Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียนเกาะคาวิทยาคม

หลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียนเกาะคาวิทยาคม

Published by kru.aromaomam, 2022-06-16 13:04:41

Description: โรงเรียนเกาะคาวิทยาคม มีความพร้อมในการใช้หลักสูตรในปีการศึกษา ๒๕๖๕ โดยนำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง 2560) มาตรฐานการเรียนรู้และความต้องการของท้องถิ่นมาเป็นเป้าหมายและกรอบทิศทางในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินการให้บรรลุตามวัตถุประสงค์และเป้าหมาย

Search

Read the Text Version

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า | 1

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า | ก คำนำ กระทรวงศึกษาธิการได้ดาเนินการพัฒนาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยใช้ แนวคิดหลักสูตรอิงมาตรฐาน (Standard-based Curriculum) ซ่ึงเป็นรูปแบบและกระบวนการพัฒนาหลักสูตรท่ีมี มาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมาย และเป็นกรอบทิศทางในการกาหนดโครงสร้าง เน้ือหากิจกรรมการเรียนการสอน ตลอดจนการวดั และประเมนิ ผล โดยจะอิงมาตรฐานตลอดแนวตง้ั แต่ระดับชาติ ระดับทอ้ งถนิ่ ระดับสถานศึกษา ตลอด จนถึงระดับชั้นเรียน กาหนดเป็นหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐานมีมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายในการ พัฒนาผู้เรียน และในมาตรฐานการเรียนรู้จะระบุสิ่งที่ผู้เรียนพึงรู้และปฏบิ ัติได้ในลักษณะของตัวช้ีวัด เป็นทิศทางหลัก ในการจัดการเรยี นรู้ โรงเรียนเกาะคาวิทยาคม มีความพร้อมในการใช้หลักสูตรในปีการศึกษา ๒๕๖๕ โดยนาหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง 2560) มาตรฐานการเรียนร้แู ละความตอ้ งการของทอ้ งถ่ินมา เป็นเป้าหมายและกรอบทิศทางในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา เพ่ือเป็นแนวทางในการดาเนินการให้บรรลุตาม วตั ถุประสงค์และเป้าหมาย หลักสตู รโรงเรยี นเกาะคาวิทยาคม พุทธศกั ราช ๒๕๖๕ ฉบบั นี้ จะประสบความสาเร็จตามเป้าหมายท่ีคาดหวัง ได้ เม่ือทุกฝ่ายที่เก่ียวข้องทั้งระดับชาติ ชุมชน ครอบครัว และบุคคลต้องร่วมรับผิดชอบ โดยร่วมกันทางานอย่างเป็น ระบบ และต่อเนือ่ ง ในการวางแผน ดาเนินการ สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ตรวจสอบ ตลอดจนปรับปรงุ แกไ้ ข เพื่อพฒั นาผู้เรยี น ไปสคู่ ณุ ภาพตามมาตรฐานการเรียนรทู้ ี่กาหนดไว้ คณะผูจ้ ัดทา พฤษภาคม ๒๕๖๕

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า | ข ประกาศโรงเรียนเกาะคาวทิ ยาคม เร่อื ง ใหใ้ ช้หลกั สูตรโรงเรียนเกาะคาวิทยาคม พุทธศักราช ๒๕๖๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และปรับปรงุ พทุ ธศกั ราช 2560 ............................................................................. ตามทค่ี ณะกรรมการการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ไดก้ าหนดให้ใชห้ ลกั สตู รการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เพื่อให้การจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานเป็นกลยุทธ์ใหม่ในการพฒั นาคุณภาพการศึกษา ให้สามารถ ตอบ สนองความต้องการของบุคคล ชุมชน สังคม ผู้เรียนมีศักยภาพในการแข่งขันและร่วมมืออย่างสร้างสรรค์ใน สังคมโลก ตามเจตนารมณ์ของรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และพระราชบญั ญตั กิ ารศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และแก้ไขเพ่ิมเติม พ.ศ. ๒๕๕๓ เพื่อให้การนาหลักสูตร การศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ไปใชใ้ นการจดั กิจกรรมการเรียนรใู้ นโรงเรยี นเกาะคาวทิ ยาคม สามารถบรรลุ ตามวิสัยทัศน์ พันธกิจ กลยุทธ์ แผนยุทธศาสตร์ และเป้าประสงค์ของโรงเรียนท่ีกาหนดไว้ จึงได้จัดทาหลักสู ตร โรงเรยี นเกาะคาวทิ ยาคม พธุ ศกั ราช ๒๕๖๕ โดยความรว่ มมือกับชุมชน หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนเพ่ือช่วยสร้าง ผเู้ รยี นใหเ้ ปน็ คนดี คนเก่ง มคี วามสุข และมคี วามเปน็ ไทย มศี ักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชพี ทั้งน้ี หลักสูตรโรงเรียนได้รบั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เม่ือวันที่ ๑๗ เดือน พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๕ จงึ ประกาศใหใ้ ช้หลกั สตู รโรงเรียนตั้งแตบ่ ัดนเี้ ป็นต้นไป ประกาศ ณ วนั ที่ ๑๗ เดือน พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๕ ..................................................... ................................................ (นายพิเชฐ ทนิ อยู่) (นายเจนภพ ยศบุญเรอื ง) ผอู้ านวยการโรงเรยี นเกาะคาวิทยาคม ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน โรงเรียนเกาะคาวิทยาคม

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า | 1 ควำมนำ ตามทหี่ ลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 2551) มเี ป้าหมาย ของหลักสตู ร ในการพฒั นาคุณภาพผู้เรยี นและกระบวนการนาหลกั สูตรไปสู่การปฏบิ ัติในระดบั เขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาและ สถานศกึ ษา โดยไดม้ กี ารกาหนดวิสยั ทศั น์ จดุ หมาย สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐาน การเรียนรู้และตวั ช้วี ดั ทช่ี ัดเจน เพือ่ ใช้เป็นทศิ ทางในการจดั ทาหลักสูตร การเรยี นการสอนในแตล่ ะระดับ นอกจากน้ันได้ กาหนดโครงสรา้ งเวลาเรียนขั้นต่าของแตล่ ะกลุ่มสาระการเรียนรู้ในแต่ละช้ันปี ไว้ในหลักสูตรแกนกลางและเปิดโอกาส ให้สถานศึกษาเพ่ิมเติมเวลาเรียนได้ตามความพร้อมและจุดเน้น อีกท้ังได้ปรับกระบวนการวัดและประเมินผลผู้เรียน เกณฑ์การจบการศึกษาแต่ละระดับและเอกสารแสดงหลักฐานทางการศึกษาให้มีความสอดคล้องกับมาตรฐานการ เรียนรู้และมีความชดั เจนตอ่ การนาไปปฏบิ ตั ิ โรงเรียนเกาะความวทิ ยาคมจึงได้จดั ทาเปน็ หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นเกาะคาวิทยาคม ตามหลกั สูตรแกนกลาง การศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 ตามองค์ประกอบ ดังนี้ วิสัยทัศน์ “บรหิ ารจัดการศกึ ษาด้วยหลกั ธรรมาภบิ าล ก้าวทันเทคโนโลยี มคี วามรู้คูค่ ุณธรรม ดาเนนิ ชีวติ ตามวิถีไทย ใส่ใจสิ่งแวดลอ้ ม น้อมนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ ปรัชญำ พอเพยี ง” เอกลักษณ์ อัตลกั ษณ์ “เรียนดี กฬี าเดน่ เน้นวินยั ใส่ใจสง่ิ แวดลอ้ ม” “การจัดการด้านสง่ิ แวดลอ้ ม” “วถิ ีไทย วถิ พี ทุ ธ” หลักกำร หลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนเกาะคาวทิ ยาคม มีหลักการที่สาคญั ดังน้ี 1. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพ่ือความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้เป็น เป้าหมายสาหรับพฒั นาเด็กในระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 – 6 ใหม้ ีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพ้ืนฐานของ ความเปน็ ไทยควบคกู่ ับความเป็นสากล 2. เปน็ หลกั สตู รการศึกษาทใ่ี ห้นกั เรยี นทุกคนมีโอกาสไดร้ ับการศึกษาอย่างเสมอภาคและมคี ุณภาพ 3. เป็นหลักสูตรการศึกษาท่ีสนองการกระจายอานาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ให้ สอดคล้องกบั สภาพและความตอ้ งการของท้องถ่นิ

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า | 2 4. เป็นหลักสูตรการศึกษาท่ีมีโครงสร้างยืดหยุ่นทั้งด้านสาระการเรียนรู้ เวลาและการจัดการเรียนรู้ ประกอบด้วย สาระการเรยี นรู้พนื้ ฐาน เพมิ่ เตมิ กิจกรรมพฒั นาผ้เู รียน 5. เปน็ หลักสูตรการศกึ ษาที่เนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ 6. เป็นหลักสูตรการศึกษาสาหรับการศึกษาในระบบ ที่สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้และ ประสบการณ์ จดุ หมำย หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนเกาะคาวิทยาคม มุ่งพัฒนาผู้เรยี นให้เปน็ คนดี มีปัญญา มีความสขุ มศี ักยภาพใน การศกึ ษาต่อและประกอบอาชพี จึงกาหนดเป็นจดุ หมายเพอื่ ให้เกิดกับผเู้ รยี น เมอื่ จบการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน ดงั น้ี 1. มีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตาม หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาทต่ี นนับถอื ยึดหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2. มคี วามรู้ ความสามารถในการสอ่ื สาร การคิด การแกป้ ัญหา การใชเ้ ทคโนโลยแี ละมีทักษะชวี ิต 3. มีสขุ ภาพกายและสขุ ภาพจิตทดี่ ี มสี ุขนสิ ัยและรกั การออกกาลังกาย 4. มคี วามรกั ชาติ มจี ติ สานกึ ในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมนั่ ในวถิ ชี ีวติ และการปกครองตาม ระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมขุ 5. มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาส่ิงแวดล้อม มีจิต สาธารณะทีม่ ่งุ ทาประโยชนแ์ ละสร้างสิ่งท่ีดงี ามในสงั คม และอยู่รว่ มกันในสังคม อยา่ งมีความสขุ สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รยี นและคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ในการพฒั นาผู้เรียนตามหลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นเกาะคาวิทยาคม ม่งุ เนน้ พัฒนาผเู้ รยี นให้มคี ณุ ภาพตาม มาตรฐานท่ีกาหนด ซงึ่ จะชว่ ยใหผ้ เู้ รียนเกิดสมรรถนะสาคญั และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ดังน้ี สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนเกาะคาวทิ ยาคม มุ่งให้ผเู้ รยี นเกิดสมรรถนะสาคญั 5 ประการ ดงั นี้ 1. ควำมสำมำรถในกำรสื่อสำร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึกและทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสารและ ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมท้ังการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหาความ ขัดแย้งตา่ งๆ การเลอื กรับหรอื ไม่รับข้อมูลขา่ วสารดว้ ยหลักเหตุผลและความถกู ต้อง ตลอดจนการเลอื กใช้วธิ ีการสื่อสาร ทม่ี ีประสทิ ธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบทม่ี ตี อ่ ตนเองและสงั คม

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า | 3 2. ควำมสำมำรถในกำรคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการคิดเป็นระบบ เพื่อนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศเพ่ือการ ตัดสินใจเกยี่ วกบั ตนเองและสงั คมไดอ้ ย่างเหมาะสม 3. ควำมสำมำรถในกำรแก้ปัญหำ เป็นความสามารถในการแก้ปญั หาและอุปสรรคต่าง ๆ ทเี่ ผชิญ ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม บนพ้ืนฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการ เปล่ียนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา และมี การตดั สินใจทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพโดยคานงึ ถึงผลกระทบทเ่ี กิดข้นึ ตอ่ ตนเอง สงั คมและส่ิงแวดล้อม 4. ควำมสำมำรถในกำรใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่างๆ ไปใช้ในการ ดาเนินชีวิตประจาวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเน่อื ง การทางานและการอยู่ร่วมกนั ในสังคม ด้วยการ สร้างเสริมความสัมพนั ธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปญั หาและความขัดแย้งต่างๆอยา่ งเหมาะสม การปรับตวั ให้ทันกับ การเปล่ียนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พงึ ประสงค์ท่ีส่งผลกระทบต่อตนเอง และผู้อ่นื 5. ควำมสำมำรถในกำรใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือกและใช้เทคโนโลยีด้านต่างๆ มี ทกั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในดา้ นการเรยี นรู้ การส่ือสาร การทางาน การแกป้ ัญหา อยา่ งสร้างสรรค์ ถูกตอ้ ง เหมาะสมและมคี ุณธรรม คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนเกาะคาวิทยาคม มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพ่ือให้ สามารถอยรู่ ว่ มกบั ผอู้ นื่ ในสงั คมไดอ้ ยา่ งมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้ 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ 2. ซ่ือสตั ยส์ ุจริต 3. มีวินยั 4. ใฝเ่ รียนรู้ 5. อย่อู ย่างพอเพียง 6. มงุ่ มัน่ ในการทางาน 7. รักความเปน็ ไทย 8. มจี ติ สาธารณะ

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า | 4 ควำมสมั พนั ธข์ องกำรพัฒนำคุณภำพผู้เรยี นตำมหลักสตู รแกนกลำงกำรศกึ ษำขั้นพนื้ ฐำน วสิ ัยทศั น์ หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน มงุ่ พัฒนาผ้เู รียนทกุ คน ซึ่งเปน็ กาลังของชาตใิ ห้เปน็ มนุษย์ท่ีมีความสมดุล ทง้ั ดา้ นร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพ้ืนฐาน รวมท้ัง เจตคติ ท่ีจาเป็นต่อการศกึ ษาต่อ การ ประกอบอาชีพและการศกึ ษาตลอดชีวิต โดยมงุ่ เนน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคัญบนพ้ืนฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถเรยี นรู้และ พัฒนาตนเองไดเ้ ตม็ ตามศักยภาพ จุดหมำย ๑. มคี ุณธรรม จริยธรรม และคา่ นิยมท่ีพงึ ประสงค์ เห็นคุณคา่ ของตนเอง มีวินัยและปฏิบตั ิ ตนตามหลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนา หรอื ศาสนาทตี่ นนบั ถือ ยึดหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๒. มีความรูอ้ ันเป็นสากลและมีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้ เทคโนโลยแี ละมีทักษะชีวติ ๓. มสี ุขภาพกายและสขุ ภาพจิตท่ีดี มีสุขนิสยั และรกั การออกกาลงั กาย ๔. มีความรักชาติ มีจติ สานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมนั่ ในวิถชี วี ติ และการ ปกครองในระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ ๕. มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วฒั นธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาส่งิ แวดล้อม สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียน คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๑. ความสามารถในการส่อื สาร ๒. ซ่อื สัตย์สุจริต ๒. ความสามารถในการคิด ๓. มวี ินัย ๓. ความสามารถในการแก้ปญั หา ๔. ใฝเ่ รียนรู้ ๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ ๕. อยูอ่ ยา่ งพอเพยี ง ๕. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี ๖. มุง่ มน่ั ในการทางาน ๗. รักความเป็นไทย ๘. มจี ิตสาธารณะ มำตรฐำนกำรเรยี นร้แู ละตวั ชว้ี ัด ๘ กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้ กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน ๑. ภาษาไทย ๒. คณติ ศาสตร์ ๓. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๑.กจิ กรรมแนะแนว ๔. สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๕. สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ๖. ศลิ ปะ ๒.กจิ กรรมนกั เรียน ๗. การงานอาชีพ ๘. ภาษาต่างประเทศ ๓. กิจกรรมเพอื่ สงั คมและ สาธารณประโยชน์

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า | 5 ตัวชี้วดั ตวั ชี้วดั ระบุส่งิ ทนี่ กั เรียนพงึ รู้และปฏิบตั ไิ ด้ รวมทงั้ คุณลักษณะของผเู้ รยี นในแตล่ ะระดับชน้ั ซึ่งสะท้อนถงึ มาตรฐานการเรียนรู้ มีความเฉพาะเจาะจงและมีความเป็นรูปธรรม นาไปใช้ ในการกาหนดเนือ้ หา จดั ทาหนว่ ยการเรียนรู้ จดั การเรียนการสอน และเป็นเกณฑ์สาคญั สาหรบั การวัดประเมินผลเพ่อื ตรวจสอบคุณภาพผู้เรียน ๑. ตวั ช้วี ัดชัน้ ปี เป็นเปา้ หมายในการพฒั นาผเู้ รียนแตล่ ะช้นั ปีในระดบั การศกึ ษาภาคบังคับ (มธั ยมศึกษาปีที่ ๑ – มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓) ๒. ตัวช้ีวดั ช่วงช้นั เปน็ เป้าหมายในการพัฒนาผ้เู รียนในระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย (มธั ยมศึกษาปีที่ ๔- มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๖) หลกั สูตรไดม้ ีการกาหนดรหัสกากับมาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวช้ีวดั เพอื่ ความเขา้ ใจและใหส้ อื่ สารตรงกัน ดงั น้ี ว ๑.๑ ม. ๑/๒ ตัวชี้วดั ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ ๑ ข้อที่ ๒ ม.๑/๒ สาระท่ี ๑ มาตรฐานข้อที่ ๑ ๑.๑ กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ว ต ๒.๒ ม.๔-๖/ ๓ ตัวชว้ี ดั ชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย ข้อท่ี ๓ ม.๔-๖/๓ สาระที่ ๒ มาตรฐานข้อที่ ๒ ๒.๒ กลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาต่างประเทศ ต

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า | 6 สำระกำรเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ ประกอบด้วย องค์ความรู้ ทักษะหรือกระบวนการเรียนรู้ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ซึ่งกาหนดใหผ้ เู้ รียนทกุ คนในระดับการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐานจาเป็นตอ้ งเรียนรู้ โดยแบ่งเป็น ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ดงั น้ี ภำษำไทย : ความรู้ ทักษะ คณติ ศำสตร์ : การนาความรู้ วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี : การ ทกั ษะและกระบวนการทาง นาความรู้และกระบวนการทาง และวัฒนธรรมการใช้ภาษา เพอื่ การ คณิตศาสตร์ไปใชใ้ นการแกป้ ัญหา วิทยาศาสตร์ไปใชใ้ นการศึกษา ค้นควา้ สื่อสาร ความชื่นชม การเห็นคณุ ค่า การดาเนนิ ชีวิต และศึกษาต่อ หาความรู้ และแก้ปัญหาอยา่ งเปน็ ระบบ ภมู ิปัญญาไทย และภูมิใจในภาษาประจา การมีเหตุมผี ล มีเจตคตทิ ด่ี ีต่อ การคิดอย่างเปน็ เหตุเปน็ ผล คดิ ชาติ คณติ ศาสตร์ พฒั นาการคดิ อยา่ ง วเิ คราะห์ คิดสร้างสรรค์ และจติ เปน็ ระบบและสร้างสรรค์ วิทยาศาสตร์และการใชเ้ ทคโนโลยี ภำษำต่ำงประเทศ : ความรู้ องคค์ วำมรู้ ทักษะสำคัญ สงั คมศกึ ษำ ศำสนำและวัฒนธรรม : ทักษะ เจตคติ และวัฒนธรรม และคุณลกั ษณะ การอยรู่ ่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลก การใชภ้ าษาต่างประเทศในการ อย่างสนั ตสิ ุข การเปน็ พลเมืองดี ศรทั ธา สอื่ สาร การแสวงหาความรู้ ในหลกั สตู รแกนกลำงกำรศกึ ษำ ในหลักธรรมของศาสนา การเห็นคณุ ค่า ข้นั พืน้ ฐำน ของทรัพยากรและสิง่ แวดลอ้ ม ความรัก และการประกอบอาชพี ชาติ และภูมใิ จในความเปน็ ไทย กำรงำนอำชพี : ความรู้ ทกั ษะ ศลิ ปะ : ความรู้และทักษะใน สขุ ศกึ ษำและพลศึกษำ : ความรู้ และเจตคติกระบวนการในการทางาน การคิดริเรมิ่ จนิ ตนาการ ทกั ษะและเจตคตใิ นการสร้างเสริม สร้างสรรคง์ านศลิ ปะ สขุ ภาพพลานามยั ของตนเองและผอู้ ืน่ การจดั การ การดารงชีวติ สนุ ทรยี ภาพและการเหน็ การปอ้ งกันและปฏบิ ตั ิต่อสิ่งตา่ ง ๆ ที่ คุณค่าทางศิลปะ มีผลตอ่ สขุ ภาพอย่างถกู วิธีและทกั ษะ การประกอบอาชพี ในการดาเนินชีวติ

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า | 7 สำระกำรเรยี นรูท้ อ้ งถน่ิ หลักสูตรโรงเรียนเกำะคำวิทยำคม จัดการเรยี นการสอนโดยใชก้ ารสอดแทรกในรายวิชาเรยี น ๘ กลุ่มสาระการเรยี นรแู้ ละจัดเรยี นรายวิชาเพ่ิมเตมิ - อาชีพของคนในท้องถ่นิ กลมุ่ สาระฯ กลุ่มสาระฯ - วิถีชาวบ้าน การงานอาชีพ สังคมศึกษาฯ - ทรพั ยากรธรรมชาตใิ นท้องถิ่น - อาหารท้องถิน่ - ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่ิน -ประเพณวี ัฒนธรรมท้องถ่ิน -สงิ่ ประดิษฐใ์ นทอ้ งถน่ิ กลมุ่ สาระฯ มนษุ ย์เกำะคำ กลุ่มสาระฯ -ระบบนเิ วศใน - เครอื่ งมือ เคร่อื งใช้ใน ศลิ ปะ วทิ ยาศาสตร์ การดาเนนิ ชวี ิตของคนใน และเทคโนโลยี เกาะคา ทอ้ งถนิ่ - ทรพั ยากรธรรมชาติ -การฟอ้ นราพื้นบา้ น และส่ิงแวดลอ้ ม -ดนตรีพน้ื เมืองภาคเหนอื - เทคโนโลยีพน้ื บ้าน - การละเลน่ พื้นบ้าน -จติ รกรรม ประติมากรรม และสถาปตั ยกรรมพ้นื บา้ น กลุ่มสาระฯ กลมุ่ สาระฯ กลุ่มสาระฯ กลุ่มสาระฯ สุขศกึ ษาพล ภาษาไทย คณิตศาสตร์ ภาษาตา่ งประเทศ ศกึ ษา - วรรณกรรมพื้นบ้าน - การ ชั่ง ตวง วัด -ใชภ้ าษาต่างประเทศ - เกม และกีฬา คา่ ว จอ๊ ย ซอ อักษร แบบภมู ิปัญญาชาวบ้าน ถา่ ยทอดเกีย่ วกับ พ้ืนบ้าน ล้านนา ศิลปวัฒนธรรม - สมนุ ไพร - นทิ านพ้ืนบ้าน - ข้อมลู ต่างๆในทอ้ งถิ่น ประเพณีและภมู ิปัญญา พน้ื บา้ น ชาวบา้ น

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า | 8 มำตรฐำนกำรเรยี นรู้ การพัฒนาผ้เู รียนให้เกดิ ความสมดุล ต้องคานึงถึงหลกั พัฒนาการทางสมองและพหปุ ัญญา หลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน จึงกาหนดใหผ้ ู้เรยี นเรยี นรู้ ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ดังน้ี ๑. ภาษาไทย ๒. คณติ ศาสตร์ ๓. วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๔. สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ๕. สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๖. ศิลปะ ๗. การงานอาชพี ๘. ภาษาต่างประเทศ ในแต่ละกลุ่มสาระการเรยี นรู้ ได้กาหนดมาตรฐานการเรยี นรู้เป็นเปา้ หมายสาคัญของการพฒั นาคุณภาพ ผเู้ รียน มาตรฐานการเรยี นร้ไู ดร้ ะบสุ ่งิ ทผี่ เู้ รยี นพึงรู้ ปฏิบตั ิได้ มีคุณธรรมจริยธรรมและค่านยิ มที่พึงประสงค์เมื่อจบ การศึกษาในระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ ๓ และปที ี่ ๖ นอกจากนน้ั มาตรฐานการเรยี นรูย้ งั เป็นกลไกสาคญั ในการ ขับเคลอื่ นพฒั นาการศึกษาทง้ั ระบบ รวมทั้งเป็นเคร่ืองมือในการตรวจสอบ เพอ่ื การประกนั คุณภาพการศึกษา โดยใช้ ระบบการประเมินคณุ ภาพภายในและการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก ซ่งึ รวมถึงการทดสอบระดบั เขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาและ การทดสอบระดับชาติ ระบบการตรวจสอบเพอ่ื ประกันคุณภาพดงั กลา่ วเป็นสงิ่ สาคัญ ที่ช่วยสะทอ้ นภาพการจัด การศึกษา ว่าสามารถพฒั นาผ้เู รียนใหม้ ีคุณภาพ ตามทมี่ าตรฐานการเรียนรกู้ าหนดเพยี งใด สำระและมำตรฐำนกำรเรียนรู้ กลมุ่ สำระกำรเรียนรภู้ ำษำไทย สำระที่ ๑ กำรอ่ำน มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอา่ นสร้างความรแู้ ละความคิดเพ่อื นาไปใชต้ ดั แก้ปญั หาในการ ดาเนนิ ชีวิตและมีนสิ ัยรกั การอ่าน สำระท่ี ๒ กำรเขียน มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขยี น เขียนส่ือสาร เขยี นเรยี งความ ยอ่ ความ และเขยี น เรือ่ งราวในรปู แบบต่างๆ เขยี นรายงานขอ้ มลู สารสนเทศและรายงาน การศกึ ษาคน้ คว้าอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า | 9 สำระที่ ๓ กำรฟัง กำรดู และกำรพดู มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลอื กฟังและดูอยา่ งมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด ความร้สู กึ ในโอกาสต่างๆ อย่างมวี จิ ารณญาณ และสรา้ งสรรค์ สำระที่ ๔ หลกั กำรใช้ภำษำไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลักภาษาไทย การเปลยี่ นแปลงของภาษาและพลังของ ภาษาภมู ปิ ญั ญาทางภาษา และรักษา ภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบัตขิ องชาติ สำระที่ ๕ วรรณคดแี ละวรรณกรรม มำตรฐำน ท ๕.๑ เขา้ ใจและแสดงความคิดเหน็ วจิ ารณว์ รรณคดี และวรรณกรรมไทยอยา่ งเห็น คณุ ค่าและนามาประยุกต์ใช้ในชวี ติ จริง กล่มุ สำระกำรเรยี นรูค้ ณิตศำสตร์

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า | 10 สำระท่ี 1 จำนวนและพีชคณิต มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การดาเนนิ การของ จานวนผลท่เี กิดขึน้ จากการดาเนนิ การ สมบตั ิของการดาเนนิ การ และนาไปใช้ มาตรฐาน ค 1.2 เขา้ ใจและวเิ คราะหแ์ บบรูป ความสมั พันธ์ ฟังก์ชนั ลาดบั และอนกุ รม และ นาไปใช้ มาตรฐาน ค 1.3 ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ และเมทรกิ ซ์ อธบิ ายความสัมพันธ์หรอื ชว่ ยแกป้ ัญหา ท่ีกาหนดให้ สำระที่ 2 กำรวัดและเรขำคณิต มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพ้นื ฐานเกย่ี วกับการวดั วดั และคาดคะเนขนาดของส่ิงทตี่ อ้ งการวดั และ นาไปใช้ มาตรฐาน ค 2.2 เขา้ ใจและวเิ คราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณติ ความสมั พันธ์ระหวา่ ง รูปเรขาคณติ และทฤษฎบี ททางเรขาคณิต และนาไปใช้ สำระที่ 3 สถติ ิและควำมน่ำจะเป็น มาตรฐาน ค 3.1 เขา้ ใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความร้ทู างสถิติในการแกป้ ญั หา มาตรฐาน ค 3.2 เข้าใจหลกั การนับเบอ้ื งตน้ ความน่าจะเป็น และนาไปใช้ กลมุ่ สำระกำรเรียนรวู้ ิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี สำระท่ี ๑ วทิ ยำศำสตรช์ วี ภำพ มาตรฐาน ว ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของระบบนเิ วศ ความสัมพันธร์ ะหวา่ งสง่ิ ไมม่ ีชวี ิตกับ สิง่ มชี วี ติ และความสัมพันธ์ระหวา่ งส่งิ มีชีวติ กบั สิง่ มชี วี ติ ตา่ ง ๆ ในระบบนเิ วศ การถา่ ยทอดพลังงาน การเปล่ยี นแปลงแทนท่ีในระบบนเิ วศ ความหมายของ ประชากร ปญั หาและผลกระทบท่มี ตี อ่ ทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม แนวทางในการอนุรักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและการแกไ้ ขปญั หาสิ่งแวดล้อม รวมทง้ั นาความรู้ไปใช้ประโยชน์

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า | 11 มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้าใจสมบัติของส่ิงมีชวี ิต หนว่ ยพื้นฐานของสงิ่ มชี ีวติ การลาเลยี งสารเขา้ และ ออกจากเซลลค์ วามสมั พนั ธ์ของโครงสรา้ งและหน้าท่ีของระบบตา่ ง ๆของสัตว์ และมนุษย์ทีท่ างานสัมพนั ธ์กนั ความสัมพนั ธ์ของโครงสรา้ งและหนา้ ท่ขี อง อวัยวะตา่ ง ๆ ของพชื ท่ีทางานสัมพันธ์กนั รวมท้งั นาความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ มาตรฐาน ว ๑.๓ เข้าใจกระบวนการและความสาคัญของการถ่ายทอดลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมสาร พันธกุ รรม การเปลย่ี นแปลงทางพนั ธกุ รรมทีม่ ีผลต่อสิง่ มีชีวิต ความหลากหลาย ทางชวี ภาพและวิวัฒนาการของสิง่ มีชวี ิต รวมทั้งนาความรู้ไปใช้ประโยชน สำระท่ี ๒ วทิ ยำศำสตรก์ ำยภำพ มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสมบตั ิของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบตั ิของ สสารกับโครงสรา้ งและแรงยดึ เหนย่ี วระหวา่ งอนุภาค หลกั และธรรมชาติของ การเปล่ียนแปลงสถานะของสสาร การเกดิ สารละลาย และการเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมี มาตรฐาน ว ๒.๒ เข้าใจธรรมชาตขิ องแรงในชวี ติ ประจาวนั ผลของแรงทก่ี ระทาตอ่ วตั ถุ ลกั ษณะ การเคลอ่ื นทแ่ี บบต่าง ๆ ของวัตถรุ วมทง้ั นาความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์ มาตรฐาน ว ๒.๓ เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปล่ยี นแปลงและการถา่ ยโอนพลงั งาน ปฏิสมั พันธร์ ะหวา่ งสสารและพลงั งาน พลงั งานในชวี ติ ประจาวนั ธรรมชาติของ คล่ืน ปรากฏการณ์ที่เกย่ี วขอ้ งกบั เสียง แสง และคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า รวมท้ังนา ความรู้ไปใช้ประโยชน์ สำระที่ ๓ วทิ ยำศำสตร์โลก และอวกำศ มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจองคป์ ระกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวฒั นาการของเอกภพ กาแลก็ ซดี าวฤกษ์และระบบสุรยิ ะ รวมทงั้ ปฏสิ ัมพันธภ์ ายในระบบสรุ ยิ ะท่สี ง่ ผล ตอ่ สง่ิ มชี ีวติ และการประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีอวกาศ มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธข์ องระบบโลก กระบวนการเปลย่ี นแปลง ภายในโลกและบนผวิ โลก ธรณพี ิบัตภิ ัย กระบวนการเปลย่ี นแปลงลมฟ้า อากาศและภมู ิอากาศโลก รวมท้ังผลตอ่ สิง่ มชี ีวติ และสง่ิ แวดลอ้ ม

สำระท่ี ๔ เทคโนโลยี ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า | 12 มาตรฐาน ว ๔.๑ เขา้ ใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยเี พอ่ื การดารงชีวติ ในสังคมท่ีมกี าร มาตรฐาน ว ๔.๒ เปล่ยี นแปลงอยา่ งรวดเรว็ ใช้ความรูแ้ ละทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และศาสตรอ์ ่นื ๆ เพ่ือแกป้ ัญหาหรือพัฒนางานอยา่ งมคี วามคิด สรา้ งสรรค์ดว้ ยกระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่าง เหมาะสมโดยคานงึ ถึงผลกระทบต่อชวี ิต สังคม และสิ่งแวดล้อม เข้าใจและใช้แนวคดิ เชงิ คานวณในการแก้ปัญหาท่พี บในชวี ิตจริงอย่างเป็น ขน้ั ตอนและเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรยี นรู้ การทางาน และการแก้ปัญหาได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ รู้เท่าทัน และมี จริยธรรม กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้สังคมศึกษำ ศำสนำและวฒั นธรรม สำระที่ ๑ ศำสนำ ศลี ธรรม จริยธรรม มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้ และเขา้ ใจประวัติ ความสาคญั ศาสดา หลักธรรมของพระพทุ ธศาสนา หรอื ศาสนาที่ตนนบั ถอื และศาสนาอน่ื มศี รทั ธาท่ีถูกตอ้ ง ยึดมัน่ และปฏบิ ัติ ตามหลักธรรม เพอื่ อย่รู ่วมกันอยา่ งสันติสุข มาตรฐาน ส ๑.๒ เข้าใจ ตระหนกั และปฏิบตั ิตนเป็นศาสนกิ ชนท่ีดี และธารงรกั ษา พระพทุ ธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนบั ถือ สำระท่ี ๒ หนำ้ ที่พลเมือง วัฒนธรรม และกำรดำเนนิ ชวี ิตในสังคม มาตรฐาน ส ๒.๑ เขา้ ใจและปฏบิ ตั ิตนตามหนา้ ท่ีของการเปน็ พลเมืองดี มคี ่านยิ มทีด่ ีงาม และ ธารงรกั ษาประเพณีและวฒั นธรรมไทย ดารงชีวติ อยรู่ ่วมกนั ในสงั คมไทย และ สังคมโลกอย่างสนั ติสขุ มาตรฐาน ส ๒.๒ เขา้ ใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบนั ยดึ มน่ั ศรัทธา และ ธารงรักษาไวซ้ ึง่ การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ท์ รง เปน็ ประมุข

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า | 13 สำระที่ ๓ เศรษฐศำสตร์ มาตรฐาน ส ๓.๑ เข้าใจและสามารถบรหิ ารจัดการทรพั ยากรในการผลิตและการบริโภค การ ใช้ ทรพั ยากรท่ีมอี ยู่จากัดได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเขา้ ใจ หลักการของเศรษฐกจิ พอเพียง เพ่อื การดารงชวี ิตอยา่ งมีดลุ ยภาพ มาตรฐาน ส ๓.๒ เข้าใจระบบ และสถาบนั ทางเศรษฐกจิ ต่าง ๆ ความสัมพนั ธ์ทางเศรษฐกิจ และความจาเป็นของการร่วมมือกนั ทางเศรษฐกิจในสงั คมโลก สำระที่ ๔ ประวัตศิ ำสตร์ มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสาคญั ของเวลาและยุคสมยั ทางประวัตศิ าสตร์ สามารถใช้วิธกี ารทางประวัตศิ าสตรม์ าวเิ คราะห์เหตุการณต์ ่างๆ อย่างเปน็ ระบบ มาตรฐาน ส ๔.๒ เขา้ ใจพัฒนาการของมนุษยชาตจิ ากอดตี จนถึงปัจจบุ นั ในด้านความสัมพันธ์ และการเปลี่ยนแปลงของเหตกุ ารณ์อยา่ งตอ่ เนื่อง ตระหนกั ถงึ ความสาคัญ และสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดข้ึน มาตรฐาน ส ๔.๓ เขา้ ใจความเปน็ มาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มคี วามรัก ความภูมใิ จและธารงความเปน็ ไทย สำระท่ี ๕ ภูมิศำสตร์ มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสมั พนั ธ์ของสรรพสง่ิ ซ่งึ มีผล ตอ่ กนั และกนั ในระบบของธรรมชาติ ใช้แผนท่แี ละเคร่ืองมอื ทางภูมิศาสตร์ ในการค้นหา วเิ คราะห์ สรปุ และใชข้ ้อมูลภมู สิ ารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏสิ ัมพันธ์ระหว่างมนษุ ย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อใหเ้ กิด การสรา้ งสรรค์วฒั นธรรม มจี ติ สานกึ และมีส่วนรว่ มในการอนรุ ักษ์ทรัพยากร และส่งิ แวดล้อม เพื่อการพฒั นาทย่ี ่งั ยนื

