ีสดุ 2.6 ปัญหาด้านเศรษฐกิจในครัวเรือน ซ่ึงหากทอผ้าใช้เองนอกจากจะเป็นการ สืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นแล้ว การทอผ้าใช้เอง ถือว่าประหยัดค่าใช้จ่ายซ้ึงเสื้อผ้าสำเร็จรูป ดว้ ย และในทางกลบั กนั เปน็ การสรา้ งรายไดเ้ สริมใหค้ รอบครัวดว้ ย บทสรุป ประเทศไทยมีวัฒนธรรมประจำชาติเป็นเอกลักษณ์ของตนเอง ไม่ว่าจะเป็นด้าน ภาษา วรรณคดี ศิลปะฯลฯ ลว้ นเป็นสิง่ ทบ่ี รรพบรุ ุษได้สรา้ งและสงั่ สมมาตัง้ แต่อดีต ผา้ จัดเป็น มรดกทางวัฒนธรรมและหลักฐานแสดงถึงภูมิปัญญาข้ันพื้นฐานที่สำคัญของอารยธรรม มนุษยชาตเิ ปน็ ส่ือกลางของแบบแผนประเพณีและสญั ลักษณ์ของเผ่าพนั ธุ์ ผ้าเป็นสัญลักษณ์ท่ี มหี ลักฐานและการทำสืบทอดมาจนถงึ ปัจจุบัน ผ้าเป็นหลักฐานและเป็นส่วนของวัฒนธรรมที่ เน่อื งด้วยวถิ ีชวี ิตเป็นทนุ ทางวัฒนธรรมมรี ูปแบบและคุณลกั ษณะของผ้าพนื้ ถิ่นเฉพาะตัว กลุ่ม วัฒนธรรมไต-ลาวและเขมรนิยมนุ่งผ้าเป็นถุงเรียกว่าซ่ิน บรรพบุรุษด่ังเดิมนำมาผสมผสาน ดัดแปลงให้เข้ากับสังคมไทย จนกลายเป็นเอกลักษณ์ไทยไป ชาวอีสานถือว่าการทอผ้าเป็น กิจกรรมยามว่างหลังจากฤดกู ารทำนาหรอื ว่างจากงานประจำอ่ืนๆ ในอดตี ภาพใต้ถนุ บ้านของ ชาวอสี านจะมีการกางหกู ทอผา้ กันไวแ้ ทบทุกครวั เรอื น โดยผู้หญิงในวัยต่างๆ จะสืบทอดการ ทอผ้าต้ังแต่เด็ก ผ้าตีนแดงมีลวดลายสวยงาม เน้ือผ้าสวมใส่สบายเหมาะสมกับสภาพ ภูมิอากาศของไทย มีลวดลายเป็นเอกลักษณ์ของตนเองและส่ือถึงความเป็นมงคลทาง พระพุทธศาสนาด้วย แต่ก็เป็นที่น่าเสียดายที่ในปัจจุบันค่านิยมการนุ่งซ่ินได้คลายความนิยม
698 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) ลงไป เราไม่ค่อยเห็นภาพการนุ่งซ่ินตีนแดงใส่บาตรในตอนเช้าหรือไปในงานทำบุญในวันพระ การนุ่งซ่ินไปทำงานจริงๆแล้วผ้าไทยสามารถนำมาออกแบบตัดเย็บเป็นเส้ือกระโปรงชุด ทำงานท่ีทันสมัยได้ คนไทยควรช่วยกันอนุรักษ์ภูมิปัญญาผ้ามงคลน้ีไว้ ด้วยการสร้างค่านิยม สรา้ งกระแสความรักความหวงแหนในศิลปวัฒนธรรมการใช้ผ้าไทย ด้วยการชวนกนั มาสวมใส่ ชุดผ้าไทยซ่ินต้นแดงแล้วภาพท่ีอบอุ่นน่ารักงดงามสาวๆ สวมใส่ซ่ินตีนแดงไปเดินเล่น ไป ทำงานและไปทำบุญ ภาพเหล่าน้ีจะกลับมาหากได้รับความร่วมมือร่วมแรงใจกันพลิกฟื้น คา่ นิยมการน่งุ ซิ่นอีกครั้งด้วยตัวของคุณเอง เอกสารอา้ งอิง จารุวรรณ ธรรมวัตร, (2531), วิเคราะหภ์ ูมิปัญญาอีสานมหาสารคาม :มหาวิทยาลัย มหาสารคาม. มารสิ สา อนิ ทรเกิดและคณะ, (2561), การอนุรักษแ์ ละสืบสานการทอผา้ ไหมหมซ่ี น่ิ ตีนแดง ของชมุ ชนบา้ นหวั สะพาน อำเภอพทุ ไธสง จงั หวดั บรุ ีรมั ย์, วารสารธรุ กจิ ปรทิ ัศน์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลมิ พระเกยี รติ ฉบับปีท่ี 10 ฉบบั ที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2561. ประทบั ใจ สกิ ขา, (2555), ผ้าทอพนื้ เมืองอีสานใต้,โครงการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ปี2554, อุบลราชธานี : ศริ ธิ รรมออฟเซ็ท. สวัสดิ์ แก้วแบนและคณะ, (2559), ภูมิปญั ญาการทอผ้าไหมลายโบราณของชมุ ชนบ้านแก ใหญ่ อำเภอเมือง จังหวดั สรุ นิ ทร.์ ประคอง ภาสะฐิติ,ศูนยห์ ัตถกรรมพื้นบา้ น https://www.khaosod.co.th/lifestyle/news_1200015) http://www.esanpedia.oar.ubu.ac.th/ubu-art-culture/?p=310 https://www.thaipost.net/main/detail/10663 https://www.senate.go.th https://ng thai.com.
