Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วารสาร มจร.อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2563

วารสาร มจร.อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2563

Description: 16541-5445-PB (1)

Search

Read the Text Version

300 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) 3. เพื่อเสนอแนวทางการพัฒนาบทบาทผู้บริหารสถานศึกษายุคไทยแลนด์ 4.0 ใน การส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมนักเรียน สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสุ ราษฎร์ธานี เขต 3 วธิ ดี ำเนินการวิจัย 1. ประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง ประชากรท่ีใช้ในการวิจัยคร้ังนี้ ได้แก่ ผู้อำนวยการสถานศึกษาของโรงเรียนสังกัด สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาสรุ าษฏรธ์ านี เขต 3 จำนวน 157 โรงเรยี น จำนวน 157 คน โดยการสุม่ ตัวอยา่ งแบบเจาะจง กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัยครั้งน้ีเป็นผู้อำนวยการสถานศึกษาของโรงเรียนสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฏร์ธานี เขต 3 ใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่าง แบบเจาะจง โดยใช้ตารางกำหนดขนาดของ R.V.Krejcie & D.W.Morgan ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 113 คน 2. เครอ่ื งมือท่ใี ชใ้ นการวจิ ัย เครื่องมือท่ีใช้ในการวิจัยคร้ังนี้ คือแบบสอบถามปลายเปิดโดยใช้แบบมาตราส่วน ประเมินค่า (Rating scale) ตามแบบของลเิ คริ ์ท (Rikert) แบ่งออกเปน็ 3 ตอน คือ ตอนที่ 1 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบ มีลักษณะเป็นแบบ รายงาน (Check list) คือ ระดบั การศกึ ษา และประสบการณ์การทำงาน ตอนท่ี 2 เป็นแบบสอบถามความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาต่อกลุ่ม ตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัยคร้ังน้ีเป็นผู้อำนวยการสถานศึกษาของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขต พ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฏร์ธานี เขต 3 ใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง โดยใช้ตารางกำหนดขนาดของ R.V.Krejcie & D.W.Morgan ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 113 คน เปน็ แบบมาตราสว่ นประเมนิ ค่า (Numerical Rating scale) 5 ระดับ ตอนท่ี 3 เป็นแบบสอบถามเก่ียวกับบทบาทผู้บริหารสถานศึกษายุคไทยแลนด์ 4.0 ในการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมนักเรียน ซ่ึงมีลักษณะเป็นแบบสอบถามปลายเปิด (Openended Questionnaire)

วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 301 3. การวิเคราะหข์ อ้ มูลและสถิตทิ ่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 3.1 นำแบบสอบถามท้ังหมดมาตรวจสอบความสมบูรณ์ความถูกต้องในการตอบ แบบสอบถามแล้วนำมาคัดเลือกฉบับที่สมบูรณ์ เพื่อนำมาวิเคราะห์ข้อมูล โดยการบันทึก คะแนนแต่ละคนลงในแบบลงรหัส (Coding Form) ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรม สำเร็จรปู 3.2 การวเิ คราะหข์ ้อมลู 1) ข้อมูลเกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม วิเคราะห์โดยใช้ คา่ ความถ่ี (Frequency) และคา่ ร้อยละ (Percentage) 2) ระดับความคิดเห็นของผู้อำนวยการสถานศึกษาของโรงเรียนสังกัด สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุราษฏร์ธานี เขต 3 วิเคราะห์โดยใช้ค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ของคะแนนจากการตอบ แบบสอบถาม 3) การเปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้อำนวยการสถานศึกษาในมีบทบาท ผู้บริหารสถานศึกษายุคไทยแลนด์ 4.0 ในการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมนักเรียน วิเคราะห์ โดยหาค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)เพื่อทราบการกระจายของข้อมูลภาพรวมและรายด้าน ทดสอบสมมติฐานด้วยค่า (F-test) ในกรณีตัวแปรต้นตั้งแต่สามตัวข้ึนไป เพื่อเปรียบเทียบ ความแตกตา่ งของตัวแปร ระดับการศึกษาและประสบการณก์ ารทำงาน ผลการวจิ ัย การวิจัยเรื่องบทบาทผู้บริหารสถานศึกษายุคไทยแลนด์ 4.0 ในการส่งเสริม คุณธรรม จริยธรรมนักเรียน สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 สรุปได้ ดังน้ี 1. ผลการวิเคราะหข์ ้อมูลเกยี่ วกับบทบาทผู้บรหิ ารสถานศึกษายุคไทยแลนด์ 4.0 ในการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมนักเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ประถมศกึ ษา สรุ าษฎรธ์ านี เขต 3

302 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) ตารางที่ 1 ค่าเฉลยี่ คา่ เบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับบทบาทผูบ้ ริหารสถานศกึ ษายคุ ไทยแลนด์ 4.0 ในการส่งเสรมิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรมนักเรยี น สังกัดสำนกั งาน เขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาสุราษฎรธ์ านี เขต 3 โดยรวม แนวทางการพฒั นาบทบาทผ้บู ริหารสถานศกึ ษา SD ระดับ ในยุคไทยแลนด์ 4.0 4.26 0.35 มาก 1. ดา้ นการบรหิ ารและการนิเทศ 4.24 0.35 มาก 2. ดา้ นการจดั สภาพแวดล้อม 4.25 0.36 มาก 3. ดา้ นการจัดการเรียนการสอน 4.18 0.29 มาก 4. ดา้ นการจัดกจิ กรรมนักเรยี น 4.19 0.28 มาก 5. ด้านการวดั และประเมินผลทางคุณธรรม จรยิ ธรรม 4.22 0.30 มาก รวม จากตารางที่ 1 พบว่าผู้อำนวยการสถานศึกษาในโรงเรียนเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสรุ าษฎร์ธานี เขต 3 โดยรวม 5 ด้าน อยู่ในระดับมาก เม่ือพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการบริหารและการนิเทศ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือด้านการจัดการเรียนการสอน ด้านการจัดสภาพแวดล้อม ด้านการวัดและ ประเมินผลทางคุณธรรม จริยธรรม ส่วนด้านการจัดกิจกรรมนักเรียน มีค่าเฉล่ียต่ำสุดโดยมี รายละเอียดรายด้านดงั นี้ 1.1 ระดับบทบาทผู้บริหารสถานศึกษายุคไทยแลนด์ 4.0 ในการส่งเสริม คุณธรรม จรยิ ธรรมนักเรยี น ดา้ นการบริหารและการนเิ ทศ อยใู่ นระดบั มาก พบว่า ผู้บริหารมี การวางยุทธศาสตร์ในการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เพ่ือสนองต่อปรัชญาของโรงเรียน มี ค่าเฉลี่ยสูงสุด และผู้บริหารมีการแจ้งนโยบายในการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียน มีค่าเฉลยี่ ต่ำสดุ 1.2 ระดับบทบาทผู้บริหารสถานศึกษายุคไทยแลนด์ 4.0 ในการส่งเสริม คุณธรรม จริยธรรมนักเรียน ด้านการจัดสภาพแวดล้อม อยู่ในระดับมาก พบว่า ชุมชน บ้าน วัด มีส่วนร่วมในการส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรมเก่ียวกับคุณธรรม จริยธรรม มีค่าเฉลี่ยสูงสุด และ ผู้บริหารมีการรณรงค์ให้โรงเรียนและชุมชนเป็นแหล่งปราศจากอบายมุขและสิ่งเสพติด มีคา่ เฉล่ยี ต่ำสุด

วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 303 1.3 ระดับบทบาทผู้บริหารสถานศึกษายุคไทยแลนด์ 4.0 ในการส่งเสริม คุณธรรม จริยธรรมนักเรียน ด้านการจัดการเรียนการสอน อยู่ในระดับมาก พบว่า ผู้บริหาร กำหนดเป้าหมายโครงสร้างเพ่ือพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมนักเรียนไวใ้ นหลักสตู รการเรียนการ สอนอย่างชัดเจนและผบู้ ริหารจัดทำคมู่ ือเกยี่ วกับการสอนคุณธรรม จรยิ ธรรมนักเรียน ให้ครูได้ ศกึ ษา มีค่าเฉล่ียสูงสุดและผู้บรหิ ารมกี าร บูรณาการการสอนทกุ กลุ่มสาระในด้านการส่งเสริม คุณธรรม จริยธรรมนักเรียน และครูผู้สอนจัดการเรียนการสอนส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักคิด วิเคราะห์สภาพสังคมท่ีนำไปสู่ความเสื่อมโทรมทางคุณธรรมจริยธรรมนักเรียน มีค่าเฉลี่ย ต่ำสดุ 1.4 ระดับบทบาทผู้บริหารสถานศึกษายุคไทยแลนด์ 4.0 ในการส่งเสริม คุณธรรม จริยธรรมนักเรียน ด้านการจัดกิจกรรมนักเรียน อยู่ในระดับมาก พบว่า ผู้บรหิ ารมี การจัดกิจกรรมการประกวดร้องเพลงธรรมมะ และนิทานสอนใจ ส่วนผู้บริหารนำนักเรยี นไป รว่ มทำบญุ ตกั บาตรกบั ผู้ปกครองและชุมชนอยา่ งสมำ่ เสมอ มคี า่ เฉลยี่ ต่ำสุด 1.5ระดับบทบาทผู้บริหารสถานศึกษายุคไทยแลนด์ 4.0 ในการส่งเสริม คุณธรรม จริยธรรมนักเรียน ด้านการวัดและประเมินผลทางคุณธรรม จริยธรรม อยู่ในระดับ มาก พบว่า ผู้บริหารได้มีการวิเคราะห์และนำผลการวิเคราะห์มาปรับปรุงการส่งเสริม คุณธรรม จริยธรรมนักเรียน มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ส่วนผู้บริหารมีการประเมินคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ของนักเรียนโดยครู หลังการดำเนินงานการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมนักเรียน มี คา่ เฉลีย่ ต่ำสดุ 2. ผลการเปรียบเทยี บระดบั บทบาทผู้บริหารสถานศึกษายุคไทยแลนด์ 4.0 ใน การส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมนักเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา สรุ าษฎรธ์ านี เขต 3 จำแนกตามระดับการศึกษา และประสบการณ์การทำงาน 2.1 ผลการเปรียบเทียบบทบาทผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมนักเรียนยคุ ไทยแลนด์ 4.0 สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษาสรุ าษฎร์ ธานี เขต 3

304 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) บทบาทผูบ้ ริหารสถานศึกษายคุ แหล่งความ SS df MS F Sig. ไทยแลนด์ 4.0 ในการสง่ เสรมิ แปรปรวน .608 คุณธรรม จรยิ ธรรมนกั เรยี น 0.125 2 0.063 0.500 .938 1. ด้านการบริหารและการ ระหวา่ งกลมุ่ 13.786 110 0.125 0.064 .163 ภายในกลมุ่ 13.911 112 1.824 .981 นเิ ทศ 0.016 2 0.008 0.019 .306 รวม 14.055 110 0.128 1.197 .571 2. ด้านการจดั สภาพแวดล้อม ระหว่างกลุ่ม 14.072 112 0.563 ภายในกลมุ่ 0.486 2 0.243 3. ด้านการจัดการเรียนการ 14.520 110 0.132 สอน รวม 15.006 112 ระหว่างกลุ่ม 0.004 2 0.002 4. ดา้ นการจดั กิจกรรมนกั เรยี น ภายในกล่มุ 10.029 110 0.091 10.033 112 5. ด้านการวัดและประเมินผล รวม 0.197 2 0.099 ทางคณุ ธรรม จริยธรรม ระหว่างกลุ่ม 9.063 110 0.082 ภายในกลมุ่ 9.261 112 รวม 0.106 รวม 10.314 2 0.053 ระหว่างกลมุ่ 10.420 110 0.094 ภายในกลมุ่ 112 รวม ระหว่างกลุม่ ภายในกล่มุ รวม จำแนกตามระดับการศึกษา พบว่า ผู้อำนวยการสถานศึกษาที่มีระดับการศึกษา ตา่ งกนั มรี ะดับบทบาทผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษาในการสง่ เสริมคุณธรรม จริยธรรมนักเรยี นยคุ ไทย แลนด์ 4.0 โดยรวม ไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และเม่ือพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ผู้อำนวยการสถานศึกษา ที่มีระดับการศึกษา ต่างกัน มีระดับบทบาทผู้บริหาร สถานศกึ ษาในการส่งเสริมคุณธรรม จรยิ ธรรมนกั เรียนยคุ ไทยแลนด์ 4.0 ไม่แตกต่างกัน อยา่ ง มนี ัยสำคัญทางสถิติ 2. ผลการเปรียบเทียบบทบาทผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมคุณธรรม จรยิ ธรรมนักเรียนยุคไทยแลนด์ 4.0 สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศึกษาสรุ าษฎร์ ธานี เขต 3

วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 305 บทบาทผบู้ ริหาร ระดับประสบการณก์ ารทำงาน สถานศกึ ษายคุ ไทยแลนด์ 1-5 ปี 6 - 10 ปี 11 – 20 ปี 21 ปขี ้นึ ไป 4.0 ในการส่งเสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรม  SD. ระดับ  SD. ระดับ  SD. ระดบั  SD. ระดับ นกั เรยี น 1. ดา้ นการบริหารและการ 4.24 0.25 มาก 4.31 0.32 มาก 4.22 0.37 มาก 4.32 0.31 มาก นเิ ทศ 2. ด้านการจัด 4.37 0.30 มาก 4.26 0.37 มาก 4.20 0.34 มาก 4.31 0.36 มาก สภาพแวดลอ้ ม 3. ด้านการจดั การเรยี นการ 4.32 0.22 มาก 4.25 0.38 มาก 4.23 0.39 มาก 4.29 0.27 มาก สอน 4. ดา้ นการจดั กจิ กรรม 4.26 0.15 มาก 4.21 0.36 มาก 4.16 0.29 มาก 4.23 0.25 มาก นักเรยี น 5. ด้านการวดั และ 4.17 0.09 มาก 4.16 0.15 มาก 4.20 0.33 มาก 4.22 0.26 มาก ประเมินผลทางคุณธรรม จริยธรรม รวม 4.27 0.18 มาก 4.24 0.29 มาก 4.20 0.38 มาก 4.27 0.26 มาก จำแนกตามประสบการณ์การทำงาน พบว่า ผู้อำนวยการสถานศึกษาท่ีมี ประสบการณ์การทำงาน ต่างกัน มีระดับบทบาทผู้บริหารสถานศึกษาในการสง่ เสริมคุณธรรม จริยธรรมนกั เรียนยุคไทยแลนด์ 4.0 โดยรวมไมแ่ ตกต่างกนั อยา่ งมนี ัยสำคัญทางสถิติ และเม่ือ พิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ผู้อำนวยการสถานศึกษา ที่มีประสบการณ์การทำงาน ต่างกัน มีระดับบทบาทผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมนักเรียนยุคไทยแลนด์ 4.0 ไมแ่ ตกตา่ งกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 3. ผลการวิเคราะห์บทบาทผู้บริหารสถานศึกษายุคไทยแลนด์ 4.0 ในการ ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมนักเรียน สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสุ ราษฎร์ธานี เขต 3 จากการสัมภาษณ์ผู้เช่ียวชาญการพัฒนาบทบาทผู้บริหารสถานศึกษาในการ ส่งเสริมคุณธรรม จรยิ ธรรมนกั เรียนยคุ ไทยแลนด์ 4.0 ด้านการบริหารและการนิเทศ โรงเรียน มีการบริหารจัดการโดยยึดหลักการมีส่วนร่วม ยึดหลักธรรมาภิบาล มาใช้ในการบริหาร ส่งเสริมให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม โดยผ่านกิจกรรมต่างๆของโรงเรียน รวมถึงมี กระบวนการนิเทศอยา่ งเป็นระบบและเปน็ รูปธรรม สามรถนำสู่การปฏิบัติ ตลอดจนมีการวัด

306 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) ประเมินผลจากการปฏิบัติงานจริง ด้านการจัดสภาพแวดล้อม โรงเรียนได้จัดการ สภาพแวดล้อม ให้สอดคล้องกับบริบทของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ จัดสภาพแวดล้อมให้ เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ มีความสะอาด สวยงาม มีป้ายนิเทศ ส่ือการเรียนรู้ท่ีพร้อมใช้งาน และทันสมัยทั้งในห้องเรียน และนอกห้องเรียน ด้านการจัดการเรียนการสอน โรงเรียนมีการ จัดการเรียนการสอนตามโครงสร้างการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรแกนกลาง และหลักสูตรท้องถ่ิน มีการส่งเสริมให้ครูใช้สื่อ ICT ในการจัดการเรียนรู้ แบบ Active learning โดยให้เป็นไปตามสภาพของแต่ละรายวิชาด้านกิจกรรมนักเรียน โรงเรียนมีการ ส่งเสริมพัฒนาระบบการบริหารจัดการด้านกิจกรรมนักเรยี น มีการจัดกิจกรรมใหก้ ับนักเรียน อย่างหลากหลายโดยเน้นความรูค้ ู่ คุณธรรมใช้ศาสตรพ์ ระราชาในการจดั กิจกรรมส่งเสรมิ การ เรียนรู้เก่ียวกับเศรษฐกิจพอเพียง และเน้นให้ผู้เรียนปฏิบัติตนอยู่ในระเบียบวินัย มีคุณธรรม จริยธรรม มีจิตอาสาต่อสังคม และด้านวัดและประเมินผลทางคุณธรรม จริยธรรม โรงเรียนมี การวัดและประเมินผลตามสภาพจริงโดยจัดจากการปฏิบัติจริงตามกิจกรรมโครงการท่ี โรงเรียนจัดโดยเฉพาะโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม นำศาสตร์พระราชา และหลักศีล 5 มาใช้ในการจัดกิจกรรมและวัดผลประเมินผล เพื่อฝึกฝนให้เขาได้ปฏิบัติจริง ซึมซับเอา คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ 8 ประการ และค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ ให้เกิดขนึ้ เป็น คณุ สมบัตติ ิดตัวนกั เรยี นไปหลังทจ่ี บการศึกษาไปแลว้ นำไปใช้กบั ชีวติ ประจำวัน อภิปรายผล จากผลการวิจยั เร่ืองบทบาทผู้บริหารสถานศกึ ษายคุ ไทยแลนด์ 4.0 ในการส่งเสริม คุณธรรม จริยธรรมนักเรียน สงั กัดสำนักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษา สรุ าษฎรธ์ านี เขต 3 ผู้วิจยั ไดอ้ ภปิ รายผลของการวจิ ัย ดังน้ี 1.ผลการวิเคราะห์ระดับบทบาทผู้บริหารสถานศึกษายุคไทยแลนด์ 4.0 ในการ ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมนักเรียน สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุ ราษฎรธ์ านี เขต 3 จากผลการวิเคราะห์ระดับบทบาทผู้บริหารสถานศึกษายุคไทยแลนด์ 4.0 ในการ สง่ เสริมคุณธรรม จริยธรรมนักเรียน สังกัดสำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ ธานี เขต 3 โดยรวมอยู่ในระดับมาก ทั้งนี้เป็นเพราะว่า ผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงาน

วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 307 เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 มีเป้าหมายหลักในการปลูกฝังศีลธรรม ให้นักเรียนสำนึกในคุณธรรม จริยธรรมและอบรมหล่อหลอมให้ความรู้แก่นักเรียนให้มีความ เข้มแข็ง และนำความรู้ท่ีได้ไปใช้ในการดำเนินชีวิตสามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนในสังคมได้อย่างมี ความสุข ซ่ึงสอดคล้องกับงานวิจัยของ ช่อลดา ติยะบุตร ได้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการ ส่งเสริมจริยธรรมความมีวินัยในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษานครพนม เขต 2 พบว่า การส่งเสริมจริยธรรมความมีวินัยตนเองให้แก่นักเรียนโรงเรียนตามความคิดเห็นของ ผูบ้ ริหารและครูผู้สอน โดยรวมอย่ใู นระดับมาก และสอดคล้องกบั พิมลศรี กวีวุฒิพันธ์ุ (2554, บทคัดย่อ) ได้ศึกษาปัญหาและแนวทางการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ สำหรับนักเรียนในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาชัยนาท ตามระดับช่วงชั้นพบว่า ครูในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ชัยนาท ระดับช่วงชั้นท่ี 1 และ 2 มีระดับปัญหาการปฏิบัติการส่งเสริมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนา คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมท่ีพึงประสงค์สำหรับนักเรียนระดับการศึกษา ทั้ง 5 ด้าน คือ ด้านบริหารและนิเทศ ด้านการจัดสภาพแวดล้อม ด้านการจัดการเรียนรู้ ด้านการจัดกิจกรรม นักเรียน และด้านการวัดและประเมินผล ในระดับน้อย เน่ืองจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายมี ความตระหนักต่อการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมนักเรียน ต้นสังกัดคือกระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาได้จัดสรร งบประมาณให้กับโรงเรียนเพ่ือใช้ในการดำเนินโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ทำให้ โรงเรียนต่างๆ สามารถจัดกิจกรรมในรูปแบบหลากหลาย และส่งผลให้นักเรียนมีความ เปลี่ยนแปลงพฤตกิ รรมของตนเองไปในทางทีด่ ีขึ้น 2. ผลการเปรียบเทียบบทบาทผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมคุณธรรม จรยิ ธรรมนกั เรยี นยคุ ไทยแลนด์ 4.0 ทีม่ ีระดับการศึกษา และประสบการณก์ ารทำงาน 2.1 จากการเปรียบเทียบบทบาทผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมนักเรยี นยุคไทยแลนด์ 4.0 สงั กัดสำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาสุราษฎร์ ธานี เขต 3 ท่ีมีระดับการศึกษาต่างกัน มีบทบาทผู้บริหารสถานศึกษายุคไทยแลนด์ 4.0 ใน การส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมนักเรียน สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา สุราษฎร์ธานี เขต 3 โดยรวม ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ซ่ึงเป็นเพราะว่า ผู้อำนวยการสถานศึกษาทุกคนไม่ว่าจะระดับการศึกษาปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญา เอก ต่างมีบทบาทผู้บริหารสถานศึกษายุคไทยแลนด์ 4.0 ในการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม

308 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) นักเรียน ใหก้ ้าวทนั ตามยคุ สมัยในปัจจุบัน ทุกคนมีบทบาทและหน้าที่ มีการบริหารงานท่ีเป็น มาตรฐานและเป็นไปตามกรอบโครงสร้างการบริหารงาน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของการ จัดการศึกษา ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของบัวหลวง แสงสว่าง(2554 , บทคัดย่อ) การศึกษา สภาพ ปัญหาและแนวทางการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ เพ่ือพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมและ ค่านิยมที่พึงประสงค์สำหรับนักเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาลพบุรี ผลการวิจัย พบว่า 1. สภาพส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึง ประสงค์สำหรับนักเรียนในโรงเรียนสงั กัดสำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาสรุ าษฎร์ ธานี ในภาพรวมท้ัง 5 ด้าน ได้แก่ ด้านการบริหารและการนิเทศ ด้านการจัดสภาพแวดล้อม ด้านการจัดการเรียนการสอน ด้านการจัดกิจกรรมนักเรยี น ด้านการวัดผลและประเมินผล มี การปฏบิ ัติอย่ใู นระดับมากทุกด้าน ส่วนปัญหาอยู่ในระดับน้อยทกุ ดา้ น 2. ผลการเปรียบเทียบ สภาพ ปัญหา จำแนกตามขนาดโรงเรียนได้แก่ โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนขนาดใหญ่ ภาพรวมท้ัง 5 ดา้ น พบวา่ ไม่แตกต่างกัน เมือ่ พิจารณารายขอ้ ไม่แตกตา่ ง กัน 3. แนวทางการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้จะต้องเพิ่มระดับปฏิบัติในด้านการบริหารและ การนิเทศ การจัดสภาพแวดล้อม ให้เหมาะสมในการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม มีการ สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนทุกรายวิชา มีสื่อการ เรียนรู้ที่ทันสมัยพอเพียง จัดกิจกรรมโดยมีนักเรียนเป็นส่วนร่วมภายในโรงเรียนหรือมีส่วน ร่วมกับชุมชนอย่างสม่ำเสมอ มีวิธีการวัดผลและประเมินผลที่หลากหลายมีการนำผลการ กำกบั ดแู ลแผนงาน/โครงการ มาปรบั ปรุง แก้ไขขอ้ บกพรอ่ งในการปฏิบัติครั้งตอ่ ไป 2.2 จากการเปรียบเทียบบทบาทผู้บริหารสถานศึกษายุคไทยแลนด์ 4.0 ในการ สง่ เสริมคณุ ธรรม จริยธรรมนักเรียน สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาสุราษฎร์ ธานี เขต 3 ท่ีมีประสบการณ์การทำงานต่างกัน มีบทบาทผู้บริหารสถานศึกษายุคไทยแลนด์ 4.0 ในการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมนักเรียน โดยรวมไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติ ซึ่งเป็นเพราะว่าผู้อำนวยการสถานศึกษาท่ีมีประสบการณ์การทำงาน ทั้ง 4 ระดับล้วนมี จุดมุ่งหมายที่จะพัฒนาความรู้ รวมถึงบทบาทหน้าท่ีของผู้บริหารสถานศึกษายุคไทยแลนด์ 4.0 ซ่ึงสอดคล้องกับงานวิจัยของ พิมลศรี กวีวุฒิพันธ์ุ (2554 , บทคัดย่อ) ได้ศึกษาปัญหา และแนวทางการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึง ประสงค์ สำหรับนักเรียนในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาชัยนาท ตามระดับ ช่วงชั้นพบว่า ครูในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาชัยนาท ระดับช่วงช้ันท่ี 1

วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 309 และ 2 มีระดับปัญหาการปฏิบัติการส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และ ค่านิยมที่พึงประสงค์สำหรับนักเรียนระดับการศึกษา ทั้ง 5 ด้าน คือด้านบริหารและนิเทศ ด้านการจัดสภาพแวดล้อม ด้านการจัดการเรียนรู้ ด้านการจัดกิจกรรม และด้านวัดผล ประเมินผล ในระดับน้อย เนื่องจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีความตระหนักต่อการส่งเสริม คุณธรรม จริยธรรมนักเรียน ต้นสังกัดคือกระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาได้จัดสรรงบประมาณให้กับโรงเรียน เพื่อใช้ในการดำเนินโครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ทำให้โรงเรียนต่างๆ สามารถจัด กิจกรรมในรูปแบบหลากหลาย และส่งผลให้นักเรียนมีความเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของ ตนเองไปในทางท่ดี ขี ึน้ 3. แนวทางการส่งเสริมบทบาทผู้บริหารสถานศึกษายุคไทยแลนด์ 4.0 ในการ ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมนักเรียน สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุ ราษฎร์ธานี เขต 3 จากการสัมภาษณผ์ ู้เชี่ยวชาญบทบาทผู้บริหารสถานศึกษายคุ ไทยแลนด์ 4.0 ในการ สง่ เสรมิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรมนักเรียน สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาสรุ าษฎร์ ธานี เขต 3 มีแนวทางการส่งเสริมบทบาทผู้บริหารสถานศึกษายุคไทยแลนด์ 4.0 ในการ สง่ เสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรมนกั เรียน ดังนี้ ผู้บริหาร ควรมีการสำรวจสภาพปัญหาภายในโรงเรียนเกี่ยวกับการส่งเสริม คุณธรรม จริยธรรม และมีการจัดสภาพแวดล้อมสะอาด สวยงามและเหมาะแก่การส่งเสริม คุณธรรม จริยธรรมนักเรียน ส่งเสริมให้ครูมีการบูรณาการการสอนทุกกลุ่มสาระในด้านการ สง่ เสริมคุณธรรม จริยธรรมนักเรียน รวมทั้งมีการจัดอบรมครูด้านคุณธรรม จริยธรรมเพ่ือนำ ความรู้มาสอดแทรกในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ท้ังน้ีผู้บริหารและครูเป็นแบบอย่าง ที่ดีในการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมนักเรียนมีการจัดกิจกรรมเสริมสร้างลักษณะนิสัยแก่ นักเรียนโดยให้วัดและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม รวมไปถึงผู้บริหารควรมีระบบการประเมิน บุคลากรทป่ี ฏบิ ตั ติ นเปน็ แบบอย่างท่ดี แี ละมีความเปน็ กลั ยาณมิตรต่อศิษย์ องค์ความรทู้ ่ไี ดจ้ ากการศึกษา จากการวจิ ัยเกี่ยวกบั บทบาทผู้บริหารสถานศึกษายุคไทยแลนด์ 4.0 ในการส่งเสริม คุณธรรม จริยธรรมนักเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี

310 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) เขต 3 แนวทางการส่งเสริมบทบาทผู้บริหารสถานศึกษายุคไทยแลนด์ 4.0 ในการส่งเสริม คณุ ธรรม จริยธรรมนักเรียน คือ ผู้บริหาร ควรพัฒนาด้านกายภาพ ส่งเสริมให้ครูมีการบูรณา การการสอนทุกกลุ่มสาระ รวมทั้งมีการจัดอบรมครดู ้านคุณธรรม จริยธรรมเพื่อนำความร้มู า สอดแทรกในการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน ท้ังนี้ผู้บริหารและครูเป็นแบบอย่างท่ีดีในการ ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมนักเรียนมีการจัดกิจกรรมเสริมสร้างลักษณะนิสัยแก่นักเรียนโดย ให้วัดและชมุ ชนเข้ามามีสว่ นร่วม รวมไปถึงผ้บู ริหารควรมีระบบการประเมินบคุ ลากรทป่ี ฏบิ ัติ ตนเปน็ แบบอย่างทด่ี ีและมีความเปน็ กัลยาณมติ รต่อศิษย์ เอกสารอ้างอิง สำนักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3. (2561),“ข้อมูลพื้นฐานสังกัด สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3”, สุราษฏร์ธานี : สำนกั งาน. ช่อลดา ตยิ ะบุตร (2556) ความสัมพนั ธร์ ะหว่างการสง่ เสรมิ จริยธรรมความมวี ินัยในโรงเรยี น สงั กัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษานครพนม เขต 2, รายงานการวิจัย :มหาวิทยาลัย ราชภัฏสกลนคร บัวหลวง แสงสวา่ ง. (2554), การศกึ ษาสภาพปญั หาและแนวทางการสงเสริมการจัดการ เรียนรู้เพ่ือพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยมท่ีพึงประสงค์สำหรับนักเรียนใน โรงเรยี นสังกดั สำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษา ลพบุรี, บัณฑิตวิทยาลัย :มหาวิทยาลัย ราชภัฎเทพสตรี. พมิ ลศรี กววี ุฒพิ ันธุ์, (2548), สภาพปัญหาและแนวทางการส่งเสริมการจัดการเรยี นรู้ เพื่อ พฒั นาคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์สำหรบั นกั เรียนในโรงเรยี นสังกัด สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาชัยนาท ตามระดับช่วงชั้น. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวทิ ยาลยั ราชภัฎเทพสตร.ี

การดำเนินงานโรงเรยี นวถิ ีพทุ ธส่คู วามเป็นโรงเรยี นวถิ ีพทุ ธชั้นนำ ของสถานศกึ ษา สังกดั สำนักงานเขตพ้นื ท่ี การศกึ ษาประถมศกึ ษาสงขลา เขต1 The Operation of Buddhist Oriented Schools to Become a Leading Buddhist School Under Songkhla Primary Educational Service Area office 1 1นารี ทองฉิม, 2พระมหาสพุ จน์ สุเมโธ และ 3พระครูพิจิตรศุภการ 1Naree Thongchim, 2Phramahasupot Sumadho and 3Phrakhru Phichitsuphakan มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, วิทยาเขตนครศรีธรรมราช, ประเทศไทย Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Nakhon Si Thammarat, Thailand. [email protected] Received May 10, 2020; Revised July 12, 2020; Accepted August 25, 2020 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการดำเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธสู่ความ เป็นโรงเรียนวิถีพุทธช้ันนำ 2) เพ่ือเปรียบเทียบการดำเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธสู่ความเป็น โรงเรียนวิถีพทุ ธช้ันนำ 3) เพ่ือเสนอแนวทางการพัฒนาการดำเนนิ งานโรงเรียนวิถีพุทธสู่ความ เป็นโรงเรียนวิถีพุทธชั้นนำ ของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา สงขลา เขต 1 ดำเนินการวิจัยด้วยระเบียบวิธีวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed methods research) กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ ผู้อำนวยการสถานศึกษาและครูหัวหน้า

312 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) งาน จำนวน 117 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเป็นแบบสอบถาม โดยมีค่าความเช่ือม่ัน เท่ากับ 0.909 วเิ คราะหข์ ้อมูลโดยใช้ ค่าความถี่ คา่ ร้อยละ ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1. ระดับการดำเนนิ งานโรงเรียนวถิ ีพุทธสู่ความเปน็ โรงเรียนวิถีพทุ ธช้ันนำ โดยรวม อยู่ในระดับมาก เมอ่ื พจิ ารณาเปน็ รายด้าน พบวา่ ด้านกิจกรรมประจำวนั พระ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคอื ดา้ นการสง่ เสรมิ วถิ พี ุทธ สว่ นด้านกายภาพ มคี ่าเฉล่ยี ตำ่ สุด 2. ผลการเปรียบเทียบการดำเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธ กับเกณฑ์การประเมิน โรงเรียนวิถพี ุทธชน้ั นำ พบว่า มีผลการประเมินในระดับไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินโรงเรียนวิถี พุทธชั้นนำ คิดเป็นร้อยละ 61.54 และมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์ในระดับ 4-5 คิดเป็นร้อย ละ 18.80 3. แนวทางการพัฒนาการดำเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธสู่ความเป็นโรงเรียนวิถีพุทธ ช้ันนำโดย ผู้บริหาร ควรมีการปรับปรุงด้านกายภาพตามเกณฑ์การประเมินโรงเรียนวิถีพุทธ ชั้นนำ ส่งเสริมให้ครูและนักเรียนใส่เส้ือสีขาว ทำบุญ ใส่บาตร ฟังเทศน์และรับประทาน อาหารมังสวิรัติในมื้อกลางวันและให้สวดมนต์แปล รวมทั้งให้ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดย บูรณาการวิถีพุทธทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้และในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา โดยผู้บรหิ าร ควรเป็นแบบอย่างในการนำครู นักเรียน รักษาศีล 5 ก่อนรับประทานอาหารจะมีการ พิจารณาอาหาร ไม่ดัง ไม่หก ไม่เหลือ ส่งเสริมให้มีจัดการชั้นเรียนเชิงบวก ไม่ดุด่านักเรียน ชื่นชมความดีหน้าเสาธงทุกวัน ควรมีโครงการพระสอนศีลธรรม และมาสอนอย่างสม่ำเสมอ ผบู้ รหิ ารควรเป็นแบบอยา่ งให้ครูและนกั เรียนมสี มดุ บนั ทึกความดี คำสำคัญ : การดำเนนิ งาน / โรงเรียนวถิ ีพทุ ธ / วิถีพุทธชน้ั นำ Abstract The objectives of this research included: 1) to study the operation of Buddhist oriented schools to be the leading Buddhist oriented schools; 2) to compare the operation of Buddhist oriented schools to be the leading Buddhist oriented schools; and 3) to propose a guideline for operational development of the Buddhist oriented schools to be the leading Buddhist oriented schools under Songkhla Primary Educational Service Area Office 1. This research was conducted by using a mixed-method. The sampling

วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 313 groups used in the research consisted of 117 school directors and teacher supervisors in Buddhist oriented schools. The research tool employed was a questionnaire with 0.909 of reliability. The data were analyzed by using frequency, percentage and standard deviation. Findings were as follows: 1. The overall Level of operation in Buddhist oriented schools was high. When it was considered by each aspect, it was found that the highest average was the activities on Buddhist holy days, followed by Buddhist oriented promotion whereas the lowest mean was the physical aspect. 2. Comparative results between the operation of Buddhist oriented schools and the criteria on evaluation of the leading Buddhist oriented schools, it was found that 61.54 per cents of the schools passed the criteria and the percentage of the schools passed at the level of 4-5 was 18.80. 3. The guidelines proposed to promote the operation of Buddhist oriented schools to be the leading Buddhist oriented schools for the school administrators were as the followings. There should be: physical improvement based on assessment criteria of leading Buddhist oriented schools, encouraging teachers and students to wear white clothes, make merit, give alms, listen to sermons, have vegetarian food for lunch and chanting with translation (from Pali to Thai). Moreover, teachers should organize learning activities by integrating Buddhist oriented learning with all learning groups in Buddhist holy days. The school administrators should be a model for teachers and students in: observation of the Five Precepts; reflection of oneself before meal with silence and without spilling and remaining; encouragement of positive classroom without scolding students but appreciating the good performance of students in front of the flagpole every day; provision of Dhamma teaching program regularly taught by Buddhist monks. Administrators should be a model for teachers and students in self-recording in a notebook on good deeds. Keywords: Operation; Buddhist Oriented Schools; Leading Buddhist Oriented Schools

314 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) บทนำ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2545 และ(ฉบับท่ี 3) พ.ศ.2553 มาตรา 6 (2545 : 3-4) ได้กำหนดความมุ่งหมาย และหลักการจัด การศึกษาต้องเป็นไปเพ่ือพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ท้ังร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนได้ อย่างมีความสุข จากข้อความในพระราชบัญญัติฉบับน้ีช้ีให้เห็นถึงการมุ่งเน้นที่จะปลูกฝัง คุณธรรมจริยธรรมให้เกิดขึ้นกับสังคมไทยและเป็นเมืองแห่งพระพุทธศาสนาให้ม่ันคงและน่า อยู่ และในมาตรา 24 กล่าวถึงกระบวนการจัดการเรียนรู้ไว้ว่า จัดการเรียนการสอนโดย ผสมผสานสาระความรู้ดา้ นต่างๆอย่างได้สดั ส่วนสมดุลกัน รวมทง้ั ปลูกฝงั คณุ ธรรม คา่ นยิ มท่ดี ี งามและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้ในทุกวิชา ซ่ึงในมาตราดังกล่าวนี้แสดงให้เห็นถึงความ พยายามที่ตอ้ งการใหส้ ถานศกึ ษาเปน็ องค์กรสำคญั ในการปลกู ฝงั คณุ ธรรมจรยิ ธรรม กระทรวงศึกษาธิการ (2552 : 2) ได้ตระหนักและเห็นความสำคัญในการพัฒนา คุณภาพการศกึ ษาจึงได้นำแนวทางของพระพทุ ธศาสนามาบูรณาการจัดกจิ กรรมการเรียนการ สอนในรปู แบบ “โรงเรียนวิถีพทุ ธ” เป็นสถานศึกษาในระบบปกติที่นำหลักพทุ ธธรรมหรอื องค์ ความรู้ท่ีเป็นคำสอนในพระพุทธศาสนามาประยุกต์ใช้ในการจัดการศึกษาโดยมีจุดเน้นที่ สำคัญ คือ การนำหลักธรรมมาใช้ในระบบพัฒนาผู้เรียนโดยรวมของสถานศึกษา ซ่ึงอาจเป็น ก าร เรี ย น ก าร ส อ น ใน ภ าพ ร ว ม ข อ งห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ าห รื อ ก า ร จั ด ร ะ บ บ วิ ถี ชี วิ ต ใน สถานศึกษาของผู้เรียนส่วนใหญ่ โดยนำไปสู่จดุ เนน้ ของการพฒั นาให้ผเู้ รียนสามารถกิน อยู่ ดู ฟังเป็น คือใช้ปัญญาและเกิดประโยชน์ที่แท้จริงต่อชีวิต และการจัดการของสถานศึกษาจะ แสดงถึงการจัดสภาพแวดล้อมและบรรยากาศ (ปรโตโฆสะ) ที่เป็นกัลยาณมิตรเอ้ือต่อการ พฒั นารอบด้านทั้งนกี้ ารพัฒนาผู้เรียนดังกล่าวจดั ผ่านระบบไตรสิกขา ท่ีผู้เรยี นได้ศึกษาปฏิบตั ิ อบรมท้งั ศีล หรือพฤตกิ รรมหรอื วินัยในการดำเนินชีวติ ที่ดงี ามสำหรบั ตนและสังคม สมาธิ คือ การพัฒนาจิตรใจที่มีคุณภาพมีสมรรถภาพมีจิตใจที่ต้ังม่ันเข้มแข็งและสงบสุขและปัญญา ท่ีมี ความรูท้ ่ีถูกตอ้ งมศี กั ยภาพในการคิดการแก้ปญั หาที่เหมาะสม (โยนโิ ส มนสิการ) โดยมีครูและ ผูบ้ รหิ ารเปน็ กัลยาณมิตรสำคญั หลังจากน้ันสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานก็ได้นำนโยบายสู่การ พัฒนานวัตกรรมในรูปแบบโรงเรียนวิถีพุทธ ซึ่งเป็นนวัตกรรมการจัดการศึกษาที่ต้องการให้

วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 315 โรงเรียนปกตทิ ั่วไปนำคณุ คา่ ของพุทธธรรมสู่สังคมไทยโดยผ่านการจดั สภาพแวดลอ้ มและการ เรียนรู้ของโรงเรียน เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้เรียนโดยองค์รวมและมีจุดเน้นอยู่ท่ีการพัฒนา หลักไตรสิกขาอย่างบูรณาการ คือ ด้านศีลจะพัฒนาพฤติกรรมไม่ให้เบียดเบียนตนเองและ ผู้อื่น ตลอดจนสิ่งแวดล้อม ด้านสมาธิจะพัฒนาให้มีจิตใจที่เข้มแข็งและมีสุขภาพดีมีความสุข สงบ ด้านปัญญาเป็นการพัฒนาความรู้ที่เข้าใจและเท่าทันโลกและชีวิต ซ่ึงไตรสิกขาจะส่งผล ให้ผู้ที่ได้รับการศึกษาพัฒนาสู่การมีชีวิตที่ดีงาม มีความสุขและดำเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสม ทำให้มีชีวิตทีส่ ันติสุขได้อันเป็นส่วนสำคัญท่ีจะทำให้เกิดสันติภาพในสังคมได้ (พระพรหมคณุ า ภรณ,์ (ป.อ.ปยตุ ฺโต), 2552 :13-14) สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1 มีโรงเรียนสมัครเข้าร่วม โครงการจำนวน 72 โรงเรียน และเป็นโรงเรียนวิถีพุทธช้ันนำเพียง 8 โรงเรียนเท่านั้น จาก จำนวนโรงเรียนท้ังหมด 141 โรงเรียน จากผลการดำเนินงานของโรงเรียนวิถีพุทธสังกัด สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1 ท่ีเข้าร่วมโครงการ มีรูปแบบการ ดำเนินงานท่ีแตกต่างกันตามบรบิ ทและความพร้อมของสถานศึกษาแม้จะมีการพฒั นาตามอัต ลกั ษณ์ 29 ประการตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ แต่จากการท่ีผูว้ ิจัยได้มีส่วนรว่ มในโครงการโรงเรยี นวิถี พุทธ พบว่า การดำเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธเพ่ือพัฒนาไปสู่ความเป็นโรงเรียนวิถีพุทธช้ันนำ ของโรงเรียนสังกัดสำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1 ส่วนใหญ่ยังมีสิง่ ที่ ควรพฒั นาและปรับปรุง สว่ นวางแผนและพัฒนาการอบรม มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลยั (2562 : ออนไลน์) ผู้วิจัยจึงสนใจท่ีจะศึกษาการดำเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธของสถานศึกษาสังกัด สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1 ให้ทราบถึงการดำเนินงานโรงเรียน วิถีพุทธสู่ความเป็นโรงเรียนวิถีพุทธช้ันนำ เพ่ือจะได้นำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ในการ บริหารและการดำเนนิ งานโรงเรยี นวิถีพุทธให้มีประสทิ ธิภาพต่อไป วัตถปุ ระสงค์การวจิ ยั 1. เพื่อศึกษาการดำเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธตามเกณฑ์โรงเรียนวิถีพุทธชั้นนำของ สถานศกึ ษาสังกัดสำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1 2. เพอ่ื เปรียบเทียบการดำเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธของสถานศึกษาสังกัดสำนักงาน เขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1 กับเกณฑ์การประเมินโรงเรียนวิถพี ุทธช้ันนำ

316 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) 3. เพื่อเสนอแนวทางการพัฒนาการดำเนินงานโรงเรยี นวิถีพุทธสคู่ วามเป็นโรงเรยี น วถิ ีพุทธชัน้ นำของสถานศกึ ษาสังกัดสำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1 วธิ ดี ำเนินการวจิ ยั 1.ประชากรและกล่มุ ตัวอย่าง ประชากรท่ีใช้ในการวิจัยครั้งน้ี ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูหัวหน้างานของ โรงเรียนวิถีพุทธสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1 จำนวน 72 โรงเรยี น จำนวน 216 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคร้ังนี้ เป็นผู้บรหิ ารสถานศึกษาและครูหัวหน้างานของ โรงเรียนวิถีพุทธสังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1 ใช้วิธีการเลือก กลุ่มตัวอย่างโดยการสุ่มตัวอย่าง โดยใช้ตารางกำหนดขนาดของR.V.Krejcie &D.W.Morgan ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 140 คน ได้คืนกลับมาจำนวน 117 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 83.57 จึง นำมาใช้ในการวิเคราะห์ 2. เครื่องมอื ทีใ่ ช้ในการรวบรวมขอ้ มูล 2.1 แบบสอบถามความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาและครูหัวหน้างานต่อ การดำเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธสู่ความเป็นโรงเรียนวิถีพุทธช้ันนำของสถานศึกษาสังกัด สำนกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1 2.2 แบบสัมภาษณ์แนวทางการพัฒนาการดำเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธสู่ความ เป็นโรงเรียนวิถีพุทธช้ันนำของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา สงขลา เขต 1 3.การวเิ คราะหข์ ้อมลู ในการวเิ คราะหข์ ้อมูล ผู้วิจัยดำเนินการตามลำดับดังน้ี 3.1 วเิ คราะห์ข้อมลู เก่ียวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม วเิ คราะห์โดยใช้ คา่ ความถี่ (Frequency) และคา่ ร้อยละ (Percentage) 3.2 วิเคราะห์ระดับความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาและครูหัวหน้างาน ของโรงเรียนวิถีพุทธ สังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสงขลาเขต 1 วิเคราะห์ โดยใช้ค่าเฉล่ีย (Mean) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)ของคะแนน จากการตอบแบบสอบถาม

วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 317 3.3 วิเคราะห์เปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาและครูหัวหน้า งานการดำเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธสู่ความเป็นโรงเรียนวิถีพุทธชั้นนำของสถานศึกษาสังกัด สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1 วิเคราะห์โดยโดยใช้เกณฑ์การ ประเมินโรงเรียนวิถีพทุ ธชัน้ นำ 3.4 วิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนาโดยรวบรวม เรียบเรียงข้อมูล เพ่ือนำมาเสนอ แนวการดำเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธสู่ความเป็นโรงเรียนวิถีพุทธช้ันนำของสถานศึกษาสังกัด สำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสงขลา เขต 1 ผลการวจิ ัย การวิจัยเร่ืองการดำเนินงานโรงเรยี นวิถีพุทธสู่ความเป็นโรงเรียนวิถีพุทธชั้นนำของ สถานศกึ ษาสงั กดั สำนกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1 สรปุ ได้ ดังนี้ 1. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกับการดำเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธสู่ความเป็น โรงเรียนวิถีพุทธช้ันนำของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา สงขลา เขต 1 พบว่า ผู้บริหารสถานศึกษา และครูหัวหน้างานมีการดำเนินงานโรงเรียนวิถี พุทธสู่ความเป็นโรงเรียนวิถีพุทธชั้นนำของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ประถมศกึ ษาสงขลา เขต 1 โดยรวมมคี ่าเฉลยี่ ( =3.83) อย่ใู นระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านกิจกรรมประจำวันพระ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือด้านการส่งเสริมวิถีพุทธ ส่วนด้านกายภาพ มีค่าเฉล่ียต่ำสุด โดยมีรายละเอียด รายด้านดงั น้ี 1.1การดำเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธสู่ความเป็นโรงเรียนวิถีพุทธช้ันนำของ สถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1 ด้านกายภาพ พบว่า ไม่มีส่ิงเสพติด เหล้า บุหรี่ 100% มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือ มีความสะอาด สงบ ร่ม รืน่ และมีพระพทุ ธรปู ประจำห้องเรียน มคี ่าเฉล่ียต่ำสุด 1.2 การดำเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธสู่ความเป็นโรงเรียนวิถีพุทธช้ันนำของ สถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1 ด้านกิจกรรม ประจำวนั พระ พบว่า ทำบุญใส่บาตร ฟังเทศน์ มีค่าเฉลี่ยสงู สดุ รองลงมาคือ เสื้อสีขาวทุกคน และรับประทานอาหารมงั สวิรตั ใิ นมอื้ กลางวนั มีค่าเฉล่ยี ต่ำสดุ

318 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) 1.3 การดำเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธสู่ความเป็นโรงเรียนวิถีพุทธชั้นนำของ สถานศกึ ษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาสงขลา เขต 1 ด้านการเรยี นการ สอน พบว่า บูรณาการวิถีพุทธทุกกลุ่มสาระและในวันสำคัญทางพุทธศาสนา มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือ ครู ผู้บรหิ ารและนักเรียนทุกคนไปปฏิบัตศิ าสนกิจท่ีวดั เดือนละ 1 ครั้ง มีวัดเป็น แหล่งเรียนรู้ และครู ผู้บริหาร และนักเรียนทุกคนเข้าค่ายปฏิบัติธรรมอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง มคี า่ เฉลี่ยตำ่ สุด 1.4 การดำเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธสู่ความเป็นโรงเรียนวิถีพุทธชั้นนำของ สถานศกึ ษาสังกดั สำนักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1 ด้านพฤติกรรม ครู ผู้บริหารโรงเรียนและนักเรียน พบว่า ย้ิมง่าย ไหว้สวย กราบงาม มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา คอื ก่อนรับประทานอาหารจะมกี ารพิจารณาอาหาร รับประทานอาหารไม่ดัง ไม่หก ไม่เหลือ และรกั ษาศลี 5 มีคา่ เฉลี่ยต่ำสดุ 1.5 การดำเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธสู่ความเป็นโรงเรียนวิถีพุทธช้ันนำของ สถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1 ด้านการส่งเสริม วิถีพุทธ พบว่า ช่ืนชมคุณความดีหน้าเสาธงทุกวัน มีค่าเฉล่ียสูงสุด รองลงมาคือ โฮมรูมเพื่อ สะท้อนความรู้สึกเช่นความรู้สึกท่ีได้ทำ ความดี และครู ผู้บริหาร และนักเรียนสอบได้ธรรม ศกึ ษาตรีเปน็ อยา่ งนอ้ ย มคี ่าเฉลย่ี ตำ่ สดุ 2. ผลการเปรยี บเทยี บระดับการดำเนินงานโรงเรียนวิถพี ุทธสู่ความเป็นโรงเรียน วิถีพุทธช้นั นำของสถานศกึ ษาสงั กดั สำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1 กับเกณฑ์การประเมินโรงเรยี นวถิ พี ทุ ธช้นั นำ ผลการเปรียบเทียบการดำเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธสู่ความเป็นโรงเรียนวิถีพุทธชั้น นำของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1 กับเกณฑ์ การประเมินโรงเรียนวิถีพุทธชั้นนำ ดังน้ี มีโรงเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จำนวน 72 คน คิดเป็นร้อยละ 61.54 และมีโรงเรียนผ่านเกณฑ์การประเมิน ระดับ 1 จำนวน 6 คน คิด เป็นร้อยละ 5.13 ผ่านเกณฑ์การประเมิน ระดับ 2 จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 5.13 ผ่าน เกณฑ์การประเมิน ระดับ 3 จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 9.40 ผ่านเกณฑ์การประเมิน ระดับ 4 จำนวน 5 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 4.27 ผ่านเกณฑ์การประเมิน ระดบั 5 จำนวน 17 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 14.53

วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 319 3. ผลการวิเคราะห์แนวทางการพัฒนาการดำเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธสู่ความ เป็ น โ ร ง เรี ย น วิ ถี พุ ท ธ ช้ั น น ำ ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า สั ง กั ด ส ำ นั ก ง า น เข ต พื้ น ท่ี ก า ร ศึ ก ษ า ประถมศึกษาสงขลา เขต 1 จากการสัมภาษณ์ผ้เู ชย่ี วชาญการพัฒนาการดำเนินงานโรงเรียนวถิ ีพุทธสู่ความเป็น โรงเรียนวิถีพุทธช้ันนำของสถานศึกษามีความคิดเห็นไปในทิศทางเดียวกันว่า ด้านกายภาพ น้ันหลังจากโรงเรียนได้รบั การคัดเลือกเป็นโรงเรียนวิถีพุทธทุกฝ่ายได้ร่วมกันปรับปรุงท้ังด้าน อาคารสถานที่และสภาพแวดล้อมภายในโรงเรียนพร้อมต่อการเรียนรู้ จัดให้มีพระพุทธรูป หน้าโรงเรียนมีป้ายโรงเรียนวิถีพุทธ มีลานธรรม มีพุทธศาสนสุภาษิตและจัดกิจกรรมต่างๆ ตามเกณฑ์ประเมินตัวช้ีวัดของโรงเรียนวิถีพุทธช้ันนำและเข้ารับการประเมินตนเอง ปีละ 2 ครั้ง ทุกโรงเรียนเป็นโรงเรียนปลอดบุหรี่ 100 % ซึ่งด้านกิจกรรมประจำวันพระ โรงเรียนได้ ดำเนนิ กิจกรรมประจำวันพระตามเกณฑ์ท่ีกำหนด คือ จัดกิจกรรมไปวัดวันพระ โดยนักเรียน ครู และบุคลากรแต่งชุดขาว รับประทานอาหารมังสวิรัติในม้ือกลางวัน สัปดาห์ละ 1 วัน มี กจิ กรรมสวดมนตไ์ หว้พระสปั ดาห์ละ 1 ครัง้ ด้านกจิ กรรมการเรียนการสอน โรงเรยี นเน้นให้ครู จัดกิจกรรมการเรยี นการสอนโดยบรู ณาการการสอดแทรกคุณธรรม จรยิ ธรรมตามแนวทางวิถี พุทธทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยเฉพาะวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาส่งเสริมให้นักเรียนทำ โครงงานคุณธรรมนักเรียนเข้าค่ายคุณธรรมอย่างน้อยปีละ 1 คร้ัง ทำกิจกรรมจิตอาสา นักเรียนน่ังสมาธิก่อนเข้าเรียนท้ังภาคเช้าและภาคบ่าย ด้านพฤติกรรม ครู ผู้บริหารโรงเรียน และนักเรียน ครูควรเป็นแบบอย่างที่ดีแก่นักเรียนในเร่ืองการไหว้ การยิ้มการทักทาย จัดให้มี การอบรมมารยาทไทย ส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักออม ถนอมใช้เงินโดยจัดกิจกรรมฝากออม ทรัพย์ กอ่ นรับประทานอาหารกลางวนั ทุกวันนักเรียนพิจารณาอาหาร ไม่หก ไม่เหลือ ครูและ นักเรียนปฏิบัติตนในการถือศีล 5 และด้านการส่งเสริมวิถีพุทธ โรงเรียนได้ส่งเสริมแนว ทางการปฏิบัติตนตามแนวทางโรงเรียนวิถีพุทธ 8 ประการ อย่างสม่ำเสมอ ส่งเสริมให้ครู บริหารจัดการช้ันเรียนเชิงบวกไม่ดุด่านักเรียน ไม่พูดคำหยาบ นักเรียนทุกคนมีสมุดบันทึก ความดีและช่ืนชมความดีหน้าเสาธง ทุกวัน โรงเรียนมีโครงการครูพระสอนศีลธรรม ผู้บริหาร ส่งเสรมิ ให้ครูและนักเรียนสอบนกั ธรรมช้นั ตรที กุ ปี

320 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) อภปิ รายผล จากผลการวิจัยการดำเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธสู่ความเป็นโรงเรียนวิถีพุทธช้ันนำ ของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสงขลาเขต 1 มีประเด็นท่ี นา่ สนใจ สามารถอภิปรายผลการวิจัย ดังน้ี 1. ผลการวิเคราะห์การดำเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธสู่ความเป็นโรงเรียนวิถีพุทธ ชั้นนำของสถานศึกษาสังกดั สำนกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาสงขลา เขต 1 ผลจากการวิเคราะห์การดำเนินงานโรงเรียนวถิ ีพทุ ธสูค่ วามเป็นโรงเรยี นวถิ ีพุทธช้ัน นำของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1 โดยรวมอยู่ ในระดับมาก ทั้งน้ีอภิปรายว่า โรงเรียนวิถีพุทธของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ี การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1 ได้มีการปฏิบัติกิจกรรมท้ัง 5 ด้าน ได้แก่ 1) ด้าน กายภาพ 2) ด้านกิจกรรมประจำวันพระ 3) ด้านการเรียนการสอน 4) ด้านพฤติกรรมครู ผู้บริหารโรงเรียน และนักเรียน และ5) ด้านการส่งเสริมวิถีพุทธ อย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ มี เป้าหมายท่ีชัดเจนในการพัฒนาเพ่ือไปสู่โรงเรียนวิถีพุทธช้ันนำและยึดองค์ประกอบการเป็น พระพุทธศาสนา 4 ประการ ไว้เป็นหลัก คือ 1) ศาสนบุคคล 2) ศาสนธรรม 3) ศาสนวัตถุ 4) ศาสนพิธี มีกระบวนการข้ันตอนท่ีเป็นแบบแผนไปตามพระศาสนาสะท้อนความเป็นโรงเรียน วิถีพุทธอย่างแท้จริงซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของวรเทพ เวียงแก (2557 : 5) ได้วิจัยเร่ือง ทศั นคติของครูและผู้บริหารสถานศึกษาท่ีมีต่อการดำเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธ : ศึกษาเฉพาะ กรณี อำเภอหนองเรือ สังกัดสำนกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาขอนแก่น เขต 5 โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาทัศนคติของครูและผู้บริหารสถานศึกษาที่มีตอ่ การดำเนินงานโรงเรยี นวิถีพทุ ธ และ เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเก่ียวกับปัญหาและแนวทางแก้ไขปัญหาการดำเนินงานตามโรงเรียน วิถีพุทธ ผลการวิจัย พบว่า 1. ทัศนคติของครูและผู้บริหารสถานศึกษาที่มีการดำเนินงาน โรงเรียนวิถพี ุทธโดยภาพรวม อยใู่ นระดับมากและยงั สอดคลอ้ งกบั งานวิจัยของสริญญา มาต นอก (2556 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาเร่ือง ปัญหาและแนวทางการดำเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธ สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3 พบว่า ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงเรียนวิถีพุทธในสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3 โดยภาพรวมและราย ด้านอยู่ในระดับมาก โดยด้านท่ีที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการจัดวิถีพุทธสู่วิถีการเรียนรู้

วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 321 รองลงมา คือ ด้านกิจกรรมเสนอแนะการพัฒนา ส่วนด้านท่ีมีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านการ บรหิ ารจัดการศกึ ษาโรงเรียนวิถพี ทุ ธ เมอ่ื พจิ ารณาผลการวิจยั เปน็ รายดา้ นสามารถนำมาอภิปรายผลวิจัยไดด้ ังนี้ 1. ด้านกายภาพ พบว่า ผู้อำนวยการสถานศึกษาและครูหัวหน้างาน มีการ ดำเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธสู่ความเป็นโรงเรียนวิถีพุทธช้ันนำ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ทั้งน้ีอภิป รายว่า สภ าพ โรงเรียนวิถีพุ ทธด้านกายภ าพ จึงเป็น สิ่งสำคัญ อย่างย่ิง กระทรวงศึกษาธิการ จึงได้กำหนดแนวทางให้ผู้บริหารโรงเรียนใช้หลักพุทธธรรมในการจัด สภาพแวดล้อมและบรรยากาศท่ีเป็นกัลยาณมิตรเอื้อในการพัฒนาผู้เรยี นอย่างรอบด้าน ด้วย วิถีวัฒนธรรมแสวงปญั ญา เชน่ อาคารสถานท่เี หมาะสมเพยี งพอ แหล่งเรียนรอู้ ปุ กรณท์ ันสมัย ตรงตามความต้องการ บรรยากาศที่ส่งเสริมการเรียนรู้และการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม บุคลากรเป็นแบบอย่างท่ีดี โภชนาการดีส่งเสริมสุขภาพพลานามัย อากาศดี ปลอดโปร่ง สบาย ไม่มีมุมอับ ไรฝ้ ุ่น ไรม้ ลภาวะ กจิ กรรมท้ังในและนอกหอ้ งเรียนเหมาะสมกบั ผเู้ รียน 2. ด้านกิจกรรมประจำวันพระพบว่าผู้อำนวยการสถานศึกษาและครูหัวหน้างานมี การดำเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธสู่ความเป็นโรงเรียนวิถีพุทธช้ันนำ โดยรวมอยู่ในระดับมาก ทง้ั น้อี ภิปรายว่า โรงเรยี นเปน็ สถานที่ถ่ายทอดความรแู้ ละวัฒนธรรมท่ีดีงาม การเรยี นร้ใู นอดีต โรงเรียนมักจะอยู่กับวัดทำให้เกิดการซึมซับเอาวถิ ีพุทธสาสนาจากการปฏบิ ัติของชาวบ้าน ซ่ึง ชาวบ้านเป็นแบบอย่างในลักษณะ“สอนให้รู้ อยู่ให้เห็น”มีสติในการดำรงชีวิตในชุมชน มีการ สั่งสมทุนทางปัญญาถ่ายทอดสู่คนรุ่นหลัง รุ่นแล้ว รุ่นเล่าการสอนของชาวบ้านมีความลึกซึ้ง เป็นการสอนท่ีทำให้ไม่รู้สึกว่าถูกสอน เป็นการปฏิบัติท้ังทางด้านร่างกาย(กายภาวนา) จิตใจ (จิตภาวนา)ความประพฤติ(ศีลภาวนา)และปัญญา(ปญั ญาภาวนา) ซึ่งสอดคล้องกับขวัญมนัส พิศิษฎ์ธรรมากร (2554 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาวิจัยเร่ือง การบริหารจัดการโรงเรยี นวิถีพุทธใน สงั กัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษาพะเยาเขต 2 ผลการวิจยั พบว่า 1)สภาพการ ปฏิบัติงานและความคาดหวงั ในการบรหิ ารจดั การโรงเรียนวถิ ีพุทธในสงั กดั สำนกั งานเขตพืน้ ที่ การศึกษาประถมศึกษาพะเยาเขต 2 ภาพรวมและรายด้าน อยู่ในระดับมาก 2) เปรียบเทียบ สภาพการปฏิบัติงานและความคาดหวังในการบริหารจัดการโรงเรียนวิถีพุทธในสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพะเยาเขต 2 ตามขนาดโรงเรยี น โดยรวมและราย ดา้ น ไมม่ ีความแตกตา่ งกันอยา่ งมีนยั สำคญั ทางสถิติ

322 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) 3. ด้านกิจกรรมประจำวันพระ พบว่า ผู้อำนวยการสถานศึกษาและครหู ัวหน้างาน มีการดำเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธสู่ความเป็นโรงเรียนวิถีพุทธช้ันนำ โดยรวมอยู่ในระดับมาก ทั้งน้ีอภิปรายว่า กระบวนการจัดการเรียนรู้ควรมีลักษณะ “สอนให้รู้ ทำให้ดู อยู่ให้เห็น” โดย นักเรียนมีกระบวนการเรียนรู้การพัฒนาท้ังด้านกาย (กายภาวนา) ด้านความประพฤติ (สีล ภาวนา) ด้านจิตใจ (จิตตภาวนา) และด้านปัญญา (ปัญญาภาวนา) โดยมุ่งให้นักเรียนมี คุณลักษณะ“กิน อยู่ ดู ฟังเป็น”เพ่ือให้เกิดประโยชน์ในการพัฒนาตนและสังคมโดยไม่ เบียดเบียนผู้ใด และเก้ือกูลในการพัฒนาวัฒนธรรมแสวงปัญญา และวัฒนธรรมเมตตา เช่น “การกิน อยู่เป็น”เพ่ือประโยชน์ในการดำรงชีวิตอยู่ได้เหมาะสมเป็นไปตามคุณค่าแท้ หรือ “การดู ฟงั เป็น” เพ่อื เน้นประโยชน์ในการเรยี นรู้เพ่ิมพูนปญั ญา ซ่ึงสอดคล้องกับศรสี ดุ า รตั นะ (2555 : 89) ได้ศึกษาวิจัยเร่ือง สภาพปัญหาการดำเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธในจังหวัดตรัง ผลการวิจัยพบว่า ผู้บริหารและครูหัวหน้างานมีความคิดเห็นเก่ียวกับสภาพปัญหาการ ดำเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธในจังหวัดตรัง โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก เรียงลำดับ ตามค่าเฉล่ียจากมากไปหาน้อยได้ดังนี้ ด้านกายภาพ รองลงมา ด้านการเรียนการสอน ด้าน การบริหารจดั การ ดา้ นกิจกรรมพน้ื ฐานชวี ิตและดา้ นบรรยากาศและปฏิสัมพันธ์ 4. ด้านพฤติกรรมครู ผู้บริหารโรงเรียนและนักเรียน อภิปรายว่า สถานศึกษาใน ระบบปกติที่นำหลักธรรมหรือองค์ความรู้ที่เป็นคำสอนในพระพุทธศาสนามาประยุกต์ใช้ใน การจัดการศึกษาของสถานศึกษานั้น โดยมีจุดเน้นท่ีสำคัญ คือ การนำหลักธรรมมาใช้ใน ระบบการพฒั นาผเู้ รียนโดยรวมของสถานศึกษา ซ่งึ อาจเป็นการเรยี นการสอนในภาพรวมของ หลักสูตรสถานศึกษา หรือการจัดระบบวิถีชีวิตในสถานศึกษาของผู้เรียนส่วนใหญ่โดยนำไปสู่ จดุ เน้นของการพัฒนาใหผ้ ู้เรยี นสามารถกิน อยู่ ดู และฟังเป็น คอื ใชป้ ัญญาและเกิดแท้จริงต่อ ชีวิต และการดำเนินการของสถานศึกษาจะแสดงถึงการจัดสภาพแวดล้อมและบรรยากาศ (ปรโตโฆสะ) ท่ีเป็นกัลยาณมิตรเอื้อในการพัฒนาผู้เรียนอย่างรอบด้าน ด้วยวิถีวัฒนธรรม แสวงหาปัญญา ท้ังน้ีการพัฒนาผู้เรียนดังกล่าวจัดผ่านระบบไตรสิกขา ที่ผู้เรียนได้ศึกษา ปฏิบัติอบรม ทั้งศีลที่มีคุณภาพ มีสมรรถภาพมีจิตใจท่ีต้ังมั่นเข้มแข็งและสงบสุข และปัญญา ทีม่ ีความรู้ที่ถูกต้องมีศักยภาพในการคิด การแก้ปัญหาที่เหมาะสม (โยนิโสมนสิการ) โดยมีครู และผู้บริหารสถานศึกษาเป็นกัลยาณมิตรสำคัญ ที่รักและปรารถนาดีที่จะพัฒนาผู้เรียนอย่าง ดีท่ีสุดด้วยความเพียรพยายามซ่ึงสอดคล้องกับ Krebbs (1997,36) ได้ทำการวิจัยเรื่อง กรณีศึกษา : หลักธรรมของศาสนาคริสต์นิกายคาธอลิก ผลการวิจยั พบว่า พฤติกรรมของครูท่ี

วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 323 เป็นอาสาสมัครและผู้บริหารโรงเรียนในโครงการท้ัง 3 แห่ง และศึกษาจากการวิเคราะห์ เอกสารและสังเกต เป็นข้อมูลเชิงคุณภาพท่ีรวบรวมไว้เป็นหมวดหมู่ ผู้ท่ีตอบแบบสอบถาม เชื่อว่าหลักธรรมของศาสนาจะต้องจัดควบคู่กับหลักสูตรของโรงเรียนท่ีจัดไว้อย่างเหมาะสม และถ้ามีเครื่องมือท่ีมีประสิทธิภาพจะส่งผลต่อการนำหลักธรรมของศาสนามาใช้ในหลักสูตร เป็นอย่างมากจากการศึกษาหลักธรรมของหลักสูตรศาสนาคริสต์ (คาธอลิก) ลักษณะเฉพาะ ของศาสนาคริสต์ (คาธอลิก) และการยอมรับของชุมเพื่อการพัฒนาคุณธรรมท่ีย่ังยืนส่งผลให้ ควรมีการดำเนินการนำหลักธรรมของศาสนาครสิ ต์ (คาธอลกิ ) มาบรรจุในหลักสูตรและควรมี การวางแผนต่อไป เพื่อเป็นการพัฒนาคุณธรรมที่นักเรียนมาใช้ประโยชน์ได้จริงอย่างม่ันคง 5. ด้านการส่งเสริมวิถีพุทธพบวา่ ผู้อำนวยการสถานศึกษาและครูหัวหน้างานมีการ ดำเนินงานโรงเรียนวิถีพทุ ธสูค่ วามเปน็ โรงเรียนวิถีพุทธชนั้ นำ ท้งั นี้อภปิ รายว่า การดำเนินการ พัฒนาตามระบบไตรสิกขา จุดเน้นการดำเนินการพัฒนา คือนักเรียนของสถานศึกษา โดย เป็นการพัฒนาตามระบบไตรสิกขาที่เป็นลักษณะบูรณาการ ทั้งในกิจกรรมการเรียน การสอน ตามหลักสูตร และกิจกรรมวิถีชีวิตต่างๆ ที่ส่งเสริม “การกิน อยู่ ดู ฟังเป็น” เป้าหมายการ พัฒนาจัดให้มีความชัดเจนท่ีพัฒนาท้ังองค์รวมของชีวิตที่จะนำไปสู่การพัฒนาชีวิตที่สมบูรณ์ ในท่ีสุด นอกจากการพัฒนาผู้เรียนอันเป็นภาระหลักแล้วสถานศึกษาจำเป็นต้องไม่ละเลยการ พัฒนาบุคลากรของตนเองทั้งหมดด้วย เพราะบุคลากรโดยเฉพาะอย่างยิ่ง คือ ครูและ ผู้บริหารจะเป็นปัจจัยสำคัญในการพัฒนาผู้เรียน ซึ่งสอดคล้องกับ เฉลิมรัก สดใส (2554,บทคัดย่อ) ได้วิจัยเรื่องการส่งเสริมการดำเนินงานจัดการศึกษาโรงเรียนวิถีพุทธ โรงเรียนประถมศึกษา สำนักงานเขตธนบุรี สังกัดกรุงเทพมหานคร โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือ ศึกษาและเปรียบเทียบการส่งเสริมการดำเนินงานจัดการศึกษาโรงเรียนวิถีพุทธ โรงเรียน ประถมศึกษา 5 ด้าน ได้แก่ ด้านการบริหารจัดการโรงเรียนวิถีพุทธ ด้านการจัดวิถีพุทธสู่การ เรียนรู้ ดา้ นกิจกรรมเสนอแนะการพฒั นา ด้านการพฒั นาบคุ ลากรและลักษณะบุคลากร และ ด้านการเกื้อกูลสัมพันธ์โรงเรียนวิถีพุทธและชุมชน จำแนกตามระดับการศึกษา ขนาด โรงเรียนและประสบการณ์ทำงาน ผลการวิจัยพบว่า 1) การส่งเสริมการดำเนินงานจัด การศึกษาโรงเรียนวิถีพทุ ธ โรงเรยี นประถมศึกษา สำนักงานเขตธนบุรี สังกัดกรงุ เทพมหานคร โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก 2) การเปรียบเทียบการส่งเสริมการดำเนินงานจัด การศึกษาโรงเรียนวิถีพุทธโรงเรียนประถมศึกษา สำนักงานเขตธนบุรี สังกัดกรงุ เทพมหานคร

324 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) ตามความเห็นของครู จำแนกตามระดับการศึกษา พบว่า ครูที่มีระดับการศึกษาต่างกันมีการ ส่งเสริมการดำเนินงานโดยรวมและรายด้านได้แก่ ด้านการบริหารจัดการโรงเรียนวิถีพุทธ และด้านการพัฒนาบุคลากรและคุณลักษณะบุคลากร แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคญั ทางสถิติที่ ระดับ .05 สำหรับครูท่ีอยู่ในโรงเรียนขนาดต่างกันมีการส่งเสริมโดยรวมไม่แตกต่างกัน และ เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านการบริหารจัดการโรงเรียนวิถีพุทธ มีการส่งเสริมแตกต่าง กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนครูท่ีทีประสบการณ์การทำงานต่างกัน มีการ ส่งเสริมการดำเนินงานจัดการโรงเรียนวิถีพุทธ โดยรวมและรายด้านได้แก่ ด้านการบริหาร จดั การโรงเรียนวิถพี ทุ ธ ด้านกิจกรรมเสนอแนะการพฒั นา 2. ผลการเปรียบเทียบการดำเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธสู่ความเป็นโรงเรียนวิถี พุทธช้ันนำของสถานศึกษาสังกดั สำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1 ตามเกณฑ์การประเมินโรงเรยี นวิถีพุทธช้นั นำ จากการเปรียบเทียบระดับผลการดำเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธสู่ความเป็นโรงเรียน วิถีพุทธช้ันนำของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1 อภิปรายว่า สถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1 ส่วน ใหญ่จะอยู่ในเกณฑ์ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินโรงเรียนวิถีพุทธชั้นนำ จำนวน 72 คน คิดเป็น ร้อยละ 61.54 เพราะยังขาดความพรอ้ มในหลายๆ ด้าน เนื่องจากเงอื่ นไขสำคัญท่ีโรงเรียนจะ ดำเนินการโรงเรียนวิถีพุทธอย่างเป็นรูปธรรม มี 29 ประการ สู่ความเป็นโรงเรียนวิถีพุทธชั้น นำ มีช่ือเรียกว่า “อัตลักษณ์วิถีพุทธ 29 ประการ” และมีการเยี่ยมประเมินการดำเนินการดู ความพร้อม ส่งเสริมสนับสนุนให้โรงเรียนดำเนินการอย่างต่อเนื่องให้เห็นเป็นรูปธรรม ซึ่ง สอดคล้องกับงานวิจัย ดวงธิดา ฟูตระกูล (2554,บทคัดย่อ) ได้วิจัยเรื่อง กระบวนการ ดำเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธที่ส่งผลต่อคุณลักษณะของนักเรียนโรงเรยี นวิถีพุทธในอำเภอปาก พลี สังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษานครนายก ผลการวิจัยพบว่า กระบวนการดำเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธที่ส่งผลต่อคุณลักษณะของนักเรียนโรงเรียนวิถีพุทธ ในอำเภอปากพลี สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษานครนายก โดยภาพรวมมี ระดบั การปฏิบัติงานอยู่ในระดบั มาก เมอื่ พิจารณารายด้านพบว่า ขั้นดำเนินการจัดสภาพและ องค์ประกอบ ข้ันดำเนินการพัฒนาตามระบบไตรสิกขา ข้ันประเมินผลและเผยแพร่ผลการ ดำเนนิ การ มกี ารปฏิบัติงานอยใู่ นระดับมากท่สี ุด 3 ดา้ นเรียงตามลำดับ ส่วนข้ันท่ีมรี ะดับการ

วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 325 ปฏิบัติน้อยท่ีสุด คือ ขั้นปรับปรุงและพัฒนาต่อเนื่อง พบว่า มีการปฏิบัติงานอยู่ในระดับปาน กลาง 3. แนวทางการพัฒนาการดำเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธสู่ความเป็นโรงเรียนวิถี พุทธชน้ั นำของสถานศึกษาสงั กัดสำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาสงขลา เขต 1 จากการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญการดำเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธสู่ความเป็นโรงเรียน วิถีพุทธช้ันนำของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1 มีแนวทางในการดำเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธสู่ความเป็นโรงเรียนวิถีพุทธชั้นนำ ดังนี้ ผู้บริหาร ควรมีการปรับปรุงด้านกายภาพตามเกณฑ์การประเมินโรงเรียนวิถีพุทธช้ันนำ ส่งเสริมให้ครู และนักเรียนใส่เสื้อสีขาว ทำบุญ ใส่บาตร ฟังเทศน์และรับประทานอาหารมังสวิรัติในมื้อ กลางวันและให้สวดมนต์แปล รวมท้ังให้ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยบูรณาการวิถีพุทธทุก กลุ่มสาระการเรียนรู้และในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา โดยผู้บริหารควรเป็นแบบอย่างใน การนำครู นักเรียน รักษาศีล 5 ก่อนรับประทานอาหารจะมีการพิจารณาอาหาร ไม่ดัง ไม่หก ไม่เหลือ ส่งเสริมให้มีจัดการชัน้ เรยี น เชิงบวก ไม่ดุดา่ นักเรียน ช่ืนชมความดีหน้าเสาธงทุกวัน ควรมีโครงการพระสอนศีลธรรม และมาสอนอย่างสมำ่ เสมอ ผบู้ รหิ ารควรเป็นแบบอย่างให้ครู และนักเรียนมีสมุดบันทกึ ความดีและสอบไดน้ ักธรรมตรีทกุ ปี องค์ความรทู้ ี่ไดจ้ ากการศกึ ษา จากการวิจัยเกี่ยวกับการดำเนนิ งานโรงเรยี นวถิ ีพทุ ธสู่ความเป็นโรงเรยี นวิถีพทุ ธชั้น นำของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1ในการ พัฒนาการดำเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธสู่ความเป็นโรงเรียนวิถีพุทธช้ันนำโดย ผู้บริหาร ควรมี การปรับปรุงด้านกายภาพตามเกณฑ์การประเมินโรงเรียนวิถีพุทธช้ันนำ ส่งเสริมให้ครูและ นักเรียนใส่เสื้อสีขาว ทำบุญ ใส่บาตร ฟังเทศน์และรับประทานอาหารมังสวิรัติในม้ือกลางวัน และให้สวดมนต์แปล รวมทั้งให้ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยบูรณาการวิถีพุทธทุกกลุ่มสาระ การเรียนรู้และในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา โดยผู้บริหารควรเป็นแบบอย่างในการนำครู นักเรียน รักษาศีล 5 ก่อนรับประทานอาหารจะมีการพิจารณาอาหาร ไม่ดัง ไม่หก ไม่เหลือ ส่งเสริมให้มีจัดการช้ันเรียนเชิงบวก ไม่ดุด่านักเรียน ชื่นชมความดีหน้าเสาธงทุกวัน ควรมี โครงการพระสอนศีลธรรม และมาสอนอย่างสม่ำเสมอ ผู้บรหิ ารควรเป็นแบบอย่างให้ครูและ นกั เรยี นมสี มุดบนั ทกึ ความดี

326 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) เอกสารอ้างองิ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2546), “แนวทางการดำเนนิ งานโรงเรียนวถิ พี ุทธ”. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์องคก์ ารรับสง่ สนิ คา้ และพสั ดุภณั ฑ์ (ร.ส.พ.). ______. (2545), “พระราชบญั ญัติการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553”. กรุงเทพฯ : โรงพิมพอ์ งค์การรบั สง่ สนิ คา้ และพัสดุภัณฑ์. ขวญั มนสั พิศิษฎธ์ รรมากร. (2554), การบรหิ ารจดั การโรงเรียนวิถพี ุทธในสังกดั สำนกั งาน เขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาพะเยา เขต 2, บัณฑติ วิทยาลัย : มหาวิทยาลัย ราชภัฎบรุ ีรัมย์. เฉลิมรกั สดใส. (2554), การส่งเสรมิ การดำเนนิ งานจัดการศึกษาโรงเรยี นวิถีพุทธโรงเรียน ประถมศกึ ษา สำนักงานเขตธนบรุ ี สังกัดกรงุ เทพมหานคร.บณั ฑติ วทิ ยาลยั : มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรโรฒ. ดวงธดิ า ฟูตระกลู . (2554), กระบวนการดำเนนิ งานโรงเรียนวิถีพทุ ธที่สง่ ผลตอ่ คุณลักษณะ ของนักเรยี นโรงเรยี นวถิ ีพุทธในอำเภอปากพลี สงั กัดสำนกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา ประถมศึกษานครนายก.บณั ฑิตวทิ ยาลยั : มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี. พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ. ปยตุ โฺ ต). (2552), “โรงเรียนวิถีพุทธปฏริ ูปการศึกษาอยา่ งบูรณา การ”. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พม์ หาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั . ศรสี ดุ า รัตนะ. (2555), สภาพปญั หาการดำเนินงานโรงเรียนวิถพี ทุ ธในจงั หวดั ตรัง, บณั ฑติ วทิ ยาลัย: มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั สงขลา. สรญิ ญา มาตนอก. (2556), ปัญหาและแนวทางการดำเนินงานโรงเรยี นวิถพี ุทธในสังกดั สำนักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาบุรีรมั ย์ เขต 3, บณั ฑิตวทิ ยาลัย : มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั บุรีรมั ย์. Krebbs, M. J. (1997). “A case study : Infusing Catholic Values Throughout the Curriculum. Fordham University.” Dissertation Abstracts International.

การบรหิ ารแบบมสี ว่ นรว่ มในการเสรมิ สรา้ งคุณธรรมจริยธรรม ในยุคไทยแลนด์ 4.0 สงั กดั สำนักงานเขตพ้ืนที่ การศึกษาประถมศึกษาสรุ าษฎร์ธานี เขต 3 The Participatory Administration for Morality Enhancement in Thailand 4.0 under Suratthani Primary Educational Service Area Office 3 1จิราวลั ย์ จันทรศ์ ริ ิ, 2พระปลัดโฆษติ โฆสิโต และ 3ธีระพงษ์ สมเขาใหญ่ 1Chirawan Chansiri, 2Phrapaladkosit Kosito and 3Teeraphong Somkhaoyai มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, วิทยาเขตนครศรธี รรมราช, ประเทศไทย Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Nakhon Si Thammarat, Thailand. [email protected] Received May 10, 2020; Revised July 12, 2020; Accepted August 25, 2020 บทคัดย่อ การวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพการบริหาร 2) เปรยี บเทียบการบรหิ าร และ 3) เพื่อเสนอแนวทางการบริหารแบบมีส่วนร่วมเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมในสถานศึกษา ยุคไทยแลนด์ 4.0 สังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 ด้วย ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสานวิธี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้อำนวยการและครูจำนวน 309 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ที่ระดับความคลาดเคลื่อน.05 สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมติฐานด้วย t-test dependent sample และทดสอบด้วยคา่ F-test ผลการวจิ ัยพบวา่ การบริหารแบบมีส่วนร่วมในการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมโดยรวมทั้ง 4 ด้าน พบว่า อยู่ใน ระดบั มาก เม่ือพจิ ารณาเปน็ รายด้าน พบว่า ทุกด้านอยใู่ นระดบั มาก ผลการเปรียบเทียบการบริหาร

328 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) แบบมีส่วนร่วม เมื่อจำแนกตามตำแหน่ง อายุราชการและการเข้าอบรม พบว่า มีระดับการบริหาร แบบมีส่วนร่วมในการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรม โดยรวมไม่แตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญ .05 กลมุ่ ผู้ให้สมั ภาษณ์มีข้อเสนอแนะคือดา้ นการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ คือ ผู้อำนวยการจัดให้มีการ ประชมุ ก่อนมีการจดั กจิ กรรมในการเสริมสรา้ งคณุ ธรรมจริยธรรมเพอื่ เป็นการประชุมชแ้ี จงใหเ้ ข้าใจ ในการดำเนินงานโครงการมีการแต่งต้ังคณะกรรมการในการดำเนินงาน ให้ผู้มีส่วนเก่ียวข้องได้เข้า ร่วมทำการศึกษาวเิ คราะห์ คิดคน้ หาวิธีท่ีจะเสริมสร้างคุณธรรมให้เกดิ ข้ึนภายในสถานศึกษาทุกคน ได้ร่วมกันออกแบบวิธีการในการเสริมสร้างคุณธรรมและร่วมกันในการตัดสินใจท่ีจะร่วมกันใช้ ทรพั ยากรทมี่ ีอยูอ่ ย่างจำกดั มาใช้ให้เกิดประโยชน์ ด้านการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติ คอื ผู้อำนวยการ มีแผนการดำเนินงานมีคณะกรรมการในการดำเนินเพื่อให้การดำเนินงานมีประสิทธิภาพ มี กรรมการในการพิจารณางบประมาณร่วมกันวางแผนงานและโครงการ กำหนดการดำเนินงานและ ประสานงานรว่ มกับบคุ คลภายนอกทีเ่ ก่ยี วขอ้ งเพอื่ ให้งานประสบความสำเร็จใช้ความคดิ สรา้ งสรรค์ และความเชย่ี วชาญในการปฏบิ ัติงานเพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์หรอื แก้ไขปัญหาต่างๆ ที่อาจเกดิ ข้ึน จากการบริหารงานในโรงเรียนได้ ด้านการมีส่วนร่วมในผลประโยชน์คือ ผู้บริหารส่งเสริมให้ บุคลากรในโรงเรียนทุกระดับเกดิ การเรียนรแู้ ละพฒั นาตนเองเพอ่ื ความก้าวหน้าในหน้าท่เี ป็นอย่างดี ส่วนครูผู้สอนมีส่วนร่วมในผลประโยชน์ในการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมการได้รับค่าตอบแทน หรือรางวัล การได้เข้าร่วมกิจกรรมฝึกอบรม และไปศึกษาดูงานในสถานท่ีต่างๆ เพ่ือเพ่ิมพูน ศักยภาพ การเป็นวิทยากรในการเสริมสร้างคุณธรรมจะเป็นการเพิ่มศักยภาพในการทำงานได้ดี ย่ิงขึ้น ด้านการมีส่วนร่วมในการประเมินผล คือ ในการประเมินผลมีการออกแบบสอบถาม มีการ ควบคุม ตรวจสอบการดำเนินงาน มีการแต่งต้ังคณะกรรมการในการประเมินผลเป็นตัวแทนในการ มีส่วนร่วมในการดำเนนิ งานการเสรมิ สร้างคุณธรรมจริยธรรมเมื่อพบปัญหา อุปสรรคขัดข้องในการ ดำเนินงานผบู้ ริหารได้ทำการแกไ้ ข และนำไปปรับปรงุ การดำเนินงานอยเู่ สมอและบุคคลมีสว่ นรว่ ม ในการติดตามความก้าวหน้าของการดำเนินงานในโรงเรียนได้ การติดตามและประเมินผลไม่ เพียงแต่ประเมินผลเท่าน้ันแต่จะต้องนำมาพัฒ นาและนำมาใช้ให้เกิดประสิ ทธิภาพด้วยเช่นนำ เทคโนโลยีและนวัตกรรมใหมๆ่ เขา้ มาเพื่อเพ่มิ ความสนใจและนำไปใช้ คำสำคัญ : การบรหิ าร, การมีสว่ นร่วม, การเสริมสรา้ งคุณธรรมจรยิ ธรรม.

วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 329 Abstract The objectives of this research included: 1) to study the states of schools administration; 2) to compare the schools administration; and 3) to propose the guidelines for the participatory administration for morality enhancement in schools in Thailand 4.0 under Suratthani Primary Educational service area office 3. This is a mixed method research. Sampling groups of this research included 309 directors and teachers. The research tools were questionnaires created by the researcher where error levels were at .05. Statistics used in analyzing data were Average, Standard Deviation, T-test, and F-test. The results found were as the followings: In the participatory administration for the morality enhancement in four aspects, it was found as the followings. All aspects were at the high level. The results of comparison of participatory administration when classified by position, number of years in service and training, it was found that the level of participatory administration for morality enhancement is not significantly different at the level of .05. Suggestions of the interviewees were as the followings. In the aspect of participation in making decision, the administrators organized meetings before organizing morality enhancement activities for making understanding the operation and assigning committees for operation in order that the participants were able to participate in studying, analyzing, finding approaches in morality enhancement in schools, designing methodology in morality enhancement and making decision in efficiently utilizing the limited resources. In the aspect of participation in operation, the school administrators had the following factors: operation plans; committees for efficient operation; committees for budgeting, planning programs and projects, scheduling the operation, coordinating external related agencies in order that the tasks will be successful with creativity and expertise to achieve the objectives or solve various problems existing in school administration. In the aspect of participation in the benefit, the administrators enhanced all levels of school personnel to learn and develop themselves for the progress of their duties and the teachers participated in the benefit from morality enhancement by receiving rewards from participation in trainings and study tours for potentials enhancement. In addition, being lecturers in morality enhancement also helps increasing potentials in their works. In the aspect of participation in evaluation, there were various factors as the followings: designing questionnaires for evaluation;

330 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) controlling and checking the operation; and establishing evaluation committees from the representatives of the participants of morality enhancement operation. When problems or obstructions were found, they were brought to the administrators for solution and continuous improvement. The participatory monitoring and evaluation did not only assess the operation but also efficiently develop by applying technology and innovation for the interest of all parties. Keywords : Administration, Participation, Morality Enhancement บทนำ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ 2542 และฉบับปรับปรุงแก้ไขเพ่ิมเติม ครั้งท่ี 3 พ.ศ. 2553 มาตรา 6 ในความมุ่งหมายและหลักการ“การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพ่ือ พัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ท้ังร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มี จริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิตสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข”และใน มาตรา 23 ได้ระบุไว้ว่าการจัดการศึกษา ทั้งการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย ต้องเน้นความสำคัญของผู้เรียนทั้งด้านความรู้ คุณ ธรรม กระบวนการเรียนรู้และบูรณาการตามความเหมาะสมของแต่ละระดับการศึกษา รวมทั้งใน มาตรา 24 การจัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่างๆ อย่างได้สัดส่วน สมดุลกนั รวมท้ังปลูกฝงั คุณธรรม คา่ นิยมท่ีดีงามและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไวใ้ นทุกวิชา จากข้อความในพระราชบัญญัติการศึกษาในมาตราดังกล่าวนี้แสดงให้เห็นความต้องก ารให้ สถานศกึ ษาต้องใหค้ วามสำคัญกับการจัดการศึกษาควบคไู่ ปกับการปลกู ฝังคุณธรรมจริยธรรม ดลใจ ถาวรวงศ์และ จันทร์ชลี มาพุทธ (2553 : 27) ประเทศไทยก้าวเข้าสู่การเช่ือมต่อกับ ระบบของโลกภายใต้คำว่าโลกาภิวฒั น์ซึง่ กอ่ ให้เกิดการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงในหลายๆ ด้าน อาทิ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคมความทันสมัยด้านวัตถุและเทคโนโลยี การเปลี่ยนแปลง จากสังคมชนบทเป็นสังคมเมือง กล่าวคอื ภายใต้การพัฒนาท่ีเกิดขึน้ กลับบ่ันทอนต้นทุนเดิมท่ี เคยมีอยู่ น่ันคือ คุณธรรม จริยธรรมทเ่ี กิดกับเยาวชน การจัดการศึกษาของเยาวชนมีลกั ษณะ การอบรมสงั่ สอนเน้นในดา้ นคณุ ธรรมจรยิ ธรรมให้กับเยาวชนดว้ ยการนำไปประพฤตปิ ฏิบัตใิ น ชวี ติ ประจำวันได้จริงมาใช้และมีวิธีการอบรมสงั่ สอนเยาวชนทัง้ ทางตรงและทางอ้อม จึงทำให้

วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 331 เยาวชนมคี วามรู้ มกี ารแสดงออกในด้านคุณธรรมจริยธรรมด้านต่างๆ ศณิ าภรณ์ ห้เู ตม็ (2552 : 2) ทุกคร้ังที่กลาวถึงปญหาคุณธรรมจริยธรรมในสังคมไทยหลายคนมักจะมองไปท่ี กระบวนการจัดการศึกษาและตอกย้ำเสมอว่า เปนความลมเหลวของระบบการศึกษา การ ปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมใหประสบผลสําเร็จสูงสุดน้ันตองปฏิบัติตนใหเปนแบบอยาง ถา พิจารณ าพื้น ฐาน ป ญ ห าคุณ ธรรมจริยธรรมของเด็ กและเยาวชน ไทยส วน หนึ่ งน้ั น เริ่มจาก “ปญหาดานครอบครวั ” ซ่งึ เกิดจากการท่ีครอบครัวแตกแยก พอแมไมไดอยูดวยกัน พอแมไม มีเวลาใหบุตรหลาน การใชความรุนแรงในครอบครัว คุณธรรมจริยธรรมจึงเปนกลไกของ สงั คมทำหนาทเ่ี ป็นบรรทัดฐานของความประพฤติเป็นสงิ่ ทกี่ ําหนดวาอะไรควรประพฤติปฏบิ ตั ิ และจะตองปลูกฝงใหกับคนในสังคมเพราะถาคนในสังคมเปนคนดีแลว สังคมก็จะมีความสุข แตถาคนในสังคมไมดี ก็จะมีความวุ่นวายเดือดร้อน มีการเอารัดเอาเปรียบแกงแยง แมจะมี กฎหมายบังคับไวคนก็พยายามที่จะหลีกเล่ียง ในปัจจุบันยุคไทยแลนด์ 4.0 ได้มีการสำรวจ จากสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ เด็กในยุคน้ีใช้เวลาส่วนใหญ่อยู่กับมือถือหรือ คอมพิวเตอร์มากกว่าการออกมาทำกิจกรรมนอกบ้านเหมือนเด็กสมัยก่อน รองลงมาร้อยละ 42.03 ระบุว่า เด็กในยุคนี้มีเทคโนโลยีที่ช่วยเพิ่มความสะดวกสบายในการใช้ชีวิตมากว่าเด็ก สมัยก่อน ร้อยละ 31.47 ระบุว่า เด็กในยุคน้ีขาดการอดทนหรือรอคอย เพราะมีเทคโนโลยีที่ ทันสมัยและรวดเร็วกว่าเด็กสมัยก่อน ร้อยละ 29.62 ระบุว่า เด็กในยุคน้ีขาดระเบียบวินัย คุณธรรม จริยธรรมมากกว่าเด็กสมัยกอ่ น ร้อยละ 23.30 (สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ : 2562) ด้วยเหตุดังกล่าว ผู้วิจัยจึงมีความสนใจศึกษาการบริหารแบบมีส่วนร่วมในการ เสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม ในยุคไทยแลนด์ 4.0 สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 เพ่ือให้ทราบแนวทางการบริหารการมีส่วนร่วมในการ เสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมในยุคไทยแลนด์ 4.0 เพื่อเป็นข้อมูลสำหรับการวางแผนพัฒนา เสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม ในยุคไทยแลนด์ 4.0ให้นักเรียนเป็นบุคคลที่พึงประสงค์ตาม ความตอ้ งการของสงั คมตอ่ ไป วตั ถุประสงค์การวจิ ยั 1. เพื่อศึกษาสภาพการบริหารแบบมีส่วนร่วมในการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรม ในสถานศึกษา สังกดั สำนกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาสรุ าษฎรธ์ านี เขต 3

332 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) 2. เพอื่ เปรยี บเทยี บการบริหารแบบมีสว่ นร่วมในการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม ในสถานศึกษายุคไทยแลนด์ 4.0 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ ธานี เขต 3 3. เพ่ือเสนอแนวทางการบริหารแบบมีส่วนร่วมเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมใน สถานศึกษายุคไทยแลนด์ 4.0 สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 วิธีดำเนนิ การวจิ ัย การวจิ ัยน้ี เป็นการวจิ ัยผสานวิธี (Mixed Method Research) ผู้วิจัยได้ดำเนนิ การ วจิ ัยเปน็ 3 ข้ันตอน ดงั น้ี 1. ประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ไดแ้ ก่ ผู้อำนวยการ ครูผู้สอน ในโรงเรียนสังกัดสำนกั งาน เขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาสุราษฎรธ์ านี เขต 3 ปีการศกึ ษา 2562 จำนวน 1,641 คน กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้อำนวยการ ครูผู้สอน ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ี การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานีเขต 3 ปีการศึกษา 2561 ผู้วิจัยกำหนดขนาดของกลุ่ม ตวั อยา่ ง โดยใช้ตารางสำเร็จรปู ของเครซ่แี ละมอแกน ได้กลุม่ ตัวอยา่ งในการวจิ ยั 309 คน 2. เคร่อื งมอื ที่ใช้ในการรวบรวมข้อมลู ได้แก่ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ท่ีผู้วิจัยสร้างข้ึนจากแนวคิดเก่ียวกับการ บริหารแบบมีส่วนร่วมในการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม ในยุคไทยแลนด์ 4.0 แบ่ง แบบสอบถามออกเปน็ 3 ตอน ดงั นี้ ตอนที่ 1 แบบสอบถามเก่ียวกับสถานภาพทัว่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถามมีลักษณะ เป็นแบบตรวจสอบรายการ โดยถามข้อมูลเก่ียวกับตำแหน่ง อายุราชการและการอบรม คณุ ธรรมจรยิ ธรรม ตอนท่ี 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับการบริหารแบบมีส่วนร่วมในการเสริมสร้าง คุณธรรม จริยธรรมในยุคไทยแลนด์ 4.0 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สุราษฎรธ์ านี เขต 3

วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 333 ตอนที่ 3 แบบสัมภาษณ์เกี่ยวกับการบริหารแบบมีส่วนร่วมในการเสริมสร้าง คุณธรรมจริยธรรม ในยุคไทยแลนด์ 4.0 สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสุ ราษฎร์ธานี เขต 3 3. การวเิ คราะห์ข้อมลู ข้อมูลสถานภาพท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม มาวิเคราะห์ข้อมูลสถานภาพตาม ข้อคำถามในตอนที่ 1 และนำเสนอข้อมูลในรูปแบบตาราง การบริหารแบบมีส่วนร่วมในการ เสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมในยุคไทยแลนด์ 4.0 สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศึกษาสรุ าษฎร์ธานเี ขต 3 ใน 4 ดา้ นมาวิเคราะหข์ ้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย ( ) และค่า เบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) โดยใช้เกณฑ์การแปลผลค่าเฉล่ียซึ่งมี 5 ระดับ (บุญชม ศรีสะอ้าน, 2556: 112) โดยสถิติที่ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ ค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation), t-test และ F-test ผลการวิจัย 1. สภาพการบริหารแบบมีส่วนร่วมในการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมใน สถานศกึ ษา สงั กดั สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาสุราษฎรธ์ านี เขต 3 ตารางท่ี 1 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู เกีย่ วกับระดับการบริหารแบบมสี ว่ นร่วมในการเสริมสร้างคุณธรรม จรยิ ธรรมในยุคไทยแลนด์ 4.0 การมสี ่วนร่วมในการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรม SD. ระดบั 1 การมสี ่วนร่วมในการตัดสินใจ 4.69 0.26 มากท่สี ดุ 2. การมีสว่ นร่วมในการปฏิบตั ิ 4.50 0.36 มาก 3. การมสี ว่ นรว่ มในผลประโยชน์ 4.49 0.34 มาก 4. การมีส่วนร่วมในการประเมนิ ผล 4.30 0.38 มาก 4.50 0.24 มาก รวม จากตารางท่ี 1 พบว่าการมีส่วนร่วมในการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมด้านการ มีส่วนร่วมในการตัดสินใจ มีค่าเฉล่ียสูงสุด ( = 4.69) รองลงมาคือด้านการมีส่วนร่วมในการ

334 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) ปฏิบัติ ( = 4.50) การมีส่วนร่วมในผลประโยชน์มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ( = 4.49) ส่วนระดับการมี สว่ นร่วมในการประเมินผล มคี า่ เฉล่ียต่ำสุด ( = 4.30) 2. เปรียบเทียบการบริหารแบบมีส่วนร่วมในการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม ในสถานศกึ ษายุคไทยแลนด์ 4.0 สังกดั สำนักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ ธานี เขต 3 ตารางที่ 2 ผลการเปรียบเทียบการบรหิ ารแบบมสี ว่ นรว่ มในการเสริมสรา้ งคุณธรรม จรยิ ธรรม สงั กัดสำนักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาสรุ าษฎรธ์ านี เขต 3 จำแนกตามตำแหนง่ การมีส่วนรว่ มในการเสรมิ สร้าง ตำแหน่ง n SD t Sig. คณุ ธรรมจรยิ ธรรม 1. การมีสว่ นรว่ มในการตดั สนิ ใจ ครู 279 4.69 0.26 0.19 0.85 ผู้บริหาร 30 4.68 0.26 2. การมีส่วนรว่ มในการปฏบิ ตั ิ ครู 279 4.50 0.36 -0.24 0.80 ผูบ้ ริหาร 30 4.52 0.39 3. การมสี ว่ นร่วมในผลประโยชน์ ครู 279 4.49 0.34 -0.44 0.65 ผู้บรหิ าร 30 4.51 0.31 7. ก า ร มี ส่ ว น ร่ ว ม ใ น ก า ร ครู 279 4.30 0.37 -0.43 0.66 ประเมินผล ผบู้ รหิ าร 30 4.33 0.44 รวม ครู 279 4.49 0.24 0.35 0.72 ผบู้ รหิ าร 30 4.51 0.27 จากตารางท่ี 2 พบว่า ผู้อำนวยการและครูผู้สอน ท่ีมีตำแหน่งต่างกัน มีระดับการ บริหารงานแบบมีส่วนร่วมในการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 ในแต่ละด้าน ไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติทีร่ ะดบั .05

วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 335 ตารางท่ี 3 ผลการเปรยี บเทยี บการบริหารแบบมีสว่ นรว่ มในการเสริมสร้างคณุ ธรรม จรยิ ธรรม สงั กัดสำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสรุ าษฎรธ์ านี เขต 3 จำแนกตามอายุราชการ การมีสว่ นร่วมในการ แหล่งความ เสรมิ สร้างคุณธรรมจรยิ ธรรม แปรปรวน SS df MS F Sig. 1. การมสี ่วนรว่ มในการตัดสินใจ ระหว่างกลมุ่ 0.00 2 0.00 0.06 .93 ภายในกลมุ่ 21.88 306 0.07 รวม 21.89 308 2. การมีสว่ นร่วมในการปฏบิ ตั ิ ระหวา่ งกลมุ่ 0.56 2 0.28 2.09 .12 ภายในกลมุ่ 41.48 306 0.13 รวม 42.05 308 3. การมีส่วนรว่ มในผลประโยชน์ ระหว่างกลมุ่ 0.20 2 0.10 0.86 .42 ภายในกลุ่ม 35.44 306 0.11 รวม 35.64 308 4. การมสี ว่ นร่วมในการ ระหวา่ งกลมุ่ 0.38 2 0.19 1.30 0.27 ประเมินผล ภายในกลมุ่ 45.49 306 0.14 รวม 45.88 308 ระหวา่ งกลมุ่ 0.19 2 0.10 1.68 0.18 รวม ภายในกลมุ่ 1814 306 0.059 รวม 18.34 308 ตารางที่ 3 พบว่า ครูผู้สอนและผู้บริหาร ที่มีอายุราชการต่างกัน มีระดับการ บรหิ ารแบบมีสว่ นรว่ มในการเสรมิ สร้างคณุ ธรรมจริยธรรม สังกดั สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษา ประถมศึกษาสุราษฎรธ์ านี เขต 3 ทุกดา้ นไม่แตกต่างกันอย่างมนี ัยสำคญั ทางสถติ ิทร่ี ะดบั .05

336 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) ตารางท่ี 4 ผลการเปรยี บเทียบการบริหารแบบมสี ว่ นรว่ มในการเสริมสรา้ งคณุ ธรรม จริยธรรม สังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 จำแนกการอบรม การมีส่วนร่วมในการ แหล่งความ F Sig. เสรมิ สร้างคุณธรรมจริยธรรม แปรปรวน SS df MS .75 0.90 1. การมีส่วนร่วมในการ ระหว่างกลมุ่ 0.04 2 0.02 0.27 0.26 ตดั สินใจ ภายในกล่มุ 21.85 306 0.71 0.10 0.37 รวม 21.89 308 2. การมสี ว่ นรว่ มในการปฏบิ ตั ิ ระหว่างกลมุ่ 0.02 2 0.01 0.10 ภายในกลุม่ 42.02 306 0.13 รวม 42.05 308 3. การมสี ่วนร่วมใน ระหว่างกลมุ่ 0.30 2 0.15 1.32 ผลประโยชน์ ภายในกล่มุ 35.34 306 0.11 รวม 35.64 308 4. การมีสว่ นร่วมในการ ระหว่างกลมุ่ 0.67 2 0.33 2.27 ประเมนิ ผล ภายในกลุม่ 45.21 306 0.14 รวม 45.88 308 ระหว่างกลมุ่ 1.11 2 0.05 0.97 รวม ภายในกลมุ่ 18.23 306 0.06 รวม 18.34 308 จากตารางท่ี 4 พบว่า ผู้อำนวยการและครูผู้สอน ท่ีมีระดับการบริหารแบบมีส่วน ร่วมในการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรม สังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา สุราษฎรธ์ านี เขต 3 ไมแ่ ตกต่าง อย่างมีนัยสำคญั ทางสถิติที่ระดับ .05

วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 337 3. แนวทางการบริหารแบบมีส่วนร่วมเสริมสร้างคุณ ธรรมจริยธรรมใน สถานศึกษายุคไทยแลนด์ 4.0 สังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ ธานี เขต 3 จากการสัมภาษณ์ผู้เช่ียวชาญการบริหารแบบมีส่วนร่วมในการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมในสถานศึกษา พบว่า ด้านการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ คือ ผู้อำนวยการจัดให้มี การประชุมก่อนมีการจัดกิจกรรมในการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมเพื่อเป็นการประชุม ชีแ้ จงให้เข้าใจในการดำเนนิ งานโครงการ ให้ผูม้ ีสว่ นเกี่ยวข้องไดเ้ ข้าร่วมทำการศึกษาวเิ คราะห์ คิดค้นหาวิธีที่จะเสริมสร้างคุณธรรมให้เกิดข้ึนภายในสถานศึกษา ด้านการมีส่วนร่วมในการ ปฏิบัติ คือ ผู้อำนวยการมีแผนการดำเนินงานมีคณะกรรมการในการดำเนินเพ่ือให้การ ดำเนินงานมีประสิทธิภาพ มีกรรมการในการพิจารณางบประมาณรว่ มกันวางแผนในงานและ โครงการ กำหนดการดำเนินงานและประสานงานร่วมกับบุคคลภายนอกท่ีเก่ียวข้องเพื่อให้ งานประสบความสำเร็จใช้ความคิดสร้างสรรค์และความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติงานเพื่อให้ บรรลวุ ัตถุประสงค์หรือแก้ไขปัญหาต่างๆ ท่ีอาจเกิดข้ึนจากการบริหารงานในโรงเรียนได้ การ มีส่วนร่วมในผลประโยชน์คือ ผบู้ ริหารส่งเสริมให้บุคลากรในโรงเรียนทุกระดับเกิดการเรียนรู้ และพัฒนาตนเองเพื่อความก้าวหน้าในหน้าท่ีเป็นอย่างดี ส่วนครูผู้สอนมีส่วนร่วมใน ผลประโยชน์ในการเสริมสร้างคุณธรรมจรยิ ธรรมการได้รบั ค่าตอบแทนหรือรางวัล การได้เข้า ร่วมกิจกรรมฝึกอบรมและไปศึกษาดูงานในสถานที่ต่างๆ เพื่อเพ่ิมพูนศักยภาพ การเป็น วิทยากรในการเสริมสร้างคุณธรรมจะเป็นการเพิ่มศกั ยภาพในการทำงานได้ดียิ่งข้นึ การมีส่วน ร่วมในการประเมินผล คือ ในการประเมินผลมีการออกแบบสอบถาม มีการควบคุม ตรวจสอบการดำเนินงาน มีการแต่งต้ังคณะกรรมการในการประเมินผลเป็นตัวแทนในการมี สว่ นร่วมในการดำเนนิ งานการเสริมสรา้ งคุณธรรมจริยธรรมเมื่อพบปัญหา อุปสรรคขัดขอ้ งใน การดำเนินงานผู้บริหารได้ทำการแก้ไข และนำไปปรับปรุงการดำเนินงานอยู่เสมอ บุคคลมี ส่วนร่วมในการติดตามความก้าวหน้าของการดำเนินงานในโรงเรียนได้การติดตามและ ประเมินผลและนำมาใช้ให้เกิดประสิทธิภาพด้วยเช่นนำเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมใหม่ๆเข้ามา เพ่ือเพมิ่ ความสนใจและนำไปใช้

338 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) อภปิ รายผล จากการศึกษาวิจัย เร่ืองการบริหารแบบมีส่วนร่วมในการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมในยุคไทยแลนด์ 4.0 สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 มผี ลการวเิ คราะห์ข้อมลู ทีค่ วรนำมาอภปิ รายดังนี้ 1. ผลการวิเคราะห์เก่ียวกับระดับการบริหารแบบมีส่วนร่วมในการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมในยุคไทยแลนด์ 4.0 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 ผลการวิจัย พบว่า ระดับการบริหารแบบมีส่วนร่วมในการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมใน สถานศึกษาโดยรวมทั้ง 3 ด้าน อยู่ในระดับมากเม่ือพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ทุกด้านอยู่ ในระดับมากเป็นเพราะว่าทั้งผู้อำนวยการและครู มีความรู้มีทักษะในการมีส่วนร่วมในการ ดำเนินการเป็นไปในทิศทางเดียวกันในการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ซึ่งสอดคล้องกับ งานวิจัยของสรวิชญ์ สินสวาท (2558:73) ได้วิจัยเรื่อง การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจการ บริหารสถานศึกษาของครูในโรงเรียนขยายโอกาส ทางการศึกษา พบว่า ครูผู้สอนมีการ ตัดสินใจในการบริหารงานของโรงเรียน มากขึ้นและมีส่วนร่วมก่อให้เกิดประโยชน์หลาย ประการท้ังกบั องค์กรและตวั บุคคล จงึ เป็นส่ิงสำคัญที่ ผู้อำนวยการควรเปิดโอกาสให้ครูมสี ว่ น รว่ มในการบริหารมากขึ้น เพ่ือรว่ มกันคิด ร่วมกันทำ และร่วมกัน พัฒนาปรับปรงุ องค์กรหรือ หน่วยงานให้บรรลุเป้าหมายและตรงกับความต้องการของผู้รับบริการ อีกท้ังยังทำให้การ บริหารงานในองค์กรง่ายขึ้น ความขัดแย้งลดน้อยลง เพราะบุคลากรทุกคนในองค์กร มีความ ตระหนกั ว่าตนเองมีสว่ นเป็นเจา้ ขององค์กรร่วมกนั เมอ่ื พจิ ารณาผลการวจิ ยั เปน็ รายด้านสามารถนำมาอภิปรายผลวจิ ยั ได้ดงั นี้ 1.1 ด้านการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ พบว่า อยู่ในระดับมากท่ีสุดเพราะ ผู้อำนวยการและครูได้เข้ามามีส่วนร่วมในการตัดสินใจในการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรม เพ่ือให้การดำเนินการเกิดผลกับนักเรียนได้มากที่สุด ซ่ึงสอดคล้องกับงานวิจัยของสุระ อ่อน แพงและคณะ (2559) ได้ศึกษารูปแบบการบริหารเพื่อพัฒนา คุณธรรมจริยธรรมนักเรียน ประถมศกึ ษา ในสถานศึกษาสงั กดั สำนกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา ผลการวจิ ยั พบว่ารปู แบบการ บริหาร เพื่อพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมนักเรียนระดับประถมศึกษาใน สถานศึกษาสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาท่ีสร้างข้ึน วิธีการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม นักเรียนมี 4 วิธีดังนี้ 1) การบูรณาการในการจัดการเรียนรู้ 2) การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 339 3) การจัดกิจกรรมโดยผู้ปกครองมีส่วนร่วม และ4) การจัดกิจกรรมพัฒนาตามวิถีชีวิตใน ชุมชน ดังน้ัน การกำหนดภารกจิ และเป้าหมายการส่งเสรมิ คุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมท่ี พึงประสงค์ของ นักเรยี น โดยบรู ณาการไว้ในกลุ่มสาระวิชาต่าง ๆ ความสำคัญอย่างยิง่ ต่อการ ส่งเสรมิ คุณธรรม จริยธรรมของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 34 ไกรประสิทธิ์ พันสอาด (2555 : 13) กลา่ ววา่ การบริหารแบบมีส่วนร่วมเป็นรูปแบบ การบรหิ ารจดั การศึกษาท่ี ต้องการให้ทุกฝ่ายที่เก่ียวข้องกับการจัดการศึกษา หรือเปิดโอกาส ให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้เข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารจัดการสถานศึกษา ทั้งในด้านการวาง แผนการตดั สินใจในเร่ืองตา่ ง ๆ 1.2 ด้านการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติ พบว่า อยู่ในระดับมาก เพราะ ผู้อำนวยการและครไู ด้เขา้ ไปมีสว่ นร่วมในการจัดทำหรอื ปรับปรุงการบรหิ ารแบบมีส่วนรวมใน การเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมให้มีประสิทธิภาพและประสิทธผิ ล ซึ่งสอดคล้องกบั งานวิจัย ของทองสุข มันตาทรและคณะ (2550 : 13) ได้ศึกษาแนวทางในการสร้างเสริมคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียนในสถานศึกษาเอกชนเขตตรวจ ราชการที่ 13 พบว่า ด้านการบริหาร จัดการพบว่า สถานศึกษาทุกแห่ง ได้กำหนดวิสัยทัศน์ ปรัชญา นโยบายการสร้างเสริม คุณธรรมจริยธรรมมีการจัดทำแผนงาน โครงการ กิจกรรมเกี่ยวกับการสร้างเสริมคุณธรรม จรยิ ธรรม 1.3 ด้านการมสี ่วนรว่ มในผลประโยชน์พบว่า อยู่ในระดบั มาก เป็นเพราะว่าไดม้ ี ส่วนร่วมในการเป็นวิทยากรการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมในสถานศึกษา ได้รับการ ฝึกอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพของตนเองให้มีประสิทธิภาพในการทำงาน ซ่ึงสอดคล้องกับ งานวิจัยของไพศาล ม่ันอกและไพฑูรย์ สินลารัตน์ (2557 : 67) ได้ทำการศึกษาเกี่ยวกับ การ วิจั ย เชิ งป ฏิ บั ติ ก ารแ บ บ มี ส่ ว น ร่ว ม ใน ก ารพั ฒ น าคุ ณ ธ รรม จ ริย ธ รรม ข อ งนั ก เรีย น ระดั บ มัธยมศึกษาขนาดเล็ก : กรณีศกึ ษาของ นักเรียนโรงเรียนวิเศษชัยชาญวิทยาคม การ วิจยั ครั้ง น้ีเปน็ การวจิ ัยเชงิ ปฏิบัตแิ บบมสี ว่ นร่วม 1.4 ด้านการมีส่วนร่วมในการประเมนิ ผล พบว่า อย่ใู นระดับมาก เป็นเพราะว่า การมสี ่วนรว่ มในการประเมนิ ผลการเสริมสรา้ งคณุ ธรรมจรยิ ธรรมในสถานศึกษาและได้มีส่วน ร่วมใน การตรวจส อบ ความโป ร่งใสใน การเส ริมสร้างคุณ ธรรมจ ริยธรร มใน ส ถาน ศึกษ า สอดคล้องกับงานวิจัยของสิทธิศักด์ิ แก้วทาและทีปพิพัฒน์ สันตะวัน (2555) ได้ศึกษาเรื่อง แนวทางการดำเนินงานส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษา

340 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) จังหวดั พิจิตร ด้านการ ติดตามและประเมินผล พบว่า สถานศึกษาควรแต่งต้ังคณะกรรมการ ติดตามและประเมินผลการ พัฒนาคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียนให้ชัดเจน เหมาะสม ดังนั้น ด้านการติดตามและประเมินผล จึง มีความสำคัญและจำเป็นอย่างย่ิงต่อการต่อการ ส่งเสริมคุณธรรม จรยิ ธรรมของสถานศกึ ษา 2. การเปรียบเทียบการบริหารแบบมีส่วนร่วมในการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 ท่ีมี ตำแหน่ง อายุราชการ การอบรม ต่างกนั 2.1 จากการเปรียบเทียบการบริหารแบบมีส่วนร่วมในการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานีเขต 3 ท่ีมีตำแหน่ง ต่างกัน มีการบริหารแบบมีส่วนร่วมในการเสริมสร้างคุณธรรมและจริยธรรม โดยรวม ไม่ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 ซึ่งเป็นเพราะว่าผู้อำนวยการโรงเรียนและ ครูผู้สอนทุกคนต่างให้ความสำคัญกับการเสริมสร้างคุณธรรมและจริยธรรม เพ่ือให้เกิด ประโยชน์สูงสุดแก่นักเรียน ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของไกรประสิทธิ์ พันสะอาด (2555:13) ได้ศึกษาการมีส่วนร่วมของครูผู้สอนในการบริหารโรงเรียนในอำเภอขลุง สำนักงานเขตพ้ืนที่ การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 2 พบว่า การมีส่วนร่วมของครูผู้สอนในการบริหาร โรงเรยี น จำแนกตามตำแหนง่ โดยรวมไมแ่ ตกต่างกนั 2.2 จากการเปรียบเทียบการบริหารแบบมีส่วนร่วมในการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม สังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานีเขต 3 ท่ีมีอายุ ราชการต่างกัน มีการบริหารแบบมีส่วนร่วม โดยรวมไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ.05 ซ่ึงเป็นเพราะว่าผู้อำนวยการโรงเรียนและครูผู้สอน มีความรู้ความเข้าใจในการบริหาร แบบมีส่วนร่วมในการเสริมสร้างคุณธรรมและจริยธรรมที่คล้ายคลึง ทำให้อายุราชการที่ต่างกัน แต่ก็สามารถร่วมกันเสริมสร้างคุณธรรมและจริยธรรมในทางเดียวกัน ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัย ของ เจนเน็ท และเอเลน (Jenet & Elaine, 1986, p.180) ได้ศึกษาเปรียบเทียบการตัดสินใจสั่ง การแบบมีส่วนร่วม และแบบไม่มีส่วนร่วม โดยใช้แบบการตัดสินใจตามแนวคิดของวูม และเยล ตนั (Voom & Yetton, 1973) กลุ่ม ตัวอย่างประกอบด้วยผู้อำนวยการในวิทยาลัย จำนวน 108 คน ปรากฏว่าผู้อำนวยการร้อยละ 74 เห็นด้วยกับการมีส่วนร่วม ในการตัดสินใจ ส่ังการและผล ยังสรุปได้ว่า 1) การตัดสินใจสั่งการของผู้อำนวยการไม่ยึดแบบหน่ึงแบบใดตายตัว แต่จะ ปรับเปลี่ยนไปตามสถานการณ 2) การเปิดโอกาสให้ผู้ใต้บังคับบัญชาเข้ามามีส่วนร่วมในการ

วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 341 ตัดสินใจ ผู้อำนวยการจะไม่คำนึงถึงอายุราชการ ประสบการณ์ เพศ สาขาวิชา หรือการอยู่ร่วม สถาบันเดียวกัน 3) ผูอ้ ำนวยการเพศหญิงและเพศชายใช้ แบบการตดั สนิ ใจไม่แตกตา่ งกัน 2.3 จากการเปรียบเทียบการบริหารแบบมีส่วนร่วมในการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานีเขต 3 ท่ีมีการอบรม ต่างกันมีการบริหารแบบมีส่วนร่วม โดยรวมไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 ซึ่งเป็นเพราะว่าผู้อำนวยการโรงเรียนและครูผู้สอน ที่ได้รับการพัฒนาตนเองหรือการ อบรมเกยี่ วกับงานเสริมสรา้ งคุณธรรมจริยธรรมในแนวทางเดยี วกัน นำมาปฏิบตั ิให้บรรลุตาม เป้าหมายท่ีวางไว้ได้ ซึ่งสอดคล้องกับวิจัยของชลณพรรธษ์ ศรีเริงหล้า(2560: 69) ปัจจัยการ บริหารแบบมีส่วนร่วมที่ส่งผลต่อการจัดการความรู้ในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ี การศึกษามัธยมศึกษา เขต 41 ที่มีการอบรมต่างกัน มีการบริหารแบบมีส่วนรวมไม่ต่างกัน ผู้อำนวยการสนับสนุนให้บุคลากรในองค์กรนำความรู้ที่มีอยู่และได้รับมาจากการแลกเปล่ียน การศึกษาค้นคว้ามาใช้ในการปฏิบัติงานและพฒั นาความรู้อย่างต่อเนื่องเพ่ือให้เกิดประสบการณ์ และความรูใ้ หมๆ่ ตลอดเวลา 3. แนวทางเสนอแนะการบริหารแบบมีส่วนร่วมในการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมในยุคไทยแลนด์ 4.0 สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ ธานี เขต 3 จากการสัมภาษณ์ผู้เช่ียวชาญการบริหารแบบมีส่วนร่วมในการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมในสถานศึกษาในยคุ ไทยแลนด์ 4.0 สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษา สุราษฎร์ธานี เขต 3 โดยให้สถานศึกษามีการประชุมก่อนมีการจัดกิจกรรมในการเสริมสร้าง คุณธรรมจริยธรรมเพื่อเป็นการประชุมชี้แจงให้เข้าใจในการดำเนินงานโครงการมีการแต่งตั้ง คณะกรรมการในการดำเนินงาน ให้ผู้มีส่วนเก่ียวข้องได้เข้าร่วมทำการศึกษาวิเคราะห์ คิด ค้นห าวิธีที่จะเสริมสร้างคุณ ธรรมให้เกิดขึ้นภ ายใน สถาน ศึก ษาทุกคน ได้ร่วมกันออกแบบ วิธีการในการเสริมสร้างคุณธรรมและร่วมกันในการตัดสินใจที่จะร่วมกันใช้ทรัพยากรท่ีมีอยู่ อย่างจำกัดมาใช้ให้เกิดประโยชน์ผู้อำนวยการโรงเรียนได้แบ่งฝ่ายหน้าที่ความรับผิดชอบและ มีการให้อำนาจในการตัดสินใจให้แก่บุคลากรในขอบข่ายภาระงานที่รับผิดชอบ อีกทั้ง บุคลากรก็ให้ความสำคัญกับงานที่ ตนเองได้รับมอบหมายให้ดำเนินการ ผู้อำนวยการเปิด โอกาสให้ทุกฝ่ายท่ีมีส่วนเกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการ ตัดสินใจในเรื่องต่างๆที่สำคัญของ

342 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) โรงเรียน การนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมเขา้ มารว่ มในการออกแบบวิธีการในการจัดกิจกรรม เสริมสรา้ งคณุ ธรรมจรยิ ธรรมเพอื่ ใหก้ ารเรยี นรู้ของนักเรยี นมปี ระสิทธิภาพมากยง่ิ ขึน้ ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนมแี ผนการดำเนินงานมีคณะกรรมการในการดำเนินเพอ่ื ให้การ ดำเนินงานมปี ระสิทธิภาพ มีกรรมการในการพิจารณางบประมาณรว่ มกันวางแผนในงานและ โครงการ กำหนดการดำเนินงานและประสานงานร่วมกับบุคคลภายนอกที่เก่ียวข้องเพื่อให้ งานประสบความสำเร็จใช้ความคิดสร้างสรรค์และความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติงานเพ่ือให้ บรรลุวัตถุประสงค์หรือแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่อาจเกิดข้ึนจากการบริหารงานในโรงเรียนได้ ผู้อำนวยการส่งเสริมให้บุคลากรในโรงเรียนทุกระดับเกิดการเรียนรู้และพัฒนาตนเองเพ่ือ ความก้าวหน้าในหน้าท่ีเป็นอย่างดี มีการควบคุม ตรวจสอบการดำเนินงาน มีการแต่งต้ัง คณะกรรมการในการประเมินผลเป็นตัวแทนในการมีส่วนรว่ มในการดำเนินงานการเสริมสร้าง คุณธรรมจริยธรรมเม่ือพบปัญหา อุปสรรคขัดข้องในการดำเนินงานผู้อำนวยการได้ทำการ แก้ไข และนำไปปรับปรุงการดำเนินงานอยู่เสมอ และบุคคลมีส่วนร่วมในการติดตาม ความก้าวหน้าของการดำเนินงานในโรงเรยี นได้ องคค์ วามรทู้ ี่ได้จากการศึกษา จากการศึกษาวิจัยเรื่อง“การบริหารแบบมีส่วนร่วมในการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมในยุคไทยแลนด์ 4.0 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 3 มีการประชุมก่อนมีการจัดกิจกรรมในการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมเพื่อเป็นการ ประชุมช้ีแจงให้เข้าใจในการดำเนนิ งานโครงการมีการแต่งต้งั คณะกรรมการในการดำเนินงาน ให้ผู้มีส่วนเก่ียวข้องได้เข้าร่วมทำการศึกษาวิเคราะห์ คิดค้นหาวิธีท่ีจะเสริมสร้างคุณธรรมให้ เกิดขึ้นภายในสถานศึกษาทุกคนได้ร่วมกันออกแบบวิธีการในการเสริมสร้างคุณธรรมและ ร่วมกันในการตัดสินใจท่ีจะร่วมกันใช้ทรัพยากรท่ีมีอยู่อย่างจำกัดมาใช้ให้เกิดประโยชน์ ด้าน การมีส่วนร่วมในการปฏิบัติ คือ ผู้อำนวยการมีแผนการดำเนินงานมีคณะกรรมการในการ ดำเนินเพื่อให้การดำเนินงานมีประสิทธิภาพ มีกรรมการในการพิจารณางบประมาณร่วมกัน วางแผนในงานและโครงการ กำหนดการดำเนินงานและประสานงานร่วมกับบุคคลภายนอกที่ เก่ียวข้องเพ่ือให้งานประสบความสำเร็จใช้ความคิดสร้างสรรค์และความเช่ียวชาญในการ ปฏิบัติงานเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์หรือแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่อาจเกิดข้ึนจากการบริหารงาน

วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 343 ในโรงเรียนได้ การมีส่วนร่วมในผลประโยชน์คือ ผู้บริหารส่งเสริมให้บุคลากรในโรงเรียนทุก ระดับเกิดการเรียนรู้และพัฒนาตนเองเพ่ือความก้าวหน้าในหน้าท่ีเป็นอย่างดี ส่วนครูผู้สอนมี สว่ นร่วมในผลประโยชน์ในการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมการได้รับค่าตอบแทนหรือรางวัล การได้เข้ารว่ มกิจกรรมฝกึ อบรม และไปศึกษาดูงานในสถานทีต่ ่างๆเพ่ือเพิ่มพูนศักยภาพ โดย การต้ังทมี งานติดตาม ประเมนิ ผลผล การบริหารแบบมีสว่ นรว่ มอย่างตอ่ เน่ือง เอกสารอ้างอิง กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และท่ีแก้ไข เพ่มิ เติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545. กรงุ เทพฯ : องคก์ ารรับส่งสนิ ค้าและพสั ดุภัณฑ์. ไกรประสิทธิ์ พันสะอาด. (2555) การศกึ ษาการมีสว่ นรว่ มของครผู สู้ อนในการบรหิ ารโรงเรียน ในอำเภอขลุง สังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 2. บัณฑิตวทิ ยาลยั :มหาวทิ ยาลยั บูรพา. ดลใจ ถาวรวงศแ์ ละจันทร์ชลี มาพุทธ. (2553). “กระบวนการขดั เกลาคณุ ธรรมจรยิ ธรรม ของเยาวชนตน้ แบบจงั หวดั ฉะเชงิ เทรา”. วารสารการศกึ ษาและการพัฒนาสงั คม ปีที่ 5, ฉบบั ที่ 1-2 (พฤษภาคม 2552-เมษายน 2553) : 21-34. มหาวิทยาลัยบรู พา. ชลณพรรธษ์ ศรีเริงหล้า. (2555) ปจั จัยการบรหิ ารแบบมีส่วนร่วมที่สง่ ผลตอ่ การจัดการ ความรู้ ในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษาเขต 41. บัณฑิตวทิ ยาลัย: มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั กำแพงเพชร. ทองสุข มนั ตาทร และคณะ. (2550). การศกึ ษาแนวทางในการสร้างเสริมคุณธรรม จรยิ ธรรมของนักเรยี นในสถานศึกษา เอกชน เขตตรวจราชการท่ี 13 ประจำปี งบประมาณ.บณั ฑิตวทิ ยาลยั :จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ไพศาล มั่นอกและไพฑรู ย์ สินลารตั น์. (2557). การวิจยั เชิงปฏบิ ัติการแบบมีสว่ นรว่ มในการ พัฒนาคุณธรรมจรยิ ธรรมของนักเรียนระดับมัธยมศกึ ษาขนาดเลก็ , บัณฑติ วทิ ยาลัย: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. บุญชม ศรีสะอาด, (2556), วิธกี ารทางสถติ ิสำหรับการวิจัย, พิมพค์ รงั้ ท่ี 5, กรงุ เทพฯ : สุวรี ยิ สาส์น.

344 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) สถาบันบัณฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์. (2562), เดก็ ไทยยุคไทยแลนด์ 4.0 ตอ้ งมีคุณธรรม จริยธรรม. เรียกใช้เมอ่ื 21 มถิ ุนายน 2562 จากhttps://www.posttoday.com. สรวิชญ์ สินสวาท. (2558). การมีสว่ นรว่ มในการตดั สนิ ใจการบริหารสถานศึกษาของครใู น โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษา ชยั นาท. บัณฑติ วิทยาลัย: มหาวิทยาลยั ราชภฏั กาญจนบุรี. สรุ ะ ออ่ นแพงและคณะ. (2562). รูปแบบการบริหารเพ่อื พฒั นาคุณธรรมจรยิ ธรรมนักเรยี น ประถมศกึ ษา. เรยี กใช้เม่อื 21 มถิ นุ ายน 2562 จาก http://www.tci-thaijo.org. ศิณาภรณ์ หเู้ ต็ม. (2553).พฤติกรรมด้านคุณธรรมจรยิ ธรรมของนกั ศึกษาในระดับปริญญาตรี วทิ ยาลยั ราชพฤกษ์. รายงานวจิ ยั :วิทยาลยั ราชพฤกษ์.

การพัฒนาการจดั การเรียนร้ภู าษาอังกฤษโดยใชส้ อ่ื แอพลเิ คชัน่ สำหรับครใู นโรงเรียนสงั กัดสำนักงานเขตพ้นื ที่ การศึกษาประถมศึกษานครศรธี รรมราช เขต 2 The Development of English Language Learning Management by Using Media Applications for Teachers in Schools Under Nakhon Si Thammarat Primary Educational Service Area Office 2 1สุภาพร ดำอุไร, 2มะลิวลั ย์ โยธารักษ์และ 3วนั ฉัตร ทิพย์มาศ, 1Supaporn Dam-urai, 2Maliwan Yotharak and 3Wanchat Thippamas 1,2มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย, ประเทศไทย 3วทิ ยาลัยเทคโนโลยีทกั ษิณอาชีวศกึ ษา, ประเทศไทย 1,2Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Thailand. 3Vocational Technology Thaksin College, Thailand. [email protected], [email protected] Received May 10, 2020; Revised July 12, 2020; Accepted August 25, 2020 บทคัดย่อ การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ สำหรับครใู นโรงเรยี นสังกัดสำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศกึ ษานครศรธี รรมราช เขต 2 2) พัฒนาการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยใช้สื่อแอพลิเคช่ันสำหรับครูในโรงเรียนสังกัด สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 และ 3) นำเสนอการ จัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยใช้ส่ือแอพลิเคชั่นสำหรับครูในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขต

346 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) พ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 เป็นกระบวนการวจิ ยั เชงิ คุณภาพ โดยใช้ การสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้ให้ข้อมูลสำคัญ 15 คน เครื่องมือท่ีใช้ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ แบบ สมั ภาษณเ์ ชงิ ลกึ และแบบสัมภาษณส์ นทนากลุ่ม ผลการวจิ ยั พบว่า 1. ผลการศึกษาสภาพการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษในโรงเรียนสังกัดสำนักงาน เขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 พบว่า ในการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ภาษาองั กฤษ ทง้ั 4 ทักษะ คือ การฟัง การพูด การอา่ น และการเขยี น ซ่ึงโรงเรยี นส่วนใหญ่ มีกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบ 2W3P, Pre-While-Post, Bottom up และใช้สื่อ Interactive software ซ่ึงเป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้ท่ีเป็นแบบเก่า ไม่มีความ หลากหลาย ไมน่ ่าสนใจ และเนน้ ตัวครผู ู้สอนเป็นสำคญั 2. ผลการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยใช้สื่อแอพลิเคช่ันสำหรับครูใน โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 ประกอบด้วย 1) วางแผน; ประชุมช้ีแจงจัดวางบุคลากร แต่งตั้งคณะทำงานที่รับผิดชอบ ศึกษาวิเคราะห์หลักสูตรและเอกสารที่เก่ียวข้อง และตรียมความพร้อม 2) พัฒนาบุคลากร; การใช้เทคโนโลยี และการใช้ส่ือแอพลิเคช่ัน 3) นิเทศติดตาม; ส่งเสริมสนับสนุน กำกับ ติดตาม และแก้ปัญหา และ 4) การให้ข้อมูลย้อนกลับ; วัดผลและประเมินผล ซึ่งการจัดการ เรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยใช้สื่อแอพลิเคช่ันสำหรับครูในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่ การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 พบว่า โรงเรียนส่วนใหญ่มีความสนใจแนว ทางการจดั การเรียนรู้ภาษาองั กฤษโดยใช้ส่ือแอพลิเคชั่น เพราะมีการใช้ส่ือท่ีทันสมัย มีความ หลากหลาย สามารถเอ้ืออำนวยความสะดวกในการจดั การเรยี นรูแ้ กค่ รูผู้สอน ผ้เู รยี นจะรู้สึก เพลดิ เพลนิ ไม่เกดิ ความเบื่อหน่าย และมีเจตคติทีด่ ีที่จะเรยี นรู้ภาษาองั กฤษ 3. ผลการนำเสนอการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยใช้ส่ือแอพลิเคชั่น สำหรับครใู นโรงเรยี นสังกัดสำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษานครศรีธรรมราช เขต 2 พบว่า โรงเรียนสว่ นใหญ่เห็นด้วยกับแนวทางการพัฒนาการจัดการเรยี นรู้ภาษาองั กฤษโดยใช้ สื่อแอพลิเคช่ัน เพราะมีความเหมาะสม ทันสมัยและครูผู้สอนสามารถนำแนวทางนี้ไปสู่การ ปฏิบตั ิในการจดั การเรยี นรภู้ าษาอังกฤษท่มี คี ณุ ภาพได้จริง คำสำคญั : การจัดการเรยี นรู้, การพฒั นาการจัดการเรยี นรู้, สอ่ื แอพลิเคชนั่

วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 347 Abstract The purposes of this study were: 1) to study the state of English language learning management for teachers in the schools under Nakhon Si Thammarat Primary Educational Service Area Office 2; 2) to develop English language learning management by using media applications for the teachers in the schools under Nakhon Si Thammarat Primary Educational Service Area Office 2; and 3) to propose English learning management by using media applications for the teachers in the schools under Nakhon Si Thammarat Primary Educational Service Area Office 2. This is qualitative research employing in-depth interviews with 15 key informants. The instruments used were interviewing formats, in-depth interviewing formats and focus group interviewing formats. The findings were as follows: 1. Concerning the state of English language learning management for teachers in the schools under Nakhon Si Thammarat Primary Educational Service Area Office 2, it was found that most schools managed English learning activities in four skills; listening, speaking, reading, and writing with the 2Ws3Ps model, Pre-While-Post way, Bottom-up method, and an application of Interactive software. These are traditional methods with neither a variety of activities nor interesting activities but focusing on teacher-centered style. 2. Results of development of English language learning management using media applications for the teachers in the schools under Nakhon Si Thammarat Primary Educational Service Area Office 2 consisted of: 1) planning including meeting for staffing, appointing responsible working groups, analyzing curriculum and related documents and preparation; 2) personnel development dealing with the use of technology and media applications; 3) supervision and follow-up consisting of support and promotion, supervision and solving problems; and 4) giving feedback involving assessment and evaluation in English language leaning management by using the media applications for teachers in the schools under Nakhon Si Thammarat Primary Educational Service Area Office 2, it was found that most schools are interested in the approach in managing English language learning by using the media applications because the use of advanced media provided varieties facilitating learning management for teachers. Learners also enjoyed without boredom but with a good attitude towards learning English.

348 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) 3. Results of the proposed guideline to develop English language learning using the media applications for teachers in the schools under Nakhon Si Thammarat Primary Educational Service Area Office 2, it was found that most schools agreed with the guideline that it was appropriate and advanced and the responsible teachers can effectively apply this approach in managing quality English learning management. Key words : Learning Management, Development of Learning Management, Media Applications บทนำ ในสังคมโลกปัจจุบนั เปน็ ยุคทเี่ ทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวัน ความรู้ และข้อมูลต่างๆ จึงแพรห่ ลายไปไดอ้ ย่างรวดเรว็ ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยที ี่เกี่ยวขอ้ งจึงมี บทบาทในการประยุกต์ใช้กับการเรียนการสอน ทำให้การเรียนการสอนมีการนำเอา เทคโนโลยีเข้ามาเกี่ยวข้องในรูปแบบของสื่อต่างๆ ทั้งวีดีทัศน์ สื่อช่วยสอน รวมไปถึงแอพลิ เคช่ันที่ได้พัฒนาขึ้น ซ่ึงในการจัดการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศมีความสำคัญและจำเป็นอย่าง ยิ่งในการใช้แอพลิเคชั่นในการสอนภาษาเป็นส่ิงท่ีได้รับความนิยมอย่างมาก เพื่อให้ผู้เรียนมี บทบาทต่อการเรียนรู้ด้วยตนเองเพิ่มมากขึ้น เน่ืองจากเป็นเครื่องมือสำคัญในการ ติดต่อส่ือสาร โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ ซ่ึงเป็นกลุ่มสาระการเรียนรู้พ้ืนฐานท่ีกำหนดให้เรียน ตลอดหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2561 (กระทรวงศึกษาธิการ, 2561:210) ซึ่งตามแนวปฏิบัติตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการเกี่ยวกับนโยบายการปฏิรูป ที่ว่า กระทรวงศึกษาธิการกำหนดให้ผู้เรียนทุกคนท่ีเรียนในระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานได้ เรียนรู้และฝึกฝนการใช้ภาษาอังกฤษจนเกิดทักษะและความสามารถในระดับส่ือสารได้อย่าง คล่องแคล่ว อันจะนำไปสู่การเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ พร้อมท้ังปรับ จุดเน้นการเรียนการสอนโดยเน้นด้านการสื่อสาร จัดกิจกรรมและสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริม ความสามารถด้านภาษาอังกฤษ ปรับจุดเน้นการเรียนการสอนภาษาอังกฤษให้เป็นไปตาม ธรรมชาติของการเรียนรู้ นำไปสู่การประกาศนโยบายการปฏิรูปการเรียนการสอน ภาษาอังกฤษ เม่ือปี พ.ศ.2557 โดยได้ให้ความสำคัญกับประเด็นท่ีสำคัญคือ การใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา (Information Communication Technology: ICT)

วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 349 เพ่ื อ เป็ น เค รื่ อ ง มื อ ที่ ส ำ คั ญ ใน ก า ร พั ฒ น า ค ว า ม ส า ม า ร ถ ท า ง ภ า ษ า ข อ ง ค รู แ ล ะ ผู้ เรี ย น ภาษาอังกฤษ ครูผู้สอนจงึ จำเป็นท่ีจะตอ้ งปรับเปล่ียนกระบวนการเรียนการสอนทางภาษาให้ สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของบริบท ท่ีสำคัญคือให้ความสำคัญกับการเปลี่ยนแปลงของ เทคโนโลยีในปัจจุบันและนำไปสู่การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนรู้ทางภาษา โดย มุ่งหวงั ให้ครูพัฒนาการจดั การเรียนรูภ้ าษาองั กฤษโดยใช้ส่ือแอพลิเคชั่น ให้ผเู้ รียนมเี จตคตทิ ่ีดี ต่อภาษาต่างประเทศ สามารถใชภ้ าษาต่างประเทศในการส่ือสาร แลกเปล่ียนขอ้ มลู ขา่ วสาร แสดงความรู้สึกและความคิดเห็น ตีความ นำเสนอข้อมูล ความคิดรวบยอดและความคดิ เห็น ในเรื่องต่างๆ และสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลอย่างเหมาะสม สื่อสารในสถานการณ์ ต่างๆ แสวงหาความรู้ ประกอบอาชีพ และศึกษาต่อในระดับ ที่สูงขึ้นและสามารถถ่ายทอด ความคดิ และวฒั นธรรมไทยไปยงั สังคมโลกไดอ้ ย่างสร้างสรรค์ จากผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในปีการศึกษา 2560 พบว่ามีเพียงวิชาภาษาไทยเท่านั้นท่ีคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศสูงกว่าร้อยละ 50 ดังน้ันจึงจำเป็นอย่างมากท่ีทางหน่วยงานทางการศึกษาท้ังในระดับนโยบายและปฏิบัติการ ต้องเร่งพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนในทุกระดับในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ เพ่ือให้คณุ ภาพการศึกษาและผลสัมฤทธ์ิในการสอบระดับชาติ (O-NET) ให้สูงข้ึน โดยการเร่ง ดำเนินการเพิ่มขีดความสามารถของครูผู้สอนให้สามารถจัดการเรียนการสอนให้ตรงจุด เน้น ประเด็นสำคัญ กระตุ้นใหค้ รูพัฒนารปู แบบและกิจกรรมการเรียนการสอนที่สอดคล้องกบั การ เปล่ียนแปลงทางวิทยาการท่ีมีการเคลื่อนไหวตลอดเวลา ซึ่งการแก้ปัญหาระดับผลสัมฤทธ์ิน้ี สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน (สพฐ.) ที่ต้องการ “ขบั เคล่อื นคุณภาพการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐานของประเทศไทยให้สูงเทยี บคา่ เฉล่ียของโลกภายในปี 2563” และมีพันธกิจในด้านพัฒนาและส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษาให้นักเรียนได้รับ การศึกษาอย่างมีคุณภาพ และให้ความสำคัญกับการพัฒนาครูให้มีความรู้ความสามารถใน การจัดการเรียนการสอน (กระทรวงศึกษาธกิ าร, 2561:141) ท่ีสำคัญคือผู้บริหารสถานศึกษา เป็นตัวบ่งชท้ี ่ีสำคญั ต่อทศิ ทางการดำเนนิ นโยบายการศึกษา พฒั นาคณุ ภาพการศึกษา เป็นผทู้ ่ี มีบทบาทหลักในการผลักดันให้การปฏิรูปการจัดการเรียนรู้แบบใหม่ในสถานศึกษาที่ประสบ ความสำเร็จและนำพาองคก์ ารกา้ วสคู่ วามเป็นเลิศ ดว้ ยเหตผุ ลดังกล่าวข้างต้น ผวู้ ิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาเก่ียวกับการพัฒนาการจัดการ เรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยใช้สื่อแอพลิเคช่ันสำหรับครูในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่