Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วารสาร มจร.อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2563

วารสาร มจร.อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2563

Description: 16541-5445-PB (1)

Search

Read the Text Version

600 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) ปัจจุบันจะมีความสลับซับซ้อน และเจริญก้าวหน้า อย่างรวดเร็วทำให้งานด้านการตลาด เปล่ียนแปลงจากเดิมท่ีเคยเน้นการขายสินค้าและบริการ เพื่อหวังผลกำไรเพียงอย่างเดียวมา เป็นการตลาดที่มุ่งหวังผลกำไรที่เกิดจากความพึงพอใจของผู้บริโภคและสังคม ผู้ที่สามารถ ดำเนินกิจกรรมทางด้านการตลาดได้เหมาะสม สามารถตอบสนองความต้องการของลูกคา้ ให้ ได้รับความพึงพอใจสูงสุด จะเป็นผู้ประสบความสำเร็จในการประกอบธุรกิจด้านการตลาด กิจกรรมของมนุษย์ในสังคมตามระบบเศรษฐกิจจะมีการกระทำอยู่ 3 ประเภทใหญ่ คือ การ ผลิต การจัดจำหน่าย และการบริโภคกิจกรรมเหล่านี้ได้มีการพัฒนาให้ก้าวหน้าทันสมัยอยู่ สมำ่ เสมอ ดงั จะเหน็ ได้จากมนษุ ย์ไดค้ ิดส่ิงต่างๆ ทง้ั ทางด้านวชิ าการและเทคโนโลยีใหม่ ๆ เข้า มาใช้ในการพัฒนาทางด้านการผลิต ทางด้านอุตสาหกรรม จากกิจกรรมท้ัง 3 ประเภทท่ี กล่าวมาน้ี กิจกรรมเกย่ี วกับการจัดจำหน่าย จัดเป็นกจิ กรรมที่ความสัมพันธ์กับการตลาดมาก ที่สุด ซ่ึงบ่งบอกถึงวิถีการดำเนินชีวิตท่ีมีการเปล่ียนแปลงมากข้ึนจะเห็นได้จากลักษณะของ อาคารบ้านเมือง วิธีการผลิต การขายสินค้า ส่งผลให้ตลาดมีลักษณะรูปแบบแตกต่างกัน ปัจจุบันสภาพตลาดสดได้รับการดูแลให้มีความเป็นระเบียบเรียบร้อย สะอาดและถูก สุขลักษณะตามกระบวนของรัฐ โดยมอบให้กระทรวงมหาดไทย ร่วมกับกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ กระทรวงสาธารณสุข และหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ให้ตลาดสดทุกแห่งในประเทศได้ มาตรฐานตามหลักเกณฑ์ ตลาดสามารถแบ่งได้เป็น 3 ประเภท ประเภทแรกเป็นตลาดท่ีมี โครงสร้างอาคารและดำเนินกิจกรรมเป็นการประจำ หรืออย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง ประเภทที่สองเป็นตลาดที่ไม่มีโครงสร้างอาคารและดำเนินกิจการเป็นประจำ หรืออย่างน้อย สัปดาห์ละ 1 คร้ัง และตลาดประเภทท่ีสามเป็นตลาดที่ไม่มีโครงสร้างอาคารและดำเนิน กิจการช่ัวคราวหรือเป็นคร้ังคราวหรือตามวัน ท่ีกำหนด (กรมส่งเสริมการปกครองส่วน ท้องถิ่น, 2550 : 25) เมืองบาเจียงจะเลนิ สุก แขวงจำปาสัก สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาวได้ ประกาศได้นโยบายประกาศความปลอดภัยด้านอาหาร วันที่ 1 มกราคม พร้อมประกาศให้ ตลอดปี 2547 เป็นปีแห่งสุขภาพอนามัยและมอบหมายภารกิจให้กระทรวงสาธารณสุขเป็น หน่วยงานรับผิดชอบและรับรองอาหารที่จะหน่ายในประเทศควบคุมการนำเข้ายาเคมีภัณฑ์ อาหารสำเร็จรปู วัสดใุ นการผลติ อาหาร การขน้ึ ทะเบยี นและควบคุมการจำหน่ายยาตลอดจน การอนุญาตประกอบการ โรงงานแปรรูปอาหาร ตรวจสอบคุณภาพมาตรฐาน และ กระบวนการผลติ โรงงานผลิตอาหารเพอื่ จำหน่ายในประเทศ ในส่วนของการตรวจสอบรบั รอง

วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 601 อาหารที่จำหน่ายในประเทศจะดำเนินการท้ังอาหารสด อาหารแปรรูป และอาหารปรงุ สำเร็จ โดยการตรวจสอบสารเคมที ่ีมอี ันตรายต่อผ้บู ริโภค จงึ ได้มีการจัดทำโครงการสขุ าภิบาลอาหาร มมี าตรการในการควบคุม กำกบั และตรวจสอบดูแลสถานที่ปรุงประกอบจำหนา่ ยอาหาร ดังนั้นการดำเนินงานตลาดเมืองบาเจียงจะเลินสุก จะต้องได้รับการประเมิน มาตรฐานตลาด โดยใช้เกณฑ์ของแผนกอุตสาหกรรมและการค้าแขวงจำปาสัก โดยมี คณะกรรมการจากหน่วยงานของรัฐทรี่ ับผดิ ชอบรว่ มกับคณะกรรมการในแขวงในการประเมิน (Top-Down) จากคณะกรรมการซึง่ จะต้องกำหนดมาตรฐานเพื่อผู้บริโภค แตอ่ ย่างไรก็ตามใน ปัจจุบันยังคงมีเสียงวิพากษ์วิจารณ์ และจากประสบการณ์ตรงของผู้ศึกษาวิจัย เห็นว่าตลาด เมืองบาเจียงจะเลินสุก มีข้อบกพร่อง และมีความเห็นต่างในหลายเรื่อง เช่น ตามทางเดิน ภายในตลาด ท่อน้ำ ทางระบายน้ำมีกลิ่นเหม็นผู้ประกอบการบางราย รวมไปถึงประชาชนท่ี เข้าใช้บริการจับจ่ายใช้สอยภายในตลาดยังขาดระเบียบและความรับผิดชอบต่อสาธารณะ โครงสร้างของอาคาร รวมไปถึงไฟฟ้าท่ีในบางอาคารมีความเกา่ ทรุดโทรม และปัญหาในเร่ือง ของสถานท่ีจอดรถที่ไม่เพียงพอ เป็นต้น เพ่ือเป็นการแสวงหากระบวนท่ีเหมาะสมในแก้ไข ปัญหาที่เกิดขึ้นจะทำให้ตลาดเมืองบาเจียงจะเลินสุก เป็นตลาดที่ถูกสุขภาวะลักษณะและ เกิดผลดีกับประชาชนในพ้ืนท่ีและนักท่องเที่ยวท่ีเข้าไปใช้ประโยชน์ ดังน้ันจึงเล็งเห็น ความสำคัญในการหากระบวนการแก้ไขปัญหาตลาดเมืองบาเจียงจะเลินสุก แขวงจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เพื่อนำขอ้ มูลท่ีได้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในการพัฒนา ตลาดในอนาคต วตั ถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพปัญหาตลาดเมืองบาเจียงจะเลินสุก แขวงจำปาสัก สาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว 2. เพื่อศึกษากระบวนการแกไ้ ขปัญหาตลาดเมืองบาเจียงจะเลินสุก แขวงจำปาสัก สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว

602 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) วธิ ีดำเนินการวิจัย การวิจัยเรื่อง“กระบวนการแก้ไขปัญหาตลาดเมืองบาเจียงจะเลนิ สุก แขวงจำปาสัก สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว ผวู้ ิจยั ไดด้ ำเนนิ การวิจยั ดงั นี้ 1. ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง ประชากรในการวจิ ัยครั้งน้ี คือ ผู้ประกอบการร้านค้าตลาดหลัก 14 เมืองบาเจียง จะเลินสุก จำนวน 52 ร้าน ผู้ประกอบร้านค้าย่อย จำนวน32 ร้านและประชาชน จำนวน 50 คน รวมท้งั สน้ิ จำนวน 134 คน โดยใชว้ ธิ กี ารเลอื กแบบเจาะจง (Propulsive Sampling) กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ เจ้าหน้าที่รัฐ จำนวน 5 คน ผู้บริหารตลาด จำนวน 3 คน ตัวแทนสมาชิกผู้ประกอบการร้าน จำนวน 15 คน เป็นกลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลักเกี่ยวกับแนว ทางการจัดการตลาดเมืองบาเจียงจะเลินสุก แขวงจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว 2. เครื่องมอื ทีใ่ ช้ในการวิจยั เครื่องมอื ที่ใช้ในการวิจยั เปน็ แบบสมั ภาษณ์และแบบสอบถามเป็นแบบมาตราสว่ น ประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ คือมากท่ีสุด มาก ปานกลาง น้อยและน้อยท่ีสุด ที่ เก่ยี วขอ้ งกบั กระบวนการแกไ้ ขปญั หาตลาดเมืองบาเจยี งจะเลินสุก แขวงจำปาสัก สาธารณรัฐ ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 3. การวเิ คราะหข์ อ้ มลู วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้สถิติพรรณนา (Descriptive Statistics) ได้แก่ คา่ ร้อยละ (Percentage) ค่าความถ่ี (Frequency) ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) วิเคราะห์จากการสัมภาษณ์กระบวนการแก้ไขปัญหาตลาดเมืองบาเจียงจะเลินสุก แขวงจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เป็นการวิเคราะห์เชิงคุณภาพ โดย การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content Analysis) แล้วนำเสนอแบบความเรียงและพรรณนา วเิ คราะห์

วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 603 ผลการวจิ ัย กระบวนการแก้ไขปัญหาตลาดเมืองบาเจียงจะเลินสุก แขวงจำปาสัก สาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว ผลการวิจัยพบว่า สภาพปัญหาตลาดเมืองบาเจียงจะเลินสุก แขวงจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยภาพรวม มีค่าเฉล่ียอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.50 เม่ือพิจารณาด้านท่ีมีค่าเฉล่ียสูงสุด คือ ด้านการมีส่วนร่วมของ ผู้ประกอบการและผู้บริโภค ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.72 ด้านการจัดการสุขาภิบาลส่ิงแวดล้อม ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.56 ด้านความปลอดภัยอาหารและการคุ้มครองผู้บริโภค ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.46 ด้านสุขลักษณะทั่วไป ค่าเฉล่ียเท่ากบั 3.27 ดงั ตารางค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน สภาพปัญหาการจัดการตลาดเมืองบาเจียงจะเลินสุก แขวงจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว โดยภาพรวม ตามตารางที่ 1 ดังนี้ ตารางท่ี 1 กระบวนการแก้ไขปัญหาตลาดเมืองบาเจียงจะเลินสุก แขวงจำปาสัก สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว ใน 4 ด้าน คอื สภาพปญั หาการจดั การตลาดเมอื งบาเจยี งจะเลนิ สกุ ระดบั ปญั หา ลำดบั แขวงจำปาสกั สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชน X SD. แปลผล ลาวโดยภาพรวม 1 ด้านสุขลกั ษณะท่ัวไป 3.27 0.85 ปานกลาง 2 ดา้ นการจดั การสุขาภิบาลส่งิ แวดลอ้ ม 3.56 0.89 มาก 3 ด้านความปลอดภยั อาหารและการคุม้ ครองผูบ้ ริโภค 3.46 0.87 ปานกลาง 4 ด้านการมสี ่วนร่วมของผู้ประกอบการและผ้บู รโิ ภค 3.72 0.82 มาก เฉลยี่ รวม 3.50 0.86 ปานกลาง จากตารางที่ 1 พบว่า สภาพปัญหาการจัดการตลาดเมืองบาเจียงจะเลินสุก แขวง จำปาสัก สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว โดยภาพรวมทกุ ดา้ น อยู่ในระดบั ปานกลาง ( X = 3.50) มรี ายละเอียดแตล่ ะดา้ น คอื 1. ด้านสุขลักษณะทั่วไป โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ข้อท่ีมีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ทางเดินในตลาดไม่กว้างขวาง การสญั จรลำบาก 2. ด้านการจัดการสุขาภิบาลส่ิงแวดล้อม โดยรวมอยู่ในระดับมาก ข้อที่มีค่าเฉลี่ย สงู สุด คอื ภายในตลาดมกี ารรบกวนจากสัตวห์ รอื แมลงท่ีเป็นพาหะนำโรค

604 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) 3. ด้านความปลอดภัยอาหารและการคุ้มครองผู้บริโภค โดยรวมอยู่ในระดับปาน กลาง ข้อทมี่ ีคา่ เฉลย่ี สูงสดุ คอื ไม่มจี ุดทดสอบสารปนเปื้อนทีเ่ ป็นอันตราย 4. ด้านการมีส่วนร่วมของผู้ประกอบการและผู้บรโิ ภค โดยรวมอยู่ในระดับมาก ข้อ ที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ขาดการฝึกอบรมผู้ประกอบการและผู้ช่วยขายของเพ่ือให้เข้าใจในด้าน อนามยั สิ่งแวดล้อม สุขภาพอนามยั กระบวนการแก้ไขปัญหาตลาดเมืองบาเจียงจะเลินสุก แขวงจำปาสัก สาธารณรัฐ ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว พบว่า ด้านสุขลักษณะท่ัวไปควรมกี ารปรับปรงุ โครงสร้างอาคาร ให้แข็งแรงเหมาะสม ควรมีการจัดวางสินค้าให้เป็นระเบียบ ควรมีการปรับปรุงระบบระบาย น้ำเสียภายในตลาด ด้านการจัดการสุขาภิบาลและส่ิงแวดล้อม พบว่า เจ้าหน้าที่ภาครัฐควร เข้าไปดำเนินการตรวจสอบการจัดการสุขาภิบาลให้ถูกสุขลักษณะ จะต้องมีการรณรงค์ให้ ผปู้ ระกอบการและผู้ใชบ้ ริการดแู ลรักษาความสะอาดร่วมกัน ควรมีการคัดขยะกอ่ นกำจัดและ มีถังขยะภายในตลาดเพียงพอต่อการใช้บริการ ควรจัดให้มีพนักงานทำความสะอาดห้องน้ำ ภายในตลาดให้มีความสะอาดอย่างสม่ำเสมอ ด้านความปลอดภัยอาหารและการคุ้มครอง ผู้บริโภค พบว่า หน่วยงานภาครัฐจะต้องเข้าไปร่วมมือกับผู้บริหารตลาดตรวจสอบมาตรฐาน ของสินค้า ควรมีการติดป้ายราคาสินค้าให้เห็นอย่างชัดเจน ควรจะมีศูนย์บริการให้ความรู้ และข้อมูลท่ีเป็นประโยชน์แก่ประชาชน ด้านการมีส่วนร่วมของผู้ประกอบการและผู้บริโภค หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องจะต้องเข้ามามีส่วนร่วมในการฝึกอบรมและให้ความรู้เกี่ยวกับการรักษา สุขลักษณะส่ิงแวดล้อมภายในตลาดและรักษาคุณภาพของอาหารให้เป็นมาตรฐานปลอดภัย ต่อผบู้ ริโภคและพฒั นาตลาดใหด้ ียิ่งขน้ึ อภิปรายผล จากผลการวิจัยกระบวนการแก้ไขปัญหาตลาดเมืองบาเจียงจะเลินสุก แขวงจำปา สัก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว สามารถนำผลมาอภิปรายได้ด้านสุขลักษณะ ท่ัวไป โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยข้อที่มีค่าเฉล่ียสูงสุด คือ ทางเดินในตลาดไม่ กว้างขวาง การสัญจรลำบาก ทั้งน้ีผู้บริหารตลาดและผู้ประกอบการต้องเข้ามีส่วนร่วมในการ แก้ไขปัญหา ทั้งการจัดวางสินค้าไม่กีดขวางทางเดิน การจัดแบ่งโซนจำหน่ายสินค้าให้มีความ ชัดเจนสะดวกต่อการขับจ่ายสินค้า การด้านการจัดการสุขาภิบาลส่ิงแวดล้อม โดยรวมอยู่ใน

วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 605 ระดับมากข้อท่ีมีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ภายในตลาดมีการรบกวนจากสัตว์หรือแมลงท่ีเป็นพาหะ นำโรค ท้ังน้ีตลาดต้องมีมาตรการในการกำจัดหรือป้องกันสัตว์ต่างๆ ท่ีเข้ามาอาศัยเช่นทำตา ข่ายป้องกันนกไม่ให้เข้ามาอาศัยในตลาด การทำความสะอาดตลาดบ่อยๆ เพื่อป้องกันสัตว์ ประเภทหนู แมลงสาบหรือแมลงวัน ซ่ึงล้วนแต่เป็นพาหะนำเช้ือโรคต้องมีมาตรการในการ รักษาความสะอาดและหน่วยงานภาครัฐต้องเข้ามาตรวจสอบสม่ำเสมอ ด้านความปลอดภัย อาหารและการคุ้มครองผู้บริโภค โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ขอ้ ที่มีค่าเฉล่ียสูงสุด คือ ไม่มี จุดทดสอบสารปนเป้ือนที่เปน็ อันตราย จะเห็นได้วา่ ตลาดเมืองบาเจียงจะเลินสุกเป็นตลาดที่มี การจำหน่ายสินค้าท่ีหลากประเภทท้ังตลาดของสด อาหารสินค้าที่นำมาจากชนเผ่าเข้ามา จำหน่าย โดยส่วนมากสินค้าเป็นประเภทสินค้าพื้นเมืองที่ยังไม่มาตรฐานรับรองความ ปลอดภัย อาหารสดบางคร้งั มีการใส่สารกนั บูดเกินขนาด หรือเนื้อสดมีการใช้สารเร่งความสด ทำให้อาหารเหล่านี้ไม่ปลอด ดังนั้นหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องเข้ามาดำเนินการตรวจสอบ มาตรฐานด้านอาหารเพ่ือให้เกิดความปลอดภัยต่อผู้บริโภค รวมท้ังให้ความรู้เกี่ยวกับการ รักษาอาหารอย่างถูกวิธดี ้วย ด้านการมีส่วนรว่ มของผู้ค้าและผู้ซอื้ โดยรวมอยูใ่ นระดับมากข้อ ที่มีค่าเฉล่ียสูงสุด คือ ขาดการฝึกอบรมผู้ประกอบการและผู้ช่วยขายของเพ่ือให้เข้าใจในด้าน อนามัยส่ิงแวดล้อม/สุขภาพอนามัย จะเห็นได้ว่าผู้ประกอบในตลาดมีหลากหลายระดับทั้ง ชาวบ้านที่มาชนเผ่าหรือพ่อค้าท่ีจบการศึกษาในระดับท่ีสูงเหล่าน้ีล้วนแต่มีความรู้ในการ จำหน่ายสินค้าหรือการดูแลสินค้า การตอบสนองผู้บริโภคท่ีแตกต่างกัน ดังนั้นหน่วยงาน ภาครัฐและผู้บริหารต้องดำเนินการในการจัดฝึกอบรมให้ความรู้ต่อผู้ประกอบทั้งนี้อาจจะ ดำเนินการสอบถามเพื่อใหท้ ราบถงึ ความต้องการของประกอบการในการอบรมโดยหนว่ ยงาน เป็นผ้สู นับสนุนวทิ ยากรเขา้ มาให้ความรู้อย่างสม่ำเสมอและพัฒนาเป็นจดุ ให้บรกิ ารความรกู้ ับ ประชาชนซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของปรางทิพย์ ตันศิริ (2558 : 1) ได้ศึกษาแนวทางการ พัฒนาการจัดการตลาดสด: กรณีศึกษา ตลาดสดเทศบาล 1 นครเชียงราย อำเภอเมือง เชียงราย จังหวัดเชียงราย ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้ประกอบการและ ประชาชนได้มคี วามเห็นเก่ียวกับสภาวะแวดลอ้ มของตลาดสดเทศบาล 1 นครเชียงรายทม่ี ีผล ต่อการพัฒนาการจัดการตลาด ด้านสุขลักษณะท่ัวไป ด้านการจัดการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม ด้านความปลอดภัยอาหารและการคุ้มครองผบู้ ริโภคและด้านการมีส่วนร่วมของผู้ค้าและผู้ซื้อ ท้ังส่ีด้านอยู่ในระดับที่ควรปรับปรุงแนวทางในการแก้ไขและพัฒนาตลาดสดเทศบาล 1 นคร เชียงราย มีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ทุกฝ่ายท่ีมีส่วนเก่ียวข้องกับตลาดสด จะต้องตระหนักถึง

606 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) หน้าที่และสิ่งที่ควรทำของตนเพ่ือเป็นการช่วยกันพัฒนาตลาด เช่น พนักงานเทศบาลนคร เชยี งราย ควรปฏบิ ตั ิหน้าทีแ่ ละมมี าตรการในการดำเนินการอย่างจริงจัง คณะกรรมการตลาด ควรทำหน้าท่ีในการเป็นสื่อกลางระหว่างเทศบาลกับผู้ประกอบการ เป็นตัวแทนของ ผู้ประกอบการในการติดต่อสื่อสารแจ้งเร่ืองร้องทุกข์กับเทศบาลและเป็นแบบอย่างท่ีดีแก่ ผู้ประกอบการ ผู้ประกอบการภายในตลาด ควรมีวินัยและจิตสำนึกในการรักษาความสะอาด รวมไปถึงการมีส่วนร่วมในกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ ประชาชนท่ีเข้าใช้บริการจับจ่ายใช้สอย ภายในตลาดควรช่วยกันรักษาความสะอาดภายในตลาดและสอดคล้องกับงานวิจยั ของกฤษฎิ์ พรรณาภพ (2556 : ค) ได้ศกึ ษา การจดั การตลาดชุมชนขององค์การบริหารส่วนตำบลนาโพธ์ิ อำเภอบุณฑริก จังหวัดอุบลราชธานี ผลการศึกษาพบว่าการจัดการตลาดชุมชนองค์การ บริหารส่วนตำบลนาโพธ์ิ อำเภอบุณฑริก จังหวัดอุบลราชธานี เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการวางแผน การมีส่วนร่วมในการกำหนดให้องค์กรชุมชนต่างๆ เข้ามามีส่วนร่วม ในการบริหารจัดการตลาดชุมชนช้ัน การมีส่วนร่วมปรึกษาหารือเสนอความคิดเห็นในการ วางแผนกำหนดคุณสมบัติของผู้ท่ีจะนำสินค้าเข้ามาจำหน่าย ด้านการดำเนินงาน มีการ กำหนดวันเวลาเปิด ปิดตลาดชุมชนอย่างชัดเจน ผู้มีส่วนกำหนดนัดหมายเวลาท่ีจะนำสินค้า มาจำหน่าย ด้านการจัดการองค์กร การสรรหาคณะกรรมการในการดำเนินกิจกรรมตลาด ชุมชนท่ีฉลาดเสียสละและทำงานหนัก การแบ่งงานตามความสามารถของบุคคล ด้านการ ติดตามควบควบคุมคือ มีส่วนในการแลกเปล่ียนความคิดเห็น ประสบการณ์กับชาวบ้านคน อ่ืนๆในเร่ืองการจัดการตลาดชุมชน มีการจัดให้มีการพิจารณาตรวจสอบการดำเนินงาน กิจกรรมตลาดชุมชนในทุกขั้นตอน ด้านการจัดการความรู้ มีการพัฒนาผู้นำคณะกรรมการ สมาชิกและประชาชนในระดับพื้นท่ีให้มีจิตสำนึกในการทำงานร่วมกันส่วน การสร้าง กระบวนการเรียนรู้และพัฒนาผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเป็นประจำ ด้านการประสานความร่วมมือ มี การพบปะแลกเปล่ียนความรู้ทักษะประสบการณ์ระหว่างผู้จัดการตลาดชุมชนและผู้ขายใน ระดับพื้นท่ีอย่างสม่ำเสมอและต่อเน่ืองส่วน จัดให้มีการสร้างเครือข่ายในการดำเนินกิจกรรม ตลาดชุมชนไปยังพ้ืนที่อื่น ปัญหาและอุปสรรคข้อเสนอแนะส่วนใหญ่พบว่าขาดการประชุม คณะกรรมการอย่างต่อเน่ืองทุกเดือนขาดการประชาสัมพันธ์หน่วยงานของผู้จัดทำตลาด ชุมชนและนำเสนอการดำเนินงานของตลาดชุมชนรวมถึงขาดการประสานความร่วมมือ ระหว่างผู้ท่ีมีส่วนเก่ียวข้องในการจัดการตลาดชุมชนและสอดคล้องกับงานวิจัยของเลอศักดิ์ หล่อรุ่งเลิศ (2554 : ค) ท่ีได้ศึกษาเรื่องแนวทางการพัฒนาตลาดสดเทศบาล 1 ให้เป็นตลาด

วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 607 สดน่าซ้ือกรณีศึกษา เทศบาลเมืองพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี แนวทางในการพัฒนาตลาดสดเทศบาล 1 ดังน้ี ด้านการทำความเข้าใจอันดีระหว่างผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่เทศบาลเมืองพิบูลมังสาหารกับผู้ประกอบการในตลาดสดเทศบาล 1 ในเรื่อง ของการปรับปรุงพัฒนาตลาด ผู้บริหารและเจ้าหน้าท่ีต้องมีความมุ่งมั่นและหาแนวคิดที่ สอดคล้องกับแนวคิดในการพัฒนาตลาดสดของกระทรวงมหาดไทย ปี 2549 และเกณฑ์การ ประเมินตลาดสดน่าซ้ือของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณะสุข เพ่ือให้การดำเนินการพัฒนา นั้นประสบความสำเร็จ โดยต้องอาศัยแรงจูงใจท่ีเป็นงบประมาณอุดหนุน ด้านสุขาภิบาล ส่ิงแวดล้อม จัดให้มีที่รองรับขยะมูลฝอยสาธารณะที่เพียงพอและถูกต้องตามสุขลักษณะ มี กระบวนการดูแลทำความสะอาดท้ังภายในตลาดและบริเวณรอบตลาดอย่างสม่ำเสมอ มี ระบบการกำจัดควบคุมสัตว์และแมลงที่เป็นพาหะนำโรคภายในตลาดท่ีมีคุณภาพ ดูแลห้อง ส้วมให้ถูกสุขลักษณะและมีการล้างทำความสะอาดที่ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาลอยู่เสมอ ด้านการคุ้มครองผู้บริโภค จัดให้มีตาช่ังกลางที่เที่ยงตรงได้มาตรฐานไว้บรกิ าร ตรวจสอบและ ดูแลการวางจำหน่ายสินค้าให้ถูกต้องตามสุขลักษณะ เช่น ถ้าหากเป็นสินค้าประเภทอาหาร ตอ้ งวางสูงจากพ้ืนไม่น้อยกวา่ 60 เซนติเมตร ให้มีการตดิ ป้ายบอกราคาสินค้าอยา่ งชดั เจน จะ ให้มีสถานท่ีจัดบอร์ดให้ความรู้แก่ผู้บริโภคเกี่ยวกับอาหารปลอดภัย โภชนาการและ สุขลักษณะของตลาด จัดให้มีจุดทดสอบสารปนเปื้อนที่เป็นอันตราย โดยฝึกอบรมให้ คณะกรรมการตลาดสดสามารถทำเองได้ ด้านความปลอดภัยในอาหาร มีแนวทางในการ พัฒนาตลาดสดด้านความปลอดภัยอาหาร โดยกำหนดแผงจำหน่ายอาหารต้องผ่านเกณฑ์การ ตรวจสอบสารปนเป้ือน เช่น ฟอร์มาลีน บอเรกซ์ สารฟอกขาวสารเร่งเน้ือแดงในเนื้อหมู เป็น ตน้ องค์ความรู้ที่ไดจ้ ากการศึกษา สภาพปัญหาตลาดเมอื งบาเจียงจะเลินสุก แขวงจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว การมีส่วนร่วมของผู้ประกอบการและผู้บริโภคขาดการฝึกอบรมผู้ประกอบการ เพ่ือให้เขา้ ใจในด้านอนามยั ส่ิงแวดล้อม/สขุ ภาพอนามัย ด้านการจัดการสขุ าภบิ าลสิ่งแวดล้อม ภายในตลาดมีการรบกวนจากสัตว์หรือแมลงที่เป็นพาหะนำโรค ด้านความปลอดภัยอาหาร และการคุ้มครองผู้บริโภคไม่มีจุดทดสอบสารปนเป้ือนท่ีเป็นอันตราย ด้านสุขลักษณะทั่วไป

608 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) ทางเดินในตลาดไม่กว้างขวาง การสัญจรลำบาก (2) กระบวนการแก้ไขปัญหาตลาดเมืองบา เจียงจะเลินสุก แขวงจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว พบว่า ด้าน สุขลักษณะท่ัวไปควรมีการปรับปรุงโครงสร้างอาคารให้แข็งแรงและจัดวางสินค้าให้เป็น ระเบียบ ด้านการจัดการสุขาภิบาลและสิ่งแวดล้อมเจ้าหน้าท่ีภาครัฐควรเข้าไปดำเนินการ ตรวจสอบการจัดการสุขาภิบาลให้ถกู สุขลกั ษณะ ด้านความปลอดภัยอาหารและการคุ้มครอง ผู้บริโภค หน่วยงานภาครัฐจะต้องเข้าไปร่วมมือกับผู้บริหารตลาดตรวจสอบมาตรฐานของ สนิ ค้าและมีการติดป้ายราคาสินค้าให้เห็นอย่างชัดเจน ด้านการมีส่วนร่วมของผู้ประกอบการ และผู้บริโภค หน่วยงานที่เก่ียวข้องจะต้องเข้ามามีส่วนร่วมในการฝึกอบรมและให้ความรู้ เก่ียวกับการรักษาสุขลักษณะส่ิงแวดล้อมภายในตลาดและมีส่วนร่วมในการตรวจสอบ คุณภาพอาหารใหเ้ ป็นมาตรฐาน เอกสารอ้างองิ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน. (2550). มาตรฐานตลาด. กรุงเทพฯ: กรมส่งเสริมการ ปกครองทอ้ งถน่ิ กระทรวงมหาดไทย. กฤษฎิ์ พรรณนาภพ. (2556). การจัดการตลาดชุมชนขององค์การบริหารส่วนตำบลนาโพธ์ิ อำเภอบณุ ฑริก จังหวดั อุบลราชธานี. บัณฑติ วทิ ยาลยั : มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น. ปรางทิพย์ ตันศิริ. (2558). แนวทางการพัฒนาการจัดการตลาดสด : กรณีศึกษา ตลาดสด เทศบาล 1 นครเชยี งราย อำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย. บณั ฑิตวิทยาลัย : มหาวทิ ยาลยั แมฟ่ ้าหลวง. เลอศักด์ิ หล่อรุ่งเลิศ. (2554). แนวทางการพัฒนาตลาดเทศบาล 1 ให้เป็นตลาดสดน่าซ้ือ เทศบาลเมืองพิบูลมังสาหาร อำเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี. บัณฑิต วิทยาลยั : มหาวิทยาลยั ขอนแก่น. วราภรณ์ จวิ ชัยศกั ดิ์. (2555). “ตลาด.” สารานุกรมไทยสำหรบั เยาวชนในพระบรมราชปู ถัมภ์ เล่ม 28. (ออนไลน)์ http://www.prthai.com/articledetail. asp?kid=2340. สุปญั ญา ไชยชาญ. (2551). การบรหิ ารการตลาด. กรงุ เทพฯ: พ.ี เอ.ลฟิ ว่ิง จำกัด.

ความรว่ มมือในการแกไ้ ขปญั หาการดำเนนิ ธุรกิจของผปู้ ระกอบการใน เมืองปากเซ แขวงจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว Cooperation in Solving Problems of Business Operation of the Entrepreneurs in Pakxe District, Champasak Province, Lao People's Democratic Republic 1สายสะหวาด ไชยะวง, 2ไพศาล พากเพียรและ 3ประสิทธิ์ กุลบญุ ญา 1Saisawad Chaiyawong 2Paisarn Phakphian, and 3Prasit Kunbunya มหาวิทยาลัยราชภัฏอบุ ลราชธานี, ประเทศไทย Ubon Ratchathani Rajabhat University, Thailand. [email protected] Received May 10, 2020; Revised July 12, 2020; Accepted August 25, 2020 บทคดั ยอ่ ก า ร วิ จั ย ค รั้ ง นี้ มี วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ เพ่ื อ ศึ ก ษ า ส ภ าพ ปั ญ ห าก ารด ำเนิ น ธุ รกิ จ ข อ ง ผู้ประกอบการในเมืองปากเซ แขวงจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวและเพื่อ ศึกษาแนวทางความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาการดำเนินธุรกิจของผู้ประกอบการในเมือง ปากเซ แขวงจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยใช้แบบสอบถามและ แบบสัมภาษณ์ กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 309 คน และกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 17 คน สถิติท่ีใช้ ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะห์เชิง เน้อื หา ผลการวจิ ยั พบว่า 1. สภาพปัญหาการดำเนินธุรกิจของผู้ประกอบการในเมืองปากเซ แขวงจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยภาพรวม มีค่าเฉล่ียรวมอยู่ในระดับมาก ด้าน

610 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) บุคคล ค่าจ้างและเงินเดือนไม่สามารถจูงใจให้พนักงานทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ด้าน กระบวนการการบริการไม่ทันใจลูกค้าลูกค้าต้องมายืนรอนาน ด้านภาพลักษณ์ไม่มีระบบ รกั ษาความปลอดภัย ด้านการตลาดรูปแบบสนิ ค้าไมต่ รงกับความต้องการของลูกคา้ ด้านการ วางแผนแผนงานท่ีวางไว้ไม่มีการปรับปรุงให้เข้ากับสถานการณ์ ด้านการผลิตผลิตได้เกิน ความต้องการ 2. แนวทางความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาการดำเนินธุรกิจของผู้ประกอบการใน เมอื งปากเซ แขวงจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชน พบว่า ดา้ นการเงิน หน่วยงาน รฐั ควรจัดหาแหล่งทุนเพื่อสนับสนุนการประกอบการธุรกิจ ด้านการผลิต ควรมีการจัดอบรม ความรู้เก่ียวกับงานท่ีปฏิบัติและควรจัดหาเทคโนโลยีการผลิตเพ่ือเพ่ิมคุณภาพสินค้า ด้าน ทรัพยากรบุคคล ควรมีการจัดหาแรงงานมีฝีมือทักษะ ด้านการตลาด ควรมีการจัดต้ังกลุ่ม ชมรมเพื่อลดการแขง่ ขันทางดา้ นการตลาด ด้านการเขา้ ถึงบริการหนว่ ยงานของรฐั หน่วยงาน ภาครัฐจะต้องลดขนั้ ตอนในการตดิ ต่อประสานงาน คำสำคัญ : ความร่วมมือ, แก้ปญั หา, ผู้ประกอบการ Abstract This research aimed at: studying the state of problems in running business of the entrepreneurs in Pakxe district, Champasak province, Lao PDR; and studying the guidelines for cooperation in solving the problems in running business of the entrepreneurs in Pakxe district, Champasak province, Lao PDR. The research instruments were a questionnaires and interviewing sampling groups. The samples were 309 individuals and the target group of 17 individuals. Statistics used in data analysis were percentage, means, standard deviation and content analysis. The research findings were as follows. 1. The overall state of problems in running business of the entrepreneurs in Pakxe district, Champasak province, Lao PDR were at a high level that could be revealed by aspect as the followings: Personnel, wages and salary failed to encourage the employees to work efficiently; Service process, customers had to wait for the service for a long time; Image of the business operations, no security system was used; Marketing

วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 611 and model of goods were not in response to the demands of customers; Planning and programs, there was no improvement in accordance with the situations; and Production, the supplies exceeded the demands of customers. 2.The guidelines to solve the problems as faced by the business entrepreneurs in Pakxe district, Champasak province, Lao PDR were as follows. Financially, the state agencies should provide the funding sources to support the business entrepreneurs. There should be training on practical works and production technology should be made available to increase the product quality. In terms of personnel resources, skilled labor forces were required. In marketing, the club and group of entrepreneurs should be established to reduce the marketing competition. Regarding access to the government service, the state sectors should reduce the stages in communication and contact. Key words : Cooperation, Solving Problems, Entrepreneurs. บทนำ ภาระบทบาทท่ีสำคัญของแผนกอุตสาหกรรมและการค้าแขวง คือบริหารรัฐ เกี่ยวกับงานคุ้มครอง พัฒนาอุตสาหกรรมการปรุงแต่งหัตถกรรมการค้า การส่งเสริมการผลิต สินค้าและงานด้านความร่วมมือกับต่างประเทศในเขตพ้ืนท่ีบริการของตนเอง ดังน้ันแขนง ทะเบียนและคุ้มครองวิสาหกิจ เป็นหน่วยงานหน่ึงของแผนกอุตสาหกรรมและการค้า มี บทบาทภาระหน้าที่ในการคุ้มครองการก่อตั้งและการเคล่ือนไหวของวิสาหกิจทุกภาคส่วน ตามระเบียบกฎหมาย การส่งเสริมบรรยากาศการลงทุน และการดำเนินธุรกิจของบรรดาหัว หน่วยธุรกิจ เพื่อเป็นฐานข้อมูลวิสาหกิจของแขวง ซึ่งเปรียบเสมือนของชาติและยังทำหน้าที่ ให้บริการจดทะเบียนและข้อมูลวิสาหกิจ ระเบียบกฎหมายเป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อน นโยบาย การที่มีนโยบายดีจึงจำเป็นท่ีจะต้องมีกฎระเบียบที่ดีมีบุคลากรท่ีเหมาะสมและมี กลไกการปฏิบัติที่ศักดิ์สิทธิ์ สำหรับแขนงทะเบียนและคุ้มครองวิสาหกิจ ต้องมีการสร้าง บทบาทในการพัฒนาท่ีต้องเอาใจใส่ในด้านการบริการทะเบียนวิสาหกิจให้เข้มงวดตาม ขั้นตอนเวลากำหนดในกฎหมายว่าด้วยวิสาหกิจไปพร้อมกับยกจิตใจพนักงานให้สูงเพื่อรับใช้ ประชาชน ประสานกับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องในการออกนิติกรรมท่ีเก่ียวกับสัญชาติของ วิสาหกิจ (นิติบุคคล) รวมทั้งติดตามการจัดตั้งปฏิบัติหลักการแบ่งข้ันคุ้มครองในการจด

612 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) ทะเบียนวิสาหกจิ ให้บรรดาเมืองและปรึกษาหารือกับหน่วยงานที่เกย่ี วข้องกับการทำนิตกิ รรม ทเ่ี ป็นอุปสรรคต่อการจดั ต้ังและการดำเนินธรุ กิจเพอ่ื ความเป็นเอกภาพ ตลอดจนส่งเสริมการ ประกอบอาชีพของบรรดาเผ่าในแต่ละเขตให้เกิดขึ้น มีธุรกิจการผลิต สร้างพลเมืองทางด้าน ธรุ กิจให้เพิ่มขึ้น โดยการสร้างกระบวนการท่ีสะดวกง่ายดาย โปร่งใสตามข้ันตอนและเวลาที่ กำหนดไว้อย่างเข้มงวด (กระทรวงอุตสาหกรรมและการค้า, 2555 : 2) ซึ่งสอดคล้องกับ Frederick et al. (2000:32) ที่ได้กล่าวว่าคุณภาพการบริการส่วนใหญ่มักมุ่งเน้นไปท่ี คุณภาพการบริการระหว่างพนักงานผู้ให้บริการและลูกค้า และมักจะทำการประเมินคุณภาพ โดยใช้ลกู คา้ เปน็ ผปู้ ระเมนิ กฎหมายสำคัญที่เกี่ยวกับการเร่ิมต้นดำเนินธุรกิจในประเทศลาวมี 2 ฉบับ (สำนัก ส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ,2555 :2-3) คือ กฎหมายวิสาหกิจ (The Enterprise Law) เปน็ กฎหมายท่กี ำหนดหลักการระเบียบการและมาตรการเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจและการ บริหารจัดการวิสาหกิจในประเทศลาว เพื่อส่งเสริมธุรกิจการผลิตและการบริการในทุกสาขา ธุรกิจ รวมทั้งเพ่ือพัฒนาแรงงาน การเติบโตทางสังคมและเศรษฐกิจ อันนำมาซ่ึงการพัฒนา ประเทศและความเป็นอยู่ของประชาชน และกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการลงทุน (The Investment Promotion Law) เป็นกฎหมายท่ีกำหนดหลักการระเบียบการ และมาตรการ เกีย่ วกับการส่งเสรมิ การคุ้มครอง การลงทุนทัง้ ภายในและต่างประเทศ เพือ่ ทำให้การลงทุนมี ความสะดวกรวดเร็ว ถูกต้องได้รับการปกป้องด้านต่างๆจากรัฐ รับประกันสิทธิ์และ ผลประโยชน์ของผู้ลงทุนของรัฐและของประชาชน เพ่ิมบทบาทการ ลงทุนต่อเศรษฐกิจ สังคมของชาติให้เติบโตขยายตัวอยา่ งต่อเนอื่ งและยง่ั ยืน ซ่ึงข้อตกลงของห้องการอุตสาหกรรมและการค้าเมือง เป็นข้อตกลงทั่วไปที่ออกเพื่อ กำหนดท่ีตั้ง ภาระบทบาท หน้าที่ขอบเขตสิทธิ โครงสร้างประกอบการจัดตั้งบุคลากรและ ระเบียบวิธีการปฏิบัติงาน เพื่อเป็นแหล่งอ้างอิงด้านนิติกรรมให้แก่การจัดตั้งและการ เคล่ือนไหวของห้องการอตุ สาหกรรมและการค้าเมือง ห้องการอุตสาหกรรมและการคา้ เมืองมี ภาระบทบาทเป็นท่ีปรึกษาให้แก่แผนกอุตสาหกรรมและการค้าแขวง นครหลวงและอำนาจ การปกครองเมืองในการคุ้มครองการบริหารรัฐของแขนงการอุตสาหกรรมและการค้าใน ขอบเขตเมืองของตน (กระทรวงอุตสาหกรรม, 2556 : 4) จะเห็นได้ว่าสถานการณ์ปัจจุบันการดำเนินงานของวิสาหกิจ โดยรวมนั้น เต็มไป ด้วยอุปสรรคและความไม่พร้อมจากปัญหาจุดอ่อนของ วิสาหกิจท้ังด้านการบริหารจัดการ

วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 613 ด้านบัญชี การเงิน ด้านการตลาด ด้านการผลิตสินค้าและบริการ ด้านทรัพยากรมนุษย์และ ดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ ทำให้วิสาหกิจเหล่าน้นั ลม้ เลกิ บางส่วนส่วนก็หยุดชะงกั ไมส่ ามารถ ดำเนินการต่อได้ ส่งผลตอ่ การจดั เก็บภาษีของภาครฐั ไม่เป็นไปตามเป้าหมายดังนั้นหน้าที่การ คุ้มครอง วิสาหกิจท่ีได้ข้ึนทะเบียนเพื่อพัฒนาให้สอดคล้องกับแนวทางระเบียบภาครัฐ จึงมี ความจำเป็นท่ีจะต้องศึกษาปัญหาและแนวทางการแก้ไขปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นกับการ ดำเนินการวิสาหกิจ ด้วยเหตุน้ีภายใต้เง่ือนไขของนิติกรรมที่ได้กำหนดอำนาจหน้าท่ีและ ขอบเขตสิทธิตามมาตรา 4 ข้อ 6–7 ทำให้ผู้วิจัยสนใจที่จะศึกษาถึงความร่วมมือในการแก้ไข ปัญหาการดำเนินธุรกิจของผู้ประกอบการในเมืองปากเซ แขวงจำปาสัก สาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชน ผลของการศึกษาคร้ังน้ีจะเป็นแนวทางให้ผูป้ ระกอบการธุรกจิ ในการ พัฒนาปรับปรุงตนเองและจะเป็นประโยชน์สำหรับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในการช่วยเหลือ ผู้ประกอบการธรุ กจิ ให้สามารถดำเนนิ กิจการได้อย่างมีประสิทธภิ าพต่อไป วตั ถุประสงค์การวจิ ยั 1. เพ่ือศึกษาสภาพปัญหาการดำเนินธุรกิจของผู้ประกอบการในเมืองปากเซ แขวง จำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 2. เพื่อศึกษาแนวทางความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาการดำเนินธุรกิจของ ผู้ประกอบการในเมืองปากเซ แขวงจำปาสกั สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว วธิ ีดำเนนิ การวิจัย การวิจยั เร่ือง“ความร่วมมอื ในการแก้ไขปัญหาการดำเนนิ ธุรกจิ ของผปู้ ระกอบการ ในเมืองปากเซ แขวงจำปาสัก สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว ผวู้ ิจยั ได้ดำเนนิ การ วจิ ยั ดงั น้ี 1. ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง ประชากรในการวิจัยคร้ังน้ี ได้แก่ ผู้ประกอบการธุรกิจในเมืองปากเซ แขวงจำปา สกั สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว จำนวน 1,475 คน (แขนงทะเบียนและคุ้มครอง วสิ าหกิจ แผนกอสุ าหกรรมและการคา้ ,2560)

614 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยคร้ังน้ี คือ ผู้ประกอบการธุรกิจในเมืองปากเซ แขวงจำปา สักสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว กำหนดกลุ่มตัวอย่างจากการเปิดตาราง Krejcie & Morgan (1970 :107 อ้างถึงในธีระวฒุ ิ เอกะกุล, 2550:138) ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 306 คน ใชว้ ิธกี ารเลือกตัวอยา่ งแบบเจาะจง (Purposive Sampling) กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ตัวแทนผู้บริหาร จำนวน 4 คน เจ้าหน้าท่ีแผนก จำนวน 3 คน ผู้ประกอบการธุรกิจ จำนวน10 คน รวมท้ังสิ้น 17 คน เพ่ือศึกษาแนวทางความร่วมมือ ในการแก้ไขปัญหาการดำเนินธุรกิจของผู้ประกอบการในเมืองปากเซ แขวงจำปาสัก สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว 2. เครอ่ื งมือทีใ่ ช้ในการวจิ ัย เครอ่ื งมอื ทใี่ ช้ในการวิจัย เป็นแบบสมั ภาษณ์และแบบสอบถามเป็นแบบมาตราสว่ น ประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ คือมากที่สุด มาก ปานกลาง น้อยและน้อยท่ีสุด ท่ี เกี่ยวข้องกับความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาการดำเนินธุรกิจของผู้ประกอบการในเมืองปาก เซ แขวงจำปาสกั สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 3. การวิเคราะหข์ อ้ มูล วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้สถิติพรรณนา (Descriptive Statistics) ได้แก่ ค่าร้อยละ (Percentage) คา่ ความถี่ (Frequency) ค่าเฉล่ีย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) วิเคราะห์จากการสัมภาษณ์แนวทางความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาการดำเนิน ธุรกิจของผู้ประกอบการในเมืองปากเซ แขวงจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน ลาว เป็นการวิเคราะห์เชิงคุณภาพ โดยการวิเคราะห์เชิงเน้ือหา (Content Analysis) แล้ว นำเสนอแบบความเรยี งและพรรณนาวเิ คราะห์ ผลการวจิ ยั ความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาการดำเนินธุรกิจของผู้ประกอบการในเมืองปากเซ แขวงจำปาสัก สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 1. สภาพปัญหาการดำเนินธุรกิจของผู้ประกอบการในเมืองปากเซ แขวงจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยภาพรวม มีค่าเฉลี่ยรวมอยู่ในระดับมาก

วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 615 ( X =3.64) เม่ือพิจารณารายด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านบุคคล ( X =3.84) ด้าน กระบวนการ ( X = 3.75) ด้านภาพลักษณ์ ( X = 3.70) ด้านการตลาด ( X = 3.53) ดา้ นการ วางแผน ( X =3.52) ด้านการผลิต ( X =3.52) ดังตาราง ค่าเฉล่ียและค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน สภาพปัญหาการดำเนินธุรกิจของผู้ประกอบการในเมืองปากเซ แขวงจำปาสัก สาธารณรัฐ ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว โดยภาพรวม ตามตารางท่ี 1 ดังนี้ ตารางที่ 1 สภาพปัญหาการดำเนินธุรกิจของผู้ประกอบการในเมืองปากเซ แขวงจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยภาพรวม 6 ด้าน ดงั น้ี การดำเนินธรุ กจิ ของผ้ปู ระกอบการในเมอื งปากเซ ระดบั ปญั หา แขวงจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว ลำดบั X SD. แปลผล 1 ด้านการวางแผน 3.52 0.75 มาก 2 ด้านการผลติ 3.52 0.95 มาก 3 ดา้ นการตลาด 3.53 0.92 มาก 4 ดา้ นบคุ คล 3.84 0.73 มาก 5 ด้านภาพลักษณ์ 3.70 0.71 มาก 6 ด้านกระบวนการ 3.75 0.70 มาก 3.64 0.79 มาก เฉลีย่ รวม จากตารางที่ 1 พบว่าการดำเนินธรุ กิจของผู้ประกอบการในเมืองปากเซ แขวงจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยภาพรวม 6 ด้าน มีการดำเนินการอยู่ในระดับ มาก ( X =3.64) แตล่ ะด้านมรี ายละเอียด ดงั น้ี 1.1 ด้านบุคคล โดยรวมมีปัญหาอยู่ในระดับมาก เม่ือพิจารณาข้อที่มีค่าเฉลี่ย สูงสุด คือ ค่าจ้างและเงินเดือนไม่สามารถจูงใจให้พนักงานทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ( X =4.39) 1.2 ด้านกระบวนการ โดยรวมมีปัญหาอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาข้อที่มี ค่าเฉลยี่ สงู สุด คือ การบริการไม่ทันใจลกู คา้ ลูกค้าต้องมายนื รอนาน ( X =4.37) 1.3 ด้านภาพลกั ษณ์ โดยรวมมปี ัญหาอยู่ในระดับมาก เม่ือพจิ ารณาข้อที่มีค่าเฉลี่ย สูงสุด คอื ไม่มรี ะบบรกั ษาความปลอดภยั ( X = 4.13)

616 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) 1.4 ด้านการตลาด โดยรวมมีปัญหาอยู่ในระดับมาก เม่ือพิจารณาข้อท่ีมีค่าเฉล่ีย สูงสุด คือ รปู แบบสินคา้ ไม่ตรงกับความต้องการของลกู ค้า( X =3.84) 1.5 ด้านการวางแผน โดยรวมมีปัญหาอยู่ในระดับมาก เม่ือพิจารณาข้อท่ีมี ค่าเฉล่ยี สูงสุด คือ แผนงานทว่ี างไว้ไมม่ กี ารปรบั ปรุงใหเ้ ข้ากับสถานการณ์ ( X = 4.05) 1.6 ด้านการผลิต โดยรวมมีปัญหาอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาข้อที่มีค่าเฉลี่ย สงู สุด คือ ผลิตได้เกนิ ความตอ้ งการ ( X =3.95) 2. แนวทางความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาการดำเนินธุรกิจของผู้ประกอบการใน เมอื งปากเซ แขวงจำปาสัก สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชน สรุปไดด้ งั น้ี 2.1 ด้านการเงิน หน่วยงานรัฐควรจัดหาแหล่งทุนเพ่ือสนบั สนุนการประกอบการ ธุรกจิ และหน่วยงานภาครฐั ตอ้ งมีการอบรมเร่ืองการจดั ทำระบบบัญชที ถ่ี ูกตอ้ ง 2.2 ด้านการผลิต ควรมีการจัดอบรมความรู้เกี่ยวกับงานที่ปฏิบัติโดยสถาน ประกอบการเป็นผู้ดำเนินการเองหรือให้หน่วยงานของรัฐเป็นผู้จัดหลักสูตรระยะสั้นหรือ หลกั สตู รที่เก่ียวข้องกบั ธรุ กิจ ควรจัดหาเทคโนโลยีการผลติ เพอื่ เพิ่มคณุ ภาพสนิ คา้ 2.3 ด้านทรัพยากรบุคคล ควรมีการจัดหาแรงงานสำรองในช่วงการ เก็บเกี่ยว ผลผลิตทางการเกษตร หน่วยงานภาครัฐ ควรทำหน้าที่ในการจัดหาแรงงานและมีฝึกอบรม ทักษะให้กับแรงงาน 2.4 ด้านการตลาด ควรมีการจัดตั้งกลุ่มชมรมเพ่ือลดการแข่งขันทางด้าน การตลาดควรต้องมีการตรวจสอบคณุ ภาพภายใน โดยหนว่ ยงานทีม่ คี วามนา่ เช่ือถอื 2.5 ด้านการเข้าถึงบริการหน่วยงานของรัฐหน่วยงานของรัฐควรมีการ ประชาสัมพันธ์แนวทางในการช่วยเหลือเกยี่ วกับการดำเนินธุรกจิ หน่วยงานภาครัฐจะตอ้ งลด ขั้นตอนในการติดต่อประสานงาน ควรหามาตรการในการป้องกันเม่ือผู้ประกอบการดำเนิน ธุรกิจเกดิ ปัญหา

วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 617 อภิปรายผล จากผลการวิจัยแนวทางการแกไ้ ขปัญหาการดำเนนิ ธรุ กิจของผู้ประกอบการในเมอื ง ปากเซ แขวงจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว สามารถนำผลมาอภิปรายได้ ดังนี้ 1. สภาพปัญหาการดำเนินธุรกิจของผู้ประกอบการในเมืองปากเซ แขวงจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยภาพรวม มีค่าเฉลี่ยรวมอยู่ในระดับมาก ซึ่ง สามารถอภิปรายผลแต่ละด้านดังน้ี ด้านบุคคลค่าจ้างและเงินเดือนไม่สามารถจูงใจให้ พนักงานทำงานไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ ท้ังนี้ผู้ประกอบต้องนำหลักจิตวิทยามาปรบั ใช้ร่วมกัน เพ่ือให้เกิดการจูงใจและทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ ด้านกระบวนการการบริการไม่ทันใจ ลูกค้า ลูกค้าต้องมายืนรอนาน ท้ังน้ีอาจกเกิดจากบุคลากรหรือลูกจ้างมีไม่เพียงพอ ซึ่ง ผู้ประกอบการต้องวางแผนในการจัดหาพนักงานทดแทนกรณีลูกค้ามาใช้บริการจำนวนมาก ดา้ นภาพลักษณ์ไมม่ ีระบบรักษาความปลอดภยั ทั้งอาจเกดิ ธุรกิจสว่ นมากเป็นเจา้ ของเพียงคน เดียวทำให้ส้ินเปลืองงบประมาณในการจัดหาเจ้าหน้าท่ีรักษาความปลอด ซึ่งผู้ประกอบ อาจจะใช้ระบบเทคโนโลยีกล้องวงจรปิดเข้ามาช่วยเพื่อเพิ่มความปลอดภัยอีกด้าน ด้าน การตลาดรูปแบบสินค้าไม่ตรงกับความต้องการของลูกค้า ท้ังน้ีอาจเกิดจากความนิยมท่ี เปลี่ยนแปลงไปตลอดเวลาทำให้ผู้ประกอบไม่สามารถปรับตัวได้ทันและการเปล่ียนแปลง รูปแบบสินค้าเป็นการเพ่ิมต้นทุนการผลิต ซึ่งสอดคล้องกับงานของนพรัตน์ จันทร์รอด (2555 :ค) ที่ได้ศึกษาประสิทธิภาพ ปัญหาและแนวทางการแก้ไขปัญหาการดำเนินงานของ กลุ่มเศรษฐกิจชุมชนของเทศบาลตำบลม หาพราหมณ์ อำเภ อบางบาล จังหวัด พระนครศรีอยุธยา ผลการวิจัย พบว่า ระดับประสิทธิภาพการดำเนินงานของกลุ่มเศรษฐกิจ ชุมชน โดยภาพรวม อยู่ในระดับปานกลาง ซึ่งด้านการบัญชี การเงินและงบประมาณ มี ค่าเฉล่ียสูงสุดและด้านการจัดการการตลาดมีค่าเฉล่ียต่ำสุด ปัญหาการดำเนินงานของกลุ่ม เศรษฐกจิ ชุมชน พบว่ามีปญั หาการดำเนินงานในทุกด้านโดยทกุ ดา้ นมีแนวทางการดำเนินการ แก้ไข กลุ่มตัวอย่างท่ีมีตำแหน่งในกลุ่มอาชีพและระดับความรู้เก่ียวกับการดำเนินงานของ กลุ่มเศรษฐกิจชุมชนในภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.1 และ 0.5 ตามลำดับ ด้านการวางแผน แผนงานท่ีวางไว้ไม่มีการปรับปรุงให้เข้ากบั สถานการณ์ ท้ังน้ีใน ปัจจุบันการเปล่ียนมาจากหลากหลายปัจจัยท้ังเทคโนโลยีท่ีมีการเปล่ียนแปลงอย่ารวดเร็ว ผู้บริโภคที่เบ่ือหน่ายกับสินค้าชนิดเดิมๆ ทำให้การวางแผนต้องมีปรับตัวอยู่ตลอดเวลาให้

618 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) สอดคล้องกับสถานการณ์ ด้านการผลิตผลิตได้เกินความต้องการ ท้ังน้ีคงเกิดจากการแข่งขัน ของผู้ประกอบหลายใหม่ท่ีเกิดข้ึนทำให้การผลติไม่สอดคล้องกีบความต้องการ เกิดการวาง แผนการผลิตที่บกพร่องผู้บริโภคขาดความนิยมในตัวสินค้า ล้วนแลว้ แต่เป็นสาเหตุของสินค้า ผลิตเกินความจำเป็น ซ่ึงสอดคล้องกับงานวิจัยของรัชพล สิงหฤกษ์ (2551 : 3) ท่ีได้ศึกษา แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการ มีวัตถุ ประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาท่ีไม่สามารถ เพ่ิมส่วนแบ่งทางการตลาดของลูกค้า และเพื่อหาแนวทางในการเพ่ิมประสิทธิภาพในการ ใหบ้ ริการ จากการศกึ ษาพบว่าในสภาวะเศรษฐกิจที่มคี วามผันผวน ทำให้ลูกค้ามกี ารตัดสนิ ใจ เลือกใช้บริการได้ยากขึ้นเพราะคำนึงถึงความประหยัดและบริการที่ดีท่ีสุด ประกอบกับคู่แข่ง มีสว่ นแบ่งทางการตลาดที่สูงกว่า และมีความชำนาญมากกว่า องค์กรจึงพยายามพัฒนาเรื่อง การบริการเพ่ือให้สามารถแข่งขันกับคู่แข่งได้ จึงได้มีการปรับปรุงเพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพ และ เพอ่ื ลดระยะเวลาในการรอคอยในการให้บริการโดยการนำโปรแกรม AweSim 3.0 มาใช้เพ่ือ จำลองสถานการณ์จริง เพื่อหาระยะเวลารอคอยในการให้บริการลูกค้าของพนักงาน Call center โดยการเพ่ิมพนักงาน Call center ในการรองรับให้บริการลูกค้าสายโทรเข้ามาให้ดี ย่ิงข้ึน 2. แนวทางความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาการดำเนินธุรกิจของผู้ประกอบการในเมือง ปากเซ แขวงจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว สามารถอภิปรายผลรายดา้ นดงั น้ี ด้านการเงิน หน่วยงานรัฐควรจัดหาแหล่งทุนเพื่อสนับสนุนการประกอบการธุรกิจและ หน่วยงานภาครัฐต้องมีการอบรมเรื่องการจัดทำระบบบัญชีท่ีถูกต้อง ท้ังนี้ผู้ประกอบโดย สว่ นมากที่ประสบปัญหาการดำเนินธุรกจิ เป็นผู้ประกอบการเจ้าของคนเดียวที่ตอ้ งมธี ุรกิจเป็น ของตนเองทำให้ขาดการวางแผนเร่ืองการจัดทำบัญชี จนบางคร้ังประสบปัญหาเกิดปัญหา เรื่องทุน ด้านการผลิตควรมีการจัดอบรมความรู้เก่ียวกับงานที่ปฏิบัติโดยสถานประกอบการ เป็นผู้ดำเนินการเองหรือให้หน่วยงานของรัฐเป็นผู้จัดหลักสูตรระยะสั้นหรือหลักสูตรท่ี เกย่ี วข้องกับธุรกิจ ทั้งนี้การประกอบธุรกิจต้องใชค้ วามรู้ในลักษณะสหวทิ ยามาใช้ ความรู้ดา้ น ใดด้านหนึ่งไม่ทันกับการแข่งขันทางธุรกิจผู้ประกอบการจึงจำเป็นต้องแสวงหาความรู้ใหม่ อย่างสม่ำเสมอ ด้านทรัพยากรบุคคล ควรมีการจัดหาแรงงานสำรองในช่วงการ เก็บเกี่ยว ผลผลิตทางการเกษตร หน่วยงานภาครัฐ ควรทำหน้าท่ีในการจัดหาแรงงาน และมีฝึกอบรม ทักษะให้กับแรงงาน ทั้งน้ีแรงงานในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ยังขาดทักษะ ฝมี ือและองค์ความรู้ที่นำมาใช้ในการทำงานกับภาคธุรกิจยงั มีไม่เพียงพอทำให้ผู้ประกอบการ

วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 619 ขาดความเชื่อมัน่ ต่อแรงงาน และประสบปัญหาด้านแรงอยูเ่ ป็นประจำ ด้านการตลาด ควรมี การจัดตั้งกลุ่มชมรมเพื่อลดการแข่งขันทางด้านการตลาดควรต้องมีการตรวจสอบคุณภาพ ภายใน โดยหน่วยงานท่ีมีความน่าเชื่อถือ ท้ังนี้ผู้ประกอบการควรเพ่ิมช่องทางการตลาด เช่น การจดั หนา่ ยผา่ นเทคโนโลยี การจำหน่ายสนิ คา้ ออนไลน์ การประชาสมั พันธ์ผ่านสื่อสมยั ใหม่ ท้ังเฟสบุค อินเตอร์เน็ตจะสามารถช่วยแก้ไขปัญหาทางด้านตลาดได้เป็นอย่างดี ด้านการ เข้าถึงบริการหน่วยงานของรัฐ หน่วยงานของรัฐควรมีการประชาสัมพันธ์แนวทางในการ ช่วยเหลือเก่ียวกับการดำเนินธุรกิจ หน่วยงานภาครัฐจะต้องลดข้ันตอนในการติดต่อ ประสานงาน ควรหามาตรการในการป้องกันเม่ือผู้ประกอบการดำเนินธุรกิจเกิดปัญหา ทั้งน้ี หน่วยงานภาครัฐต้องปรบั ตัวให้เขา้ กับสถานการณ์การเปล่ียนแปลงควรมีองค์ความรู้เก่ียวกับ การบริหารงานภาครัฐสมัยใหม่ เน้นการทำงานแบบมีส่วนร่วมเพ่ือแก้ไขปัญหาการดำเนิน ธุรกิจ ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของธัญญาลักษณ์ บุญเอนก (2555: จ) ที่ได้ศึกษาการศึกษา ปัญหาและเพ่ิมประสิทธิภาพในการ ดำเนินงานด้านเอกสารประกอบการเดินพิธีการส่งออก สินค้า กรณีศึกษาบริษัท ABC จำกัด นำเสนอแนวทางในการปรับปรุง โดยใช้การจำลอง สถานการณ์โดยใช้ Simulation ซ่ึงโปรแกรมสำเร็จรูปที่ใช้ คือ Arena มาใช้ในการทำการ จำลองปัญหา โดยเริ่มแรกในการเก็บข้อมูลนำเข้า วิเคราะห์ข้อมูลนำเข้า การเขียน แบบจำลอง และการพัฒนาปรับปรงุ ผลของแบบจำลอง รวมท้งั ผู้ศึกษาได้ทำการเก็บรวบรวม ข้อมูล รายละเอียด ข้ันตอนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ในการจัดทำเอกสารใบขนสินค้า ส่งออกผิดพลาดและล่าช้าไม่ทันกำหนด พบว่าสาเหตุหลักมาจากกระบวนการทำงาน ซ่ึง พิจารณาจากปัจจยั ด้านองค์กร โดยพจิ ารณาจากการรบั เอกสารจากลูกค้า การปฏิบตั ิงานของ เจ้าหน้าท่ี ตลอดจนถึงความเช่ือมั่นและไวว้ างใจของลูกค้าที่มีต่อองค์กรรวมท้ังปัจจัยอ่ืน ๆ ที่ มีอิทธิพลในการจัดทำใบขนสินค้า จากการศึกษาพบว่าปัจจัยท่ีทำให้การจัดทำใบขนสินค้า ผิดพลาดและล่าช้าน้ัน ซึ่งพิจารณาจากข้ันตอนการปฏิบัติงาน พบว่ามีปัญหาในขั้นตอนของ เวลาในการทำงาน การคีย์ข้อมูล จึงทำการแก้ไขในส่วนของการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่น้ัน เป็นปัจจัยสำคัญ ท้ังน้ีเพื่อความพึงพอใจสงู สุดของลูกค้า ควรปรับกระบวนการทำงาน ระบบ สารสนเทศ และปรับตารางเวลาในการทำงาน เพ่ือแก้ไขปัญหาการทาใบขนสินค้าผิดพลาด และล่าชา้ ทส่ี ่งผลกระทบต่อความไว้วางใจของลูกคา้ และเพ่ือใหก้ ารปฏิบัติงานของเจา้ หน้าที่ สรา้ งความพึงพอใจให้กับลูกค้ามากที่สุดในบริการขององค์กร และสอดคล้องกับงานวิจัยของ ศรินทร์ สันติวัฒนกุล (2556 :ค) ที่ได้ศึกษาปัญหาและแนวทางการพัฒนาการตลาด

620 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) ผลิตภัณฑ์ของกลุ่มอาชีพในเขตจตุจักรเพื่อการพัฒนาธุรกิจอย่างย่ังยืน ผลการวิจัยพบวา่ การ ดำเนินงานของกลุ่มอาชีพในเขตจตุจักรส่วนใหญ่ผลิตสินค้าโดยมีตราย่ีห้อ ไม่มีการกำหนด จำนวนการผลิตสินค้าของกลุ่ม มนี โยบายสำรองวตั ถุดิบมีการส่ังซ้ือจากผู้ค้าส่งวัตถุดิบวิธีการ จัดการกับสินค้าที่ได้มาตรฐานของกลุ่มอาเซียนส่วนใหญ่คือแปรรูปสินค้าอ่ืนไม่มีการใช้ เทคโนโลยีเครื่องจักรในการผลิตและมีการตรวจสอบสินค้าโดยการทำการสุ่มตรวจสินค้าเป็น บางช้ิน ทุกครั้งที่ผลิต ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงานดา้ นการตลาดของกลุ่มอาชีพโดย รวมอยู่ในระดับมีปัญหาน้อยเม่ือพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าค่าเฉล่ียน้อยท่ีสดุ ไปหามากที่สุด ได้แก่ ปญั หาอุปสรรคในการผลิตภัณฑ์ รองลงมาปญั หาด้านอปุ สรรคช่องทางการจัดจำหน่าย ปัญหาอุปสรรคด้านการส่งเสริม ในตลาดหลักทรัพย์ได้ราคา ข้อเสนอแนะนำสินค้าให้ได้ มาตรฐานเดียวกันโดยให้สมาชิกในกลุ่มรับการอบรมด้านการผลิตสินค้าและหาแนวทางใน การจูงใจให้สมาชิกในกลุ่มอาชีพเห็นคุณค่าในการรักษามาตรฐานสินค้าส่งเสริมให้เกิดช่อง ทางการจัดจำหน่ายและมีร้านเพื่อจำหน่ายสินค้าท่ีแน่นอน หน่วยงานของรัฐหรือเอกชนมา ชว่ ยให้คำปรึกษาดา้ นการสง่ เสริมและฝึกอบรมให้กับสมาชิกในกล่มุ องคค์ วามรทู้ ี่ไดจ้ ากการศึกษา ความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาการดำเนินธุรกิจของผู้ประกอบการในเมืองปากเซ แขวงจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน หน่วยงานภาครัฐต้องเข้ามามีส่วนร่วมใน ฐานะพี่เล้ียงสำหรับการประกอบธุรกิจในระยะเริ่มต้นเพื่อป้องกันปัญหาที่จะเกิดขน้ึ ภาคธุรกิจ ทั้งในเร่ืองการวางแผน การหาช่องทางการตลาด การหาแหล่งทุน เพ่ิมช่องทางการตลาด ผู้ ประกอบควรนำใช้เทคโนโลยีในการผลิตเพิ่มคุณภาพสินค้าให้ทันกับการแข่งขัน มีการเพิ่ม ช่องทางการจัดจำหน่ายโดยการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี เช่นการจำหน่ายสินค้า ออนไลน์ การ พัฒนาระบบสินค้าตามความต้องการลูกค้าผ่านอินเตอร์เพื่อป้องกันการผลิตที่เกินความต้อง ของผู้บรโิ ภค หน่วยงานรัฐควรจัดหาแหล่งทุนเพ่ือสนับสนุนการประกอบการธุรกิจ ด้านการ ผลติ ควรมกี ารจดั อบรมความรเู้ กี่ยวกบั งานท่ีปฏบิ ตั ิและควรจัดหาเทคโนโลยีการผลติ เพอื่ เพิ่ม คุณภาพสินคา้ ด้านทรัพยากรบุคคล ควรมีการจดั หาแรงงานมีฝีมือทกั ษะ ด้านการตลาด ควร มีการจัดตั้งกลุ่มชมรมเพ่ือลดการแข่งขันทางด้านการตลาด ด้านการเข้าถึงบริการหน่วยงาน ของรฐั หนว่ ยงานภาครฐั จะต้องลดขนั้ ตอนในการติดตอ่ ประสานงาน

วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 621 เอกสารอา้ งองิ กระทรวงอตุ สาหกรรมและการคา้ . (2556). กฎหมายวา่ ด้วยวสิ าหกิจ. เวียงจันทน์: กระทรวง อุตสาหกรรมและการคา้ . ธัญญาลักษณ์ บญุ เอนก. (2555). การศึกษาปัญหาและเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการ ดำเนนิ งาน ดา้ นเอกสารประกอบการเดนิ พธิ กี ารส่งออกสนิ ค้า กรณีศึกษาบริษัท ABC จำกดั . บริหารธรุ กิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลยั หอการค้าไทย. ธีรวุฒิ เอกะกลุ . (2550). ระเบียบวิธวี ิจัยทางพฤติกรรมศาสตรและสงั คมศาสตร. อุบลราชธานี : วิทยาออฟเซ็ทการพมิ พ์. นพรัตน์ จนั ทร์รอดและคณะ. (2555). ประสทิ ธิภาพ ปัญหาและแนวทางการแกไ้ ขปญั หาการ ดำเนินงานของกลุ่มเศรษฐกิจชมุ ชนของเทศบาลตำบลมหาพราหมณ์ อำเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยธุ ยา. บัณฑิตวทิ ยาลัย : มหาวทิ ยาลัยราชภฏั วไลยอลงกรณ์. รชั พล สิงหฤกษ.์ (2551). การศึกษาแนวทางการเพ่ิมประสิทธภิ าพในการให้บริการ กรณีศึกษาบริษทั เบสท์ คอมมนู เิ คชั่น จำกดั . กรงุ เทพฯ: มหาวิทยาลยั หอการค้าไทย. สำนักงานสง่ เสรมิ การคา้ ระหว่างประเทศ. (2555). ข้อแนะนำสำหรับการดำเนนิ ธุรกจิ ใน สปป. ลาว. เวยี งจนั ทน์: สำนกั งานส่งเสริมการค้าระหวา่ งประเทศ. Frederick, A. F. and K. Mukesh. (2000). INTSERVQUAL : an internal adaptation of the GAP model in a large service organization. Journal of Services Marketing. 14(5), 358–377.

622 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020)

การพัฒนาศกั ยภาพผสู้ ูงอายใุ นเขตภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือตอนลา่ ง 2 Potential Development of the Elderly in the Lower Northeastern Region 2 ชชั ฎาภรณ์ ไชยสตั ย์ Chatchadapon Chaiyasat มหาวิทยาลัยศรีปทุม, ประเทศไทย Sripatum University, Thailand. [email protected] Received May 10, 2020; Revised July 12, 2020; Accepted August 25, 2020 บทคดั ยอ่ การวิจัยเร่ือง การพัฒนาศกั ยภาพผ้สู ูงอายุภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 2 มี วัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการพัฒนาศักยภาพของผู้สูงอายุในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนล่าง 2 2) ศึกษาปัจจัยท่ีส่งผลต่อการพัฒนาศักยภาพของผู้สูงอายุในเขตภาค ตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 2 3) หาแนวทางการพัฒนาศักยภาพของผู้สูงอายุในเขตภาค ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ตอนล่าง 2 ใช้วธิ ีการวจิ ัยแบบผสมผสานเชิงปรมิ าณและเชิงคุณภาพ ได้ กลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 คน โดยใช้วิธีการสุ่มแบบง่ายและการสัมภาษณ์เชิงลึก จำนวน 40 คน โดยใช้วิธีการสุ่มแบบเจาะจง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าร้อยละ ค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย คา่ เบย่ี งเบนมาตรฐาน การวิเคราะหถ์ ดถอยพหคุ ูณ และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจยั พบว่า 1. ปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนล่าง 2 ทั้ง 5 ด้าน โดยรวมอยู่ในระดับมาก ( = 3.50, S.D.=0.92) และการพัฒนาศักยภาพ

624 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) ผู้สูงอายุภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 2 โดยรวม อยู่ในระดับมาก ( = 3.47, S.D.= 0.84) เช่นกัน 2. ปจั จยั ดา้ นแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ ปัจจยั ด้านการตระหนักรู้คณุ ค่า ปจั จัยดา้ นการรับรู้ ปัจจัยด้านทัศนคติ และปัจจัยด้านทักษะการเรียนรู้ เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนา ศักยภาพผู้สูงอายุภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 2 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และเป็นไปตามสมมตฐิ านการวิจัยทตี่ งั้ ไว้ 3. แนวทางการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 2 ทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ 1.ด้านสุขภาพ ประกอบด้วย การดูแลสุขภาพด้วยกิจกรรมการผ่อนคลาย การ พักผ่อน การออกกำลงั กาย การรับประทานอาหารตามหลักโภชนาการ และการตรวจสุขภาพ ประจำปี 2. ด้านการมีส่วนร่วม ประกอบด้วย การเข้าไปเป็นสมาชิกกลุ่ม ชมรม การเป็นจิต อาสาและ 3.ด้านความมั่นคง ประกอบด้วย ความมั่นคงในชีวิตด้านเศรษฐกจิ ด้านครอบครัว และดา้ นและทรพั ยส์ ิน คำสำคญั : การพฒั นา; ผูส้ ูงอายุ; ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือตอนล่าง Abstract The objectives of this research titled Potential Development of the Elderly in the Lower Northeastern Region 2 included: (1) to study the potential development of the elderly in the lower northeastern region 2; 2) to study the factors affecting the development of the potential of the elderly in the lower northeastern region 2; 3) to find guidelines for potential development of the elderly in the lower northeastern region 2. The research method used was the quantitative and qualitative integrated research. The samples consisted of 400 people by simple random sampling technique and 40 people in-depth interviews by purposive sampling method. The data were analyzed by using statistics, percentage, frequency, mean, standard deviation, multiple regression analysis and content analysis. The results of the research could be revealed as the followings. 1. Factors affecting the potential development of the elderly in the lower northeastern region 2 in all 5 aspects were at high level ( = 3.50, S.D. = 0.92) and the

วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 625 overall potential development of the elderly in the lower northeastern region 2 by was at high level ( = 3.47, SD = 0.84). 2. Factors of motivation; achievement value; recognition; cognitive factors; attitude; and learning skills were all influencing the potential development of the elderly in the lower northeastern region 2 with statistical significance at the level of 0.05 and as in the research hypothesis. 3. Guidelines for the potential development of the elderly in the lower northeastern region 2 could be found in 3 factors including: 1) Health aspect including health care through relaxation activities, rest, exercise, eating by nutritious principles and annual health checkup; 2) Participation aspect consisting of being a member of a club and volunteering; and 3) Security consisting of security in life, economy, family and property. Key word : Development, The Elderly, Lower Northeastern Region บทนำ ประเทศไทยได้ตระหนักในความสำคัญเก่ียวกับสถานการณ์การเป็นสังคมผู้สูงอายุ ของประเทศดังท่ีปรากฏในรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2560 ฉบับปัจจุบัน มาตรา 71 วา่ รัฐพึงให้ความ ชว่ ยเหลือเด็ก เยาวชน สตรผี ู้สงู อายุ คนพกิ าร ผู้ยากไร้และผ้ดู ้อยโอกาส ให้สามารถดำรงชีวิต ได้อย่างมีคณุ ภาพ และคุม้ ครองปอ้ งกนั มิให้บุคคลดังกล่าว ถูกใชค้ วามรุนแรงหรือปฏิบัติอย่าง ไม่เป็นธรรม รวมตลอดท้ังให้การบำบัด ฟื้นฟูและเยียวยา ผู้ถูกกระทำการดังกล่าว ในการ จัดสรรงบประมาณ รัฐพึงคำนึงถึงความจำเป็นและความต้องการ ที่แตกต่างกันของเพศ วัย และสภาพของบุคคล และได้มีการประกาศใช้แผนผู้สูงอายุแห่งชาติขึ้น ปัจจุบันคือแผน ผู้สูงอายุแห่งชาติฉบับที่ 2 (พ.ศ.2545-2564) แผนฯ ดังกล่าวสรุปได้ว่า ผู้สูงอายุมีคุณภาพ ชวี ิตท่ีดีอยู่อย่างมคี ุณค่ามีศักดิ์ศรีพึ่งตนเองได้นานที่สุด และหลักประกนั ท่ีมน่ั คง ซ่ึงมีท้ังสิ้น 5 ยุทธศาสตร์ (วพิ รรณ ประจวบเหมาะ, 2553) พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ.2546 มีสาระสำคัญหลักท่ีกำหนดให้ผู้สูงอายุมีสิทธิ ได้รับการคุ้มครองในด้านต่างๆ ในการคุ้มครองตามพระราชบัญญัตินี้ สำนักส่งเสริมและ พิทักษ์ผู้สูงอายุ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ได้มีการติดตามการ

626 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) ดำเนินงานของหน่วยงานต่างๆ ทุกปี พบว่า หน่วยงานส่วนใหญ่ได้มีการดำเนินการออก ประกาศกระทรวงและระเบียบ เพอื่ รองรบั สทิ ธขิ องผู้สูงอายเุ ช่นกันสถาบันวิจัยประชากรและ สังคม มหาวิทยาลัยมหิดล มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (มส.ผส.) ได้ ทำการศึกษาถึงสถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ.2561 พบว่า ประเทศไทยมีประชากรสัญชาติ ไทยและไม่ใช่สัญชาตไิ ทยแต่มชี ่ืออยู่ในทะเบียนบ้านประมาณ 66 ล้านคน และเมือ่ นับรวมคน ต่างชาติที่ไม่ใช่สัญชาติไทยและไม่มีช่ืออยู่ในทะเบียนบ้าน อีกประมาณ 3 ล้านคน รวมแล้วมี ประชากรท่ีอาศัยอยู่ในประเทศไทยรวมทั้งหมดประมาณ 69 ล้านคน ในขณะท่ีช่วง 2-3 ทศวรรษทผี่ ่านมา ประเทศ ไทยมีอัตราเพ่ิมประชากรท่ชี ้ามาก เฉลยี่ เพียงไม่ถึงร้อยละ 1 ต่อปี โครงสร้างอายุของประชากรได้เปล่ียนไปอย่างมาก จากประชากรเยาว์วัย ท่ีมีเด็กมาก กลายเป็นประชากรสูงวัยที่มีจำนวนผูส้ ูงอายุเพิ่มข้นึ อย่างรวดเร็วสาเหตุทอี่ ัตราผู้สูงอายุ (ร้อย ละของประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปต่อประชากรท้ังหมด อีก 20 ปีข้างหน้า ในปี 2581 ประชากรสงู อายุไทยจะเพม่ิ จำนวนขนึ้ อีกเกือบเทา่ ตวั คือเป็น 20 ล้านคน หน่วยงานภาครัฐและทุกภาคส่วนตระหนักถึงความสำคัญถึงการพัฒนาศักยภาพ ผสู้ ูงอายุ โดยองคก์ ารอนามัยโลก (World Health Organization,2002) ได้เสนอแนวคิดเพื่อ นำไปใช้ในการพัฒนาประชากรผู้สูงอายุให้เป็นผู้สูงอายุท่ีมีสุขภาพที่ดีมีความตระหนักใน คุณภาพชีวิตท่ีดี มีความสุขในการดำเนินชีวิต มีความสามารถในทางสังคมและเศรษฐกิจ ใน ปัจจุบันชมรมผู้สูงอายุดำเนินงานหลายรูปแบบเป็นการรวมตัวกันทำกิจกรรมเพ่ือพัฒนา ตนเองและชุมชน รวมท้ังการถ่ายทอดภูมิปัญญาของผู้สูงอายุให้กับคนรุ่นใหม่ได้นำไปใช้คือ โครงการสานพลังผู้สูงวัยร่วมพัฒนาคนไทยอยู่ดีมีสุข (ไพรวรรณ พลวัน,2561) ที่สำคัญคือ ผู้สูงอายุเป็นสัดส่วนท่ีค่อนข้างสูงมีปัญหาเรื่องความเหงามีความว้าเหว่จึงมีความต้องการให้ สมาชิกในครอบครัว และในชุมชน ได้ช่วยเหลือท้ังในด้านทางเศรษฐกิจและสุขภาพและยัง ต้องการทำกิจกรรมร่วมกับชุมชน ต้องการพบปะสังสรรค์กับสมาชิกในชุมชน หรือการมี โอกาสให้ผู้สูงอายุได้เข้าร่วมกิจกรรมในชุมชน จากจำนวนและสัดส่วนประชากรสูงอายุจะ เพ่ิมข้ึนในขณะท่ีสภาพแวดล้อมต่างๆและระบบขนส่งสาธารณะยังไม่เอื้ออำนวยต่อการ ดำรงชีวิตของผู้สูงอายุ ทำให้การเข้าถึงระบบบริการต่างๆของผู้สูงอายุ เป็นไปได้ยากลำบาก (สุทธิชัย จติ ะพันธ์กุลและคณะ, 2544) ดังนั้นระบบสวัสดิการท่ีพึงเกิดขึ้นในอนาคตจะต้องเน้นไปท่ีการสนับสนุนปัจจัย หลักของการเก้ือหนุนให้ผู้สูงอายุดำรงอยู่ในครอบครัวและชุมชนได้อย่างมีคุณภาพได้แก่

วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 627 สวสั ดิการเพื่อสร้างความมั่นคงทางรายได้ สวัสดิการท่ีเก้ือหนุนครอบครวั และสวัสดิการเพ่ือ หลั กป ระกันสุ ขภ าพในยามเจ็บ ป่ วยระบ บ บ ริการที่ พึ งเกิดควรมี ลักษ ณ ะเป็ น เชิ งรุกให้ ความสำคัญกับระบบบริการในชุมชน (Community Based Service) และไปถึงบ้าน ซ่ึงรัฐ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นควรมีมาตรการท่ีชัดเจนในการส่งเสริมให้ครอบครัว และ ชุมชนมีความเข้มแข็งเป็นกลไกหลัก ในการดูแลผู้สูงอายุ รวมถึงระบบในการพิจารณาและ กระบวนการจ่ายเบ้ียยังชีพแกผ่ สู้ ูงอายอุ ย่างเป็นธรรม (ระพีพรรณ คำหอมและคณะ,2547) เขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 2 ประกอบด้วย 4 จังหวัด ได้แก่ จังหวัด อุบลราชธานี จังหวัดศรีสะเกษ จังหวัดยโสธร และจังหวัดอำนาจเจริญ (สำนักบริหาร ยทุ ธศาสตรก์ ลุ่มจงั หวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ตอนล่าง, 2559) และจังหวัดอุบลราชธานี มี จำนวนประชากร 1,869,633คน ผู้สูงอายุจำนวน 254,377คน คดิ เป็น 13.61%,จงั หวัดศรีสะ เกษ มีจำนวนประชากร 1,472,031 คน ผู้สูงอายุจำนวน 214,738 คน คิดเป็น 14.59%, จังหวัดอำนาจเจริญ จำนวนประชากร 378,107 คน ผู้สูงอายุ จำนวน 54,900 คน คิดเป็น 14.52%,จังหวัดยโสธร จำนวนประชากร 539,542 คน ผู้สูงอายุ 84,309 คน คิดเป็น 15.63% (ระบบสถิตกิ ารลงทะเบียน กรมการปกครอง,2560) ทำให้ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ก ำลั งเกิ ด ก าร เป ล่ี ย น แ ป ล งข อ งโค ร งส ร้ างป ร ะ ช าก ร ที่ เข้ าสู่ ภ าว ะ “ป ร ะ ช าก ร ผู้ สู งอ ายุ (Population Aging)”คือมีประชากรท่ีมีอายุ 60 ปีขึ้นไป มากกว่าร้อยละ10 ของประชากร ทั้งหมด(สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล,2548) นอกจากนี้จังหวัด อุบลราชธานี ยงั เป็น 1 ใน 5 ของจงั หวดั ทีม่ จี ำนวนผสู้ งู อายมุ ากที่สุดในประเทศไทยโดยอยใู่ น อนั ดับท่ี 5 (ระบบสถิตกิ ารลงทะเบยี น กรมการปกครอง, 2560) ดังนั้น จากสภาพปัญหาและความสำคัญดังกล่าว จึงทำให้ผู้วิจัยสนใจศึกษาการ พัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ซึ่งเป็นการพัฒนาศักยภาพของ ผสู้ ูงอายุตามแนวคิดขององค์การอนามัยโลกประกอบด้วย 3 ด้าน คือ ด้านสุขภาพ (Health) ด้านการมีส่วนร่วม (Participation) และด้านความม่ันคง (Security) เพ่ือให้เป็นผู้สูงอายุมี การพัฒนาตนเองได้เป็นพลเมืองที่มีศักยภาพ และสามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมี ความสขุ ต่อไป

628 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) วตั ถปุ ระสงค์การวิจยั 1. เพื่อศึกษาการพัฒนาศักยภาพของผู้สูงอายุในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนล่าง 2 2. เพ่ือศึกษาปัจจัยท่ีส่งผลต่อการพัฒนาศักยภาพของผู้สูงอายุในเขตภาค ตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ตอนล่าง 2 3. เพื่อหาแนวทางการพฒั นาศักยภาพของผสู้ ูงอายุในเขตภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ตอนล่าง 2 วิธีดำเนินการวจิ ัย 1. ประชากรและกลุม่ ตัวอย่าง ประชากรในการศึกษาวิจัยคร้ังนี้ คือ ผู้สูงอายุในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนล่าง 2 ได้แก่ จังหวัดอุบลราชธานี จังหวัดศรีสะเกษ จังหวัดยโสธร และจังหวัด อำน าจเจริญ จำน วน 260,668 คน ท ำเนี ยบ องค์ กรช ม รม ด้ าน ผู้สู งอายุภ าค ตะวันออกเฉยี งเหนอื (สำนักส่งเสรมิ พิทกั ษ์ผู้สูงอายุ, 2555) กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ สมาชิกชมรมผู้สูงอายุในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 2 จำนวน 400 คน ผู้วิจัยทำการสุ่มกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรทาโร่ ยามาเน่ (Taro Yamane, 1973) และการส่มุ อย่างง่าย 2. ขอบเขตดา้ นเนื้อหา เน้ื อห าการวิจัยคร้ังน้ี ได้แก่ ปั จจัยท่ี มีอิท ธิต่อศักย ภ าพ ผู้สูงอายุภ าค ตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 2 ประกอบด้วย 1. ด้านแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิ 2. ด้านการรับรู้ 3. ด้านทัศนคติ 4. ด้านการตระหนักรู้คุณค่า 5. ด้านทักษะการเรียนรู้และการพัฒนาศักยภาพ ผสู้ ูงอายุภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือตอนล่าง 2 ประกอบดว้ ย 1. ด้านสขุ ภาพ 2. ดา้ นการมีสว่ น รว่ ม และ3. ด้านความมนั่ คง 3. เคร่ืองมอื ทีใ่ ช้ในการวิจยั เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัยเชิงปริมาณ ได้แก่ แบบสอบถามเก่ียวกับระดับการพัฒนา ศักยภาพและปัจจัยท่ีส่งผลต่อการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนล่าง 2 ตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย ลักษณะแบบสอบถามเป็นแบบมาตราส่วน

วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 629 ประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ คือมากที่สุด มาก ปานกลาง น้อยและน้อยที่สุด (รงั สรรค์ สิงหเลิศ,2558) เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัยเชิงคุณภาพ เป็นแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง (Structured in-depth Interview form) โดยการสมั ภาษณ์ดว้ ยตวั เองแบบตัวต่อตัว (Face to Face Interview) เพ่ือสอบถามถึงแนวทางการพัฒนาศกั ยภาพผูส้ งู อายุ 4. การวิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้สถิติพรรณนา (Descriptive Statistics) ได้แก่ คา่ ร้อยละ (Percentage) คา่ ความถ่ี (Frequency) ค่าเฉล่ีย (Mean) ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) เพ่ือหาระดับการพัฒนาศักยภาพของผู้สูงอายุ และใช้การถดถอย พหุคูณเชิงเส้นตรง (Multiple Linear Regression Analysis) เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่าง ตัวแปรว่ามีปัจจัยใดบ้างที่ส่งผลต่อการพัฒนาศักยภาพของผู้สูงอายุ วิเคราะห์ข้อมูลเชิง คุณภาพ ด้วยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content Analysis) และการอธิบายเชิงพรรณนา ความ (Descriptive) ผลการวิจยั 1. ปัจจัยท่ีสง่ ผลต่อการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือตอนล่าง 2 ทั้ง 5 ด้าน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( = 3.50, S.D. = 0.92) เม่ือพิจารณาตามราย ด้านโดยเรียงตามค่าเฉล่ียจากมากไปหาน้อย พบว่า ด้านทัศนคติ อยู่ในระดับมาก ( = 3.63, S.D. = 0.90) รองลงมา คือ ด้านการรับรู้ อยู่ในระดับมาก ( = 3.57, S.D. = 0.82) ดา้ นการตระหนักร้คู ุณคา่ อยู่ในระดับมาก ( = 3.47, S.D. = 0.94) ด้านแรงจงู ใจใฝส่ ัมฤทธ์ิ อยู่ในระดับมาก ( = 3.43, S.D. = 0.90) และด้านทักษะการเรียนรู้ อยู่ในระดับปานกลาง ( = 3.39, S.D. = 1.04) ตามลำดับ การพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนล่าง 2 โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก ( = 3.47, S.D. = 0.84) เม่ือพิจารณาในแต่ละ ด้าน โดยเรียงตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย พบว่า ด้านการมีส่วนร่วม อยู่ในระดับมาก ( = 3.58, S.D. = 87) รองลงมา คือ ด้านความม่ันคง อยู่ในระดับมาก ( = 3.42, S.D. = 0.84) และด้านสุขภาพ อยู่ในระดบั มาก ( = 3.41, S.D. = 0.80) ตามลำดับ

630 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) 2. ความสมั พันธ์ระหว่างปัจจยั ท่ีมีผลต่อการพฒั นาศักยภาพผู้สูงอายุ โดยใช้เทคนิค วิธีการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน (Stepwise Multiple Regression) ด้วยการ เรียงลำดับจากปัจจัยมีอิทธิพลมากไปสู่น้อย ได้แก่ ปัจจัยด้านแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิ ปัจจัยด้าน การตระหนกั รู้คุณคา่ ปัจจัยดา้ นการรับรู้ ปัจจยั ด้านทัศนคติ และปัจจยั ดา้ นทกั ษะการเรียนรู้ ตามลำดับ โดยมีค่า = 1.752, S.E.est = 0.242, F=49.514, R = 0.621, และ R2 = 0.386มีนัยสำคัญทางสถติ ิทรี่ ะดบั 0.05 (p<0.05) และเป็นไปตามสมมติฐานการวจิ ัยทตี่ ้งั ไว้ 3. แนวทางการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือตอนล่าง 2 ทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ 1.ด้านสุขภาพ (Health) โดยมีแนวทางในการพัฒนาคือการจัดเป็นกิจกรรมใน แต่ละด้าน ประกอบด้วย ด้านการผ่อนคลาย ด้านการพักผ่อน ด้านการออกกำลังกาย ด้าน อาหารและโภชนาการ และด้านการตรวจสุขภาพประจำปี 2. ด้านการมีส่วนร่วม (Participation) ประกอบด้วย การเข้าไปเป็นสมาชิกกลุ่ม ชมรม และการเข้าไปเป็นผู้ให้ด้วย การเป็นจิตอาสา และ 3. ด้านความมั่นคง (Security) ประกอบด้วย ความมั่นคงในชีวิตด้าน เศรษฐกิจ ความม่ันคงในชีวิตด้านครอบครัว และความม่ันคงในชีวิตด้านความปลอดภัยใน ชีวิตและทรพั ย์สิน อภิปรายผล การอภิปรายผลการวิจัย ผู้วิจัยทำการอภิปรายผลในเร่ืองปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการ พัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุตามตัวแปรท้ังหมด 5 ตัวแปร และการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุใน ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ 2 โดยทำการอภิปรายผลการศกึ ษาวจิ ัยตามลำดบั ดงั น้ี 1. ปัจจัยด้านแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิ เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาศักยภาพ ผู้สูงอายุ และผลการศึกษาในเชิงปริมาณนั้นพบว่า อยู่ในระดับมาก โดยเฉพาะประเด็นการ ตั้งเป้าหมายที่จะออกกำลังกายเพ่ือดูแลสุขภาพตนเองและ พร้อมทำให้ได้ตามที่ต้ังใจไว้ น่ัน แสดงให้เห็นวา่ ผูส้ ูงอายมุ ีแรงจงู ใจใฝ่สัมฤทธ์ใิ นการปฏิบตั ิภารกิจหน้าท่ีของตนเองคอื การออก กำลังกายเพ่ือดูแลสุขของตนเองให้สำเร็จตามเป้าหมายท่ีต้ังไว้ ซ่ึงสอดคล้องกับ McClelland, 1985) กล่าวว่า แรงจงู ใจท่ีเป็นแรงขบั ให้บุคคลพยายามทจี่ ะแสดงพฤติกรรมที่ จะประสบผลสัมฤทธ์ิ ตามมาตรฐานความเป็นเลิศ (Standard of excellence) ท่ีตนเองต้ัง ไว้ เป็นแรงจงู ใจของบคุ คลที่กระทำการเพื่อใหไ้ ด้มาซ่ึงการทำงานให้ดีท่สี ุดและทำให้สำเร็จผล

วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 631 ตามท่ีตั้งใจไว้ เมื่อทำอะไรสำเร็จได้จะเป็นแรงกระตุ้นให้ทำงานอ่ืนสำเร็จต่อไป และ สอดคล้องกับการศึกษาของเกสร อ้ึงสวรรค์ (2559) พบว่า แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ท่ีเสริมสร้าง สมรรถนะการทำงานของผู้สูงอายุท่ีกลับสู่กำลังแรงงาน ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลัก คือ 1) ด้านแรงจูงใจจากการประเมินตนเอง (Motivation by self-evaluation) 2) ด้าน แรงจูงใจจากองค์การ (Motivation by organization) 3) ด้านแรงจูงใจในการอุทิศตนเอง (Motivation by self-dedication) ผลการวิเคราะห์มิมิค โมเดล พบว่า แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิ ด้านแรงจูงใจจากการอุทิศตนเอง มีความสำคัญมากที่สุด มีค่าเท่ากับ 0.54 รองลงมาคือ แรงจงู ใจในการประเมนิ ตนเอง มีค่าเทา่ กับ 0.45 และแรงจูงใจจากองค์การ มคี ่าเท่ากับ 0.43 ตามลำดับ ค่าดัชนีวัดความสอดคล้องของข้อมูล p-value เทา่ กับ 0.97 CFI เทา่ กับ 1.00 GFI เท่ากับ 1.00 AGFI เท่ากับ 0.98 RMSEA เท่ากับ 0.00 แสดงว่าโมเดลการวิจัยสอดคล้องกับ ข้อมลู เชงิ ประจกั ษ์ 2. ปัจจัยด้านการตระหนักรู้คุณค่า เป็นปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อการพัฒนาศักยภาพ ผู้สูงอายุ และผลการศึกษาในเชิงปริมาณนั้นพบว่า อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาตามเน้ือหา การตระหนักรู้ พบว่า ผู้สูงอายุมีความตระหนักและม่ันใจว่า ตัวผู้สูงอายุเองมีความอดทนต่อ ช่วงเวลาท่ีมีความยากลำบากในการดำเนินชีวิตได้ และคิดว่าจะสามารถผ่านพ้นไปได้ด้วยดี ตระหนักถึงคุณค่าของผู้สูงอายุว่าผู้สูงอายุไม่ใช่ภาระของลูกหลาน ซึ่งสอดคล้องการศึกษา ของสุพรรษา แสงจันทร์ (2559) พบว่า ผู้สูงอายุรับรู้ความหมาย ความมีคุณค่าในตนเอง ว่า มาจากการได้รบั การยอมรับจากภายนอก การได้รบั การปฏบิ ตั ิเสมือนหนึง่ ผู้มีคา่ และภูมิใจใน สงิ่ ที่ทำ ส่งผลใหผ้ ู้สูงอายเุ กิดความภาคภูมิใจ ตระหนักในคุณคา่ แห่งตน นำไปสู่ความพงึ พอใจ ในชวี ิต ช่วยลดปัญหาภาวะซึมเศรา้ และความว้าเหว่ในผู้สูงอายุ และสอดคล้องการศึกษาของ เบญจมาศ ยศเสนา (2560) พบว่า คุณค่าผู้สูงอายุคือการที่ผู้สูงอายุมีคุณค่าต่อตนเองหรือ สังคมมากน้อยเพียงใดเกิดจากทัศนคติของบุคคลท่ีมีต่อผู้สูงอายุ โดยเกิดจากองค์ประกอบ 3 ประการ คอื ความเช่ือ ความรู้สึก และพฤติกรรมของแต่ละบุคคล ท่ีเกดิ จากการมีปฏิสมั พันธ์ กบั บุคคลอน่ื และสงิ่ แวดล้อมต่างๆ ท่ีสง่ ผลให้เกิดการเห็นคุณค่าในระดบั ทแ่ี ตกตา่ งกัน 3. ปัจจัยด้านการรับรู้เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ และผล การศึกษาในเชิงปริมาณน้ันพบว่า อยู่ในระดับมาก โดยผู้สูงอายุรู้สึกรับรู้ไว้ว่าได้รับการ ยอมรับจากชุมชน และเกิดความผูกพันกับชุมชนท่ีอาศัยอยู่ รับรู้ถึงความสามารถในการ ปฏิบัติกิจวัตรประจำวันของตน รู้สึกสบายอกสบายใจ ไม่เครียดกับส่ิงต่างๆ รอบข้าง ได้รับ

632 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) การให้ความรู้เก่ียวกับโภชนาการและการบริโภคที่เหมาะสมกับวัย เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันด้าน สุขภาพท่ีดี สอดคล้องกับการศึกษาของพิทักษ์พงศ์ ปันต๊ะและดาว เวียงคำ (2554) พบว่า การรับรู้ประโยชน์และการรับรู้อุปสรรค เป็นปัจจัยร่วมกันทำนายพฤติกรรมการออกกำลัง กายของผู้สูงอายุได้ร้อยละ 3.3 และกลุ่มผู้สูงอายุมีการรับรู้ประโยชน์ของการออกกำลังกาย โดยรวมในระดับดีมาก ( = 3.73, S.D. = 0.47) เมอื่ พิจารณาเป็นรายข้อพบว่ากลุ่มตัวอย่าง มีการรับรู้ประโยชน์ของการออกกำลังกายในระดับมากท่ีสุดคือการออกกำลังกายช่วยทำให้ กินได้นอนหลบั ดี 4. ปัจจัยด้านทัศนคติ เป็นปัจจยั ท่ีมอี ิทธิพลต่อการพัฒนาศักยภาพผสู้ ูงอายแุ ละผล การศึกษาในเชิงปริมาณน้ันพบว่า อยู่ในระดับมาก โดยผู้สูงอายุมีทัศนคติ ความรู้สึกในการ เข้าใจธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลงของของชีวิตท่ีเป็นไปตามกาลเวลา รู้สึกวา่ ผู้สูงอายุส่วน ใหญจ่ ะว้าเหวแ่ ละแยกตัวเอง ผู้สงู อายุผ่านประสบการณ์ชีวติ มามากจึงปรับตัวตอ่ ภาวะเครียด ได้ดีกว่าคนหนุ่มสาวและผู้สูงอายุเต็มไปด้วยพลังเชิงบวกในการดำเนินชีวิตให้มีความสุข สอดคล้องกบั การศึกษาของมชั ฌิมา ศิรอิ ิ่มสำราญ (2557) พบว่า ภาพรวมของทัศนคติต่อการ ดำรงชีวิตของกลุ่มผู้สูงอายุและกลุ่มย่างเข้าสู่วัยสูงอายุท้ังสองกลุ่มเป็นบวก โดยผู้ก้าวสู่วัย สูงอายุมีค่าเฉลี่ยสูงกวา่ ผู้สงู อายุ นอกจากนี้ ทัศนคติต่อการดำรงชวี ิตผู้สงู อายุและกลุม่ ย่างเข้า สู่วัยสูงอายุ ไม่มีความแตกต่างทางสถิติท่ีระดับนัยสำคัญ0.05 อีกท้ังสอดคล้องการการศึกษา ของจิตติมา บุญเกิด (2558) พบว่า ความตระหนักรู้และทัศนคติภายหลังรับคำแนะนำจาก อาสาสมัครหมู่บ้านและได้รับสื่อ เพิ่มข้ึนอย่างมีนัยสำคัญ ในหัวข้อความกระตือรือร้นในการ ดูแลสุขภาพ การออกกำลังกายและการป้องกันการหกล้ม สรุปได้ว่า กระบวนการผลิตสื่อ ส่งเสริมสุขภาพที่เน้นการดูแลสุขภาพเพื่อชะลอความเสื่อมวัยและแทรกเนื้อหาการป้องกั น การหกล้ม รวมถึงการเผยแพร่สื่อและให้คำแนะนำผู้สูงอายุในชุมชนโดยอาสาสมัคร สาธารณสุข เป็นยุทธวิธีหนึ่งในการสร้างความตระหนักรู้และทัศนคติที่ดีในการดูแลสุขภาพ เพอ่ื ป้องกนั การหกล้มได้ 5. ปัจจัยด้านทักษะการเรียนรู้ เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาศักยภาพ ผู้สูงอายุ และผลการศึกษาในเชิงปริมาณนั้นพบว่า อยู่ในระดับมาก โดยผู้สูงอายุมีเวลาเพ่ือ การเรียนรูแ้ ละพัฒนาตนเอง สามารถคดิ อยา่ งมเี หตแุ ละผลเกีย่ วกบั อารมณแ์ ละความรู้สกึ เพื่อ สร้างความมั่นคงในอารมณ์ สามารถใช้เหตุผลในการวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเพื่อเลือกรับข้อมูล สุขภาพจากสื่อ หรือจากคนอื่นๆ ก่อนท่ีจะปฏิบัติตาม สอดคล้องกับการศึกษาของไพบูลย์

วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 633 พงษ์แสงพันธ์และคณะ (2557) พบว่า จากการเปรียบเทียบปัญหาการเรียนรู้ของผู้สูงอายุ พบว่าปัญหาด้านการเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาตนเองและด้านการได้รับการ ส่งเสริมสนับสนุนการเรียนรู้จากหน่วยงานต่างๆ ในแต่ละกลุ่มอายุมีความแตกต่างกัน โดย พบว่าอายุ 60-64ปี มีปัญหาสูงกว่าในกลุ่มอายุ 65-69 ปี และ 70-74 ปีตามลำดับและด้าน การได้รับการส่งเสริมสนับสนุนการเรียนรู้จากหน่วยงานต่างๆ พบว่า กลุ่มรายได้ 5001- 10000 บาท มีความต้องการสูงกว่าในกลุ่มรายได้อ่ืน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ดังนั้น หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องจึงควรให้ความสำคัญกับการส่งเสริมสนับสนุนการเรยี นรู้ให้กับผู้สูงอายุ เพ่ิมขึ้น โดยเฉพาะกลุ่มอายุ 60-64 ปี ท่ีมีรายได้น้อยและไม่มายได้เสริมซึ่งเป็นกลุ่มที่ จำเป็นต้องได้รับการเรียนรู้เพิ่มเติมเก่ียวกับการประกอบอาชีพเพ่ือเพ่ิมรายได้ และ สอดคล้องกับการศึกษาของอาชัญญา รัตนอุบล (2555) ผลการวิจัย พบว่า สภาพการจัด การศึกษาตลอดชีวติ สำหรบั ผู้สูงอายุ จัดขึ้นเพื่อการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ ในช่วงอายุ 60- 64 ปี มากที่สุด ผู้จัดการศึกษาและผู้สอนคือ เจ้าหน้าท่ีสาธารณสุข ในรูปแบบการจัดอบรม ระยะส้นั โดยสอื่ และแหล่งการเรียนร้ทู ่ใี ช้มากทส่ี ดุ คือ ส่ือบคุ คล ผูจ้ ดั การศึกษาและผูส้ อน คือ ครูภูมิปัญญาหรือผู้รู้ในชุมชน ในรูปแบบการจัดอบรมระยะสั้น ส่ือและแหล่งการเรียนรู้ที่ ต้องการมากทส่ี ุด คือ ส่ือบคุ คล ประเมินผลด้วยวิธกี ารประเมินตามสภาพจริงและต้องการให้ ชมรมผสู้ ูงอายสุ ่งเสรมิ ใหภ้ าคเี ครอื ขา่ ยบริหารจดั การการจัดการศกึ ษาตลอดชีวติ 6. การพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุด้านสุขภาพ มีการพัฒนาอยู่ในระดับมาก เมื่อ พิจารณาการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุพบว่า มีโอกาสที่ได้ไปเที่ยวพักผ่อนคลายเครียดกับ เพ่ือน ลูกหลานหรือญาติมิตร ได้รับการตรวจสุขภาพทั่วไปประจำปี มีสุขภาพที่แข็งแรงเพียง พอท่ีจะทำส่ิงต่างๆ ในกิจวัตรประจำวัน สอดคล้องการศึกษาของฐิติวรรณ ศรีเจริญและวุฒิ พงศ์ อาจริยอาจอง (2553) พบว่า ผู้สูงอายุมีความต้องการด้านเงินทุนสนับสนุนความ ต้องการดา้ นบริการทางการแพทย์ในระดับมาก ความต้องการด้านท่ีอยู่อาศัยอยู่ในระดับน้อย ความต้องการด้านการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม และความต้องการด้านชมรม กีฬาและ สันทนาการ และความต้องการด้านการมีงานทำ ศิลปะและอาชีพ อยู่ในระดับปานกลาง ปัญหาและอุปสรรคในการจัดสวัสดิการผู้สูงอายุที่สำคัญเป็นอันดับต้นๆ ได้แก่ปัญหาการ สนับสนุนด้านทุนงบ ประมาณ ปัญหาผู้สูงอายุจำนวนมากสุขภาพไม่ดีไม่สามารถมาเข้าร่วม กิจกรรมได้และสอดคล้องกับการศึกษาของพิมพ์พิสุทธ์ิ บัวแก้ว และรติพร ถึงฝั่ง (2559) พบว่า ภาวะสุขภาพของผู้สูงอายไุ ทยอยู่ในระดับปานกลาง ปัจจัยด้านคณุ ลักษณะส่วนบุคคล

634 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) การสนับสนุนทางสังคมและการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุร่วมกันทำนายภาวะสุขภาพของ ผูส้ ูงอายุไทยไดร้ ้อยละ 11.2 ตัวแปรทีส่ ำคัญทส่ี ุด คือ รายได้ โดยพบว่าระดบั รายได้เฉลีย่ ต่อปี ต้ังแต่ 50,000 บาทขึ้นไป สามารถทำนายภาวะสุขภาพผู้สูงอายุได้มากท่ีสุด โดยมีค่า สัมประสิทธิ์ถดถอยมาตรฐาน (β) เท่ากับ .174 รองลงมาคือการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ โดยมีค่าสัมประสิทธ์ิถดถอยมาตรฐาน (β) เท่ากับ .164 การศึกษานี้เสนอแนะว่าภาครัฐควร ที่จะคงไว้ซึ่งนโยบายที่เกี่ยวข้องกับสวัสดิการของผู้สูงอายุโดยเฉพาะอย่างยิ่งเบ้ียยังชีพ ผู้สูงอายุและปรับปรุงช่องทางการเข้าถึงสิทธิดังกล่าวให้ครอบคลุมและทั่วถึง รวมท้ังส่งเสริม พฤติกรรมการดูแลสุขภาพของผ้สู งู อายุ โดยเน้นการมสี ว่ นรว่ มของครอบครวั 7. การพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุด้านการมีส่วนร่วม อยู่ในระดับมาก เม่ือพิจารณา รายประเด็นจากมากไปหาน้อย พบวา่ ผู้สูงอายมุ ีการเข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนา ทำบุญ งาน ประเพณีวันสำคัญต่างๆ ในชุมชน ได้รับการส่งเสริมและสนับสนุนให้มีบทบาทและเข้าร่วม กิจกรรมในครอบครัว กิจกรรมการท่องเท่ียวกับกลุ่มเพ่ือน ๆ และรวมถึงกิจกรรมอื่นๆ ของ ชมุ ชนอีกด้วย สอดคล้องกับการศึกษาของธนกร สิริสุคันธาและคณะ (2561) พบว่า ผู้สูงอายุ มีส่วนร่วมในในการดำเนินกิจกรรมภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง (= 2.81) จำแนกรายด้าน เรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ได้แก่การมีส่วนร่วมในด้านการรับผลประโยชน์ (= 2.90) การมีส่วนร่วมด้านความคิด การริเร่ิมสร้างสรรค์ (= 2.84) การมีส่วนร่วมด้านการ ตัดสินใจ(= 2.80) การมีส่วนร่วมด้านการปฏิบัติงาน (= 2.80) และการมีส่วนร่วมด้านการ ตดิ ตาม ประเมินผลและการรับผิดชอบในโครงการ(= 2.73) และสอดคล้องกับการศึกษาของ สภุ าพ หงษส์ า (2553) พบว่า การมสี ่วนรว่ มของผสู้ ูงอายุตอ่ งานดา้ นสวสั ดกิ ารสงั คม เทศบาล ตำบลยายแย้มวัฒนา อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดบุรีรัมย์ โดยภาพรวมอยู่ในระดับปาน กลาง เม่ือพิจารณาเป็นรายได้พบว่า มีส่วนร่วมอยู่ในระดับปานกลาง ทุกด้านเช่นกัน ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของผู้สูงอายุต่องานด้านสวัสดิการสังคม คือ การส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้สูงอายุทัศนศึกษาดูงานนอกสถานที่ ให้เทศบาลประชาสัมพันธ์ให้ผู้สูงอายุได้ ทราบท่ัวถึงในการใหบ้ รกิ ารงานด้านสวสั ดิการสงั คมท่ที างเทศบาลจัดขึ้น ความรวดเร็วในการ อนมุ ัตเิ งินเก่ยี วกับการเบิกจ่ายเบยี้ ยังชีพผู้สงู อายุ การสนบั สนุนวัสดุอุปกรณ์ในการปฏิบัติงาน ดา้ นสวัสดิการสงั คม ให้เทศบาลดำเนนิ การจา่ ยเบ้ยี ยงั ชีพให้แก่ผู้สูงอายตุ รงกำหนดระยะเวลา 8. การพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุ ด้านความมั่นคง มีการพัฒนาอยู่ในระดับมาก เม่ือ พิจารณาตามรายข้อโดยเรียงตามค่าเฉล่ียจากมากไปหาน้อย พบว่า ผู้สูงอายุมีบุคคลใกล้ชิด

วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 635 เช่น บุตร หลาน ญาติ พ่ี น้อง ท่ีมีความพร้อม สามารถพาไปพบแพทย์หรือเจ้าหน้าท่ี สาธารณสุข ได้ตลอดเวลา มีส่ิงอำนวยความสะดวก เหมาะสมและปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุ ภายในบ้านและบรเิ วณบ้าน บุคคลในครอบครัวได้ให้กำลังใจ เม่ือเกิดความท้อแท้จากปัญหา สว่ นตัวหรอื ปัญหาจากการเจ็บป่วย สอดคล้องกับการศึกษาของธีระศักด์ิ อรัญพิทักษ์ (2552) พบว่า ผู้สูงอายุชายไทยมีระดับคุณภาพชีวิตเชิงวัตถุวิสัยที่สูงกว่าผู้สูงอายุหญิงไทยใน องค์ประกอบคุณภาพชีวิตเกือบทุกด้าน ยกเว้นด้านปัจจัยพ้ืนฐานทางวัตถุและความมั่นคง ทางการเงิน และด้านการมีสัมพันธภาพกับบุคคลอ่ืนที่พบว่า ผู้สูงอายุหญิงไทยมีระดับ คุณภาพชีวิตเชิงวัตถุวิสัยที่ดีกว่าผู้สูงอายุชายไทย ในขณะที่ผู้สูงอายุชายลาวมีระดับคุณภาพ ชีวิตเชิงวัตถุวิสัยด้านการมีสัมพันธภาพกับบุคคลอื่นท่ีสูงกว่าผู้สูงอายุหญิงลาว แต่ผู้สูงอายุ หญิงลาวมีระดับคุณภาพชีวิตเชิงวัตถุวิสัยด้านการมีกิจกรรมในสังคม ชุมชนและบ้านเมืองท่ี สูงกว่าผู้สูงอายุชายลาวและสอดคล้องกับการศึกษาของจิราพร มะโนวังและคณะ (2559) พบว่า ด้านสุขภาพผู้สูงอายุมสี ุขภาพร่างกายท่ีแข็งแรง มีการออกกำลังกายเป็นประจำทุกวัน รับประทานอาหารครบ 3 มื้อ และมีอาหารเสริมเพื่อบำรุงร่างกาย มีจิตใจ เบิกบาน ยึดหลัก คำสอนทางศาสนา ภาคภูมิใจท่ีลูกหลานให้ความเคารพ ยกย่องนับถือ ด้านรายได้และการมี งานทำ มีรายได้รวมเฉล่ียเดือนละ 6,100 บาท เพียงพอต่อการดำรงชีวิตและเหลือเก็บเพื่อ เป็นการออมในอนาคต ด้านความปลอดภัยในชีวิต ทั้งในด้านการดำเนินชีวิต และด้าน ทรัพย์สิน สามารถป้องกันและแก้ไขปัญหาอุบัติภัยต่างๆได้ด้วยตนเอง ด้านท่ีอยู่อาศัยและ สงิ่ แวดลอ้ ม มกี ารจัดตกแต่งที่อยอู่ าศัยอยา่ งถกู สุขลักษณะ ส่ิงแวดลอ้ มไม่เปน็ อนั ตรายต่อการ ดำเนนิ ชวี ติ องค์ความร้ทู ี่ไดจ้ ากการศึกษา ปัจจัยท่ีส่งผลต่อการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2 ดา้ นแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ ด้านการตระหนักรู้คุณค่า ด้านการรับรู้ ด้านทัศนคติ และด้านทักษะ การเรียนรู้และการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุด้านสุขภาพ ด้านการมีส่วนร่วมและด้านความ มน่ั คง โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก แต่ก็บางประเด็นท่ีอยู่ในระดับปานกลาง โดยเฉพาะด้าน ทักษะการเรียนรู้ของผู้สูงอายุซ่ึงหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนท่ีมีส่วนเกี่ยวข้อกับผู้สูงอายุ ตลอดถึงชมรมผู้สูงอายุในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 2 ควรนำผลการวิจัยไปต่อยอด

636 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) พัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุท่ีอยู่ในระดับปานกลางให้เพิ่มข้ึนไปสู่ระดับมาก และท่ีมีการพัฒนา อยูใ่ นระดับมากแล้ว ควรนำไปสูก่ ารพฒั นาในระดับที่สูงถดั ไปคอื มากที่สุด การพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายดุ ้านการมีสว่ นร่วม และด้านความมั่นคงเพื่อเป็นการต่อ ยอดผลการวิจัยหน่วยงานภาครัฐควรจัดให้มีโครงการศึกษาให้ผู้สูงอายุเป็นครู (คลังสมอง) หรือเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ต่างๆ ในด้านศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณีเพื่อที่จะเป็นการสร้างให้ ผสู้ งู อายุมบี ทบาททางสงั คมและเป็นทีย่ อมรับเพิม่ มากขน้ึ อกี ท้ังเป็นการส่งเสริมให้เยาวชนรุ่น ใหม่เข้าไปมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมต่างๆ ร่วมกับผู้สูงอายุ จากผลการศึกษาของผู้สูงอายุ ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 2 ผู้สูงอายุส่วนมากจบระดับช้ันประถมศึกษา นโยบายทร่ี ฐั หรือหน่วยงานที่เกยี่ วข้องที่จะออกมาช่วยเหลือหรืออำนวยความสะดวกเกย่ี วกับ สุขภาพควรทำให้เข้าใจ เข้าถึงง่าย สะดวก และรวดเร็ว เพ่ือให้สอดคล้องกับระดับบริบท การศึกษาของผู้สูงอายุส่วนใหญ่ และสามารถเข้าไปดูแลและให้การช่วยเหลือสนับสนุนได้ ถูกต้องตามสภาพท่เี ป็นจรงิ ของบริบทพนื้ ทีน่ ั้นได้ เอกสารอ้างองิ เกสร องึ้ สวรรค.์ (2559). การพฒั นาตวั แบบเชิงนโยบายแรงจงู ใจใฝ่สมั ฤทธท์ิ ี่เสรมิ สรา้ ง สมรรถนะการทำงานของผ้สู งู อายุท่ีกลับสู่กำลงั แรงงาน. บัณฑิตวทิ ยาลัย : มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร. จริ าพร มะโนวงั และคณะ. (2559). ความมัน่ คงในชวี ติ ของผู้สงู อายุในชุมชนบา้ นป่าซางวิวัฒน์ ตำบลนางแล อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย. วารสารสงั คมศาสตร์วชิ าการ สำนักวชิ า สงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, 9 (2), 176-190. จิตตมิ า บุญเกดิ . (2558). การสรา้ งความตระหนักรู้และทศั นคติเชิงบวกแก่ผสู้ ูงอายุในชุมชน เพือ่ ป้องกนั การหกลม้ . วารสารวิจยั ระบบสาธารณสุข. 9 (1), 13-25. ฐติ ิวรรณ ศรเี จรญิ และวฒุ ิพงศ์ อาจรยิ อาจอง. (2553). การศึกษาปัญหาการดูแลสุขภาพ ผูส้ ูงอายุและการจัดสวสั ดิการแก่ผสู้ งู อายุกรณีศกึ ษาอปุ สงค์ต่อผ้ดู ูแลผสู้ งู อายุใน จงั หวัดขอนแก่น. Naresuan University Journal, 17(3), 280-286.

วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 637 ธนกร สริ ิสุคันธาและคณะ. (2561). การมสี ่วนร่วมของผู้สูงอายุในการขับเคลื่อนนโยบาย เศรษฐกิจฐานรากและประชารัฐในพ้ืนท่ีอำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง. วารสาร วทิ ยาลัยสงฆน์ ครลำปาง. 7 (2), 47-63. ธีระศกั ดิ์ อรัญพิทกั ษ.์ (2552). คณุ ภาพชวี ติ ผู้สงู อายชุ ายแดนไทย-ลาว : กรณีศึกษาเชยี งของ- ห้วยทราย. มนษุ ยศาสตร์สาร, 10 (2), 58-69. เบญจมาศ ยศเสนา. (2560). การเห็นคณุ คา่ ผสู้ ูงอายุ. Journal of Community Development Research (Humanities and Social Sciences), 9 (1) 1-14 พิทกั ษ์พงศ์ ปนั ต๊ะ และดาว เวียงคำ. (2554). ความสมั พนั ธ์ระหว่างปจั จัยสว่ นบุคคล การ รบั รู้ประโยชน์ของการออกกำลังกายและการรับรอู้ ุปสรรค ของการออกกำลงั กายกับ พฤติกรรมการออกกำลังกายของผู้สูงอายุ ในจังหวัดพะเยา. วารสารวิจัยทาง วิทยาศาสตร์สุขภาพ. 5 (1), 7 -16. พมิ พสิ ุทธิ์ บวั แกว้ และรติพร ถึงฝัง่ . (2559). การดูแลสขุ ภาพและภาวะสุขภาพของผูส้ งู อายุ ไทย. วารสาร สมาคมนกั วจิ ัย. 21(2), 94-109. ไพรวรรณ พลวัน. (2561). แผนการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 กรมกิจการ ผู้สูงอาย.ุ http://tpso4.m-society.go.th/images/DatabaseTPSO4 /News_TPSO/Advertise/2562/3.-Elderly-peo-06122561.pdf ไพบลู ย์ พงษแ์ สงพนั ธ์และคณะ. (2557). การพัฒนาการเรยี นรแู้ ละอาชีพของผ้สู ูงอายุ: การ วเิ คราะห์สถานการณ์ แผนงานวิจัย การพัฒนาเมืองผู้สูงอายุแสนสขุ . บัณฑติ วิทยาลยั : มหาวิทยาลัยบูรพา. มชั ฌมิ า ศิรอิ ิ่มสำราญ. (2557). ทศั นคตติ ่อการดำรงชวี ิตและพฤติกรรมการบรโิ ภคของผู้ สูงอายุและผู้ก้าวเข้าสู่วัยสูงอายุ ในเขตกรุงเทพมหานคร. บัณฑิตวิทยาลัย : จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. รงั สรรค์ สิงหเลิศ (2558) ระเบียบวิธวี ิจัย และการใชส้ ถติ สิ ำหรบั การวจิ ยั ทางสังคมศาสตร์. กรงุ เทพฯ: ทรปิ เพิ้ล กรุ๊ป. ระพีพรรณ คําหอมและคณะ. (2542). การประเมนิ โครงการบรกิ ารสวัสดกิ ารสังคมเพอ่ื พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุไทย. เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ “บทบาทรัฐและองค์กรชุมชนกับผู้สูงอายุไทย : สถานการณ์ปัจจุบันและทิศทางใน อนาคต. 23-24 ธันวาคม 2542.

638 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) ระบบสถิติทางการทะเบยี น กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย.(2562) ขอ้ มูลประชากร. จาก :http://stat.bora.dopa.go.th/stat/statnew/statTDD/. วิพรรณ ประจวบเหมาะ และคณะ. (2553). การเปลย่ี นแปลงทางประชากรและข้อมูลสถิติที่ สำคัญเก่ียวกบั ผู้สงู อายุ.มลู นธิ สิ ถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สงู อายุไทย (มส.ผส.) วทิ ยาลัย ประชากรศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั .กรงุ เทพฯ :พงษ์พาณชิ ย์เจริญผล. สถาบนั วจิ ัยประชากรและสังคมมหาวิทยาลัยมหดิ ล. (2548). สุขภาพคนไทย 2548. สํานกั งานกองทนุ สนับสนุนการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ, กรงุ เทพฯ: องิ ค์ออนเปเปอร์ สพุ รรษา แสงจันทร์และคณะ. (2559) การรับรคู้ วามหมายความมคี ุณคา่ ในตนเองของ ผูส้ งู อายทุ มี่ ีภาวะซมึ เศรา้ . วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสขุ (Nursing Journal of the Ministry of Public Health), 26 (2), 76-88. สทุ ธิชยั จิตะพนั ธก์ุ ลุ . (2544). หลกั สำคัญของเวชศาสตร์ผู้สงู อายุ. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย. สภุ าพ หงส์ษา. (2553). การมีสว่ นรว่ มของผู้สงู อายตุ ่องานด้านสวสั ดิการสังคม เทศบาล ตำบลยายแย้มวฒั นา อำเภอเฉลมิ พระเกยี รติ จงั หวดั บุรีรมั ย.์ บัณฑติ วิทยาลยั : มหาวิทยาลยั ราชภฎั บรุ ีรมั ย์. สำนกั บริหารยทุ ธศาสตรก์ ลมุ่ จงั หวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลา่ ง 2. (2559). แผนพฒั นากลุม่ จังหวัดภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือตอนลา่ ง 2 (พ.ศ. 2561-2564). http://www.ubu.ac.th/web/files_up/03f2017041009195558.pdf อาชัญญา รตั นอุบลและคณะ. (2554). การศกึ ษาและการเรียนรตู ลอดชีวิตของผู้สูงอายไุ ทย. คณะครศุ าสตรร์ ่วมกับมลู นธิ ิสถาบันวจิ ยั และพฒั นาผสู้ ูงอายุไทย (มส.ผส.), สถาบันวิจัยระบบสาธารณสขุ (สวรส.): กรุงเทพฯ :จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย McCleland, D.C. (1985). How Motive, Skills, and Values Determine What People Do. American Psychologist, 40 (7): 812-825. Taro Yamane. (1973). Statistics: An Introductory Analysis. 3rd Ed. New York. Harper and Row Publications. WHO. (2002). Active Ageing: A Policy Framework. Geneva, Switzerland: World Health Organization.

รปู แบบการอนุรกั ษค์ ัมภรี ์ใบลานของวัดและชมุ ชนในประเทศไทย ดว้ ยกระบวนการทางวฒั นธรรมและเทคโนโลยี A Model of Palm Leaf Manuscript Conservation of Temples and Communities in Thailand through Cultural and Technological Processes พระมหาฉัตรเทพ พุทฺธชาโต Phramaha Chatthep Phutthachato มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย, ประเทศไทย Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Thailand. [email protected] Received May 10, 2020; Revised July 12, 2020; Accepted August 25, 2020 บทคัดย่อ การวิจัยฉบับนีม้ ีวัตถุประสงค์ คือ (1) เพื่อศึกษากระบวนการอนุรักษ์คมั ภีร์ใบลา นของวัด ชุมชนและสถานศึกษาของประเทศไทย (2) เพื่อพัฒนารูปแบบการอนุรักษ์คัมภีร์ ใบลานของวัดและชุมชนในประเทศไทย ด้วยกระบวนการทางวัฒนธรรมและเทคโนโลยี (3) เพื่อศึกษาแนวทางการเสริมสร้างเครือข่ายการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลานของวัดและชุมชนใน ประเทศไทยด้วยกระบวนการทางวัฒนธรรมและเทคโนโลยี การวิจัยคร้ังน้ีเป็นการวิจัยเชิง เอกสาร เชิงคุณภาพและเชิงปฏิบัติการแบบ List Model โดยเร่ิมที่ ศึกษาเอกสารงานและ งานวิจัยที่เก่ียวข้องเพื่อสร้างแบบสัมภาษณ์เชิงลึกในภาคสนามกับกลุ่มตัวอย่างจำนวน 25 รปู /คน ที่เกี่ยวข้องด้านการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลานในวัด ชุมชนและสถานศึกษา จำนวนรวม 8 แหง่ การวิเคราะหข์ อ้ มูล ใช้วธิ ีการวเิ คราะหเ์ น้ือหาแบบอุปนัย ผลการวิจัยพบว่า

640 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) 1.กระบวนการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลานของวัด ชุมชนและสถานศึกษาของประเทศ ไทย มี 3 ขั้นตอนดังนี้ ข้ันที่ 1 ก่อนการอนุรักษ์ ได้แก่ การสร้างศรัทธา การจัดระบบองค์กร ทำงาน การอบรมบุคลากรและการจัดการประเพณีเชิงพุทธ ข้ันที่ 2 ขั้นปฏิบัติการอนุรักษ์ สำรวจ ทำความสะอาด จัดหมวดหมู ลงทะเบียน ถ่ายดิจิทัล ทำทะเบียน ห่อผ้าคัมภีร์ ติด ป้ายรหัสคัมภีร์ ขั้นที่ 3 ขั้นสร้างความย่ังยืนในการอนุรักษ์ ได้แก่ การทำแหล่งเรียนรู้ การ เผยแพร่ การสรา้ งเครือขา่ ย การจดั ระบบยกย่อง การประเมินผล 2.รูปแบบการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลานของวัดและชุมชนในประเทศไทยด้วย กระบวนการทางวฒั นธรรมและเทคโนโลยีมี 5ขั้นตอน ดังน้ี ขั้นที่1การสร้างศรัทธา ถ่ายทอด ชุดความเชื่อให้คนในชุมชนเห็นความสำคัญของการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลานอย่างถูกต้องท้ังทาง โลกและทางธรรม ข้ันที่ 2 การจัดระบบข้อมูลและกระบวนการทำงาน (ศีล) คือ จัดทำแผน และอบรมบคุ ลากรอนรุ ักษ์คัมภรี ์ ขนั้ ท่ี 3 การปฏิบัตกิ ารอนรุ ักษ์ (สมาธิ) การจัดการประเพณี เชิงพุทธ เร่มิ อนุรกั ษ์ตามกระบวนการเทคโนโลยี บันทกึ ภาพสภาพของคัมภีร์ใบลานก่อนการ สำรวจทำความสะอาดที่เก็บคัมภีร์ สำรวจ สภาพและคัดแยก คัมภีร์ จัดเรียงใบลานให้ สมบูรณ์ ทำความสะอาดคัมภีร์ จัดหมวดหมู่ ลงทะเบียน ถา่ ยดิจิทัลคัมภีร์ ทำทะเบียน ห่อผ้า และติดป้ายรหัสคัมภีร์ มีพิธีงานบุญในการอัญเชิญเก็บคัมภีร์ ขั้นท่ี 4 การพัฒนาเป็นแหล่ง เรียนรู้ (ปัญญา)และข้ันที่ 5 การแผ่ขยายสู่ความย่ังยืน (เมตตา) คือ มีการเผยแพร่ บริการ องค์ความรู้ การสร้างเครือข่าย การจัดระบบยกย่อง การประเมินผล มีระบบการสร้างธัมม ทายาท มีการจัดงานบุญของชุมชนด้านการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลาน เพ่ือให้ชุมชนมีศรัทธาย่าง ยงั่ ยืนในการอนุรักษค์ มั ภรี ใ์ บลาน 3. แนวทางการเสริมสร้างเครือข่ายการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลานของวัดและชุมชนใน ประเทศไทยด้วยกระบวนการทางวัฒนธรรมและเทคโนโลยี มี 5 วิธีการสร้างเครือข่ายการ อนุรักษค์ ัมภีรใ์ บลาน คือ ทำบันทึกขอ้ ตกลงความร่วมมือ MOU เชญิ เป็นกรรมการ สมัครเป็น สมาชิกเครือข่าย ร่วมกลุ่มตั้งเครือข่ายเองและเครือข่ายส่วนตัวและมี 17 วิธีการรักษา เครือข่ายให้อยู่อย่างย่ังยืน คือ มกี ารรว่ มงานระหว่างเครือข่าย มีการรกั ษาสัมพนั ธภาพทีดี มี การจัดงานร่วมกัน มีการแบ่งบทบาทในการพัฒนา มีการจัดสรรผลประโยชน์อย่างเป็นธรรม มกี ารกำหนดแผนและมาตรฐานการทำงานร่วมกัน มีระบบสร้างแรงจูงใจ มีระบบการยกย่อง บุคลากรในเครือข่าย มีการสร้างผู้สืบทอดเครือข่าย มีการจัดระบบการบริหาร มีศูนย์

วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 641 ประสานและมผี ู้ประสานงานเครือข่าย มีงบประมาณจัดกิจกรรมเครือขา่ ย และ มีการติดตาม ประเมนิ ผลสรปุ ผลงานร่วมกัน คำสำคัญ : คมั ภีรใ์ บลาน; การอนุรกั ษ์คัมภรี ใ์ บลาน; กระบวนการทางวฒั นธรรมและ เทคโนโลยี Abstract The objectives of this research included: 1) to study the processes of palm leaf manuscript conservation of temples, communities and academies in Thailand; 2) to develop a model of palm leaf manuscript conservation of temples and communities in Thailand through cultural and technological processes ; and 3) to study guidelines for building palm leaf manuscript conservation networks of temples and communities in Thailand through cultural and technological processes. This research method included studying related documents and researches for creating in-depth interview formats with purposive sampling groups of 25 monks and laymen related in palm leaf manuscript conservation of temples, communities and academies in 8 locations. The data of this research were analyzed by Analytic Induction. The research findings were as follows: 1) Concerning the processes of palm leaf manuscript conservation of temples, communities and academies in Thailand, it was found of three steps as follows : 1) Before the conservation, it was to build faith, to set the system of organizational work and to train the personnel and to manage Buddhist tradition; 2) Conservational operation, it was to survey, clean, categorize, register, digitizing photos, recording, wrapping with cloth and labeling the codes of manuscript; 3) Sustainable Conservation, it was to build learning sources, publish the knowledge, build networks, create the praising system and evaluate the processes. 2) Regarding the development of a model of palm leaf manuscript conservation of temples and communities in Thailand through cultural and technological processes, it included 5 steps as follows: 1) To build the faith (Right View) i.e. to transfer the faith towards the people in the communities to see the importance of conserving palm leaf manuscript both in secular and Dhamma aspects; 2) To organize data and working processes (Precept), it was planning and training personnel in palm leaf manuscript conservation; 3) To operate the conservation (Concentration), it was to manage Buddhist tradition, conserve

642 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) according to technological process, record photos of palm leaf manuscript before surveying, clean the storages of palm leaf manuscript, survey the condition, classify the palm leaf manuscript, chronologically arrange the complete palm leaf manuscript, clean the palm leaf manuscript, categorize, register, take digital photos of the script, register of book-keeping, wrap with clothes and label the manuscript. There was a respectful engagement ceremony; 4) To develop sources of learning (Wisdom); and 5) To extend towards sustainability (Benevolence), it was to extend, serve the knowledge, create networks, organize praising system, evaluate, create the system of Dhamma descendants, organize merit-making ceremony for palm leaf manuscript conservation. All of these processes are for inculcating sustainable faith in leaf manuscript conservation. 3) Guidelines for building palm leaf manuscript conservation network of temples and communities in Thailand through cultural and technological processes , it was found that there were 5 ways of building the network of palm leaf manuscript conservation networks including: To sign MOU ( MOU network) , to invite experts or related people as committee (Committee network), to apply as a member of network (Membership network), to form a group as self-network ( Self- established network) and to be a private network (Private network) and also found that there were 17 ways of maintaining sustainable networks including : To cooperate between networks, to maintain good relations, to organize the events together, to share the roles in development, to be fair in sharing the benefits , to define a plan and a standard for working together, to encourage a system of motivation, to have a praising system for personnel of the networks, to build descendants of the networks, to arrange the management system, to have a coordinating centers and coordinators, to have budget for organizing network activities, and to follow up, evaluate and conclude the process of networks together. Key words: Palm Leaf Manuscripts, Palm Leaf Manuscript conservation; Cultural and technological processes

วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 643 บทนำ หลังจากพุทธปรินิพพาน การสืบทอดพระสัทธรรมของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าใช้ วิธีการสืบทอดโดยความทรงจำและการบอกเล่าต่อๆกันมา โดยมิได้เขียนเป็นลายลักษณ์ อักษร ซ่ึงเรียกว่า \"มุขปาฐะ”ซึ่งแม้จะมีการทำสังคายนาคือการรวบรวมพระธรรมวินัยของ พระพทุ ธเจ้า เพื่อธำรงรกั ษาพระธรรมวินัยเอาไวไ้ ม่ให้สูญหายโดยปากต่อปาก แต่กม็ ีอันตราย ที่จะคลาดเคลื่อนไปได้มาก ดังน้ันจึงเริ่มมีการจารึกพระพุทธวจนะเป็นลายลักษณ์อกั ษร โดย มีหลักฐานการจารึกเป็นลายลักษณ์อักษรคร้ังแรกบนใบลาน เม่ือ พ.ศ.433ในการสังคายนา ณ อาโลกเลนสถาน ณ มตเลชนบท ในประเทศศรีลังกา สมัยพระเจ้าวัฏฏคามินีอภัย ทรง เล็งเห็นว่าในภาวะสงคราม หากพระไตรปฎิ กถูกเกบ็ รักษาโดยการทรงจำเพียงอยา่ งเดียว อาจ ทำให้คำสอนสูญส้ินไปได้ จึงโปรดให้เร่ิมมีการบันทึกพระไตรปิฎก (Tipitaka (DTP) [ออนไลน์], http://www.dmc.tv/pages/) สำหรับในประเทศไทย นับแต่สมัยอยุธยามาจนถึงกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น คัมภีร์ ใบลานมีความสำคัญมากในการศึกษาพระธรรมวินัยของพระภิกษุสามเณร วัดเป็นศูนย์กลาง การศึกษา เป็นสำนักเรียนของกุลบุตร การจารจารึกคัมภีร์พระไตรปิฎกลงบนใบลานเป็นคร้ัง แรกของประเทศไทย เกิดข้นึ เม่ือปี พ.ศ.2020 ตรงกบั สมัยพระเจ้าติโลกราช กษัตริย์แห่งนคร พิงค์เชียงใหม่อาณาจักรล้านนา พระเจ้าติโลกราชทรงเล่ือมใส ทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา และทรงอุปถัมภ์ให้มีการสังคายนาตรวจชำระและจารจารึกพระไตรปิฎกลงในใบลาน ณ วัด โพธารามมหาวิหาร (วัดเจ็ดยอด) เมืองเชียงใหม่ พระไตรปิฎกฉบับที่สอบชำระในสมัยของ พระองคน์ ้ี ถือเป็นคมั ภีรท์ เ่ี ปน็ หลักฐานสำคัญชนิ้ หนง่ึ ของพระพทุ ธศาสนาในล้านนาทส่ี บื ทอด มาถงึ ปจั จบุ ัน (สถาบนั อนุรกั ษ์คมั ภรี ใ์ บลาน วัดสงู เม่น, 2559:23) ปจั จุบันนี้ คัมภรี ์ใบลาน ซึ่งมีเน้อื วรรณกรรมและโบราณคดีทางพุทธศาสนาจำนวน ไม่น้อย ยงั คงเหลืออยู่ในหลายวดั และชุมชน บางแหง่ ไดถ้ ูกดูแลรักษาเป็นอย่างดี ขณะที่หลาย แห่งไม่ได้รับการดูแลรักษาอยากถูกต้องและได้ถูกทำลายเป็นจำนวนมากจนไม่สามารถฟื้นฟู บรู ณะหรือนำกลับมาใช้ประโยชน์ไดอ้ ีก แมว้ า่ ยังมสี ว่ นที่เหลืออกี จำนวนมาก แตก่ อ็ ยู่ในสภาพ ท่ีทรุดโทรม ขาดการบำรุงรักษา มีการจัดการที่ไม่ถูกวิธี ไม่เหมาะสม ชุมชนไม่ได้มีส่วนร่วม ในการอนุรักษ์คัมภีร์ของชุมชนเอง รู้กันเฉพาะกลุ่ม ขาดกระบวนการการมีส่วนร่วมทาง วฒั นธรรม ของชุมชน ทำให้ชุมชนไม่เห็นคุณค่าคัมภีร์ใบลาน เป็นเหตุให้คัมภีร์ใบลานดูด้อย คุณค่าและเกิดเสียหายต่อกระบวนการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมของชุมชน ท่ีสำคัญอย่างยิ่ง

644 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) คือ ขาดการนำมาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับบริบททางสังคม ซ่ึงเป็นผลให้สังคมไทยขาดภูมิ ตา้ นทางด้านวัฒนธรรมและการสร้างความรู้ใหม่บนฐานทุนของความรู้ท่ีมีอยู่เดิม ถ้าไม่มีการ รักษาคัมภีร์อย่างดีและถูกต้อง ก็จะทำให้คัมภีร์ใบลาน ซึ่งเป็นแหล่งภูมิปัญญาที่สำคัญของ ท้องถ่ิน ของชาตแิ ละของโลก เสียหายไป ดังน้ัน การพัฒนารูปแบบการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลานของวัดและชุมชนในประเทศ ไทยโดยใชก้ ระบวนการทางวฒั นธรรมและนำเทคโนโลยปี ระยุกตใ์ ช้ จึงเป็นเร่อื งสำคัญ ในการ จัดการทรัพยากรวัฒนธรรมและการจัดการความรู้ทั้งในรูปแบบของการสรา้ งความรใู้ หม่และ การรักษาความรู้ที่มีอยู่มิให้สูญหายไปจากความทรงจำและการเรียนรู้ โดยผู้วิจัย จะได้ไป ศึกษารูปแบบการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลานของ วัดและชุมชนและสถานศึกษาท่ีสำคัญๆใน ประเทศไทยและจะนำมาพัฒนาสร้างรูปแบบการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลานต้นแบบของประเทศ ไทย ณ ชุมชนวัดสูงม่น ตำบลสูงเม่น อำเภอ สูงเม่น จังหวัดแพร่ ให้เป็น“สูงเม่นโมเดล” เน่ืองจาก เป็นวัดพระพุทธศาสนาท่ีมีคัมภีร์ใบลานจำนวนมากที่สุดในโลกและคัมภีร์ใบลาน ของที่น่ี ยังได้รับการประกาศให้ข้ึนทะเบียนเอกสารมรดกความทรงจำแห่งโลกของประเทศ ส่วนท้องถิ่น ซ่ึงเป็นวัดเดียวของประเทศไทย แม้ว่าท่ีนี่ จะมีการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลานโดยวัด และชุมชนอยู่แล้วภายใต้ สถาบันอนุรักษ์คัมภีร์ใบลาน วัดสูงเม่น แต่รูปแบบการอนุรักษ์ยัง ต้องมีการพัฒนาเพิ่มเติมอีกหลายปัจจัย ซ่ึงสมควรที่จะควรมีการพัฒนารูปแบบการอนุรักษ์ คัมภีร์ใบลานของที่นี่ให้สมบูรณ์ท่ีสุด ท้ังในส่วนของการอนุรักษ์โดยใช้กระบวนการทาง วัฒนธรรมและเทคโนโลยี ประกอบกัน เพ่ือประโยชน์ในการพัฒนารูปแบบการอนุรักษ์คัมภีร์ ใบลานแหล่งใหญ่ของประเทศไทยและเพื่อขึ้นทะเบียนเอกสารมรดกความทรงจำแห่งโลกใน ระดับสูงขึ้นต่อไป ก่อนท่ีจะขยายผลนำรูปแบบดังกล่าว ไปปฏิบัติการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลาน ณ วัดและชุมชนอื่นๆ เพื่อสร้างเครือข่ายการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลาน ด้วยการปฏิบัติการ ดงั กลา่ ว จึงนา่ จะเป็นผลให้วัดและชุมชนท่ีรับการพัฒนาเกดิ ความรู้ ความเข้าใจ และสามารถ รักษาทรัพยากรวัฒนธรรม ของชุมชน โดยเฉพาะคัมภีร์ใบลานต่างๆ ไว้ได้ อันจะเป็น ประโยชน์ ต่อวัดและชุมชนในการสร้างโอกาสและสร้างพ้ืนที่/แหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรมท่ีมี คุณค่าและควรแก่การนำมาประยุกต์ใช้ในการแก้ไขปัญหาของวัดและชุมชน เพ่ือให้เกิดความ ยั่งยืนในการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลาน อันเป็นแหล่งขุมทรัพย์ทางปัญญาและยังเป็นการรักษา ความมน่ั คง มั่นคงั่ และยง่ั ยืนของสถาบันชาติ ศาสน์และกษัตรยิ ์ สืบไป

วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 645 วตั ถปุ ระสงค์การวิจยั 1. เพื่อศึกษากระบวนการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลานของวัดและชุมชนและสถานศึกษา ของประเทศไทย 2. เพ่ือพัฒนารูปแบบการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลานของวัดและชุมชนในประเทศไทย ดว้ ยกระบวนการทางวัฒนธรรมและเทคโนโลยี 3. เพอ่ื ศึกษาแนวทางการเสริมสร้างเครือขา่ ยการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลานของวัดและ ชมุ ชนในประเทศไทยดว้ ยกระบวนการทางวฒั นธรรมและเทคโนโลยี วธิ ีดำเนนิ การวิจยั การวิจัยคร้ังน้ีเป็นการวิจัยแบบผสมผสานท้ังวิจัยในเชิงเอกสาร (Documentary Research) การวิจัยเชิงคุณภาพในภาคสนาม (Qualitative Research) และการวิจัยเชิง ปฏิบัตกิ ารแบบ LIST Model โดยใชว้ ธิ ีวิทยาวิจัยการแบบผสมผสาน 1.ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ งผใู้ หข้ ้อมลู ประชากรของการศึกษาครั้งน้ี ได้แก่ ผู้ให้ข้อมูลสำคัญในวัดและชุมชน และ สถานศึกษาท่ีมีการจัดการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลาน จำนวน 8 แห่ง ในประเทศไทยและ สัมภาษณ์จาก ผู้เช่ียวชาญด้านการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลาน แบบเจาะจง จำนวน 9 คน โดย มี ผู้ใหข้ อ้ มูลแบ่งออกเปน็ 3 กลมุ่ ในแต่ละแห่ง รวม 25 รปู /คน คอื กลุม่ ที่ 1 ระดับผู้บริหาร ตวั อยา่ งละ 1 รปู /คน รวม 8 รปู /คน กลุ่มที่ 2 ระดับปฏิบัติการ ตัวอย่างละ 1 รูป/คน รวม 8 รูป/คน เช่น จาก ฝ่ายทำกจิ กรรมอนรุ กั ษค์ ัมภีร์แบบต่างๆ/ฝ่ายบรกิ ารดา้ นงานวชิ าการของคมั ภีรใ์ บลาน กลุ่มท่ี 3 ระดับเชี่ยวชาญ จำนวน 9 รูป/คน เช่น จากการมีประสบการณ์ ในการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลานตา่ งๆ ทง้ั ในประเทศไทย และ ต่างประเทศ เป็นตน้ 2. เครอ่ื งมอื ทีใ่ ชใ้ นการวจิ ัย 1) แบบสัมภาษณ์ (Inter View) โดยผู้วิจัยใช้การสัมภาษณ์เชิงลึก (In–depth Interviews) สำหรับผู้บริหารและผู้ปฏิบัติการในวัดและชมุ ชนและสถานศึกษาที่เก่ียวข้องกับ การอนุรักษ์คัมภีร์ใบลานและผู้เช่ียวชาญท่ีมีประสบการณ์ในการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลานทั้งใน ประเทศไทยและ

646 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) 2) การจัดประชุมกลุ่มย่อย (Focus Group Discussion) โดยดำเนินการ จำนวน 2 ครั้ง ครง้ั แรกรว่ มกบั ผู้เก่ยี วขอ้ งกับการอนรุ กั ษค์ ัมภีร์ใบลานของชุมชนวัดสูงเมน่ จำนวน 30 รปู /คน หลังจากที่ร่วมกิจกรรมการอนุรกั ษค์ ัมภีรใ์ บลาน ด้วยกระบวนการทางวัฒนธรรมและ เทคโนโลยีและคร้ังที่ 2 ร่วมกับผู้เก่ียวข้องกับการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลานของชุมชนวัดร่องฟอง จำนวน 30 รูป/คน หลังจากท่ีร่วมกิจกรรมการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลาน ด้วยกระบวนการทาง วัฒนธรรมและเทคโนโลยี รูปแบบการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลานของวัดและชุมชนในประเทศไทย ดว้ ยกระบวนการทางวฒั นธรรมและเทคโนโลยี ให้สมบรู ณ์ยง่ิ ขึ้นตอ่ ไป 3) การสังเกต (Observation) เป็นการสังเกตพฤติกรรมและการแสดงออกของ ฝ่ายต่างๆที่จะทำควบคู่กับการสัมภาษณ์ผู้เก่ียวข้องและเข้าร่วมกิจกรรมกับชุมชน เพื่อให้ สามารถมองเห็นถงึ กระบวนการอนรุ ักษ์คมั ภรี ใ์ บลานของวัดและชุมชนในประเทศไทย 4) ชุดปฏิบตั กิ าร แบบ List Model เปน็ การการศึกษาเชิงปฏิบัติการแบบ LIST Model ในภาคสนาม (Field Study)ได้แก่ ชุมชนวัดสูงเม่น ตำบลสูงเม่น อำเภอสูงเม่น จังหวดั แพรแ่ ละสรา้ งเครือข่ายการอนรุ ักษ์คมั ภีร์ใบลาน อกี จำนวน 1 ชุมชน ได้แก่ ชุมชนวัด รอ่ งฟอง อำเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่ โดยประชุม/สนทนากลุ่มย่อยอบรม ปฏิบัติการแบบมี ส่วนร่วม ด้วยชุดกระบวนการเชิงพ้ืนท่ี เพ่ือพัฒนารูปแบบการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลานของ ประเทศไทยทั้งในระดบั วดั และชุมชน 3. การวิเคราะหข์ อ้ มูล วิเคราะห์ข้อมูลจากการศึกษาทั้งในเชิงเอกสาร (Documentary Research) และ ข้อมูลเชิงประจักษ์จากการสัมภาษณ์ การประชุมกลุ่มย่อย การปฏิบัติการกระบวนการเชิง พื้นที่แบบมีส่วนร่วม เป็นกระบวนศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดย ม่งุ เน้นการวิเคราะห์โดยการสรปุ ตามสาระสำคัญด้านเน้ือหาท่ีกำหนดไว้ โดยวิธีการวเิ คราะห์ เนือ้ หา (Content analysis) ตามประเด็นหัวขอ้ ท่กี ำหนด

วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 647 ผลการวจิ ยั การวิจัยเร่ือง“รูปแบบการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลานของวัดและชุมชนในประเทศไทย ด้วยกระบวนการทางวฒั นธรรมและเทคโนโลยี ผลการวจิ ัยสรปุ ผลไดด้ งั น้ี 1. กระบวนการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลานของวัดและชุมชนและสถานศึกษาของ ประเทศไทย ผลการวิจัย พบว่า มีกระบวนการอนุรักษ์ 3 ข้ันตอน ได้แก่ 1) ข้ันก่อนการ อนรุ ักษ์ 2) ข้ันปฏิบัติการอนรุ ักษ์และ3) ขัน้ สรา้ งความยั่งยนื ในการอนุรักษ์ โดยมีรายละเอยี ด ดงั น้ี ขั้นท่ี 1 ก่อนการอนุรักษ์ ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การสร้างศรัทธา ให้เกิดข้ึนกับบุคลากรที่มีส่วนเก่ียวข้องในการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลาน ซึ่งเป็นกระบวนการทาง วัฒนธรรม 2) การจัดระบบองค์กรทำงาน โดยมีการตั้งกรรมการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลานของ ชุมชน 3) การจัดทำแผนการดำเนินงาน เพ่ือจัดระบบและทิศทางการอนุรักษ์ 4) การเตรียม ความพร้อมอบรมบุคลากรในชุมชนด้านการอนุรักษ์คัมภีร์และ 5) การจัดการประเพณีเชิง พุทธ ซึ่งเป็นกระบวนการทางวัฒนธรรม) การประกาศให้การอนุรักษ์คัมภีร์ใบลาน เป็นงาน บุญทางพระพทุ ธศาสนาของชุมชน เปน็ พธิ ีขออนุญาตอนรุ กั ษค์ ัมภรี ์ใบลาน ข้ันท่ี 2 การปฏิบัติการอนุรักษ์ เป็นกระบวนการทางเทคโนโลยีในการอนุรักษ์ คมั ภรี ์ใบลานประกอบได้ 12 ขัน้ ตอน ไดแ้ ก่ 1) ผู้ปฏบิ ัตงิ านใส่ถุงมือและหน้ากากอนามัย เพ่ือ ป้องกันสุขภาพ 2) บันทึกภาพสภาพของคัมภีร์ใบลานก่อนการสำรวจ 3) ทำความสะอาดที่ เก็บคัมภีร์ใบลานอาจเป็นตู้หรือหีบธรรม ตลอดถึงสถานที่เก็บตู้คัมภีร์ใบลาน 4) สำรวจ สภาพคัมภีร์และคัดแยก คัมภีร์ท่ีสมบูรณ์ ออกจากกัน 5) จัดเรียงใบลานคัมภีร์ท่ีไม่สมบูรณ์ ให้สมบูรณ์ 6) ทำความสะอาด คัมภีร์ที่สมบูรณ์ 7) จัดคัมภีร์ใบลาน ไว้ประจำหมวดหมู่ที่ จัดระบบไว้ 8) ลงทะเบียนคัมภีร์ 9)บันทึกคัมภีร์ใบลานด้วยระบบดิจิทัล 10) ทำทะเบียน คัมภีร์ 11) ห่อคัมภีร์ ติดป้ายรหัสและ 12) เก็บคัมภีร์ซึ่งในข้ันนี้เป็นขั้นสุดท้ายของการ อนุรักษ์คัมภีร์ใบลานตามหลักวชิ าการ ด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยี แต่ก่อนจะเก็บคัมภีร์ ใบลานในห้องท่ีมีอุณหภูมิและลักษณะตามหลักวิชากรแล้ว ควรต้องมีกระบวนการทาง วัฒนธรรมท่ีเก่ียวข้อง คือ พิธีอัญเชิญคัมภีร์เก็บ โดยประกาศเชิญคณะอนุรักษ์และชาวบ้าน มาร่วมงาน เนื่องจากเป็นกจิ กรรมงานบุญของชมุ ชน มีพิธเี ปิดงาน ก็ต้องมีพธิ ปี ดิ งาน ข้ันที่ 3 สร้างความย่ังยืนในการอนรุ ักษ์ ประกอบด้วย 6 ข้ันตอน ได้แก่ 1 ) การจัดตั้งแหล่งเรียนรู้ ด้านการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลาน 2) การเผยแพร่และบริการให้เกิด

648 | Journal of MCU Ubon Review,Vol.5 No.2 (May-August 2020) ประโยชน์ ได้แก่การเผยแพร่ และ บริการภายในแหล่งเรียนท่ีมีการจัดแสดงและให้ความรู้ ดา้ นคัมภีร์ใบลานและมกี ารเผยแพร่ออกสูส่ าธารณชนภายนอก เชน่ ทางสอื่ ออไนไลน์ การจัด แสดงนิทรรศการเป็นต้น 3) การสร้างเครือข่ายอนุรักษ์คัมภีร์ใบลาน ได้แก่ เครือข่ายฝาก ความรู้ คือ การกระจายองค์ความรู้ไปยังวัดและชุมชนอื่นๆ และเครือข่ายพัฒนาการอนุรักษ์ คือ การสรา้ งเครือขา่ ยด้านต่างๆกับเครือขา่ ยอืน่ ๆ 4) การจดั ระบบยกย่อง ทั้งยกย่องบุคลากร ที่เก่ียวกับอนุรักษ์และยกย่องคัมภีร์ใบลาน ให้เป็นท่ีน่าสนใจและ 5) การประเมินผล ทั้ง ประเภทตนเองภายในองคแ์ ละพร้อมให้ภายนอกมาประเมินภายใน ด้านการอนุรักษ์คัมภีร์ใบ ลานและ6) การสืบสาน รักษาต่อยอดคุณธรรม เป็นกระบวนการทางวัฒนธรรม ท่ีใช้ การ จัดการประเพณีเชิงพุทธมาดำเนินการ ได้แก่ การจัดงานประเพณี เช่น การจัดประเพณี ตากธมั ม์ ประเพณีแห่ธัมมป์ ระเพณีไหว้ครูธัมมห์ รอื ประเพณอี ุทศิ บุญให้แก่ผสู้ ร้างธมั ม์ 2. รูปแบบการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลานของวัดและชุนในประเทศไทยด้วย กระบวนการทางวัฒนธรรมและเทคโนโลยี ผลการวิจัย พบว่า มีกระบวนการอนุรักษ์ 5 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การสร้างศรัทธา (สัมมาทิฏฐิ) 2) การจัดระบบข้อมูลและกระบวนการ ทำงาน (ศีล) 3) การปฏิบัติการอนุรักษ์ (สมาธิ) 4) การพัฒนาเป็นแหล่งเรียนรู้ (ปัญญา) เช่น พิพิธภณั ฑ์คัมภีรใ์ บลาน และ 5) การเผยขยายสู่ความยัง่ ยืน (เมตตา) โดยมีรายละเอยี ดดังน้ี ขั้นท่ี 1 การสร้างศรัทธา (สัมมาทิฏฐิ) คือ การทำให้บุคลากรที่เก่ียวข้องกับ การอนุรักษ์คัมภีร์ใบลานเห็นความสำคัญและมีความเชื่ออย่างถูกต้องในการอนุรักษ์คัมภี ร์ใบ ลาน ข้ันที่ 2 การจัดระบบข้อมูลและกระบวนการทำงาน (ศีล) ประกอบด้วย 3 ขั้นตอนสำคัญ ได้แก่ (1) การบริหารด้วยคณะกรรมการ (2) การจัดทำแผนในการการอนุรักษ์ คัมภีรใ์ บลานแบบมีส่วนรว่ มและ (3) การเตรยี มความพรอ้ มบคุ ลากรอนุรักษ์คัมภีร์ ข้นั ท่ี 3 การปฏิบตั กิ ารอนุรักษ์ (สมาธ)ิ ประกอบด้วย 2 ขั้นตอนหลัก ไดแ้ ก่ 1) การจัดการประเพณีเชิงพุทธ คือ การประกาศให้การอนุรกั ษ์เป็นงานบุญทางพระพุทธศาสนา ของชุมชนเพ่ือให้ชุมชนทุกฝ่ายมีส่วนร่วมและ 2) การอนุรักษ์ตามหลักวิชาการ หรือทาง เทคโนโลยี โดยมี 12 ข้ันตอน ได้แก่ (1) ผู้ปฏิบัติงานใส่ถุงมือและหน้ากากอนามัย เพ่ือ ป้องกันสุขภาพ (2) บันทึกภาพสภาพของคัมภีรใ์ บลานก่อนการสำรวจ (3) ทำความสะอาดที่ เก็บคัมภีร์ใบลานอาจเป็นตู้หรือหีบธรรม ตลอดถึงสถานท่ีเก็บตู้คัมภีร์ใบลาน (4) สำรวจ สภาพคัมภีร์และคัดแยก คัมภีร์ที่สมบูรณ์ออกจากกัน (5) จัดเรียงใบลานคัมภีร์ที่ไม่สมบูรณ์

วารสาร มจร อบุ ลปริทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบบั ที่ 2 (พฤษภาคม-สงิ หาคม 2563) | 649 ให้สมบูรณ์ (6) ทำความสะอาด คัมภีร์ที่สมบูรณ์ (7) สำรวจรายชื่อคัดแยกตามหมวด (8) ลงทะเบียนคัมภีร์ (9) บันทึกคัมภีร์ใบลานด้วยระบบดิจิทัล (10) ทำทะเบียนคัมภีร์ (11) หอ่ คัมภีร์ ติดป้ายรหัสและ( 12 ) เก็บคัมภีร์ ซึ่งในข้ันน้ีมีกระบวนการทางวัฒนธรรม ที่สำคัญ ได้แก่ การประกอบพธิ ีปิดงานบญุ อนุรกั ษค์ ัมภีรใ์ บลาน 1) พธิ ไี หว้พระ รับศีล 2) พธิ เี จรญิ พระ พุทธมนต์ 3) พิธีสู่ขวัญ หรือ สืบชะตาคัมภีร์ 4) พิธีขอขมา และ ไหว้ครูคัมภีร์ 5) พิธีถวาย คมั ภีร์คืนไว้ในพระพุทธศาสนา 6)กล่าวสรุปผลการอนุรักษ์คัมภีร์ 7) ประธานสงฆ์แสดงธรรม อานิสงส์การอนุรักษ์คมั ภรี ์ 8) พิธีปฏิบัตธิ รรม แผ่เมตตา อุทศิ บุญให้ผู้สรา้ งคัมภรี ์ 9) พธิ ีถวาย ผ้าป่าอนุรักษ์คัมภีร์ พระสงฆ์อนุโมทนาให้พร พิธีแห่คัมภีร์หรือแห่ธัมม์ รอบโบสถ์หรือวิหาร จำนวน 3 รอบและ 11) พิธีอัญเชิญคัมภีร์เก็บในตู้คัมภีร์ หอพระธรรมหรือหอพระไตรปิฏก หรอื สถานท่เี ก็บทีเ่ หมาะสม เช่น ศูนย์เรยี นรู้ พิพธิ ภณั ฑ์ เปน็ ต้น ขัน้ ท่ี 4 การพัฒนาเปน็ แหล่งเรียนรู้ (ปัญญา) เช่น พิพธิ ภัณฑค์ ัมภีร์ใบลาน ขัน้ ท่ี 5 การเผยขยายส่คู วามยงั่ ยืน (เมตตา) ประกอบดว้ ย 5 ขนั้ ตอน ไดแ้ ก่ 1) การเผยแพร่และบริการองค์ความรู้ด้านคัมภีร์ใบลานให้เกิดประโยชน์แก่สาธารณะชน 2) การสร้างเครือข่ายการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลาน เพื่อการแลกเปล่ียนรู้รู้ซ่ึงกันและกันโดยตลอด เครอื ข่ายพัฒนาการอนุรักษ์ คอื การสร้างเครือข่ายเพ่ือสังคมแห่งการแลกเปล่ียนเรียนรู้ซึ่งกัน และกัน 3) การจัดระบบยกย่อง ยกย่องท้ังผู้อนุรักษ์คัมภีร์และผู้เกี่ยวข้องเพ่ือกำลังใจในการ ทำงาน และยกย่องคัมภีร์ใบลานเพ่ือให้ความสำคัญเป็นที่น่าสนใจ 4) การประเมินผล เพื่อให้ ทราบผลของการพัฒนาตามแผนและเป้าหมายที่ได้กำหนดไว้ อันเป็นประโยชน์ในการ ปรับปรุงและพัฒนาต่อไปและ5) การสืบสาน รักษา ต่อยอดคุณธรรมประกอบด้วย 2 ขั้นตอน คือ (1) การสร้างธัมมทายาทเพื่อวางแผนให้บุคลากรในการสืบต่อในการอนุรักษ์ คัมภีร์ใบลาน เช่น การทำหลักสูตรเองและเปิดสอนในวัดและนอกวัด ที่สนใจและการทำ หลักสูตรร่วมกับสถาบันการศึกษา ในชุมชนหรือท่ีสนใจและ (2) การจัดงานประเพณีของ ชุมชนเป็นการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลานด้วยระบบประเพณีเชิงพุทธของชุมชน เป็นงานประจำปี เช่น ประเพณีตากธัมม์ โดยมีพิธีกรรมคือ การทำบุญอุทิศให้ผู้สร้างคัมภีร์ ผู้ถวายคัมภีร์ ผู้ อนุรักษ์และอุปถัมภ์คัมภีร์ การถวายผ้าห่อคัมภีร์ การแห่คัมภีร์ การแสดงธรรม การปฏิบัติ ธรรม การสำรวจจำนวนคัมภีร์ท่ีมีอยู่ในปัจจุบันกับทะเบียนรายช่ือคัมภีร์เดิม ท่ีทำไว้ตอน อนุรักษ์คัมภีร์คร้ังแรก การทำความสะอาดผ้าห่อคัมภีร์ การตากคัมภีร์และมีการจัด นิทรรศการอบรมเก่ียวกับคัมภีร์ใบลานในช่วยจัดงานบุญ เพื่อเป็นการถ่ายทอดและเผยแพร่