ประสบการณเ์ รอื่ งเลา่ กบั จนิ ตนาการทางภาษาในวรรณกรรมจวงจอื่ The Experience on Narration and Imagination of Language in the Literature of Chuang Tzu ธรรมอธิษฐาน พรบนั ดาลชัย Thamatistan Pornbandalchai มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย, ประเทศไทย Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Thailand. [email protected] Received May 10, 2020; Revised July 12, 2020; Accepted August 25, 2020 บทคัดย่อ บทความน้ีเขียนข้ึนเพ่ือสนับสนุนเรื่องเล่าทางจินตนาการในวรรณกรรมจวงจื่อที่ ยืนยันว่าคนฉลาดคือคนที่สามารถใช้จินตนาการในการเล่าเร่ือง เพราะจวงจ่ือมองว่า ประสบการณ์เรื่องเล่าแบบตรงไปตรงมาอย่างท่ีเพลโต้เสนอนั้นมิได้นำไปสู่ความรู้ที่แท้จริง เพลโต้จึงให้เหตุผลว่าการท่ีนักกวีเล่าเร่ืองของนักรบเขาได้ใช้จนิ ตนาการมิใช่นักรบจรงิ เราจึง ไม่อาจถือได้ว่าเร่ืองนั้นเชื่อถือได้เท่ากับนักรบเล่าเร่ืองของตนเอง เพราะการใช้จินตนาการ เป็นการถอดแบบมิใชว่ ิธกี ารเลา่ เรอื่ งที่ดแี ละเป็นไปไม่ได้เลยท่ีจะถอดแบบธรรมชาติของสง่ิ น้ัน ออกมาได้อย่างสมบูรณ์แบบ แต่จวงจ่ือเสนอว่าการเล่าเร่ืองด้วยวิธีการถอดแบบนั้นก็เพื่อ สร้างอารมณ์ระหว่างผู้พดู และผู้ฟังซึ่งเป็นวิธีการทีจ่ ะเชือ่ มโยงความรู้สึกได้เพราะเรอ่ื งเล่าผ่าน จนิ ตนาการจะเป็นแง่มุมท่ีนำไปสู่ความจริงภายในของมนุษย์ที่สามารถรบั รู้ร่วมกัน จวงจื่อจึง ให้เหตุผลว่าผู้ท่ีฟังจากประสบการณ์ของผู้เล่าน้ันก็ไม่จำเป็นจะต้องมีความรู้สึกหรือความ เข้าใจท่ีตรงกัน เขาสนใจเพียงว่าระหว่างผู้เล่าและผู้ฟังมีการรับรู้ผ่านประสบการณ์บางอย่าง
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 517
- 518
- 519
- 520
- 521
- 522
- 523
- 524
- 525
- 526
- 527
- 528
- 529
- 530
- 531
- 532
- 533
- 534
- 535
- 536
- 537
- 538
- 539
- 540
- 541
- 542
- 543
- 544
- 545
- 546
- 547
- 548
- 549
- 550
- 551
- 552
- 553
- 554
- 555
- 556
- 557
- 558
- 559
- 560
- 561
- 562
- 563
- 564
- 565
- 566
- 567
- 568
- 569
- 570
- 571
- 572
- 573
- 574
- 575
- 576
- 577
- 578
- 579
- 580
- 581
- 582
- 583
- 584
- 585
- 586
- 587
- 588
- 589
- 590
- 591
- 592
- 593
- 594
- 595
- 596
- 597
- 598
- 599
- 600
- 601
- 602
- 603
- 604
- 605
- 606
- 607
- 608
- 609
- 610
- 611
- 612
- 613
- 614
- 615
- 616
- 617
- 618
- 619
- 620
- 621
- 622
- 623
- 624
- 625
- 626
- 627
- 628
- 629
- 630
- 631
- 632
- 633
- 634
- 635
- 636
- 637
- 638
- 639
- 640
- 641
- 642
- 643
- 644
- 645
- 646
- 647
- 648
- 649
- 650
- 651
- 652
- 653
- 654
- 655
- 656
- 657
- 658
- 659
- 660
- 661
- 662
- 663
- 664
- 665
- 666
- 667
- 668
- 669
- 670
- 671
- 672
- 673
- 674
- 675
- 676
- 677
- 678
- 679
- 680
- 681
- 682
- 683
- 684
- 685
- 686
- 687
- 688
- 689
- 690
- 691
- 692
- 693
- 694
- 695
- 696
- 697
- 698
- 699
- 700
- 701
- 702
- 703
- 704
- 705
- 706
- 707
- 708
- 709
- 710
- 711
- 712
- 713
- 714
- 715
- 716
- 717
- 718
- 719
- 720
- 721
- 722
- 723
- 724
- 725
- 726
- 727
- 728
- 729
- 730
- 731
- 732
- 733
- 734
- 735
- 736
- 737
- 738
- 739
- 740
- 741
- 742
- 743
- 744
- 745
- 746
- 747
- 748
- 749
- 750
- 751
- 752
- 753
- 754
- 755
- 756
- 757
- 758
- 759
- 760
- 761
- 762
- 763
- 764
- 765
- 766
- 767
- 768
- 769
- 770
- 771
- 772
- 773
- 774
- 775
- 776
- 777
- 778
- 779
- 780
- 781
- 782
- 783
- 784
- 785
- 786
- 787
- 788
- 789
- 790
- 791
- 792
- 793
- 794
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 550
- 551 - 600
- 601 - 650
- 651 - 700
- 701 - 750
- 751 - 794
Pages: