Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วารสาร มจร.อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2563

วารสาร มจร.อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2563

Description: 16541-5445-PB (1)

Search

Read the Text Version

วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ JOURNAL OF MCU UBON REVIEW ปีที่ 5 ฉบับท่ี 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2563 Vol.5 No.2 May-August 2020 ISSN : 2539-5726 (Print), ISSN : 2697-4150 (Online) สำนกั งาน วารสาร มจร อบุ ลปรทิ รรศน์ มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตอุบลราชธานี ถนนสมเดจ็ ตำบลกระโสบ อำเภอเมือง จงั หวัดอุบลราชธานี [email protected] เวบ็ ไซต์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou ทศั นะและความคดิ เห็นที่ปรากฏในบทความในวารสาร มจร อบุ ลปรทิ รรศน์ ถอื เป็นความรับผดิ ชอบของผเู้ ขียนบทความน้ันและไม่ถือเปน็ ทัศนะและ ความรบั ผิดขอบของกองบรรณาธกิ าร วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์

2 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020)

วารสาร มจร อบุ ลปรทิ รรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 3 วารสาร มจร อุบลปรทิ รรศน์ JOURNAL OF MCU UBON REVIEW ISSN : 2539-5726, ISSN : 2697-4150 (Online) ปที ่ี 5 ฉบบั ที่ 2 พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563 (Vol.5 No.2 May-August 2020) ๏ วตั ถปุ ระสงค์ วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ เป็นวารสารวิชาการ (ปีละ 3 ฉบับ ฉบับท่ี 1 มกราคม- เมษายน, ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สงิ หาคม, ฉบบั ที่ 3 กนั ยายน-ธนั วาคม) มวี ัตถุประสงค์ เพ่ือส่งเสริมและสนับสนุนให้เผยแพร่ผลงานทางด้านวิชาการและงานวิจัย ของคณาจารย์ นักวิชาการ นักวิจัย นิสิตนักศึกษาและบุคคลทั่วไป ได้มีโอกาสเผยแพร่ผลงานทาง วิชาการและผลงานวิจัยทางสงั คมศาสตร์และแขนงวชิ าทเี่ กี่ยวข้องอนั ไดแ้ ก่ 1) ดา้ นพระพทุ ธศาสนา และปรัชญา 2) ด้านรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ 3) ด้านการศกึ ษา และ4) สหวิทยาการดา้ น มนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ ตลอดจนบทวเิ คราะห์ทีเ่ สนอทางออกของปัญหาให้แกส่ งั คม อนั เป็น ประโยชนแ์ ก่การต่อยอดองค์ความรู้ ในการพฒั นาชุมชนและสงั คม ตลอดจนประเทศชาติ บทความท่ีส่งมารบั การตีพิมพ์ในวารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ จะตอ้ งไม่เคยตีพิมพห์ รืออยู่ ระหว่างการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิเพ่ือตีพิมพ์ในวารสารอื่น ผู้เขียนบทความจะต้องปฏิบัติตาม หลักเกณฑ์การเสนอบทความ เพื่อตีพิมพ์ในวารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ อย่างเคร่งครัด รวมทั้ง ระบบการอ้างอิงต้องเป็นไปตามเกณฑ์ของวารสาร ทุกบทความท่ีตีพิมพ์เผยแพร่ได้รับการ ตรวจสอบทางวชิ าการจากผทู้ รงคุณวฒุ ิ (Peer Review) อย่างน้อย 2 ท่านต่อบทความ ในลักษณะ ปกปิดรายชอื่ (Double blinded) ทัศนะและความคดิ เห็นที่ปรากฏในบทความในวารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ถอื เป็นความ รบั ผิดชอบของผู้เขียนบทความน้ัน และไม่ถือเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการ วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้นิพนธ์บทความ กองบรรณาธิการไม่ จำเป็นต้องเห็นด้วยและไมม่ ขี ้อผกู พนั ดว้ ยประการใดๆทง้ั ปวง

4 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) ๏ เจ้าของ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตอุบลราชธานี หมู่ 1 ถนนสมเด็จ ตำบลกระโสบ อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี 34000 โทร..08-1790-8464, 08-0724-7658 E-mail:[email protected], เว็บไซต์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou ๏ ที่ปรึกษาวารสาร (Advisors) 1. อธิการบดี มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย 2. รองอธิการบดีฝา่ ยบริหาร 3. รองอธกิ ารบดฝี ่ายวิชาการ 4. รองอธิการบดฝี ่ายวางแผนและพัฒนา 5. รองอธกิ ารบดฝี า่ ยกจิ การนิสติ 6. รองอธกิ ารบดฝี ่ายกจิ การต่างประเทศ 7. รองอธิการบดฝี ่ายประชาสัมพนั ธแ์ ละเผยแผ่ 8. รองอธิการบดี มจร.วิทยาเขตอุบลราชธานี 9. ผู้ช่วยอธกิ ารบดีฝา่ ยบริหาร มจร วทิ ยาเขตอบุ ลราชธานี 10. ผู้ช่วยอธกิ ารบดฝี า่ ยกจิ การทวั่ ไป มจร วทิ ยาเขตอุบลราชธานี 11. ผอู้ ำนวยการวทิ ยาลยั สงฆ์อบุ ลราชธานี 12. ผ้อู ำนวยการสำนักวชิ าการ มจร.วิทยาเขตอบุ ลราชธานี 13. ผูอ้ ำนวยการสำนักงานวทิ ยาเขตอุบลราชธานี 14. ผอู้ ำนวยการวิทยาลยั สงฆ์ศรสี ะเกษ ๏ บรรณาธกิ าร (Executive Editor) พระครวู ฒุ ิธรรมบัณฑิต,รศ.ดร. มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั วิทยาเขตอบุ ลราชธานี ๏ กองบรรณาธิการ (Editorial Board) มหาวทิ ยาลยั มหามกุฎราชวิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั มหาสารคาม 1. พระมหาบญุ นา ฐานวโี ร,ผศ.ดร. มหาวิทยาลยั พะเยา 2. รศ.ดร.สญั ญา เคณาภูมิ 3. รศ.ดร.ประยงค์ จันทรแ์ ดง

วารสาร มจร อบุ ลปรทิ รรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 5 4. รศ.ดร.รตั นะ ปัญญาภา มหาวิทยาลยั ราชภัฏอุบลราชธานี 5. รศ.สมหมาย ชนิ นาค มหาวิทยาลยั อุบลราชธานี 6. ผศ.ดร.ธิตริ ัตน์ เหลา่ คมพฤฒาจารย์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏชัยภมู ิ 7. ผศ.ดร.วีระชัย ยศโสธร มหาวิทยาลยั ราชภัฏบุรรี ัมย์ 8. ผศ.สมนกึ จันทรโ์ สดา มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั 9. ดร.ไชยสิทธิ์ อุดมโชคนามอ่อน มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย ๏ ผทู้ รงคณุ วฒุ พิ ิจารณากลน่ั กรองบทความ (Peer Review) ผู้ทรงคณุ วุฒิภายใน 1. พระราชปริยัติกว,ี ศ.ดร. คณะพุทธศาสตร์ 2. พระมหาบญุ เลศิ อินฺทปญโฺ ญ,ศ.ดร. คณะสงั คมศาสตร์ 3. พระครูปริยัตกิ ติ ตธิ ำรง,รศ.ดร. คณะสังคมศาสตร์ 4. พระสธุ ีรัตนบณั ฑติ ,รศ.ดร. คณะสงั คมศาสตร์ 5. พระมหาหรรษา ธมฺมหาโส,รศ.ดร. คณะพทุ ธศาสตร์ 6. พระครูธรรมธรศิรวิ ัฒน์ สริ ิวฑฺฒโน,ผศ.ดร. วทิ ยาเขตอบุ ลราชธานี 7. พระมหาคำพันธ์ ปภากโร,ผศ.ดร. วทิ ยาเขตอบุ ลราชธานี 8. พระใบฎีกาสุพจน์ ตปสโี ล,ผศ.ดร. วิทยาเขตอุบลราชธานี 9. พระปลดั สมชาย ปโยโค, ดร. วทิ ยาลยั สงฆพ์ ุทธปญั ญาศรีทราวดี 10. ศ.ดร.บุญทัน ดอกไธสง คณะสังคมศาสตร์ 11. ศ.ดร.จำนงค์ อดิวฒั นสทิ ธ์ิ คณะสังคมศาสตร์ 12. รศ.ดร.สุรพล สุยะพรหม คณะสังคมศาสตร์ 13. รศ.ดร.โกนิฏฐ์ ศรีทอง คณะสงั คมศาสตร์ 14. รศ.ดร.เตมิ ศักด์ิ ทองอินทร์ คณะสงั คมศาสตร์ 15. รศ.ดร.เกยี รติศกั ด์ิ สขุ เหลือง คณะสังคมศาสตร์ 16. ผศ.ดร.ธิติวฒุ ิ หมั่นมี คณะสังคมศาสตร์ 17. ผศ.ดร.บรรยวสั ถ์ ฝางคำ วิทยาเขตอบุ ลราชธานี 18. ผศ.ดร.สปิ ป์มงคล ป้องภา วทิ ยาเขตอบุ ลราชธานี 19. ผศ.สพุ มิ ล ศรศักดา วทิ ยาเขตอบุ ลราชธานี

6 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) ผูท้ รงคณุ วุฒิภายนอก 1. พระเมธาวนิ ัยรส,รศ.ดร. มหาวิทยาลยั มหามกุฎราชวิทยาลยั 2. พระมหาบญุ นา ฐานวีโร,ผศ.ดร. มหาวิทยาลยั มหามกฎุ ราชวิทยาลัย 3. รศ.ดร.ยุภาพร ยภุ าศ มหาวิทยาลยั ราชภัฏมหาสารคาม 4. รศ.ดร.ภกั ดี โพธิส์ งิ ห์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั มหาสารคาม 5. รศ.ดร.สญั ญา เคณาภูมิ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏมหาสารคาม 6. รศ.ดร.ชลวิทย์ เจยี รจติ ต์ มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ 7. รศ.ดร.ฉลอง พนั ธ์จนั ทร์ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม 8. รศ.ดร.ประยงค์ จันทร์แดง มหาวทิ ยาลยั พะเยา 9. รศ.ดร.วาสนา แกว้ หลา้ มหาวิทยาลยั ราชภัฏสรุ นิ ทร์ 10. รศ.สมประสงค์ น่วมบญุ ลอื มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร (พระราชวงั สนามจันทร)์ 11. รศ.ดร.รตั นะ ปญั ญาภา มหาวิทยาลยั ราชภัฏอบุ ลราชธานี 12. รศ.สมหมาย ชนิ นาค มหาวิทยาลยั อบุ ลราชธานี 13. ผศ.ดร.วงกต ศรีอไุ ร มหาวิทยาลยั อบุ ลราชธานี 14. ผศ.ดร.สุนันท์ เสนารตั น์ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม 15. ผศ.ดร.ชนสิทธิ์ สิทธส์ิ งู เนนิ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร (พระราชวังสนามจันทร)์ 16. ผศ.ดร.วรี ะชยั ยศโสธร มหาวิทยาลยั ราชภัฏบุรีรมั ย์ 17. ผศ.ดร.สมปอง สวุ รรณภมู า มหาวิทยาลยั ราชภัฏชัยภมู ิ 18. ผศ.ดร.ธิติรตั น์ เหลา่ คมพฤฒาจารย์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ชยั ภูมิ 19. ผศ.ดร.ประสิทธิ์ กลุ บุญญา มหาวิทยาลยั ราชภัฏอบุ ลราชธานี 20. ผศ.ดร.สรุ พล ซาเสน มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อุบลราชธานี 21. ผศ.ดร.สชุ าติ บษุ ยช์ ยานนท์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏอบุ ลราชธานี ๏ ฝา่ ยประสานงานและจัดการ (Coordination and Management) 1. พระศวิ เดชน์ ญาณวโร 2. นางสาวศรีวรรณ นามเกษ 3. ดร.เอกชยั ศรีบุรินทร์ ๏ กำหนดออกเผยแพรป่ ีละ 3 ฉบับ ฉบับท่ี 1 เดือนมกราคม – เมษายน ฉบับท่ี 2 เดอื นพฤษภาคม – สงิ หาคม ฉบับท่ี 3 เดอื นกนั ยายน – ธนั วาคม

วารสาร มจร อบุ ลปรทิ รรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 7 บทบรรณาธกิ าร วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขต อุบลราชธานี ดำเนินการมาถึงปีที่ 5 ฉบับท่ี 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2563) และได้รับการ รบั รองมาตรฐานวารสารของศูนย์ดัชนีการอา้ งอิงวารสารไทย (TCI) บทความที่ตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารฉบับนี้ เป็นบทความจากหน่วยงานภายในและ ภายนอกที่มีความหลากหลายและน่าสนใจ เพราะมีผู้ส่งบทความจากหลายสถาบันและแต่ละ บทความมีมิติความน่าสนใจและนา่ ติดตามแตกต่างกัน แตอ่ ย่างไรก็ตามก็ยังเปี่ยมไปด้วยองค์ ความรู้และอรรถสาระทเ่ี ปน็ ประโยชน์เชงิ วธิ คี ิดและวิธกี ารทย่ี อดเยี่ยม กองบรรณาธิการ ต้องขอขอบพระคุณผู้นิพนธ์บทความทุกท่าน ที่ทุ่มเทผลิตผลงาน ทางวิชาการอันทรงคุณค่า และให้ความไว้วางใจกองบรรณาธิการในการดำเนินการตีพิมพ์ เผยแพร่บทความในวารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ นอกจากน้ี ต้องขอขอบพระคุณพิชญ พิจารย์ (Peer-Reviewer) ทุกท่านที่ให้ความอนุเคราะห์ตรวจสอบความถูกต้องและ กลั่นกรองคุณภาพบทความท่ีตีพิมพ์ในวารสารฉบับน้ีอย่างเข้มข้นและมีมาตรฐาน ทำให้กอง บรรณาธกิ ารเกิดกำลังใจที่จะพัฒนาวารสารใหม้ คี ณุ ภาพมากยิง่ ข้ึน (พระครวู ฒุ ธิ รรมบัณฑิต,รศ.ดร.) บรรณาธิการ วารสาร มจร อุบลปรทิ รรศน์

8 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020)

วารสาร มจร อบุ ลปรทิ รรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 9 สารบญั เรอ่ื ง หนา้ … บทบรรณาธกิ าร (6) บทความวิจยั : Research Articles สกิ ขาบท 150 ข้อ ในสมณวรรค ตกิ นบิ าต อังคตุ ตรนกิ าย : ศึกษาวเิ คราะหแ์ ละตคี วาม 150 Sikhapadas in Samanavagga, Tikanipata, Angutaranikaya: An Analytical Study and Interpretation ………………………………………..………….………….…………. 20 สปิ ป์มงคล ป้องภา, นคร จันทราช, ทิพยว์ ิทย์ ใสชาติ, พระสุภาพร เตชธโรและปฐมสิทธิ์ แสวงวงศ์ รูปแบบการจัดการส่ิงแวดล้อมเชงิ พทุ ธบรู ณาการในเขตอตุ สาหกรรมสุรนารี จังหวดั นครราชสีมา Model of the integrative Buddhist Environmental Management in Suranaree industrial zone Nakhonratchasima Province …….………………………………….……. 35 ไชยวตั ร์ ศิริศักธ์ิดา, พระมหาสพุ ร รกขฺ ติ ธมโฺ มและสิรภพ สวนดง กระบวนการพัฒนาจติ ใจและปญั ญาของพระสงฆส์ ายวดั ป่าเพือ่ สง่ เสริมการท่องเท่ียว เชงิ พทุ ธในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ The Mental and Wisdom Development Process of the Forest Monks for Promoting Buddhist Tourism in the North-East …………….……………………………….…………. 47 พระครธู รรมธรศริ ิวฒั น์ สิริวฒฑฺ โน, พระมหาสิงห์ณรงค์ สิรนิ ทฺ รเมธี, พระสุภาพร เตชธโร, นคร จนั ทราช และเกียรติศกั ด์ิ บุตรราช การบรหิ ารงานประกันคณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษาในยคุ ไทยแลนด์ 4.0 เขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษา สุราษฎร์ธานี เขต 3 An Administration of Internal Education Quality Assessment of School in Thailand 4.0, Primary Educational Service Area Office 3, Surat Thani Province .…………………………….……. 61 สภุ าวดี จันทรศ์ ริ ิ, พระปลดั โฆษติ โฆสิโตและธรี ะพงษ์ สมเขาใหญ่

10 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) เรอ่ื ง หนา้ คณุ ภาพชวี ิตของผสู้ งู อายใุ นองค์การบรหิ ารส่วนตำบลกุดผงึ้ อำเภอสวุ รรณคูหา จงั หวัดหนองบวั ลำภู The Quality of Life of the Elderly in Kudphueng Sub-district Administrative Organization, Suwannakhuha District, NongbuaLamphu Province ………….………………………………….………… 77 ชาญยทุ ธ หาญชนะ การบริหารจัดการชั้นเรยี นท่ีส่งผลตอ่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นวิชาคณติ ศาสตรข์ องสถานศึกษาในสงั กดั สำนักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 Classroom Management Affecting Learning Achievement in Mathematics of Schools under Suratthani Primary Educational Service Area Office 3 ...……………….…..… 88 กุสมุ า มะโนภักด์ิ, พระครูพจิ ิตรศุภการ และ มะลิวลั ย์ โยธารกั ษ์ การบริหารเชงิ กลยทุ ธ์ของผบู้ ริหารสถานศึกษาสังกดั สำนักงานเขตพ้ืนที่ การศกึ ษาประถมศึกษาสรุ าษฎร์ธานี เขต 3 A Strategic Administration of the Educational Institution Administrators under the Primary Educational Service Area Office 3, Surat Thani province ………….…. 103 วรรณศิ า บุรนิ ทรก์ ุล, พระครูพจิ ติ รศภุ การและมะลิวลั ย์ โยธารักษ์ รูปแบบการพฒั นาผเู้ รียนตามหลักภาวนา 4 ของโรงเรียนในศูนยเ์ ครอื ข่ายการศกึ ษา ท่ี 7 ฉวางภูตาปี สงั กดั สำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษา ประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 2 A Model of Learners’ Development according to Bhavana 4 of Schools in Chawang Phutapi Network Center No.7 under the Nakhon Sithammarat Primary Educational Service Area Office 2 ……………..………………………………………………………. 119 ยพุ าพรรณ ชชู าติ, พระมหาสพุ จน์ สุเมโธและพระครพู ิจติ รศภุ การ รูปแบบการสง่ เสริมการอนุรกั ษ์พทุ ธศลิ ป์ของอโุ บสถในจังหวดั นครราชสมี า Model for Promoting Buddhist Art Conservation of Chapels in Nakhon Ratchasima Province.……………………………………….…..………………………..…..……………. 135 พระครูภทั รจิตตาภรณ์, พระมหาสุพร รกฺขติ ธมฺโมและพระยทุ ธนา อธจิ ติ โต

วารสาร มจร อบุ ลปรทิ รรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 11 เรอ่ื ง หน้า การมสี ่วนร่วมของประชาชนในนโยบายสาธารณะระดับทอ้ งถิน่ เทศบาลเมอื งหนองบวั ลำภู จงั หวดั หนองบัวลำภู People’s Participation in Local Public Policy of Nongbua Lamphu Municipality, Nongbua Lamphu Province……………………………………………..…………………………………..……………. 149 สปุ ัน สมสาร์ บทบาทของเจ้าอาวาสในการบริหารจดั การวดั ตามหลักธรรมาภิบาลของวัด ในสังกดั คณะสงฆภ์ าค 10 The Abbots’ Roles in Monasteries Management in accordance with Good Governance Principles under the Sangha Region 10…………………………………………… 163 พระมหาคะนอง จนั ทร์คำลอย, อติพร เกดิ เรืองและประยทุ ธ สวสั ดิเ์ รียวกลุ การพัฒนาภาวะผู้นำตามหลกั สปั ปรุ ิสธรรม 7 ของพระสงั ฆาธิการ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค 10 Leadership Development in accordance with Sappurisadhamma 7 Principles of the Administrative Monks under Sangha Region10 …………………………..…….… 177 พระมหาสมคดิ มะลัยทอง, อตพิ ร เกดิ เรอื งและประยุทธ สวัสด์ิเรยี วกลุ รูปแบบการบรหิ ารหลกั สูตรเพื่อพัฒนาทกั ษะการสือ่ สารภาษาอังกฤษในศนู ย์เครอื ขา่ ยการศกึ ษาท่ี 9 พุทธลลี าบางขัน สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษา ประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 A Model of Curriculum Management for English Communicative Skill Development in Buddalilabangkhan Educational Network Center 9 under Nakhon Si Thammarat Primary Educational Service Area Office 2 ……………………………………………………….………………..………… 195 ธัญรดี เตง็ มศี รี, มะลวิ ัลย์ โยธารักษ์และวนั ฉัตร ทพิ ย์มาศ ความสัมพันธร์ ะหวา่ งภาวะผนู้ ำเชิงพฤตกิ รรมของผบู้ รหิ ารสถานศึกษากบั แรงจูงใจ ในการปฏบิ ัติงานของครูในอำเภอท่าศาลา สงั กดั สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษา ประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 4 The Relationship between behavioral leadership of School Administrators and Work Motivation of Teachers in Thasala District Under Nakhon Si Thammarat Primary Educational Service Area Office 4 …………………………………………………………………………………… 211 สรุ ยิ า พรหมเรอื ง, พระครพู จิ ติ รศภุ การและมะลวิ ลั ย์ โยธารกั ษ์

12 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) เรอ่ื ง หนา้ การพัฒนาการมสี ว่ นรว่ มของผปู้ กครองในการสง่ เสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ในยคุ ประเทศไทย 4.0 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สงั กดั องคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลเขาพังไกร จงั หวดั นครศรธี รรมราช Development of parent’s participation in Enhancing early childhood development in Thailand 4.0 at Child Development centers Under Khao Phang Krai Subdistrict Administration Organization, Nakhos Si Thammarat Province………………………………………. 227 ณชิ าภัทร คงชมุ , ธรี ะพงษ์ สมเขาใหญ่และสำเรงิ จันชุม รปู แบบการเรยี นรู้โครงงานบ้านนกั วทิ ยาศาสตรน์ ้อยในศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ สงั กดั องคก์ ารบริหารส่วน ตำบลบางขนั อำเภอบางขนั จงั หวัดนครศรีธรรมราช A Model of Little Scientist’s Home Project learning at the Early Childhood Development Center, Bangkhan Subdistrict Adminisation Organization, Bangkhan District, Nakhon Si Thammarat Province …………………………….………………..………. 243 สุภาณี ทพิ ย์เทพ, มะลวิ ลั ย์ โยธารักษ์และวนั ฉตั ร ทิพยม์ าศ การพฒั นาหลักสูตรฝึกอบรมภาษาอังกฤษมคั คุเทศกน์ ้อยตามรอยเส้นทางการท่องเท่ียว อำเภอโขงเจียม จังหวดั อุบลราชธานี Development of the English Communication Curriculum for Young Local Guides following the Routes of Tourist Attractions in Khong Jiam District, Ubon Ratchathani Province ………………………………………………………………….……….……………….. 263 พระมหาสรุ ยิ ัน อุตตฺ โร, วารณุ ี ประไพรเมืองและนคร จันทราช ประสิทธผิ ลการดำเนนิ งานตามระบบดแู ลชว่ ยเหลือนักเรียนแบบมสี ่วนรว่ มของโรงเรยี น สงั กดั สำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 12 The Effectiveness of the Operation According to the Participatory Student Support System of the Schools Under the Secondary Educational Service Area Office 12 .….….. 277 ทชั ชกร งามเลิศ, พระมหาสพุ จน์ สุเมโธและพระครูพจิ ิตรศุภการ, บทบาทผบู้ ริหารสถานศกึ ษายคุ ไทยแลนด์ 4.0 ในการสง่ เสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรมนักเรียน สังกัดสำนกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาสุราษฎรธ์ านี เขต 3 Roles of School Administrators in Thailand 4.0 Era to Promote Morals and Ethics of Students Under Suratthani Primary Educational Service Area Office 3 ……………...….. 295 พไิ ลลักษณ์ แสงพรหม, พระครูพิจติ รศุภการและมะลวิ ัลย์ โยธารักษ์

วารสาร มจร อบุ ลปรทิ รรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 13 เร่ือง หนา้ การดำเนินงานโรงเรยี นวถิ ีพทุ ธสู่ความเปน็ โรงเรียนวิถพี ุทธชน้ั นำของสถานศกึ ษา สังกดั สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาสงขลา เขต1 The Operation of Buddhist Oriented Schools to Become a Leading Buddhist School Under Songkhla Primary Educational Service Area office 1 …………………..………….. 311 นารี ทองฉมิ , พระมหาสุพจน์ สุเมโธและพระครพู ิจิตรศภุ การ การบรหิ ารแบบมีส่วนรว่ มในการเสริมสรา้ งคุณธรรมจรยิ ธรรมในยคุ ไทยแลนด์ 4.0 สังกดั สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาสรุ าษฎร์ธานี เขต 3 The Participatory Administration for Morality Enhancement in Thailand 4.0 under Suratthani Primary Educational Service Area Office 3 …………………………………………. 327 จริ าวลั ย์ จันทร์ศิริ, พระปลดั โฆษิต โฆสิโตและธรี ะพงษ์ สมเขาใหญ่ การพฒั นาการจัดการเรยี นรูภ้ าษาอังกฤษโดยใช้สื่อแอพลเิ คชน่ั สำหรับครูในโรงเรียน สังกดั สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 2 The Development of English Language Learning Management by Using Media Applications for Teachers in Schools Under Nakhon Si Thammarat Primary Educational Service Area Office 2 ………………………………………………………………………………….. 345 สภุ าพร ดำอไุ ร, มะลวิ ลั ย์ โยธารักษ์และวนั ฉัตร ทพิ ยม์ าศ การบริหารจัดการตามหลักไตรสิกขาในโรงเรียนสามัญศึกษาวัดแจ้ง สงั กัดสำนกั งานศกึ ษาธกิ าร จงั หวดั นครศรีธรรมราช Administrative Management According to Trisikkha Principle in Wat Chaeng General Education School under Nakhon Si Thammarat Provincial Education Office, Nakhon Si Thammarat Province …………………………………………………………………………..…………… 359 สมชาย พูลพงศ์, พระมหาสพุ จน์ สุเมโธ, พระครูพิจติ รศภุ การและวนั ฉัตร ทพิ ย์มาศ แนวทางการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในยุคไทยแลนด์ 4.0 ของสถานศกึ ษาเอกชน ในเขตพ้นื ที่การศกึ ษา ประถมศึกษาสุราษฎรธ์ านี เขต 3 Guideline for the Development of Learners’ Quality in Thailand 4.0 of Private Elementary Schools under Surat Thani Primary Educational Service Area Office 3 ………………………………………………………………………………………..……………….. 377 ชฎาทพิ ย์ ชูราษี, พระปลัดโฆษติ โฆสโิ ต, ธีระพงษ์ สมเขาใหญ่และบญุ เลิศ วรี ะพรกานต์,

14 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) เรอ่ื ง หน้า การบรหิ ารกิจกรรมพฒั นาระเบยี บวินัยนักเรยี นของโรงเรยี นในกลมุ่ เครือขา่ ยสถานศกึ ษาท่ี 4 สังกดั สำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 3 Management of Activities for the Development of Student Discipline of the Schools in the 4th School Network under Nakhon Si Thammarat Primary Educational Service Area Office 3 …………………………………….……………………………………………. 389 มัณฑนา พันธอ์ ุดม, ธรี ะพงษ์ สมเขาใหญ,่ สำเริง จนั ชุมและวันฉตั ร ทพิ ยม์ าศ การบริหารกิจกรรมลกู เสือ-เนตรนารีเพื่อเสริมสร้างคณุ ลักษณะผู้เรยี นในศูนย์เครือข่ายการศึกษาท่ี 9 พทุ ธลีลาบางขนั สำนักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษา นครศรีธรรมราช เขต 2 Management of Scouts and Girl Guides Activities for Enhancing Learners’ Characteristics in Buddhalilabangkhan Educational Network Center 9 under Nakhon Si Thammarat Primary Educational Service Area Office 2 …………………………………………………….……………………………………….. 405 พทิ กั ษส์ ิน ภกั ด,ี ธรี ะพงษ์ สมเขาใหญ,่ สำเริง จันชมุ และวันฉตั ร ทพิ ย์มาศ โรงเรยี นผสู้ ูงอายุ : หลักสตู รและการจดั การเรยี นการสอน School for the Elderly: Curriculum and Learning Management …………………….………………. 421 มงคลกติ ติ์ โวหารเสาวภาคยแ์ ละเสาวนีย์ ไชยกุล โรงเรยี นผสู้ ูงอายุ :องค์ประกอบ รปู แบบ การพัฒนาหลกั สูตรและกจิ กรรม เพ่อื การเสรมิ สร้างสขุ ภาวะผูส้ งู อายุ Schools for the Elderly: Factors, Models, Curriculum and Activities Development for Health Enhancement of the Elderly............................................................ 435 รูปแบบการบริหารจัดการศนู ย์การเรยี นรเู้ ชงิ พทุ ธบูรณาการ สถานปฏิบตั ธิ รรม โยคาวจร จงั หวดั นครนายก Model of Integrated Buddhist Learning Center Management: Yokawajorn Dhamma Practice Center, Nakhonayok Province ……………………………………….. 453 พระครปู ิยคณุ าธาร (สจุ ริตธุรการ), พระครูพจิ ิตรศภุ การ, มะลิวัลย์ โยธารักษ์และวนั ฉัตร ทพิ ยม์ าศ,

วารสาร มจร อุบลปรทิ รรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 15 เร่อื ง หนา้ รปู แบบการบริหารงานวชิ าการเพ่อื การพฒั นาคณุ ภาพผูเ้ รียนโรงเรียนการกุศล ของวดั ในพระพุทธศาสนา อำเภอเมือง จังหวัดนครศรธี รรมราช Model of Academic Administration for Learners’ Quality Development in Buddhist Temple Charity Schools, Muang District, Nakho Si Thammarat Province ……………..…..….. 465 ยงยทุ ธ เจริญวงค์, พระมหาสพุ จน์ สเุ มโธ, พระครพู ิจิตรศภุ การและบุญเลศิ วรี ะพรกานต์ รูปแบบการบรหิ ารจดั การโรงเรยี นอนบุ าลสองภาษาในยคุ ประเทศไทย 4.0 ทมี่ คี ณุ ภาพในจังหวัดนครศรธี รรมราช Model of Quality Bilingual Kindergarten Management in Thailand 4.0, Nakhon Si Thammarat Province ………………………………………………………………………………….……. 483 เศกสรรค์ กังสะวิบลู ย์, ธีระพงษ์ สมเขาใหญ่, มะลวิ ัลย์ โยธารกั ษ์และวนั ฉตั ร ทพิ ย์มาศ, ผลกระทบของการใช้บัตรคำศพั ท์ทม่ี ีตอ่ ความรคู้ ำศพั ทข์ องนกั เรยี น ระดับชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 5 โรงเรียนบ้านสาวะถี The Effects of word cards Strategy on Vocabulary Knowledge of Grade 5 Elementary Students at Bansawathi School ………………………………………………………..………….. 497 รฐั พล ศริ ิภมู ิและสขุ ุม วสนุ ธราโศภิต รูปแบบการบริหารหลกั สูตรเพอื่ พัฒนาการสอนภาษาอังกฤษในสถานศกึ ษา สงั กดั สำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 1 A Curriculum Administration Model for Development of English Language Teaching in Schools under the Office of Nakhon Si Thammarat Primary Educational Service Area 1 ………………………………………………………………………………..……………… 519 พรทิพย์ บัวเพช็ ร, มะลิวัลย์ โยธารักษ์และบุญเลศิ วีระพรกานต์ รูปแบบการเสรมิ สรา้ งพลังอำนาจครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา เพ่อื พฒั นางานวชิ าการของสถานศกึ ษา Empowerment model of teacher and educational personnel for school academic work development ……………………………………...………………………………………………….. 533 กนิษฐา ทองเลิศ

16 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) เรอ่ื ง หน้า ความผาสกุ ทางจติ วิญญาณผ่านกระบวนการบุญกริ ยิ าวตั ถุของผสู้ ูงอายุทมี่ าถอื ศลี อุโบสถ ในวัดของพระพทุ ธศาสนาจงั หวัดบุรรี ัมย์ Spiritual Happiness through Punnakiriya-vatthu Process of the Elderly Observing Precepts in Buddhist Temples in Buriram Province ………………………………………..….………….. 549 พระมหาอภสิ ิทธิ์ วริ ิโย, ธนนั ต์ชยั พฒั นะสงิ ห์, พระสวุ ิจักขณ์ โชติวโร, พระมหาสมพร อนาลโยและพระมหาเชษฐา ฐานจาโร การศึกษาผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น หนว่ ยการเรยี นรหู้ ลักธรรมทางพระพุทธศาสนาและการคดิ วเิ คราะห์ ของนกั เรียนชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 5 โดยใชก้ ารจดั การเรียนรู้ แบบ STAD รว่ มกบั บทเรียนการต์ ูน A Study on Learning Achievement and Analytical Thinking of Prathomsuksa 5 Students by using stad Learning Management with cartoon lessons in learning unit of Buddhism Principes ……………………………………………………………………..……………………….. 567 ณฐั ษธน สรสิทธิ์และชวนพศิ รกั ษาพวก บทบาทของสหพันธ์แมห่ ญงิ ลาวดา้ นการพฒั นาการศกึ ษาในวิทยาลัยครูปากเซ แขวงจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนาลาว The Role of Lao Women's Federation in Educational Development in Pakse Teacher College, Champasak Province, Lao People's Democratic Republic ……………………….…...… 583 ดาล้ี เท่ียงทำมะวง, รตั นะ ปญั ญาภาและเรืองเดช เขจรศาสตร์ กระบวนการแก้ไขปัญหาตลาดเมืองบาเจยี งจะเลนิ สกุ แขวงจำปาสกั สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว. The Process of Solving the Problems of the Bajiangcharoensuk Marketplace in Champasak Province, Lao PDR …………………………..…………………..………………. 597 ความรว่ มมือในการแกไ้ ขปัญหาการดำเนินธรุ กจิ ของผู้ประกอบการในเมืองปากเซ แขวงจำปาสกั สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว Cooperation in Solving Problems of Business Operation of the Entrepreneurs in Pakxe District, Champasak Province, Lao People's Democratic Republic ……………..…. 609 สายสะหวาด ไชยะวง, ไพศาล พากเพียรและประสิทธ์ิ กลุ บญุ ญา

วารสาร มจร อบุ ลปรทิ รรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 17 เร่อื ง หน้า การพฒั นาศกั ยภาพผู้สงู อายใุ นเขตภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ตอนล่าง 2 Potential Development of the Elderly in the Lower Northeastern Region 2 ……………..… 623 ชชั ฎาภรณ์ ไชยสัตย์ รปู แบบการอนุรกั ษ์คัมภรี ใ์ บลานของวัดและชมุ ชนในประเทศไทย ดว้ ยกระบวนการทางวัฒนธรรมและเทคโนโลยี A Model of Palm Leaf Manuscript Conservation of Temples and Communities in Thailand through Cultural and Technological Processes ……………………..……………………. 639 พระมหาฉตั รเทพ พทุ ฺธชาโต รูปแบบการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยตามหลกั ภาวนา 4 ของโรงเรียน ในสังกัดสำนกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาสรุ าษฎร์ธานี เขต 3 A Model for Promotion of early Childhood Development Based on cultivation (Bhavana) Principle of Schools under Suratthani Primary Educational service area Office 3 …………………………………………………………………………………….. 657 วนิดา แพเพชรทอง, พระปลัดโฆษิต โฆสิโต, ธรี ะพงษ์ สมเขาใหญ่และสามติ ร ออ่ นคง แนวทางพฒั นาการสง่ ออกสินค้าผา่ นดา่ นวังเตา่ เมืองโพนทอง แขวงจำปาสกั สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว The guidelines to Develop the Goods Export via the Wangtao Border Pass in Phontong, Champasak, Lao PDR …………………………………….……………………………………………. 671 เลิศสะไหม วงคำหล้า, วัชราภรณ์ จันทนกุ ลู และไพศาล พากเพียร บทความวชิ าการ : Articles ซน่ิ ตีนแดง : ผา้ มงคล ภูมปิ ัญญาท้องถิ่น Cinteandang : Favarable cloth, Local Wisdom ………………………………..……………..………..…..… 685 ชยาภรณ์ สขุ ประเสริฐ, พระครศู รีปัญญาวิกรม, พระมหาถนอม อานนโฺ ท พระมหาพจน์ สุวโจ, และไว ชรึ มั ย์

18 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) เรอื่ ง หนา้ ประสบการณเ์ รื่องเลา่ กบั จนิ ตนาการทางภาษาในวรรณกรรมจวงจอ่ื The Experience on Narration and Imagination of Language in the Literature of Chuang Tzu ………………………………………………………………………………..…….…………..………..…..… 699 ธรรมอธษิ ฐาน พรบันดาลชัย พนื้ ฐานปรชั ญาสงั คมและการเมอื งเพ่ือรัฐประศาสนศาสตร์ Fundamental Social and Political Philosophy for Public Administration……………………….. 715 พระมหามงคลกานต์ ฐิตธมฺโม, พระลิขิต ทนิ ปญโฺ ญและพนู ศักดิ์ กมล ผู้บริหารมืออาชพี ในโรงเรียนพระปริยัตธิ รรม แผนกสามัญศกึ ษา Professional Administrators in Phrapariyattidhamma Schools under General Education Department ………………..…………………………….…………………….…………..…..… 729 วรี ะพงษ์ ปรองดอง, ละเอียด จงกลนีและประจิตร มหาหิง เรื่องเล่าพระพทุ ธเจ้าผจญมารในสอื่ รว่ มสมัย : การสืบทอดขนบวรรณคดีคำสอน Narrative of Buddha’s Confrontation with Mara in Contemporary Media : Transmission of Teaching Traditional Literature …………………………...……………..………..…..… 745 พรพมิ ล เพ็งประภาและกิตติยา คุณารกั ษ์ การพัฒนาสมรรถนะบคุ ลากรทางการศึกษาวถิ ใี หม่ Competency Development of Personnel in New Normal Education ……………………………. 759 รชต กฤตธรรมวรรณ, รุ่งนภา ต้ังจิตรเจรญิ กลุ และองค์อร สงวนญาติ ผูบ้ ริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 ตามหลักสัปปุรสิ ธรรม 7 School Administrators in the 21st Century following Sappurisa-dhamma 7 ……………….. 769 พรรณภิ า งามเลิศ, รุ่งนภา ต้งั จติ รเจริญกลุ และองค์อร สงวนญาติ คำแนะนำสำหรับผู้นิพนธ์บทความเพอ่ื ตีพิมพ์………………………………….………………….…… 785 แบบฟอร์มสง่ บทความเพ่ือตพี ิมพ์ วารสาร มจร อุบลปรทิ รรศน์………………………..….…..... 791 หลักเกณฑใ์ นการลงตพี มิ พ์ต้นฉบบั ของวารสาร มจร อุบลปรทิ รรศน์…………………….….…. 792

วารสาร มจร อบุ ลปรทิ รรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 19

สกิ ขาบท 150 ขอ้ ในสมณวรรค ตกิ นบิ าต องั คุตตรนกิ าย : ศกึ ษาวิเคราะหแ์ ละตีความ 150 Sikhapadas in Samanavagga, Tikanipata, Angutaranikaya: An Analytical Study and Interpretation 1สิปป์มงคล ป้องภา, 2นคร จันทราช 3ทพิ ยว์ ทิ ย์ ใสชาติ, 4พระสภุ าพร เตชธโร และ4ปฐมสทิ ธ์ิ แสวงวงศ์ 1Sipmongkol Pongpha, 2Nakhon Jantharat, 3Tippavit Sichat, 4Pra Supapon Techatharo, 5Pathomsit Savangvong, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย, ประเทศไทย Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Thailand. [email protected], Received May 10, 2020; Revised July 12, 2020; Accepted August 25, 2020 บทคดั ยอ่ สิกขาบทตามหลักพระพุทธศาสนา หมายถึง ขอปฏิบัติท่ีตองศึกษาเป็นบทบัญญัติข อ หน่ึงๆที่พระภิกษุพึงปฏิบัติตามในแต่ละขอๆ โดยมีจำนวนทั้งหมด 227 ข้อ คือ ปาราชิก 4 ข้อ สังฆาทิเสส 13 ข้อ อนิยต 2 ข้อ นิสสัคคิยปาจิตตีย์ 30 ข้อ ปาจิตตีย์มี 92 ข้อ ปาฏิเทสนี ยะ 4 ข้อ เสขิยะ 26 ข้อ โภชนปฏิสังยุตต์ 30 ข้อ ธัมมเทสนาปฏิสังยุตต์ 16 ข้อและอธิกรณ สมถะ 7 ข้อ การสวดปาติโมกข์ของคณะสงฆ์ไทยพบว่า การสวดปาฏิโมกข์มีพิธีกรรมโดยมีบุพ กรณ์และบุพกิจ วิธกี ารสวดมี 2 อย่างคือ สวดแบบยอ่ กับแบบพิศดาร และประโยชนที่เกิดจาก การสวดพระปาฏิโมกข์มี 2 ระดับ คือ ประโยชน์กับตนเองและประโยชน์กับสังคม การสวด พระปาฏิโมกข์ของคณะสงฆไทยเปนไปตามหลกั พุทธบญั ญัติทำให้คณะสงฆ์ไทยมีความรูในการ

วารสาร มจร อุบลปรทิ รรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 21 สวดพระปาฏิโมกข์และเห็นคุณคาตลอดจนความมุ่งหมายของการสวดพระปาฏิโมกข์ ส่วน การวิเคราะห์และตีความสิกขาบท 150 ข้อ ในสมณวรรค ติกนิบาตร อังคุตตรนิกาย ใน สังคมไทยพบว่า ปัญหาความขัดแย้งเรื่องจำนวนสิกขาบท 150 ข้อ เกิดจากการยึดหลักการ แปลพระไตรปิฎกฉบับภาษาไทยและไม่ยอมรับอรรถกถา ขาดการสอบทานจากพระไตรปิฎก ฉบบั ภาษาบาลีโดยตรง กลายเปน็ ปัญหาเรือ่ งการสวดปาฏโิ มกข์เพียงจำนวนสิกขาบท 150 ข้อ ทำให้สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติประกาศมติมหาเถรสมาคมและมีประกาศพระราช กิจจานุเบกษา เล่มที่ 131 ตอนท่ี 130 ง ลงวันท่ี 4 ธันวาคม 2557 ประกาศให้คณะสงฆ์ไทย ถอื ปฏบิ ัติตามพระวนิ ยั ปฎิ กด้วยการสวดพระปาติโมกข 227 สิกขาบท คำสำคญั : สิกขาบท 150 ข้อ, อังคุตตรนิกาย, ศึกษาวเิ คราะหแ์ ละตีความ Abstract Sikkhapada in Buddhism means the rule that the Buddha laid down for Buddhist monks to compulsorily study and practice. There are 227 items including: 4 Parajikas, 13 Samghadisesas, 2 Aniyatas, 30 Nissakkiya Pacittiyas, 92 Pacittiyas, 4 Patitesaniyas,26 sekhiyas, 30 Pochanapatisangyuts, 16 Dhammatesanapatisangyuts, and 7 Athikaranasamathas. Patimokha chanting of Thai Sangha finds that the chanting includes Buppakarana and Buppakicca. The chanting includes 2 styles of short and long. The benefits of this chanting are in 2 levels i.e. for oneself and for society. Patimokha chanting of Thai Sangha follows the rule laid down by the Buddha and helps Thai Sangkha be knowledgeable and see the values and the aims of Patimokha chanting. The analysis and interpretation of 150 Sikhapadas in Samanavagga, Tikanipata, Angutaranikaya in Thai society found that the causes of conflicts on numbers of 150 Sikhapadas include; adhering to translation of Thai Tipitaka; not accepting the commentary of Tipitaka; and not checking original Pali Tipitaka. This became the problem of limiting Patimokha chanting in only 150 Sikhapadas. This has made the National Office of Buddhism announce the resolution of the Sangkha Supreme council of Thailand and the Government Gazette published in number 131, part 130, section D, dated December 4, 2014 that the Thai Sangha compulsorily follow Vinaya Pitaka by chanting Patimokha on 227 Sikhapadas. Keywords : 150 Sikhapadas, Angutaranikaya, Analytical Study and Interpretation

22 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) บทนำ หลักคำสอนที่เป็นสารัตถะสำคัญในพระพุทธศาสนามีเสาหลักที่สำคัญอยู่ 2 ส่วน คอื “พระธรรม”และ“พระวินัย”พระธรรมน้ันมีลักษณะเป็น“คำสอน”ที่พระพุทธเจ้าทรงตรัส ไว้ดีแล้วและมีความเหมาะสมแก่บุคคลในแต่ละจริตนิสัย โดยมีความละเอียดลุ่มลึกแตกต่าง กันออกไปและที่สำคัญคำสอนเหล่าน้ันมีผลต่อบุคคลคือรักษาผู้ประพฤติปฏิบัติไม่ให้ตกไปใน ที่ช่ัวแล้วยังมีผลส่งให้ผู้น้ันได้รับความสุขกายสบายใจท้ังในปัจจุบันชาติและชาติต่อไปในส่วน ที่พระวินัยมีลักษณะเป็น“คำส่ัง”อันเป็นระเบียบวินัยหรือกติกาของคณะสงฆ์เป็นส่ิงท่ี พระสงฆ์ต้องศึกษาและปฏิบัตติ ามอย่างเคร่งครัดตามพระวินยั เปน็ หลักสำคัญเพราะพระวินัย เป็นทั้งโครงสร้างและระบบการจัดสภาพสังคมสงฆ์ให้เกิดความเรียบรอ้ ยและพัฒนาบุคลากร ในสังคมสงฆ์ เป็นการจัดสรรโอกาสให้ชีวิตและสังคมมีระเบียบและมีโอกาสเกิดข้ึน ทำให้ทำ อะไรๆได้อย่างคล่องดำเนินชีวิตได้สะดวก ถ้าชีวิตและสังคมไม่มีระเบียบไม่เป็นระบบก็จะ สูญเสียโอกาสในการดำเนินชีวิตและทำกิจกรรมสังคมเป็นไปด้วยดี (พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช), 2544) สังคมสงฆ์เป็นสังคมท่ีพระพุทธเจ้าทรงจัดตั้งข้ึน เป็นสังคมตัวอย่างประกอบด้วยคณะ บุคคลเรียกว่า“พระภิกษุสงฆ์”(พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต),2543) ท่ีมาอยู่ร่วมกันโดยมี วัตถุประสงค์รว่ มกัน มีระเบียบแบบแผน ความเป็นอยู่และความสมั พันธ์เกี่ยวข้องกัน โดยถือ เพศเป็นนักบวชท่ีมาจากชนช้ันวรรณะท่ีต่างกันเข้ามาฝึกฝนพัฒนาตนเอง ระเบียบแบบแผน ดังกล่าวเรียกว่า“พระวินัย”เป็นแม่แบบและแม่บทท่ีสำคัญต่อการสร้างความเป็น“เอกภาพ แห่งสังคมสงฆ์”ความเป็นเอกภาพแห่งสงฆ์เกิดจากการปฏิบัติตามพระวนิ ัยซึ่งพระสงฆ์น้ันถูก นำมาเปรียบเสมือนดอกไม้แต่ละดอกต่างต้นและมีความหลากสีสันดอกไม้ทั้งหลายเหล่าน้ีจะ ด้อยค่าลง หากวางอยู่อย่างกระจัดกระจายเมื่อนำดอกไม้เหล่าน้ีมาร้อยรวมเข้าด้วยกันด้วย เส้นด้ายดอกไม้เหล่านี้ก็จะกลายเป็นพวงมาลัยอันงดงามเหมาะท่ีจะนำไปใช้ประดับตกแต่งให้มี ความเจริญตาและความเจริญใจเส้นด้ายที่ใช้ร้อยดอกไม้ให้รวมกันอยู่อย่างมีเอกภาพอย่างน้ัน เรียกว่า“พระวินัย”(สมเดจ็ พระมหาสมณะเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส,2552). อย่างไรก็ตามพระวินัยจัดเป็นระเบียบ กฎเกณฑ์ ข้อบังคับสำหรับควบคุมความ ประพฤติทางกายวาจาของพระภิกษุสงฆ์ให้เรียบร้อยดีงาม เป็นแบบแผนอันหน่ึงอันเดียวกัน อย่รู ่วมกัน ดว้ ยความสขุ ไมก่ ระทบกระท่ังซงึ่ กันและกัน ให้ห่างไกลจากความช่ัวทงั้ หลาย การ

วารสาร มจร อุบลปรทิ รรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 23 อยู่รวมกันเป็นหมู่เหล่า หากพระสงฆ์ขาดระเบียบวินัย ต่างคนต่างทำตามอำเภอใจ ความ ขัดแย้งก็จะเกิดข้ึน ไม่มีความสงบสุข การงานท่ีทำกจ็ ะเสยี ผลประโยชน์ เพราะการอย่รู ่วมกัน ของคนจำนวนมากในสังคมขนาดใหญ่ ก็มีความขัดแย้งกระทบกระท่ังกันบ้าง ท้ังในด้าน ความคิด การพูดและการกระทำ เพราะแต่ละคนมีพ้ืนฐานที่แตกต่างกัน หากไม่มีหลักแห่ง การประณีประนอมท่ีจะทำให้คนส่วนใหญ่ตกลงยินยอมกันไดย้ ่อมจะทำให้เกิดความแตกแยก กันข้ึน(แสวง อุดมศรี,2543) การสวดปาฏิโมกข์เป็นทั้งสังฆกรรมตามหลักของพระวินัยและ เป็นกิจของสงฆ์ท่ีสำคัญอย่างหนึ่งพระภิกษุสงฆ์ในพระพุทธศาสนา ควรมีโอกาสได้ร่วมฟังในพระ วินัยระบุว่าวัดหน่ึงจะต้องมีภิกษุสวดปาฏิโมกข์ได้หนึ่งรูป หากไม่มีเจ้าอาวาสต้องขวนขวายให้มี หากไม่ขวนขวายเป็นอาบัติถ้าขวนขวายแล้วยังไม่มี พอถึงวันปาฏิโมกข์ต้องไปร่วมฟังในวัดท่ีมี การสวดปาฏิโมกข์ ถ้าในย่านนั้นไม่มีวัดท่ีมีภิกษุสวดปาฏิโมกข์หรือมีภิกษุไม่ครบ 4 รูปไม่ต้อง สวดปาฏโิ มกข์แต่ให้อธิษฐานอุโบสถแทน โดยต้ังใจว่า“วันนเี้ ปน็ วันอุโบสถ”ในระหว่างที่มกี าร สวดปาฏิโมกข์ผู้ที่จะอยู่ในที่ประชุมสงฆ์ได้ต้องเป็นภิกษุเท่าน้ัน ไม่มีเหตุจำเป็นจะหยุดสวด ปาฏิโมกขใ์ นระหวา่ งไม่ได้ การสวดพระสวดปาติโมกข์ของคณะสงฆไ์ ทยมปี ัญหาวา่ ด้วยเรอื่ งพระสวดปาตโิ มกข์ เม่ือ กลางปี พ.ศ.2552 มีคณะสงฆ์ของวัดนาปา่ พง (สาขาที่ 149 ของวัดหนองป่าพง) ซง่ึ มีพระอธิการ คึกฤทธ์ิ โสตฺถิผโล เป็นประธานสงฆ์ได้แสดงความเห็นว่า“การที่พระสงฆ์ฝ่ายเถรวาทใน ประเทศไทยและต่างประเทศทั้งหลายสวดปาฏิโมกข์ 227 ข้อน้ันยังไม่ถูกต่อพุทธวจนะ พระสงฆ์กลุ่มนี้มีความเช่ือมัน่ ในความเห็นของพวกท่านจนได้มกี ารนำคณะสงฆ์สวดปาฏิโมกข์ แค่ 150 ข้อซ่ึงนับเป็นเวลาประมาณ 8 ปี (พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต),2558) และได้ ประกาศเผยแพร่ความเห็นน้ีต่อคณะสงฆ์และอุบาสกอุบาสิการวมท้ังทางส่ือต่างๆ จนกลายเป็น ประเด็นที่ได้รับความสนใจจากพุทธศาสนิกชนสาเหตุที่พระสงฆ์กลุ่มน้ียึดถือการสวดปาฎิโมกข์แค่ 150 ข้อน้ัน เกิดจากการศึกษาและค้นคว้าข้อมูลได้จากพระสูตรโดยปรากฏในอังคุตรนิกาย ตกิ นิบาตร ท่ีพระพุทธเจ้าทรงแสดงไว้ในสมณวรรคท่ี 5 และเสขสูตรที่ 2 โดยมีพระพุทธพจน์ ว่าด้วยเร่ืองจำนวนของสิกขาบทท่ีมีความเกี่ยวข้องกับการสวดพระปกฏิโมกข์จำนวน 150 สิกขาบท สมดงั พระพทุ ธพจน์ขอ้ ว่า “ดูก่อนภิกษุท้ังหลาย สิกขาบท 150 ถ้วนน้ี มาสู่อุเทศ ทกุ ก่ึงเดือน ซ่ึงกุลบุตรท้ังหลาย ผูป้ รารถนาประโยชน์ศึกษากนั อยู่ ดกู ่อนภิกษุท้ังหลายสิกขา 3 นี้ ท่ีสิกขาบท 150 นั้นรวมอย่ดู ้วย

24 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) ทั้งหมดสิกขา 3 (สาธิกมิทํ ภิกฺขเว ทิยฑฺฒสิกฺขาปทสตํ อนฺวฑฺฒมาสํ อุทฺเทสํ อาคจฺฉติ ยตฺถ อตฺถ กามา กลุ ปุตตฺ า สิกขฺ นฺติฯ ติสโฺ ส อมิ า ภกิ ฺขเว สิกขฺ า ยตเฺ ถตํ สพฺพํ สโมธานํ คจฉฺ ติ กตมา ตสิ โฺ ส) ” จากพระพุทธพจน์ข้างต้นสะท้อนให้เห็นว่า พระพุทธพจน์ดังกล่าวถือว่าเป็นพุทธ วจนะที่สง่ ผลต่อการศึกษาและตคี วามเกยี่ วกับเรอื่ งจำนวนสิกขาบทในพระพุทธศาสนาว่าด้วย เรื่องจำนวนสิกขาบท 150 ข้อ ในพระสูตรนี้ไม่สอดรับกับแนวปฏิบัติของพระสงฆ์เถรวาทใน ปัจจุบัน สำหรับพระพุทธศาสนาแบบเถรวาทน้ันได้ยึดพระไตรปฎกเป็นแม่บท แม่แบบหรือ เป็นมาตรฐานกลางของในการตรวจสอบ วินิจฉัยและตัดสินเรื่องราวต่างๆท่ีเกิดขี้นใน พระพุทธศาสนา ด้วยเหตุน้ี ปัญหาเรื่องความเข้าใจและการตีความสิกขาบทท่ีมาในพระวินัย ปิฎกกับพระสุตตันตะปิฎกจึงนำไปสู่การปฏิบัติที่แตกต่างกันในกลุ่มพระสงฆ์ฝ่ายเถรวาทใน ประเทศไทยปัญหาดังกล่าวล้วนเป็นปัญหาควรท่ีศึกษาเพื่อหาคำตอบและทางออกเกี่ยวกับ เรือ่ งนเ้ี พ่อื ความเปน็ เอกภาพของพระสงฆ์ต่อไป ด้วยเหตุผลดังกล่าวข้างต้น ผู้วิจัยมีความสนใจจะศึกษาแนวคิดเร่ืองสิกขาบท 150 ข้อ ในสมณวรรค ติกนิบาต อังคุตตรนิกาย : ศึกษาวิเคราะห์และตีความ เพ่ือเป็นฐานข้อมูล ในการหาความสัมพันธ์ระหว่างสิกขาบท 150 ข้อในพระสูตรกับสิกขาบท 227 ในพระวินัย ปิฎกอันจะเป็นแนวทางสร้างความเข้าใจและยอมรับตลอดจนมีการปฏิบัติในทิศทางเดียวกัน ของพระสงฆฝ์ า่ ยเถรวาทในประเทศไทยต่อไป วตั ถุประสงค์การวิจัย 1. เพ่ือศึกษาความหมาย หลักการและวิธีปฏิบัติตามหลักสิกขาบทใน พระพทุ ธศาสนา 2. เพ่ือศึกษาวธิ ีการปฏิบตั กิ ารสวดพระปาฎิโมกข์ของคณะสงฆ์ไทย 3. เพ่ือเสนอผลการวิเคราะห์ปัญหาการตคี วามสกิ บท 150 ข้อ ในสมณวรรค ติกนบิ าตร องั คุตตรนิกาย สุตตันตะปฎิ กในสังคมไทย วธิ ดี ำเนนิ การวิจัย 1. รูปแบบการวิจัย เป็นการวิจัยเชิงผสมผสาน (Mixed Methods Research) ระหว่าง การวิจัยเชิงเอกสาร (Documentary Research) และการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative

วารสาร มจร อบุ ลปรทิ รรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 25 Research) โดยการสัมภาษณ์ คำถามปลายเปิด (Open-ended questions) เป็นการสัมภาษณ์ เชิงลกึ เกี่ยวกับสิกขาบท 150 ข้อ ในสมณวรรค ติกนิบาต อังคุตตรนิกาย โดยมีรูปแบบการวิจัย 2 อยา่ ง คอื 1.1 การวิจัยเชิงเอกสาร (Documentary Research) เป็นการศึกษาทฤษฎี แนวคิด และข้อมูลเกี่ยวกับสิกขาบท 150 ข้อ ในสมณวรรค ติกนิบาต อังคุตตรนิกาย: ศกึ ษา วิเคราะห์และตีความโดยผู้วิจัยทำการศึกษาและวิเคราะห์เอกสาร (Documentary Analysis) เพื่อจะได้เข้าใจข้อมูลเบ้ืองต้น และนำไปสู่ร่างกรอบความคิดการวิจัยเพ่ือให้เห็น ปัญหาและการตีความเร่ืองสิกขาบท 150 ข้อ ในสมณวรรค ติกนิบาต อังคุตตรนิกายว่ามี ปัญหาและมกี ารตีความกนั อย่างไร 1.2 การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ผู้วิจัยทำการศึกษาโดย วิธีการถอดเทปการสัมภาษณ์เชิงลึกเป็นหลัก (In-depth Interview) จากผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (Key Informants) จากนั้นผู้วิจัยสังเคราะห์ข้อมูลเพื่อสรุปเป็นประเด็นที่เก่ียวกับปัญหาและ การตีความสิกขาบท 150 ข้อ ในสมณวรรค ติกนิบาต อังคุตตรนิกาย ท่ีผู้วิจยั ได้ถอดเทปการ สมั ภาษณจ์ ากสื่อๆต่างทผี่ ู้ให้ขอ้ มลู สำคัญ 2. ประชากรและกลุ่มเป้าหมาย สำหรับวิจัยเรื่องสิกขาบท 150 ข้อ ในสมณวรรค ติกนิบาต องั คุตตรนิกาย: ศึกษาวิเคราะหแ์ ละตีความน้ี ไดแ้ บง่ ออกเป็น 2 กลมุ่ เป้าหมาย อัน ประกอบไปด้วย 1) พระคึกฤทธิ์ โสตฺถิผโล เป็นประธานสงฆ์ (สาขาท่ี 149 ของวัดหนองป่า พง) และ 2) พระสงฆ์และนักวิชาการทางด้านพระพุทธศาสนา จำนวน 3 รูป/คน คือ (1) รศ. ดร.เวทย์ บรรณกรกุล (2) สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ.ปยุตฺโต) และ (3) พระพรหม บัณฑิต (ประยรู ธมมฺ จิตฺโต ) 3. เคร่อื งมือท่ใี ชใ้ นการรวบรวมขอ้ มูล สำหรับเครื่องมอื ท่ีใช้ประกอบการวจิ ัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ท่ีมีลักษณะเป็นคำถามปลายเปิด (Open-ended questions) ท่ีเกี่ยวกับซ่ึง ผู้วิจัยได้พัฒนาข้ึนเองโดยการศึกษาค้นคว้าจากแนวคิด เอกสารและตำราที่เกี่ยวข้องกับ สิกขาบท 150 ข้อ ในสมณวรรค ติกนิบาต อังคุตตรนิกาย: ศึกษาวิเคราะห์และตีความแล้ว กำหนดเป็นข้อคำถามให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการวิจัย ที่ไม่มีการชี้นำคำตอบ ซ่ึง ผู้วิจยั ใช้วิธีการถอดเทปบันทึกเสยี ง 4. การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลจากการวิเคราะห์เอกสารและข้อมูล จากการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) สัมภาษณ์ 2) ผู้วิจัยออกเก็บรวบรวมข้อมูล

26 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) ดว้ ยตนเองทุกขนั้ ตอน เม่อื ได้ข้อมูลแล้วนำมารวบรวมเพ่อื วิเคราะห์ต่อไป และ 3) การถอดเท ปการสัมภาษณ์รวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมายคือผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (Key Information) เพื่อจะได้นำมาวิเคราะห์เชิงพรรณนาตอ่ ไป 5. การวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์และการสังเกตมา พิจารณาตรวจสอบความสมบูรณ์และความถูกต้องของข้อมูล แล้วจึงนำมาสรุปข้อมูล แยกข้อมูล ไว้เป็นหมวดหมู่ ตามลักษณะของข้อมูลและประเด็นในการศึกษาข้อมูลมาวิเคราะห์เน้ือหา (Content Analysis) ตีความหมายอธิบายตามลักษณะของความสัมพันธ์เชื่อมโยงในประเด็น ต่างๆในภาพรวมผ่านการวิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้ หลักความเป็ นเหตุ เป็ นผลอาศั ยการตีความ (Interpretation) จากเนื้อหาข้อมูลในเอกสารและการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) รวมทั้งตรวจสอบข้อมูลเชิงคุณภาพ เพื่อทำให้ทราบและเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาและการตีความ แนวคดิ เร่อื งสิกขาบท 150 ขอ้ ในสมณวรรค ตกิ นิบาต อังคตุ ตรนกิ ายได้อย่างถูกต้อง 6. การสรปุ อภิปรายผลการวิจัยและขอ้ เสนอแนะ การสรปุ ผลการวิจัย ผู้วจิ ัยได้ทำ การนำข้อมูลที่วิเคราะห์จากการศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและจากบทสนทนาท่ีได้จากการ สัมภาษณ์มาสรุปและเรียบเรียงเพ่ือให้ทราบถึงมุมมองจากนักวิชาการด้านพระพุทธศาสนา แลว้ นำมาอภิปรายตามกระบวนการทำวจิ ยั ต่อไป ผลการวิจยั การวิจัยเร่ือง“สิกขาบท 150 ข้อ ในสมณวรรค ติกนิบาต อังคุตตรนิกาย : ศึกษา วิเคราะหแ์ ละตีความ”น้ีหลงั จากศึกษาค้นควา้ แล้วผู้วิจยั สามารถสรุปผลการวจิ ยั ดังน้ี 1. แนวคิดเรือ่ งสิกขาบทตามหลกั พระพุทธศาสนา สิกขาบท คอื ข้อปฏิบตั ิแต่ละข้อ ท่ีพระภิกษุต้องศึกษาและปฏิบัติตามโดยเคร่งครัด (สมเด็จพระมหาสมณะเจ้า กรมพระยา วชิรญาณวโรรส,2552) สกิ ขาบทในพระพทุ ธศาสนาเป็นพระพุทธบญั ญัติคือประมวลสิกขาบท ข้อกำหนดทางพระวินัย เกิดข้ึนจากการท่ีมีภิกษุภิกษุณีประพฤติไม่ถูกต้อง ไม่เหมาะสมหรือ ประพฤติเสียหายขึ้น จนชาวบ้านพากันตำหนิ ติเตียน โพนทะนา เม่ือพระพุทธองค์ทรง รบั ทราบแล้วให้ประชุมสงฆ์ ไต่สวนได้ความจริง จงึ ทรงมพี ระพุทธบญั ญัตเิ ปน็ ข้อห้ามไว้ โดยมี ความเป็นมาของการบัญญัติสิกขาบทโดยเร่ิมตั้งแต่พระพุทธเจ้าตรัสรู้ เสด็จไปโปรดปัญจ วัคคีย์ ยสกุลบุตรพรอ้ มสหายชฎิลสามพ่ีน้องพร้อมบริวาร โปรดพระเจ้าพิมพิสารพร้อมทั้งข้า

วารสาร มจร อุบลปรทิ รรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 27 ราชบริพาร แล้วไดพ้ ระสารีบตุ รพระโมคคัลลานะเปน็ พระอัครสาวก นับเป็นระยะเวลาทย่ี ังไม่ มภี ิกษุประพฤตเิ สียหาย ไมม่ ีผูท้ ำผิดก่ออธิกรณ์ข้นึ ในสงั คมสงฆ์ เพราะพระภิกษุเหลา่ น้ัน ลว้ น แล้วแต่เป็นพระอริยบุคคลอย่างขั้นต่ำสุดก็เป็นพระโสดาบันทั้งสิ้น กุลบุตรผู้เข้ามาบวชเป็น พระภิกษุยังมีจำนวนไม่มากนักและส่วนใหญ่เม่ือได้ฟังพระธรรมเทศนาแล้วบรรลุธรรมเป็น พระอริยบุคคลจึงขอบวช ด้วยเหตุนี้พระพุทธองค์จึงยังไม่ทรงบัญญัติสิกขาบทสำหรับ ปกครองสงฆ์พระวินัยน้ัน พระพุทธองค์ไม่ได้ทรงบัญญัติไว้ล่วงหน้า ต่อเม่ือเกิดความเสียหาย ข้ึนจึงทรงบัญญัติสิกขาบทห้ามประพฤติเช่นน้ันอีก ดังจะเห็นได้ว่าในตอนต้นพุทธกาล พระพุทธเจ้ายังไม่ได้ทรงบัญญัติ สิกขาบทไว้ เพราะภิกษุสงฆ์ล้วนมีวัตรปฏิบัติดีงาม คือ ระเบียบปฏิบัติตามแบบอย่างที่พระพุทธเจ้าทรงประพฤติปฏบิ ัติ ในพรรษาที่ 20 พระเจ้าทรง เร่ิมบัญญัติสิกขาบทนับเป็นคร้ังแรกและทรงบัญญัติเร่ือยมาทุกคร้ังท่ีเกิดเหตุการณ์ไม่ดีงาม ขน้ึ ในหมคู่ ณะสงฆ”์ (มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั , 2539) 2. การสวดพระปาฏิโมกข์ของคณะสงฆ์ไทยนับว่าเป็นสังฆกรรมของคณะสงฆฝ่ายเถร วาทในสังคมไทยท่ีสืบทอดกันมาอย่างยาวนานการสวดพระปาฏิโมกขเป็นอุโบสถสังฆกรรมที่ภิกษุ สงฆฝ่ายเถรวาททั่วโลกมีความเห็นโดยพรอมเพรียงกันด้วยความสามัคคีและผ่านการตรวจสอบ จากมติสงฆรวมทั้งการทำสังคยานาโดยความเห็นชอบแลวหลายคร้ังและเป็นปฏิปทาของครูบา อาจารยผู้เคารพรักธรรมวินัยมาต้ังแต่โบราณและเป็นอริยประเพณีจากสมัยพุทธกาลจนถึงปจจุ บัน การสวดพระปาฏิโมกขของพระภิกษุสงฆในปจจุบันตามพระวินัยกำหนดไววาพระภิกษุ จะตองทำอุโบสถทุกก่ึงเดือน( ข้ึน-แรม 14 ค่ำ หรอื ขึ้น-แรม 14 ค่ำ) (มหาวิทยาลัยมหาจุฬา ลงกรณราชวิทยาลัย,2539) เพ่ือฟงพระปาฏิโมกขซ่ึงพระพุทธเจ้าทรงกำหนดใหทำเฉพาะในวัน พระจั น ทรเพ็ ญ แล ะวั น พระจั น ทร ดั บ การสวดพ ระป าฏิ โมกข์ ของคณ ะสงฆ์ ไทยน้ั น ท ำ ให้ พุทธศาสนิกชนเกิดศรัทธาคือการมีความเล่ือมใสในการประพฤติปฏิบัติของพระสงฆ์และ ปฏบิ ัติตาม การสวดพระปาฏิโมกข์ของคณะสงฆ์ไทยมีความสอดคล้องกับบัญญัติปาฏิโมกข์แก่ สาวกท่ีพระพุทธเจ้าทรงบัญญัติ กล่าวคือมีการสวดพระพระปาฏิโมกข์ครบตามจำนวนของ สิกขาบทจำนวน 227 ข้อ (สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช,2540) โดยท่ีสิกขาบท แต่ละข้อนั้นไม่ได้บัญญัติไว้เป็นบทตายตัวบางครั้งพระพุทธเจ้าทรงคล้อยตามฝ่ายบ้านเมือง และเมื่อเห็นว่าสิ่งน้ันไม่ขัดต่อธรรม บางคร้ังก็ยืดหยุ่นไม่ปรับโทษเพราะทรงเห็นว่าไม่ เหมาะสมกับท้องถ่ินจึงอนุโลมให้พระสาวกทำได้เรียกว่าเป็นอนุญาตพิเศษ เช่น ในคราวเกิด

28 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) ทุพภิกขภัยเป็นต้นบางครั้งทรงเห็นว่ายังมีข้อบกพร่องพระองค์ก็ทรงบัญญัติเพิ่มเติมอีก เรียกวา่ อนุบัญญัติในการบัญญัติสิกขาบทแต่ละครงั้ พระพุทธเจ้าจะรบั สง่ั ให้มีการประชุมสงฆ์ สอบถามหาสาเหตุเม่ือภิกษุรับว่าได้ทำจริงท้ังพระพุทธเจ้าก็พิจารณาเห็นว่าไม่ขัดต่อสังคม และธรรมะพระพุทธเจ้าจึงได้บัญญัติไว้ พระพุทธเจ้าประกอบด้วยพระปัญญาและเจตนาดี เป็นท่ีตั้งทรงมองเห็นความสัมพันธ์ระหว่างพระวินัยกับธรรมว่าต้องสอดคล้องเก่ียวเน่ืองกัน (สมเดจ็ พระญาณสงั วร สมเดจ็ พระสงั ฆราช,2541) โดยที่ประโยชน์ท่ีเกิดจากการสวดพระปาฏิโมกข์น้ันมี 2 ระดับคือ ระดับปัจเจก บุคคลหมายเอาประโยชน์ท่ีเกิดกับบุคคลแต่ละบุคคล เป็นการฝึกทางกายและวาจาเมื่อ พระสงฆ์ปฏิบัติตามพระวินัยโดยเคร่งครัดย่อมเป็นผู้มีศีลบริสุทธ์ิดำเนินชีวิต ไม่เป็นไปเพื่อ เบียดเบยี นไม่ทำลายชีวติ ใคร หากแต่มงุ่ ดำเนินชีวิตเพ่ือความหลุดพน้ จากทุกขม์ ีความเพียรใน อาจาระและโคจรเป็นการสร้างหิริ คือ ความละอายต่อบาปกรรมท่ีตนกระทำโอตัปปะคือ ความเกรงกลัวต่อบาปกรรมท่ีตนกระทำด้วยกายวาจาและใจการสวดพระปาฏิโมกข์ที่ได้รับ ในทางสังคม คือ การสร้างเคร่ืองมือในการจัดระเบียบสังคมสงฆ์ให้พระภิกษุอยู่ร่วมกันด้วย ความสามัคคีในกลุ่มพุทธบริษัทและระดับสังคม(มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2539)การปฏิบัติตามหลักสิกขาบทเป็นการปกครองคณะสงฆ์ให้เป็นสังคมตัวอย่างที่ ดีแก่ ประชาชนในด้านการดำเนินชีวิตที่เรียบง่ายไม่ฟุ่มเฟือยฉันน้อย นอนน้อย แต่ทำงานเพ่ือ สังคมมาก (พระธรรมปิฎก(ป.อ.ปยุตฺโต,2542) ในขณะเดียวกันก็เป็นการจัดระเบียบสังคม สงฆ์ให้สอดคล้องสัมพันธ์กับกฎของธรรมชาติและสภาพแวดล้อมดังน้ันการท่ีพระสงฆ์ปฏิบัติ ตามพระวินัยและปฏิบัติตนให้บรรลุคุณธรรมจึงได้ประโยชน์ท้ังสองทางเม่ือพระสงฆ์ปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบตามพระธรรมวินัยแล้วย่อมทำให้สังคมน้ันๆอยู่อย่างสงบไม่เดือดร้อน (พระธรรม ปฎิ ก(ป.อ.ปยุตฺโต,2545) 3. สำหรับคัมภีร์อังคุตตรนิกาย เป็นคัมภีร์คัมภีร์ท่ีได้จัดลำดับธรรมะไวเ้ ป็นหมวดๆ ตามลำดับตัวเลขหรอื ชุมนุมพระสูตรที่เพ่ิมจำนวนขึ้นทีละหน่วยตามลำดบั เช่น หมวดธรรมะ ข้อเดียวเรยี กว่า เอกนิบาต หมวดธรรมะ 2 ข้อเรียกวา่ ทุกนิบาต หมวดธรรมะ 3 ข้อ เรียกว่า ติกนบิ าตร เปน็ ต้น จนถงึ หมวดธรรมะ 10 ข้อ เรยี กวา่ ทสกนิบาต หากมีหมวดธรรมะเกนิ 10 ข้อ เรียกว่า อติเรก ทสกนิบาต ในหมวดน้ีมีพระสูตรรวมท้ังส้ิน 9,557 สูตร (พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต,2542) สำหรับการวิเคราะห์และตีความสิกขาบท 150 ในสมณวรรค ติกนิบาตร อังคุตตรนิกาย ปัญหาการตีความเรือ่ งสิกขาบทจำนวน 150 ข้อนั้นเกดิ จากการศึกษา ค้นคว้า

วารสาร มจร อุบลปรทิ รรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 29 และตีความของพระภิกษุสงฆ์ 2 ฝ่ายโดยฝ่ายหน่ึงได้ศึกษา ค้นคว้าและตีความจาก พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทยท่ีแปลมาจากพระไตรปิฎกฉบับภาษาบาลี ไม่มีการสอบทานหรือ การตรวจสอบจากพระไตรปิฎกฉบับบาลีโดยตรงและไม่ยอมรับคัมภีร์ระดับอรรถกถา ทั้งท่ี คัมภีร์อรรถกถากับพระไตรปิฎกต่างเป็นคู่มือประกอบการศึกษาค้นคว้าที่มีสภาพเอื้อต่อกัน และกันในการศึกษาค้นคว้าหลักคำสอนในพระพุทธศาสนาปัญหาการตีความเร่ืองสิกขาบท จำนวน 150 ข้อดังกล่าวมีสาเหตุสำคัญประการหน่ึงคือการแปลและวิเคราะห์บทบาลีคือ “สาธิกมิทํ ทิยฑฺฒสิกฺขาปทสตํ”ที่ต่างกันกล่าวคือฝ่ายหนึ่งมีความเชื่อว่าสิกขาบทมีจำนวน เพียงแค่ 150 ข้อ โดยถือเฉพาะท่ีระบุตัวเลขเท่านั้นคือยึดถือถ้อยคำ“ทิยฑฺฒสิกฺขาปทสตํ (สิกขาบท 150) โดยละเลยพระบาลีที่ระบุ “สาธิกํ” (พร้อมกับสิกขาบทที่เกิน) ส่วนอีกฝ่าย หน่ึงมีความเช่ือว่าสิกขาบทมจี ำนวนมากกว่า 150 ข้อ พร้อมกบั สกิ ขาบทอีกกลุ่มหนึง่ เกินจาก 150 บทว่า สาธกิ มิทํ ตามหลักไวยากรณ์บาลี ตัดบทสนธิ เป็น สาธกิ ํ+อิทํ สาธิกํ มาจาก สห (แปลว่า พร้อม, กับ)+อธิก (แปลว่าเกิน) แปลง สห เป็น ส ลบสระหน้า ทีฆะสระหลัง เป็น คุณศพั ท์ขยาย สิกฺขาปทสตํ บทว่า สาธิกํ น้ีหมายถึงสกิ ขาบทอื่นๆในที่นหี้ มายเอาสกิ ขาบทใน กลุ่มอนิยต 2 เสขยิ วัตร 75 และอภิสมาจารสิกขาบทอีกเป็นจำนวนมาก) ทั้งหมดน้ี ภิกษุต้อง นำมาทบทวนบอกกล่าว คือ การแสดงพระปาติโมกข์ตามหลักพระพุทธศาสนา (พระพรหม คุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต),2543) สำหรับปัญหาความขัดแย้งเรื่องการนับจำนวนสิกขาบท 150 ข้อดังกล่าวทำให้สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติประกาศมติมหาเถรสมาคมและต่อมาวันที่ 4 ธันวาคม 2557 ประกาศโดยพระราชกิจจานุเบกษาประกาศพระราชกิจจานุเบกษาเล่มท่ี 131 ตอนที่ 130 ง ลงวันที่ 4 ธันวาคม 2557 อ้างประกาศมติมหาเถรสมาคมอาศัยอำนาจตามมาตรา 15 ตรี (4) แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ.2505 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2535 ท่ีกำหนดให้มหาเถรสมาคม มีอำนาจหน้าท่ีรักษาหลักพระธรรมวินัยของ พระพุทธศาสนาจึงให้คณะสงฆ์ไทยถือปฏิบัติตามพระวินัยปิฎกด้วยการสวดพระปาติโมกข 227 สกิ ขาบท องค์ความรทู้ ่ไี ด้จากการศึกษา สิกขาบท 150 ข้อ ในสมณวรรค ติกนิบาต อังคุตตรนิกายเป็นองค์ความรู้เก่ียวกับ การบัญญัติ การรักษาและการส่งต่อพระธรรมวินัยในพระพุทธศาสนาเป็นระยะๆตลอด ระยะเวลา 45 พรรษาในการทำหน้าที่ประกาศพระพุทธศาสนาของพระพุทธเจ้าและเหล่าพระ

30 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) อริยสงฆส์ าวก จนกระท่งั วาระสดุ ท้ายแห่งพระพุทธเจ้าพระพุทธองค์ทรง“ย้ำ”ว่าพระธรรมวินัย คอื ตวั แทนของพระพทุ ธองค์ ดงั น้ัน การรักษาและการส่งต่อหลักพระวนิ ัยให้ครบถ้วนตามหลัก พระพุทธศาสนาจึงเป็นพันธกิจและหน้าท่ีสำคัญของพระภิกษุสงฆ์โดยตรง เพราะพระวินัย ท้ังหมดล้วนเป็น“เครื่องมือ”ท่ีส่งเสริมให้พระภิกษุสงฆ์ในพระพุทธศาสนามีรูปแบบของความ ประพฤติและปฏิบัติอย่างเป็นแบบแผนอันหน่ึงอันเดียวกันเกิดทำให้เกิดความสง่างามต่อ สาธารณชนทั่วไป การสวดพระปาฏิโมกข์ 227 ข้อ ล้วนเป็นคำพูดจากพระพุทธเจ้าโดยตรง เรียกว่า“พุทธวจนะ”มีต้นบัญญัติในมหาวรรคทุกข้อ ซึ่งเป็นสังฆกรรมของคณะสงฆ์ฝ่ายเถร วาทท่ีสืบทอดกันมาช้านาน การสวดพระปาฏิโมกข์ 227 ข้อเป็นหน้าที่และกิจของสงฆ์ ประเภทหนึ่งโดยเรียกว่า“อุโบสถสังฆกรรม”ท่ีพระภิกษุสงฆ์ฝ่ายเถรวาทท่ัวโลกมีความเห็นโดย พร้อมเพรียงกันด้วยความสามัคคีและผ่านการตรวจสอบจากมติสงฆ์ รวมทั้งการทำสังคยานาโดย ความเห็นชอบแล้วหลายครั้ง และเป็นปฏิปทาตลอดจนเป็นประเพณีท่ีมีการเร่ิมต้นต้ังแต่สมัย พทุ ธกาลจนตราบจนทุกวนั นี้ การสวดพระปาฏโิ มกขจ์ ำนวน 227 ขอ้ จึงเปน็ การอนรุ กั ษ์และธำรง ไวซ้ งึ่ หลักพระวนิ ยั อนั จะทำให้พระพุทธศาสนามีความมั่นคงต่อไป เอกสารอา้ งองิ พระธรรมกติ ติวงศ์ (ทองดี สรุ เตโช), (2544) . คำวดั 1, พมิ พค์ รัง้ ท่ี 2, กรุงเทพฯ: สำนกั พมิ พ์ เลย่ี งเชียง. พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยตุ ฺโต), (2542).วินัยเร่ืองทใ่ี หญก่ วา่ ที่คดิ . กรงุ เทพฯ :โรงพมิ พ์ มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั . _______.(2542) .นติ ิศาสตรแ์ นวพทุ ธ. พมิ พค์ รั้งท่ี 4. กรงุ เทพฯ : สำนักพมิ พ์มูลนธิ พิ ทุ ธธรรม. ______.(2543). รจู้ ักพระไตรปฎิ กเพอ่ื เป็นชาวพทุ ธท่ีแท้. พิมพ์คร้งั ท2่ี . กรงุ เทพฯ :โรงพิมพ์ เอดิสัน เพรสโพรดกั ส์. ______.(2545). จัดระเบยี บสังคมตามคตนิ ิยมแห่งสังฆะ. พิมพ์ครง้ั ท1่ี 0. กรงุ เทพฯ : มูลนิธิ พทุ ธธรรม. พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป.อ.ปยุตโฺ ต).(2543). รู้จกั พระไตรปฎิ กให้ชัดใหต้ รง (กรณีพระคกึ ฤทธ์)ิ . กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์เจริญดีมน่ั คงการพิมพ์.

วารสาร มจร อุบลปรทิ รรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 31 มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย. (2539).พระไตรปฎิ กภาษาไทยฉบบั มหาจุฬาลงกรณราช วทิ ยาลัย. กรุงเทพฯ :โรงพมิ พ์มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั . มหาวิทยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลยั . (2536).พระวนิ ัยปฎิ ก.กรุงเทพฯ : มหามกุฏราชวิทยาลยั . สมเด็จพระมหาสมณะเจ้า กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส.(2552). วินัยมขุ เลม่ 1, พิมพ์ คร้ังท่ี 40. กรงุ เทพฯ : มหาวิทยาลยั มหามกฎุ ราชวิทยาลยั . สมเด็จพระญาณสงั วร สมเดจ็ พระสงั ฆราช. (2541). ศีลในพระพุทธศาสนา. กรงุ เทพฯ : มหามกุฏราชวิทยาลยั . ______. (2540). หลกั พระพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ : มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลัย. แสวง อุดมศรี.(2543). การปกครองคณะสงฆไ์ ทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั .

32 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020)

รปู แบบการจัดการสง่ิ แวดล้อมเชงิ พทุ ธบรู ณาการ ในเขตอตุ สาหกรรมสุรนารี จังหวดั นครราชสมี า Model of the Integrative Buddhist Environmental Management in Suranaree Industrial Zone, Nakhon Ratchasima Province 1ไชยวัตร์ ศิรศิ กั ธ์ิดา, 2พระมหาสพุ ร รกฺขติ ธมฺโม 3สิรภพ สวนดง 1Chaiwat Sirisakda,2Phramaha Suporn Rakkhittadhammo and 3Siraphob Suandong มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย, ประเทศไทย Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Thailand. [email protected], Received May 10, 2020; Revised July 12, 2020; Accepted August 25, 2020 บทคัดยอ่ ปัญหาเร่ืองส่ิงแวดล้อมในเขตอุตสาหกรรมสรุ นารี จังหวัดนครราชสมี า โดยพ้ืนฐาน เข่ือนลำเพลิงมีการใช้น้ำปริมาณมาก ส่งผลทำให้น้ำในเขื่อนขาดแคลนลงไปได้ ส่งผลกระทบ ต่อโรงงานอุตสาหกรรมในบางช่วงท่ีน้ำขาดแคลนก็จำเป็นต้องมีน้ำสำรอง คือ ระบบน้ำ บาดาลแทน และน้ำเสียจากโรงงานทุกโรงงานได้บำบัดน้ำและปล่อยลงมาตามท่อระบายน้ำ ลงสู่พ้ืนท่ีการเกษตร จึงไมกอใหเกิดน้ำเสียคางเปนเวลานาน น้ำเสียจึงเกิดนอยมาก จุดที่น้ำ เสีย คือ น้ำเนา่ บริเวณที่น้ำไหลไม่สะดวก ขงั อยูเปนเวลานาน ทําใหเกิดนำ้ เสียท่ียังแกไขไมได สวนใหญ่เป็นน้ำเสียชุมชน ท่ีมีแหลงกําเนิดจากกิจกรรมในครัวเรือนและสถานประกอบการ เชน น้ำท้ิงจากการอุปโภค บริโภค การซักลาง การทําครัว เปนต้น ส่งผลกระทบต่อการ ดำเนินชีวติ ประจำวนั เน่ืองจากสภาพแวดล้อมเสื่อมโทรม การเกิดมลพิษทางส่ิงแวดล้อม การ

34 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) ดำเนินชีวิตประจำวันจากท่ีเคยสุขสบายก็อาจจะเกิดเป็นทุกข์เกิดเหตุเดือดร้อนรำคาญ เกิด โรคภัยไข้เจ็บ ดังเช่น น้ำ อาหารที่ด่ืมกินถ้าสกปรกก็จะเกิดเป็นโรคอุจาระร่วงไทฟอยด์ หรือ โรคท่ีเปน็ พษิ ทางสารเคมี เสนอรูปแบบการจัดการสิ่งแวดล้อมเชิงพุทธบูรณาการในเขตอุตสาหกรรมสุรนารี จงั หวดั นครราชสีมา การออกแบบกจิ กรรม รูปแบบกิจกรรมสำคัญ ได้แก่ กจิ กรรมการพัฒนา ฐานข้อมูล โดยสำรวจภาคสนามของเสน้ ทางน้ำ แหล่งน้ำ และนำข้อมูลของภาคส่วนตา่ งๆ ท่ี เกี่ยวข้องมาประกอบ พร้อมกับให้ชาวบ้านได้วิเคราะห์ สังเคราะห์การใช้ประโยชน์ และการ เปล่ียนแปลงของแหล่งน้ำ รูปแบบกิจกรรมให้ชาวบ้านร่วมกันวิเคราะห์ภาพอนาคตท่ีชุมชน อยากให้เป็นโดยเช่ือมโยงกับ“ภาพอนาคต”เพ่ือให้ร่วมกันออกแบบภูมิสถาปัตย์ของชุมชนที่ ตอ้ งการ ใหช้ าวบา้ นร่วมกำหนดแนวทางการจัดการน้ำท่ีสอดคล้องระบบนเิ วศของชมุ ชน โดย อาศัยกลไกการมสี ่วนรว่ มของทกุ ฝา่ ย โดยเฉพาะประชาชนในลมุ่ นำ้ ผมู้ ีสว่ นไดเ้ สียดว้ ย คำสำคัญ: การจดั การสง่ิ แวดลอ้ มเชิงพุทธ, บูรณาการ, เขตอตุ สาหกรรม Abstract Environmental issues in Suranaree Industrial Zone in Nakhon Ratchasima Province were basically the overuse of the water in Lam Phloeng Dam. This sometimes caused the shortage of water in the dam and in turn affected the industrial plants. In the periods of lacking water, it was necessary to reserve water such as underground water systems and the wastewater from every plant was treated and released through drainage tubes into agricultural areas. The wastewater was, thus, not kept in a long period. However, the polluted wastewater was in the areas that the wastewater could not smoothly flow but stuck in a long period. The polluted wastewater was generally from households and local shops in the industrial zone such as washing, cooking, consumption etc. This affected the daily life of the people because of the deteriorating environment with pollution. This polluted environment made the people feel distressed and fell into various illnesses such as typhoid caused by polluted water and other symptoms caused by chemical poisoning.

วารสาร มจร อบุ ลปรทิ รรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 35 This article, thus, proposed an integrated Buddhist environmental management model in the Suranaree Industrial Zone in Nakhon Ratchasima Province. The design and model of the activities included database development by: surveying water routes and water sources; gathering information from related sectors; and organizing villagers’ participation in analyzing the data; and synthesizing the use and change of water sources. The villagers together analyzed the future model i.e. the links between “the future image” and their desired architectural landscape of the community through participatory mechanism of all sectors specially the people as the stakeholders. Keywords: Buddhist Enviromental Management, Integration, Industrial Zone บทนำ ปัจจุบันปัญหาของส่ิงแวดล้อมมีผลกระทบต่อความเป็นอยู่ต่อมนุษย์เราเป็นอย่าง มากและมักจะก่อให้เกิดปัญหากับมนุษย์อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ปัญหาส่ิงแวดล้อมซึ่งใกล้ชิด ความเป็นอยู่ของประชาชนเช่นน้ำเสียมลภาวะทางอากาศ เป็นต้น (กรมส่งเสริมคุณภาพ ส่ิงแวดล้อมกระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม, 2537 : 9) ย่อมส่งผลกระทบ ต่อคุณภาพต่อชีวิตของประชาชนผลกระทบท่ีเกิดข้ึน จนทำให้เกิดการเส่ือมโทรมลงอย่าง รวดเร็วก่อให้เกิดปัญหาส่ิงแวดล้อมตามมาอย่างมากมาย สร้างความเสียหายรุนแรงและเสีย ค่าใช้จ่ายในการปรับปรุงแก้ไขอย่างมหาศาลบางคร้ังอาจใช้ระยะเวลายาวนานมาก (สำนัก นโยบายและแผนพัฒนาสิ่งแวดล้อม, 2554 :123) ความเสื่อมโทรมของธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมถูกมองว่ามีสาเหตุที่เกี่ยวข้องกับสังคมมากข้ึน เช่น ความสัมพันธ์ทางอำนาจที่ไม่ เท่าเทียมกันของกลุ่มชนช้ันทางสังคม ในการเข้าถึงความสัมพันธ์ทางการผลิตของคนกลุ่ม ตา่ งในสังคมเปน็ ปฐมเหตขุ องปญั หาสิ่งแวดลอ้ ม (ชูศกั ดิ์ วิทยาภคั ,2543:166) น้ำถือว่าเป็นสิ่งแวดล้อมที่มีความสำคัญต่อพืชและสัตว์ที่จะดำรงชีวิตอยู่ได้ น้ำถือ ว่า เปนธรรมชาติที่มีประโยชนในการอุปโภคบริโภค การเกษตรกรรม การคมนาคมขนสง และเปนแหลงอาหารเสรมิ ทีส่ ําคญั อาจจะกลาวไดวาสรรพสิ่งองิ อาศัยนำ้ เปนแหลงกาํ เนดิ แม แตรางกายของเราเอง มนุษย์มีความสมั พนั ธ์กบั สิง่ แวดล้อมอย่างใกล้ชิด เพราะมนุษย์มกี ำเนิด อยู่ภายใต้สิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อมจึงมีความสำคัญและความจำเป็นในการดำรงชีวิตของ

36 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) มนุษย์และสิ่งมีชีวิต ทุกชนิด ถ้าสิ่งแวดล้อมดีก็ส่งผลให้มนุษย์มีความเป็นอยู่สบายไม่ เดือดร้อน จิตใจแจ่มใส หากส่ิงแวดล้อมเป็นพิษย่อมส่งผลกระทบต่อมนุษย์และสิ่งมีชีวิตทุก ชนิด ท้ังทางตรงและทางอ้อม การอยู่ในส่ิงแวดล้อมที่เหมาะสมจะช่วยพัฒนาชีวิตให้มีธรรม เม่ือมนุษย์มีธรรม ส่ิงแวดล้อมก็จะพัฒนาตาม แต่ถ้ามนุษย์อยู่อย่างไม่มีธรรมก็จะรักษา สิ่งแวดล้อมนั้นไม่ได้และจะทำลายส่งิ แวดลอ้ ม ถ้าเราจดั การกับส่งิ แวดล้อมไม่ถูกต้องสัตว์โลก รวม ท้ังมนุษย์จะอยู่ไม่ได้ (พระพรหมบัณฑิต(ประยูร ธมมจิตโต), 2538 :20) วิถีชีวิตของคน ไทยมีความผูกพันกับน้ำมาต้ังแตอดีตจนถึงปจจุบัน จนอาจกลาวไดวา“น้ำเปนแหลงกําเนิด ขอ งวัฒ น ธ รรม ไท ย ”(ค ณ ะอ นุ ก รรม การส งเส ริม แ ล ะพั ฒ น าเอ ก ลั ก ษ ณ ท างธ รรม ช าติ , 2538:23) นโยบายภาครัฐตามยุทธศาสตร์การบริหารจัดการน้ำ (2558-2569 ขณะน้ีอยู่ ระหว่างการปรับปรุงและพัฒนาเป็นแผนแม่บทการบริหารจัดการน้ำ 20 ปี (2561- 2580) เพอ่ื ให้สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปภี ายใต้แผนแมบ่ ทการบรหิ ารจดั การน้ำ 20 ปี จะประกอบด้วยแผนแม่บท 6 ด้าน ตามเป้าประสงค์ดังนี้ 1) การจัดการน้ำอุปโภค บริโภค ประชาชนท้ังในเมืองและชนบท มีน้ำอุปโภคและน้ำดื่มเพียงพอได้มาตรฐานสากล พร้อมจัดหาแหล่งน้ำสำรองอย่างเพียงพอ ในราคาที่เหมาะสม 2) การสร้างความม่ันคงด้าน นำ้ สำหรบั ภาคการผลติ สามารถจดั หาน้ำเพ่ือการผลิตทัง้ ภาคเกษตรและอุตสาหกรรมไดอ้ ย่าง สมดุลกักน้ำของแหล่งน้ำทุกประเภท และการจัดหาแหล่งน้ำให้กับพื้นที่เกษตรน้ำฝน และ พื้นท่ีเศรษฐกิจและพ้ืนท่ีอุตสาหกรรมด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ 3)การจัดการน้ำท่วมและ อุทกภัย มีระบบป้องกันน้ำท่วมและอุทกภัยที่มีประสิทธิภาพ ท้ังโครงสร้างและการบริหาร จัดการ มีผังการระบายน้ำทุกระดับ การบริหารพนื้ ท่นี ้ำท่วมและพ้นื ท่ชี ะลอนำ้ 4) การจดั การ คุณภาพน้ำ และอนุรักษ์น้ำ โดยการฟ้ืนฟูแม่น้ำลำคลองและแหล่งน้ำธรรมชาติทั่วประเทศให้ มคี ุณภาพตามมาตรฐาน มกี ารจัดการให้ชุมชนขนาดใหญ่ มีระบบบำบัดนำ้ เสียก่อนปล่อยลงสู่ ส่ิงแวดล้อม 5) การอนุรักษ์ฟื้นฟูสภาพป่าต้นน้ำที่เสื่อมโทรม และป้องกันการพังทลายของ ดนิ ป่าตน้ น้ำได้รับการฟน้ื ฟู สามารถชะลอการไหลบา่ ของน้ำ มีการอนุรกั ษ์ดินและน้ำในพื้นท่ี ลาดชัน 6)การบริหารจัดการ มีระบบบริหารจัดการน้ำที่มีธรรมาภิบาล ทันสมัย มีกฎหมาย ระเบียบ เกณฑ์ที่เก่ียวข้องกับน้ำ มีโครงสร้างองค์กรที่เหมาะสมในการบริหารจัดการน้ำทุก ระดับ (เปดิ แนวทางจดั การน้ำไทย ภายใตบ้ ริบท‘วนั น้ำโลก’ 22 มนี าคม 2561)

วารสาร มจร อุบลปรทิ รรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 37 ดังน้ัน ผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษารูปแบบการจัดการส่ิงแวดล้อมเกี่ยวกับน้ำ เชิงพุทธบูรณาการในเขตอุตสาหกรรมสุรนารีจังหวัดนครราชสีมา เพ่ือจะได้เป็นข้อมูลและ นำเสนอรูปแบบการจัดการส่ิงแวดล้อมเชิงพุทธบูรณาการในเขตอุตสาหกร รมสุรนารีจังหวัด นครราชสีมา ใหไ้ ดร้ ับการแกไ้ ขปัญหาตามหลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนาไดอ้ ย่างเป็นรปู ธรรม และเหมาะสมตอ่ ปัญหาสิ่งแวดลอ้ มเก่ียวกับน้ำตอ่ ไป วตั ถปุ ระสงค์การวิจัย 1. เพื่อศึกษาปัญหาเรื่องส่ิงแวดล้อมในเขตอุตสาหกรรมสุรนารี จังหวัด นครราชสมี า 2. เพื่อศึกษาการจัดการส่ิงแวดล้อมในเขตอุตสาหกรรมสุรนารี จังหวัด นครราชสมี า 3. เพ่ือเสนอรูปแบบการจัดการส่ิงแวดลอ้ มเชงิ พุทธบูรณาการในเขตอุตสาหกรรม สรุ นารี จังหวดั นครราชสีมา วธิ ดี ำเนินการวจิ ยั การวิจัยเร่ืองรูปแบบการจัดการส่ิงแวดล้อมเชิงพุทธบูรณาการในเขตอุตสาหกรรม สรุ นารีจงั หวดั นครราชสีมาไดก้ ำหนดวธิ ีการดำเนนิ การวจิ ยั ไว้ ดังน้ี 1.ขอบเขตด้านประชากรและกลุ่มเปา้ หมาย ผวู้ จิ ัย ไดก้ ำหนดประชากร และผใู้ ห้ข้อมูลหลักตามข้ันตอนการวิจยั ดงั นี้ ขั้นตอนที่ 1 ศึกษากลุ่มประชากรท่ีใช้ในการวิจัย ได้แก่ หัวหน้ากลุ่มโรงงาน องคก์ ารบริหารสว่ นตำบล ผู้นำชมุ ชนและชาวบ้าน โดยแบบสัมภาษณ์จำนวน 40 คน ข้ันตอนท่ี 2 สนทนากลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญเก่ียวกับรูปแบบ การจัดการส่ิงแวดล้อมเชิงพุทธบูรณาการในเขตอุตสาหกรรมสุรนารีจังหวัดนครราชสีมา จำนวน 10 คน ด้วยการเลือกเจาะจง (Purposive Selection) เพื่อให้เกิดรูปแบบ เสนอ รู ป แ บ บ ก าร จั ด ก า ร สิ่ งแ ว ด ล้ อ ม เชิ งพุ ท ธ บู ร ณ า ก า ร ใน เข ต อุ ต ส า ห ก ร ร ม สุ ร น า รี จั ง ห วั ด นครราชสีมา

38 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) 2.ขอบเขตด้านเนื้อหา ศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับรูปแบบการจัดการสิ่งแวดล้อมเชิงพุทธ บูรณาการในเขตอุตสาหกรรมสุรนารีจังหวัดนครราชสีมา โดยมีขอบเขตด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ แนวคิดทฤษฎีเกยี่ วกบั การจดั การน้ำ แนวคิดเกย่ี วกบั น้ำ แนวคิดเกย่ี วกับการบรู ณาการ 3. การวิเคราะห์ขอ้ มลู การสรุป อภิปรายผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ การสรุปผลการวิจัย ผู้วิจัยได้ทำ การนำข้อมูลท่ีวิเคราะห์จากการศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและจากบทสนทนาท่ีได้จากการ สัมภาษณ์มาสรุปและเรียบเรียงเพื่อให้ทราบถึงมุมมองจากนักวิชาการด้านพระพุทธศาสนา แลว้ นำมาอภปิ รายตามกระบวนการทำวิจัยต่อไป ผลการวิจยั รูปแบบการจัดการสิ่งแวดล้อมเชิงพุทธบูรณาการในเขตอุตสาหกรรมสุรนารี จงั หวดั นครราชสมี า สรปุ ผลการวจิ ัยไดด้ ังนี้ 1. ปัญหาเรื่องส่ิงแวดล้อมในเขตอุตสาหกรรมสุรนารี จังหวัดนครราชสีมา โดย พ้ืนฐานเข่ือนลำเพลิงมีการใช้น้ำปริมาณมาก ส่งผลทำให้น้ำในเขื่อนขาดแคลนลงไปได้ ส่งผล กระทบต่อโรงงานอุตสาหกรรมในบางช่วงท่ีน้ำขาดแคลนก็จำเป็นต้องมีน้ำสำรอง คือ ระบบ น้ำบาดาลแทน และน้ำเสียจากโรงงานทุกโรงงานได้บำบัดน้ำและปล่อยลงมาตามท่อระบาย นำ้ ลงสู่พ้ืนที่การเกษตร จึงไมกอใหเกดิ น้ำเสีย คางเปนเวลานาน น้ำเสยี จึงเกดิ นอยมาก จุดท่ี นำ้ เสีย คือ น้ำเนาขังบริเวณที่น้ำไหลไมส่ ะดวก ขงั อยูเปนเวลานาน ทําใหเกดิ น้ำเสยี ทย่ี ังแกไข ไมได สวนใหญเปนน้ำเสียชุมชนที่มีแหลงกําเนิดจากกิจกรรมในครัวเรือน และสถาน ประกอบการ เชน น้ำทิ้งจากการอุปโภคบริโภค การซักลาง การทําครัว เปนตน จากการ สัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้นำสงฆ์ หัวหน้ากลุ่มโรงงาน องค์การบริหารส่วนตำบล ผู้นำชุมชนและ ชาวบ้านในเขตอตุ สาหกรรมสุรนารีจังหวัดนครราชสมี าพบว่าลกั ษณะปญั หาสิ่งแวดล้อมท่เี กิด ในชุมชน สภาพแวดล้อมท่ีเจอ คือ เรื่องขยะมูลฝอยท่ีส่งผลกระทบต่อน้ำบาดาลและฝุ่น ละออง กล่ินเหม็นจากโรงงานอุตสาหกรรม ทำให้ชุมชนได้รับผลกระทบและได้รับการแก้ไข แต่ยังไม่สามารถแก้ไขได้อย่างยั่งยืน โดยผลกระทบต่อการแก้ไขปัญหาส่ิงแวดล้อมเขต อุตสาหกรรมสุรนารีจังหวัดนครราชสีมา น้ันได้ขยายระยะเวลาในการแก้ไขยาวนาน ซ่ึง

วารสาร มจร อบุ ลปรทิ รรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 39 ปัญหาของส่ิงแวดล้อมส่งกระทบต่อเด็ก คนชรา และความเป็นอยู่ หากขาดผู้นำชุมชนชุดที่ ดำเนินการขับเคลื่อนศูนย์ประสานงานองค์กรชมุ ชนตำบลอาจไม่มีความ ต่อเนื่องซึง่ จำให้การ พัฒนาชุมชนหยุดชะงักไปด้วย การท่ีหน่วยงานภายนอกทั้งนี้หมายถึงภาครัฐเข้ามาแทรกแซง การทำงานของชุมชนมากเกินไป อาจทำให้การแก้ไขปัญหาไม่บรรลุผลได้ ท้ังนี้ เนื่องการ ควบคุมกำกับดูแลมากเกนิ ไปอาจทำให้ชุมชนเกิดความระแวง และไม่สามารถทำงานได้อย่าง เต็มท่ี การทำงานยังขาดการบันทึก สรุป อยา่ งเปน็ ระบบอาจทำให้การทำงานเกิดข้อผิดพลาด ได้ง่าย การบริหารจัดการชุมชนเป็นกลไกสำคัญที่จะทำให้การดำเนินงานของชุมชนบรรลุผล ชุมชนต้องมี การบริหารจัดการเพอ่ื การกระจายบทบาท ภาระหน้าท่ี ความรับผิดชอบในด้าน ตา่ งๆ ให้กับคนในชุมชน กำหนดกติกา ข้อบังคับสำหรบั การอยู่ร่วมกันของคนในชมุ ชน โดยมี เง่ือนไขบนพ้ืนฐานของวัฒนธรรมชุมชนหรือทุนท่ีมีอยู่ในสังคมดังจะเห็นได้ว่าการทำงานของ องค์กรชุมชน เป็นการรวมกลุ่ม ของประชาชนในชุมชน ความสำเร็จของชุมชนเป็นตัวชี้วัด หนงึ่ ที่สามารถอธิบายไดว้ ่าได้บรู ณาการหลักการบริหารเชงิ พุทธ ในการส่งเสรมิ การขบั เคลื่อน องค์กรชุมชนเพื่อการพฒั นาชุมชนได้ ท้ังนี้ หากพิจารณาความสำเร็จของโครงการจากตวั ชีว้ ัด ความสำเร็จของการทำงานในชุมชนจะพบว่า 1) ผู้นำชุมชนมีความรู้ความสามารถ 2) ประชาชนมีส่วนร่วมและมีการเรียนรู้ การทำงานร่วมกัน 3) การดำเนินกิจกรรม/โครงการ เป็นกิจกรรมของทุกคนในชุมชน 4) การดำเนินกิจกรรมมีความต่อเน่ือง 5) โครงการสามารถ แก้ไขปัญหาหรือตอบสนองความต้องการของคนในชุมชนได้อย่างทั่วถึง 6) มีการนำเงินทุน และทุนทางสังคมมาใช้อย่างคุ้มค่า 7) โครงการได้รับการยอมรับจากสมาชิกในองค์กรหรือ คนในชุมชน ผลกระทบต่อการดำเนินชวี ิตประจำวันเนื่องจากสภาพแวดลอ้ มเส่ือมโทรม การเกิด มลพิษทางส่ิงแวดล้อม การดำเนินชีวิตประจำวันจากท่ีเคยสุขสบายก็อาจจะเกิดเป็นทุกข์เกิด เหตุเดอื ดร้อนรำคาญ เกิดโรคภัยไข้เจ็บ ดังเช่น น้ำ อาหารท่ีดื่มกนิ ถ้าสกปรกกจ็ ะเกิดเป็นโรค อุจาระรว่ ง ไทฟอยด์ หรือโรคท่ีเปน็ พิษทางสารเคมี อากาศรอบๆ ตวั ถา้ เป็นพิษหายใจเขา้ ไปก็ เกิดเป็นโรคเก่ียวกับระบบหายใจ การถ่ายท้ิงของเสีย ถ้าไม่มีระบบเก็บกำจัดท่ีถูกต้องก็จะ เป็นที่น่ารังเกียจ ส่งกลิ่นเหม็นรบกวน เป็นแหล่งแพร่กระจายเชื้อโรค ในการประกอบอาชีพ ตา่ งๆสภาพแวดล้อมในการทำงานไม่เหมาะสมก็จะเกิดโรคท่ีเกี่ยวกับการประกอบอาชีพนั้นๆ ได้ ในยามพักผ่อนนอนหลับถ้ามีกลิ่นเหม็นรบกวนและมีเสียงดังรบกวนหรือที่เรียกว่ามลพิษ ทางเสียงทำให้การหลับนอนพักผ่อนได้ไม่เต็มท่ีก็เกิดอาการอ่อนเพลียเจ็บไข้ได้ง่ายและถ้ามี

40 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) ความเครียดอีกด้วยอาจทำใหเ้ กิดสขุ ภาพจติ ไม่ดี ผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ระบบนเิ วศในโลก มีมากมายหลายระบบอธิเช่น ระบบนิเวศน์ในทุ่งนา ระบบนิเวศน์ในทะเล ระบบนิเวศน์ใน สระน้ำ ระบบนิเวศน์ในป่า แต่เม่ือเกิดสภาพแวดล้อมเสื่อมโทรมลงระบบนิเวศน์เหล่านี้มัก เกิดการเปล่ียนแปลง ยกตัวอย่างเช่น ระบบนิเวศน์ในป่าถ้าเกิดระบบนิเวศน์เสียไปผลเสียท่ี จะตามมาคือป่าก็จะหมดสภาพ สัตว์ท่ีอาศัยอย่กู ็กระจัดกระจายจากการเป็นระบบไปสู่ความ ไม่มีระบบถา้ ยิง่ เป็นป่าตน้ นำ้ ลำธารถกู ทำลาย ระบบนิเวศน์สลายไป ผลกระทบตอ่ ปริมาณน้ำ ลดลงลักษณะของน้ำเปลี่ยนไปส่ิงที่ตามมาก็เกิดสภาพดินเส่ือมโทรมน้ำท่วมโดยฉับพลันอยู่ เสมอๆ เพราะไม่มีป่าช่วยทำหน้าที่เป็นเขื่อนธรรมชาติก้ันไว้และสุดท้ายพื้นท่ีน้ันๆก็อาจจะ กลายสภาพเปน็ ทะเลทรายไดใ้ นท่ีสุด 2. การจัดการส่ิงแวดล้อมในเขตอุตสาหกรรมสุรนารี จังหวัดนครราชสีมา การ จัดการน้ำโดยภาครัฐ นโยบายน้ำมุ่งเน้นการบริหาร อนุรักษ์ฟ้ืนฟูพัฒนาและแก้ไขปัญหา ทรัพยากรน้ำอย่างมีประสิทธิภาพเป็นธรรม อย่างย่ังยืน โดยการทำงานยึดหลักการสร้าง ความมั่นคงทางน้ำให้ใช้ประโยชน์สูงสุด จากการศึกษาพบว่า เกษตรกรผู้ใช้น้ำยังขาดความรู้ ความเข้าใจด้านกฎหมาย แนวคิดเกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการน้ำ คือหลักการ ผู้รับ ประโยชน์เป็นผู้จ่าย และความเป็นหุ้นส่วนของรัฐและเอกชน การถ่ายโอนภารกิจและให้ เกษตรกรเข้ามามี บทบาทในการบริหารจัดการน้ำโดยการจัดต้ังกลุ่มผู้ใช้น้ำแต่ละคูน้ำ เพ่ือ ช่วยกันกำหนดข้อปฏิบัติในการใช้น้ำ ร่วมกัน และหากเกิดความขัดแย้งของเกษตรกรผู้ใช้น้ำ ให้ใช้กฎระเบียบที่กลุ่มกำหนดข้ึนในการแก้ไขปัญหาท่ีเกิดข้ึนการมีส่วนร่วมของชุมชน โดย หน่วยงานด้านน้ำบูรณาการการทำงาน ร่วมกันจัดทำยุทธศาสตร์น้ำฉบับใหม่ เพ่ือให้การ บริหาร จัดการน้ำสมบูรณ์แบบ โดยมีข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากเจ้าหน้าท่ีรัฐ จัดตั้ง คณะกรรมการเพื่อตรวจสอบ ความต้องการใช้น้ำและวางแผนการส่งน้ำให้เหมาะสม สง่ เสริม อาชีพในพ้ืนท่ีเพื่อลดการอพยพย้ายถ่ิน การจัดการน้ำโดยภาคเอกชน บริษัทฯ ติดตามความ เส่ียงในการขาดแคลนน้ำอย่างสม่ำเสมอ ท้ังในด้านความพอเพียงของน้ำ คุณภาพน้ำ การ เปลี่ยนแปลงทางกฎหมาย โครงสร้างราคาน้ำและข้อห่วงกังวลของผมู้ ีส่วนได้เสยี เพ่ือป้องกัน ข้อขัดแย้งกับชุมชนและผู้มีส่วนไดเ้ สียท่ีอาจเกิดขน้ึ นอกจากนี้ บรษิ ัทฯ ยงั ผนวกมาตรการลด และมาตรการป้องกัน เพื่อจัดการปญั หาด้านน้ำ พรอ้ มท้ังมีส่วนร่วมโดยตรงกับผูม้ ีส่วนไดเ้ สีย เพอื่ ลดขอ้ ห่วงกงั วลของผมู้ สี ว่ นได้เสียท้งั ในระยะสนั้ และระยะยาว

วารสาร มจร อุบลปรทิ รรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 41 การมสี ่วนรว่ มของชุมชน ชมุ ชนได้มสี ว่ นร่วมตอ่ การบรหิ ารจัดการนำ้ ร่วมกับเอกชน แต่ทั้งนี้ก็มีส่วนร่วมในการพัฒนา ส่งเสริมและอนุรักษ์การใช้น้ำอย่างประหยัด มีการร่วมกัน รณรงค์การใช้น้ำและช่วยกันบำรุงรักษาน้ำโดยไม่ท้ิงขยะและขอความร่วมมือไปยังบริษัท โรงงานอย่าปล่อยน้ำเสียลงสู่ลำคลอง ทำให้เอกชนและชาวบ้านสามารถอยู่ร่วมกันได้ การมี ส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารจัดกรน้ำด้านต่างๆ ในเขตอุตสาหกรรมสุรนารี จังหวัด นครราชสีมา ควรพัฒนาให้มีการดำเนินการในทุกด้านให้สอดคล้องสัมพันธ์กัน คือ 1) ร่วม ทำการศึกษาค้นคว้าปัญหาและ สาเหตุของปัญหาทรัพยากรน้ำ ได้แก่ การขาดแคลนน้ำ การ เกิดอุทกภัย และด้านคุณภาพน้ำที่เส่ือมโทรมฯลฯ ท่ีเกิดขึ้นในชุมชนและความต้องการท่ีจะ แก้ไขปัญหาของชมุ ชน 2) รว่ มคดิ หาสร้างรูปแบบและวิธกี าร พัฒนา เพ่ือแก้ไขและลดปัญหา เรื่องน้ำของชุมชน การจัดการน้ำเชิงพุทธบูรณาการ โดยกำหนดโครงการและกิจกรรม จากการมีส่วน ร่วมของชุมชน ผลสำเร็จชุมชนได้นำหลักธรรมไปปฏิบัติ เป็นส่วนร่วมท่ีสร้างสรรค์ของสังคม และปฏิบัติ ต่อสง่ิ แวดลอ้ มทางวตั ถุ ต้ังแต่การใช้ตาดู หูฟัง ท้ังด้าน การเรียนร้แู ละเสพอารมณ์ ให้ได้ผลดี รู้จักอยู่ แสวงหา เสพบริโภค ปัจจัย 4 เป็นต้น อย่างฉลาด ให้เป็นคุณแก่ตน แก่ สังคมและแก่โลก อย่างน้อยไม่ให้เป็นการเบียดเบียน ตนเองและผู้อื่น การพัฒนาชีวิตเป็น การศึกษาท่ีฝึกคนให้ เจริญพัฒนาข้ึน แก้ปัญหา ส่งผลทำให้ชุมชนอยู่ร่วมกันได้อย่างถ้อยที ถ้อยอาศัยซ่ึงกันและกัน สิ่งแวดล้อมทางวัตถุหรือทางกายภาพ มนุษย์จะอยู่ร่วมกับเพื่อน มนุษย์และเพ่ือนร่วมโลกด้วยดีอย่างเกื้อกูลกัน ชุมชนยั่งยืน ชุมชนมีความเข้มแข็งและรู้จัก การรวมกลุ่มเพอ่ื รกั ษาผลประโยชน์ของชุมชน 3. เสนอรูปแบบการจัดการส่ิงแวดล้อมเชิงพุทธบูรณาการในเขตอุตสาหกรรม สรุ นารี จงั หวัดนครราชสมี า การออกแบบกจิ กรรม สรปุ ไดด้ งั นี้ ผู้วิจัยต้องออกแบบกิจกรรมและวางแผนการทำงานให้สอดคล้องกับบริบทของ ทอ้ งถนิ่ และสร้างการมีส่วนรว่ ม ให้”คน”เข้ามามสี ว่ นร่วม พบปะและแลกเปลยี่ นเรียนรู้ ผา่ น กจิ กรรมทีช่ ว่ ยเช่อื มร้อยคน รปู แบบกิจกรรมสำคัญ ได้แก่ กิจกรรมการพัฒนาฐานข้อมูล โดยสำรวจภาคสนาม ของเส้นทางน้ำ แหล่งน้ำและนำขอ้ มูลของภาคส่วนต่างๆท่ีเก่ียวข้องมาประกอบ พร้อมกับให้ ชาวบ้านไดว้ ิเคราะห์ สังเคราะห์การใชป้ ระโยชน์ และการเปล่ียนแปลงของแหลง่ นำ้

42 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) รูปแบบกิจกรรมทำแผนผังน้ำทำมือโดยชาวบ้าน ผ่านการเก็บรวบรวมข้อมูลใน พนื้ ที่และนำมาวาดภาพเสน้ ทางน้ำเพ่ือให้เห็นระบบไหลเวยี นภาพของน้ำและเชื่อมฐานข้อมูล เส้นทางน้ำในรูปแบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) โดยภาพถ่ายที่ผ่านการสำรวจภาคสนาม ด้วยกระบวนการเช่ือมโยงทุกมิติ นำมาสร้างความเช่ือมโยงฐานข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ กบั รปู ภาพ รูปแบบกิจกรรมการทำผังน้ำรวม ท่ีให้ชาวบ้านนำข้อมูลในพ้ืนที่ของตัวเองมา ประกอบเป็นผังน้ำรวมของพื้นที่ทำให้เห็นความเชื่อมโยงของวิถชี ีวิตคนในพ้ืนทต่ี ่างๆโดยมีน้ำ เป็นองค์ประกอบหลัก รูปแบบกิจกรรมให้ชาวบ้านร่วมกันวิเคราะห์ภาพอนาคตท่ีชุมชนอยากให้เป็นโดย เช่ือมโยงกับ“ภาพอนาคต”เพ่ือให้ร่วมกันออกแบบภูมิสถาปัตย์ของชุมชนที่ต้องการ ให้ ชาวบ้านร่วมกำหนดแนวทางการจัดการน้ำท่ีสอดคล้องระบบนิเวศของชุมชน ผู้วิจัยได้สร้าง ความเข้าใจในกระบวนการวิจยั แบบมีส่วนรว่ มของชาวบ้าน เพ่ือให้เล็งเหน็ ถงึ ความสำคัญของ การมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการน้ำร่วมกัน พบว่าต้องสร้าง ความรู้ความเข้าใจอันดีต่อ กระบวนการและผลประโยชน์ของการทำวิจัย ประโยชน์ท่ีชุมชนจะได้รับจากการ บริหาร จดั การน้ำ สร้างการมสี ่วนร่วมในกระบวนการวางแผนการวิจัย โดยอาศัยกลไกการมีส่วนร่วม ของทุก ฝ่ายและท่ีสำคัญคือประชาชนในพื้นท่ีผู้มีส่วนได้เสียด้วย เพื่อให้ทรัพยากรน้ำมีใช้ อย่างทว่ั ถึง การมสี ว่ นร่วม ของชุมชนในการจัดการน้ำก็ควรที่จะต้องเป็น“การจดั การน้ำอยา่ ง ย่ังยืน”โดยเน้นให้ทุกส่วนของสังคมรู้ถึง คุณค่าของน้ำ ใช้น้ำอย่างพอประมาณ มีเหตุผล เพอื่ ใหท้ รพั ยากรน้ำมใี ช้อย่างทว่ั ถึง เกิดประสิทธิภาพอยา่ งเตม็ ท่ี มีความสมดุลท้งั ปริมาณและ คุณภาพ โดยการใช้ทรัพยากรอย่าง สมดุลและพอประมาณ รักษาดุลยภาพทางธรรมชาติใน ลุ่มน้ำไว้ โดยอาศัยกลไกการมีส่วนร่วมของทุกฝ่าย โดยเฉพาะประชาชนในลุ่มน้ำผู้มีส่วนได้ เสยี ดว้ ย อภปิ รายผล ปัญหาเรื่องส่ิงแวดล้อมในเขตอุตสาหกรรมสุรนารี จังหวัดนครราชสีมา ลักษณะ ปญั หาสง่ิ แวดล้อมทเ่ี กดิ ในชมุ ชน สภาพแวดล้อมท่ีเจอ คอื เรื่องขยะมลู ฝอยท่ีส่งผลกระทบต่อ น้ำบาดาลและฝุ่นละออง กลิ่นเหม็นจากโรงงานอุตสาหกรรม ทำให้ชุมชนได้รับผลกระทบ

วารสาร มจร อุบลปรทิ รรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 43 และได้รับการแก้ไข แต่ยังไม่สามารถแก้ไขได้อย่างย่ังยืน สอดคล้องกับงานวิจัยของสุชาดา จันทร์ทอง (2540) ได้วิจัยเร่ือง“ปัญหาการบริหารและความต้องการการนิเทศด้าน ส่ิงแวดล้อมทางสุขภาพ ”พบว่า ครูผ้รู บั ผดิ ชอบการจัดส่ิงแวดล้อมในโรงเรยี นมธั ยมศึกษาเขต การศึกษา มีปัญหาการบริหารและความต้องการการนิเทศด้านสิ่งแวดล้อม ทางสุขภาพ ใน ด้านงบประมาณในการปรับปรุงแก้ไขและบำรุงรักษาเก่ียวกับการจัดสภาพแวดล้อม การมี ส่วนร่วมในการรักษาความสะอาดของบุคลกรในโรงเรียนและขาดครูผู้รับผิดชอบด้านจัด สภาพแวดล้อมในโรงเรยี นท่ีมีความรู้ความสามารถ ห้องพิเศษและอาคารประกอบ น้ำด่มื น้ำ ใช้การระบายนำ้ เสีย ส้วมและที่ปสั สาวะ การจัดบรรยากาศเพ่ือส่งเสริมสุขภาพจิตในโรงเรยี น และการศกึ ษาอบรมและสัมมนาเรื่องการดำเนนิ งานด้านส่ิงแวดลอ้ มในโรงเรยี น การจัดการสิ่งแวดล้อมในเขตอุตสาหกรรมสุรนารี จังหวัดนครราชสีมา ได้มีการ บริหารจัดการน้ำโดยภาครัฐ เอกชนและชุมชนมีส่วนร่วมกัน โดยเฉพาะบทบาทของพระสงฆ ในการจัดการส่ิงแวดลอมธรรมชาติ อีกท้ังพระสงฆในฐานะเปนผูนําทองถ่ินในการจัดการสิ่ง แวดลอม พระสงฆมีวิธีการหลายรูปแบบในการแกปญหาขอขัดแยงกับชาวบาน เชน การ เทศนาส่ังสอนชาวบานจะสอดแทรกความรูเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมใหความรูกับชาวบานทําส่ือ แผนใสภาพสไลด ฉายวีดีโอ ใหชาวบานเปรียบเทียบระหวางปาท่ีอุดมสมบูรณกับปาที่ถูก ทาํ ลาย และรับรูถึงผลดีผลเสียที่จะติดตามมาจากการ อนุรักษปาไมและทําลายปาไม ทานได พาชาวบานข้ึนไปบนภูเขาเพ่ือไปดูปาตนน้ำ เพื่อใหชาวบานเปรียบเทียบสภาพในอดีตกับ ปจจุบันท่ีมีความแตกตางกันมาก หลังจากน้ันชาวบานเร่ิมยอมรับความจริง ซึ่งสอดคล้องกับ งานวิจยั ของอเนก มหาเกยี รติคุณ (2557) ได้ศกึ ษาเรื่องการแก้ไขปญั หาส่ิงแวดล้อมท่ีเกดิ จาก การเลี้ยงสุกรบทเรียนจากในพื้นท่ีเทศบาลตำบลริมปิงอำเภอเมืองจังหวัดลำพูนผลการศึกษา พบวา่ ประชาชนในเขตเทศบาลตำบลริมปิงอำเภอเมืองจงั หวัดลำพูนมปี ัญหาในด้านการเล้ียง สุกรโดยผลกระทบท่ีเกิดจากกลิ่นมูลสุกรเทศบาลตำบลริมปิงได้แก้ปัญหาคือการอบรมให้ ความรู้การศึกษาดูงานโดยมีการสนับสนุนให้กลุ่มผู้เล้ียงสุกรได้ทำการเกษตรแบบธรรมชาติ (ตามแนวทางประเทศเกาหลี) ด้วยการผลิตน้ำหมักจุลินทรีย์ในท้องถ่ิน ซึ่งสามารถลดปัญหา ของกลน่ิ มูลสกุ รไดด้ ีและมีประสิทธภิ าพและช่วยรักษาสภาพแวดล้อมในชุมชนให้น่าอยู่ รูป แบ บ การจัดการส่ิงแวดล้อมเชิงพุ ท ธบู รณ าการใน เขตอุตส าห กร รมสุ รน ารี จังหวัดนครราชสีมา การออกแบบกิจกรรมเพื่อการบริหารจัดการน้ำและมีรูปแบบท่ีสามารถ ร่วมกับชุมชนสอดคล้องกับงานวิจัยของทศพล ทรรศนกุลพันธ์ (2551) ได้ศึกษาวิจัยเร่ือง

44 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) การเมืองเรือ่ งส่ิงแวดล้อมเม่ือสิทธิของประชาชนปะทะแนวนโยบายพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ : กรณีมาบตาพุด พบว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ซึ่งยังไม่มีความเช่ยี วชาญกับการ จดั การปัญหาสิ่งแวดลอ้ มในเชิงเทคนิคและกฎหมายความสามารถของเจ้าหน้าท่ีทางวิชาการ ซึ่งขาดความรู้ที่จะเอื้อต่อการปฏิบัติภารกิจซึ่งได้รับการถ่ายโอนอย่างไรก็ตามพบว่าเทศบาล มาบตาพุดซ่ึงมีฐานะเป็นเทศบาลขนาดใหญ่สถานการณ์การคลังดีในทางปฏิบัติขาดอุปกรณ์ เครื่องมือและเจ้าหน้าท่ีขาดองค์ความรู้เชิงเทคนิคและความรู้เฉพาะด้านในการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเช่นการขาดความรู้ในการใช้เคร่ืองมือตรวจวัดมลพิษ และสอดคล้องกับงานวิจัยของโสภารัตน์ จารุสมบัติ (2554) ได้ศึกษาวิจัยเร่ืองศักยภาพ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในการจัดการสงิ่ แวดล้อมพบว่าการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจและ ความทันสมัยในยุคสมัยท่ีผ่านมา เป็นการพัฒนาที่สูญเสียฐานทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม ก่อให้เกิดการพัฒนาท่ีไม่เท่าเทียมสร้างความเหล่ือมล้ำ คำถามสำคัญของการ กระจายอำนาจในทศวรรษท่ีผ่านของไทย นอกเหนือไปจากการเปลี่ยนผ่านจากราชการ ส่วนกลางไปสู่ราชการส่วนท้องถิ่นและนำพาไปสู่องค์กรแห่งการมีส่วนร่วมแล้วที่สำคัญที่สุด คือ ชุมชนท้องถิ่น ได้รับการพัฒนาและมีคุณภาพชีวิตท่ีดีขึ้นหรือไม่องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นมีศักยภาพและความสามารถในการเผชิญหน้ากับปัญหาและความท้าทายในอนาคต ท้ังในมิติด้านทรัพยากรมนุษย์สังคมการเมืองและส่ิงแวดล้อมการกระจายอำนาจและการ จัดการสง่ิ แวดล้อมขององค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ ในทศวรรษหน้า จึงจำเป็นต้องเป็นรูปแบบ การปกครองท้องถ่ินท่ีมีประสิทธิภาพมีศักยภาพในการบริหารจัดการความแตกต่างระหว่าง องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ทั้งในแง่รูปแบบขนาดขององค์กรตลอดจนสภาพแวดล้อม ทางการเมืองเศรษฐกิจที่แตกต่างกันล้วนส่งผลต่อศักยภาพในการบริหารจัดการและ ขับเคล่ือนนโยบาย ด้านสิ่งแวดล้อม ปัญหาด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมจะเป็นปัญหาใหญ่ และมีความรุนแรงสูงองคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ินจึงอยู่ในฐานะทจ่ี ะช่วยยกระดับคุณภาพชีวิต และคุณภาพของการให้บรกิ ารและปิดชอ่ งว่างความไม่เป็นธรรมเหลา่ น้ันให้เกดิ ข้นึ ได้ องคค์ วามรทู้ ่ีไดจ้ ากการศึกษา การจัดการสิ่งแวดล้อมโดยเฉพาะในเขตอุตสาหกรรมควรส่งเสริมให้เกิดคว าม ร่วมมือในทุกภาคส่วนในการกำหนดนโยบายและออกแบบแนวทางท่ีนำไปสู่ภาคปฏิบัติที่

วารสาร มจร อุบลปรทิ รรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 45 เป็นรูปธรรมและสามารถนำไปใช้ในสังคมแบบมีส่วนร่วม มุ่งเน้นให้มีกิจกรรมเก่ียวกับเชิง พทุ ธบูรณาการทมี่ กี ารปลูกฝังลกั ษณะที่พงึ ประสงคใ์ นกลุ่มคนทุกภาคสว่ น มกี ารพฒั นาทักษะ การคิด วิจารณญาณ กระบวนการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองอีกทั้งการบูรณาการใน ชีวิตประจำวัน คุณลักษณะอันพึงประสงค์เป็นส่ิงขับเคล่ือนให้เกิดความร่วมมือ สามัคคีและ พรอ้ มเพียงและการสรา้ งเครือข่ายการจดั การสงิ่ แวดล้อม ในด้านรูปแบบการจัดการสิ่งแวดล้อมในเขตอุตสาหกรรมเกี่ยวกับหลักธรรมเร่ิม จากคนในครอบครัว ควรสร้างความตระหนักในบทบาทหน้าท่ีของคนในครอบครัวอย่างเป็น ระบบท้ังการฝึกทักษะด้านต่างๆ เช่น การคิด วิจารณญาณ การคิดวิเคราะห์ การทำงานเป็น กลุ่ม ความกตัญญูและคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์น้ันเกิด จากการปลกู ฝังมาจากครอบครัวเพ่ือ สร้างสรรค์สังคมตอ่ ไป เอกสารอ้างอิง กรมสง่ เสริมคณุ ภาพสงิ่ แวดลอ้ มกระทรวงวทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยีและสง่ิ แวดล้อม, (2537), ความร้เู รื่องสิง่ แวดล้อม, พิมพค์ รง้ั ท่ี 6, (กรงุ เทพฯ:โรงพิมพช์ มุ ชนสหกรณ์การเกษตร แห่งประเทศไทย จำกัด. ชูศักดิ์ วิทยาภคั , (2543),“ชมุ ชนกับการจดั การทรัพยากรป่าไม้”,พลวตั ของชุมชนในการ จัดการทรัพยากรสถานการณ์ประเทศไทย, กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุน การวิจยั . ทศพล ทรรศนกลุ พนั ธ์, (2551), การเมอื งเร่อื งส่ิงแวดล้อมเม่อื สทิ ธขิ องประชาชนปะทะ แนวนโยบายพัฒนาเศรษฐกิจแหง่ ชาติ:กรณีมาบตาพุด, รายงานการวจิ ัย: มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ สำนกั นโยบายและแผนพฒั นาสง่ิ แวดลอ้ ม, (2554), รายงานสถานการณ์ส่ิงแวดลอ้ ม พ.ศ. 2538-2539, กรงุ เทพฯ: กระทรวงวิทยาศาสตรเ์ ทคโนโลยีและส่งิ แวดลอ้ ม. สชุ าดา จนั ทร์ทอง, (2540), ปัญหาการบริหารและความตอ้ งการการนเิ ทศดา้ นสิ่งแวดลอ้ ม ทางสขุ ภาพในโรงเรียนมัธยมศึกษาเขตการศกึ ษา 7, บณั ฑิตวทิ ยาลยั :จฬุ าลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั .

46 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) โสภารตั น์ จารสุ มบตั ิ, (มกราคม-เมษายน 2554), ศกั ยภาพขององคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ ในการจดั การวารสารสถาบนั พระปกเกล้า, ฉบับท่ี 9. อเนก มหาเกยี รติคุณ, (2557), การแก้ไขปัญหาสงิ่ แวดล้อมท่ีเกิดจากการเลีย้ งสุกรบทเรยี น จากในพื้นท่เี ทศบาลตำบลริมปงิ อำเภอเมือง จังหวดั ลำพูน, วิทยาลัยการปกครอง ท้องถิ่น : มหาวิทยาลยั ขอนแก่น เปิดแนวทางจดั การน้ำไทย ภายใต้บรบิ ท ‘วันนำ้ โลก’ 22 มีนาคม 2561 ทีมขา่ วสิ่งแวดล้อม, อา้ งองิ มาจากเวบ็ ไซต์ https://greennews.agency/?p=18730.

กระบวนการพฒั นาจติ ใจและปัญญาของพระสงฆส์ ายวดั ปา่ เพ่อื ส่งเสริม การท่องเทีย่ วเชิงพทุ ธในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื The Mental and Wisdom Development Process of the Forest Monks for Promoting Buddhist Tourism in the North-East 1พระครูธรรมธรศิริวฒั น์ สิริวฒฺฑโน, 2พระมหาสงิ ห์ณรงค์ สิรินทฺ รเมธี, 3พระสภุ าพร เตชธโร, 4นคร จนั ทราช และ5เกยี รตศิ ักด์ิ บตุ รราช 1Phrakhru Thammathornsiriwat, 2Phramaha Singnarong Sirindharamedhe 3Pra Supapon techatharo, 4Nakhon Jantharat and 5Kraidtisak Boodrach, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ประเทศไทย Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Thailand. [email protected], Received May 10, 2020; Revised July 12, 2020; Accepted August 25, 2020 บทคดั ย่อ วัดป่าในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีทรัพยากรด้านการท่องเที่ยวเชิงพุทธในด้าน แหลง่ ธรรมชาติท่ปี ระกอบด้วยภูมิทัศน์และบรรยากาศทร่ี ่มรื่น เหมาะสำหรับการพักผอ่ นทาง กายและทางใจ สถานท่ีปฏิบัติธรรมมีความพร้อมท้ังพระวิทยากร ท่ีมีความรู้ประสบการณ์ท่ี เพียบพร้อม รวมทั้งที่พักสำหรับผู้สนใจเข้าปฏิบัติธรรม ในส่วนทรัพยากรทางวัฒนธรรมบาง แห่งเป็นวัดที่มีพระพุทธรูปสำคัญและมีพุทธศิลป์แต่ละสมัย บางแห่งเคยมีพระสงฆ์สาย กรรมฐานท่ีเป็นศิษยานุศิษย์ของหลวงปู่ม่ัน ภูริทตฺโต บิดาแห่งพระกรรมฐาน จึงมีเจดยี ์ที่เก็บ อัฐบริขาร อัฐิธาตุ และรูปเหมือน ประดิษฐานไว้ให้นักท่องเที่ยวได้เข้าสักการบูชา ส่วน

48 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) ทรัพยากรประเพณี เทศกาลและงานสำคัญทางศาสนาวัดป่า ส่วนใหญ่ ได้มีการจัดงานสำคัญ ในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา วัดเกิดของอาจารย์สายพระกรรมฐาน กิจกรรมทาง พระพุทธศาสนา เช่น การทำบุญตักบาตร รักษาศีล ฟังธรรม ปฏิบัติธรรมและเวียนเทียนใน วนั สำคัญทางพระพทุ ธศาสนา สว่ นทรัพยากรด้านบรกิ าร วดั ป่าส่วนใหญ่มกี ารจดั สถานทจ่ี อด รถ และจำนวนห้องสุขาที่สะอาดและเพียงพอสำหรับนักท่องเที่ยว ซ่ึงแสดงถึงความพร้อม สำหรับนักเท่ียวควรได้รับทุนสนับสนุนด้านการจัดทำคู่มือเพื่อเป็นสารสนเทศพัฒนาการ ท่องเที่ยวเชิงพุทธในระดับโลก และเพิ่มโอกาส เพิ่มรายได้ให้กับวัด ชุมชนและผู้เกี่ยวข้อง ได้รับประโยชน์จากการท่องเท่ียววัดป่าในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เพ่ือเพิ่มบทบาทการจัด กิจกรรมเชิงพุทธและการปฏิบัติธรรมส่งเสริมการพัฒนาจิตใจควบคู่ไปกับการท่องเท่ียว รวมท้งั การปลกู จติ สำนึกเชงิ อนรุ ักษต์ ่อการทอ่ งเที่ยวทางพระพทุ ธศาสนาทีย่ งั่ ยืน คำสำคญั : กระบวนการพฒั นาจติ ใจและปญั ญา, พระสงฆ์สายวัดป่า, การท่องเทยี่ วเชิงพทุ ธ Abstract The available natural resources for Buddhist tourism of forest monasteries in the northeast included the pleasant landscapes suitable for physical and mental relaxation and the well prepared Dhamma practice places with experienced trainers and practitioners’ accommodation. In cultural resources, some monasteries had significant Buddha statues with Buddhist arts by each era. Some of them were once the practice sites of the disciples of Phra Ajaan Mun Bhuridatto, the Father of Insight Meditation. These places were, thus, sacred sanctuaries enshrining eight necessities of a Buddhist monk, his venerable ashes and portraits for tourists to worship. In the resources of traditions, festivals and religious ceremonies, most of the forest monasteries organized religious ceremonies following the Buddhist Holy Days and birthdates of former insight meditation trainers ( Phra Ajaan) . Buddhist religious activities on Buddhist Holy Days included offering food to monks, observing the precepts, listening to the sermon, practicing Dhamma and concentrating and walking around the temple with a candle. In resources for servicing tourists, most of the forest monasteries had sufficient number of parking places and clean toilets well prepared for tourists. However, the monasteries should be supported in budgeting for preparing manuals and information technology for

วารสาร มจร อุบลปรทิ รรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 49 Buddhist tourism at international level. Opportunities for income generation should be promoted for the monasteries, communities and related sectors benefiting from tourism in forest temples in the North-East. In addition, the role of Buddhist activities and Dhamma practice for mental development should be accompanied with tourism. This will also cover cultivating consciousness on conserving sustainable Buddhist tourism. Keywords: Mental and Wisdom Development Process; Forest Monks; Buddhist Tourism บทนำ ความทุกข์ทางสงั คมคอื ภาพสะท้อนให้เห็น“ความออ่ นแอ”ทางด้านศีลธรรมซึ่งเป็น เร่ืองการพัฒนาจิตใจโดยตรง ทุกข์ที่เกิดขึ้นในสังคมเกิดขึ้น สภาวะที่เป็นทุกข์ในทาง พระพุทธศาสนาถือว่าเกิดจากจิตเป็นสำคัญ ในการแก้ปัญหาความทุกข์ดังกล่าวตามหลัก พระพุทธศาสนามองว่าต้องเริ่มจาก“จิตใจ”เป็นเบื้องต้น พระพุทธศาสนาเรียกวิธีการบำบัด ความทุกข์ทางใจว่า“วิปัสสนา”เพ่อื ให้เกดิ “ปัญญา”เป็นแว่นที่“ส่องเหน็ ”และ“สอ่ งถึง”ความ ทุกข์และเข้าใจทุกข์นำไปสู่การแก้ปัญหาทุกข์ได้อย่างถูกต้อง การท่ีบุคคลจะเข้าสู่การปฏิบัติ วิปัสสนากรรมฐานได้น้ันจะต้องมีองค์ประกอบสำคัญในการท่ีจะเข้ามาสู่วิถีทางหรือหนทาง ได้จากองค์ประกอบสำคัญ 2 ประการ คือ 1) ปัจจัยภายนอก ท่ีเรียกว่า“ปรโตโฆสะ”เป็น องค์ประกอบภายนอกท่ีการกระตุ้นหรือชักจูงจากภายนอก และ 2) ปัจจัยภายใน ที่เรียกว่า “โยนิโสมนสิการ” คือ เป็นองค์ประกอบภายใน เป็นการรู้จักคิด รู้จักพิจารณาด้วยตนเอง อยา่ งถูกวธิ ี (สมเด็จพระญาณสงั วร (เจริญ สุขวฒฺโน),2533) พระพุทธศาสนาในสังคมไทยมีการจัดประเภทของวัดออกเป็น 2 ประเภท คือ สายอรัญญวาสีโดยมีช่ือเรียกอีกอย่างว่า“สายวัดป่า”และสายคามวาสีโดยมีช่ือ เรียกอีกอย่าง ว่า“สายวัดบ้าน” (ชาญวิทย์ เกษตรศิริ,2540)ในส่วนของสายวัดป่านั้นพบว่ามีมาพระสงฆ์สายวัด มานานแล้ว โดยเฉพาะสายวัดป่าในสังคมอีสานมีพระสงฆ์ท่ีเป็น“ต้นแบบ”และ“แม่แบบ”ด้าน การปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานคือหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต แห่งวัดป่าสุทธาวาส เม่ือประมาณ 2436- 2493 ท่ีจังหวัดสกลนคร ในสังกัดนิกายธรรมยุติ โดยหลวงปู่ม่ัน ภูรทิ ัตโต มีปฎิปทาท่ียึดหลักการ อยู่ป่าเป็นวัตร มีความเรียบง่าย มีความสมถะมีความสง่างามตามพระธรรมวินัย ก่อให้เกิดพลัง ศรัทธาจากญาติโยมในภาคอีสานอย่างมาก รวมทั้งยังก่อเกิดให้มีพระสงฆ์ในยุคน้ันเข้าฝากตัวขอ