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า | 14 กล่มุ สำระกำรเรียนร้สู ขุ ศกึ ษำและพลศึกษำ สำระท่ี ๑ กำรเจรญิ เติบโตและพัฒนำกำรของมนษุ ย์ มาตรฐาน พ ๑.๑ เขา้ ใจธรรมชาติของการเจริญเติบโตและพฒั นาการของมนษุ ย์ สำระท่ี ๒ ชวี ิตและครอบครวั มาตรฐาน พ ๒.๑ เข้าใจและเหน็ คุณค่าตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมที กั ษะในการดาเนิน ชีวิต สำระท่ี ๓ กำรเคล่อื นไหว กำรออกกำลงั กำย กำรเลน่ เกม กีฬำไทย และกีฬำสำกล มาตรฐาน พ ๓.๑ เขา้ ใจ มีทกั ษะในการเคล่อื นไหว กิจกรรมทางกาย การเลน่ เกม และกีฬา มาตรฐาน พ ๓.๒ รักการออกกาลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกฬี า ปฏิบตั ิเปน็ ประจาอย่าง สมา่ เสมอ มวี ินัย เคารพสิทธิ กฎ กตกิ า มนี ้าใจนักกีฬา มจี ิตวญิ ญาณในการ แขง่ ขนั และชื่นชมในสุนทรยี ภาพของการกฬี า สำระท่ี ๔ กำรสร้ำงเสริมสุขภำพ สมรรถภำพและกำรป้องกนั โรค มาตรฐาน พ ๔.๑ เหน็ คุณค่าและมีทกั ษะในการสรา้ งเสรมิ สุขภาพ การดารงสุขภาพ การป้องกัน โรคและการสร้างเสริมสมรรถภาพเพ่อื สขุ ภาพ สำระท่ี ๕ ควำมปลอดภยั ในชีวติ มาตรฐาน พ ๕.๑ ปอ้ งกนั และหลกี เลี่ยงปัจจยั เส่ยี ง พฤติกรรมเส่ยี งต่อสุขภาพ อบุ ัติเหตุ การใชย้ า สารเสพติด และความรนุ แรง กลุ่มสำระกำรเรยี นรศู้ ลิ ปะ สำระท่ี ๑ ทัศนศิลป์ มาตรฐาน ศ ๑.๑ สร้างสรรค์งานทัศนศลิ ป์ตามจนิ ตนาการ และความคิดสรา้ งสรรค์ วิเคราะห์ วพิ ากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศลิ ป์ ถ่ายทอดความรสู้ ึก ความคิดตอ่ งานศลิ ปะ อย่างอสิ ระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชวี ติ ประจาวัน มาตรฐาน ศ ๑.๒ เข้าใจความสมั พันธ์ระหวา่ งทศั นศิลป์ ประวตั ิศาสตร์ และวฒั นธรรม เหน็ คุณค่า งานทศั นศลิ ป์ที่เปน็ มรดกทางวฒั นธรรม ภูมปิ ญั ญาท้องถนิ่ ภมู ปิ ัญญาไทยและ สากล

สำระท่ี ๒ ดนตรี ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า | 15 มาตรฐาน ศ ๒.๑ เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสรา้ งสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษว์ จิ ารณ์คุณค่า มาตรฐาน ศ ๒.๒ ดนตรี ถ่ายทอดความร้สู ึก ความคิดต่อดนตรีอยา่ งอิสระ ชื่นชม และประยกุ ต์ใช้ สำระที่ ๓ นำฏศลิ ป์ ในชีวติ ประจาวนั มาตรฐาน ศ ๓.๑ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวตั ศิ าสตร์ และวัฒนธรรม เหน็ คุณค่าของ ดนตรที เ่ี ปน็ มรดกทางวฒั นธรรม ภูมิปัญญาท้องถิน่ ภมู ปิ ญั ญาไทยและสากล มาตรฐาน ศ ๓.๒ เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศลิ ป์อย่างสรา้ งสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษ์ วจิ ารณ์ คณุ ค่านาฏศลิ ป์ ถา่ ยทอดความร้สู ึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยกุ ต์ใช้ ในชีวติ ประจาวัน เข้าใจความสัมพนั ธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์และวฒั นธรรม เหน็ คุณคา่ ของ นาฏศิลปท์ ีเ่ ป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภมู ปิ ญั ญาท้องถิ่น ภมู ิปญั ญาไทยและสากล กล่มุ สำระกำรเรียนรกู้ ำรงำนอำชีพ สำระท่ี ๑ กำรดำรงชวี ิตและครอบครัว มาตรฐาน ง ๑.๑ เข้าใจการทางาน มคี วามคิดสร้างสรรค์ มีทักษะกระบวนการทางาน ทกั ษะ การจดั การ ทกั ษะกระบวนการแก้ปัญหา ทกั ษะการทางานรว่ มกนั และทักษะ การแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และลกั ษณะนสิ ัยในการทางาน มจี ิตสานึกใน การใช้พลงั งาน ทรพั ยากร และส่ิงแวดล้อม เพอื่ การดารงชวี ิตและครอบครวั สำระที่ 2 กำรอำชีพ มาตรฐาน ง ๔.๑ เขา้ ใจ มที กั ษะทจ่ี าเปน็ มีประสบการณ์ เห็นแนวทางในงานอาชีพ ใช้เทคโนโลยเี พื่อพัฒนาอาชีพ มีคุณธรรม และมีเจตคตทิ ่ีดีตอ่ อาชพี กลมุ่ สำระกำรเรียนร้ภู ำษำต่ำงประเทศ สำระท่ี ๑ ภำษำเพอ่ื กำรสอื่ สำร มาตรฐาน ต ๑.๑ เขา้ ใจและตีความเรื่องท่ีฟังและอ่านจากสื่อประเภทตา่ งๆ และแสดงความคิดเห็น อยา่ งมเี หตผุ ล

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า | 16 มาตรฐาน ต ๑.๒ มที กั ษะการสือ่ สารทางภาษาในการแลกเปลย่ี นข้อมลู ข่าวสาร แสดงความรสู้ ึก และความคิดเห็นอย่างมีประสทิ ธิภาพ มาตรฐาน ต ๑.๓ นาเสนอข้อมลู ขา่ วสาร ความคิดรวบยอด และความคดิ เหน็ ในเรื่องต่าง ๆ โดยการพดู และการเขยี น สำระท่ี ๒ ภำษำและวฒั นธรรม มาตรฐาน ต ๒.๑ เขา้ ใจความสมั พนั ธ์ระหว่างภาษากบั วัฒนธรรมของเจา้ ของภาษา และนาไปใชไ้ ด้ อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะ มาตรฐาน ต ๒.๒ เขา้ ใจความเหมอื นและความแตกต่างระหวา่ งภาษาและวัฒนธรรมของ เจ้าของ ภาษากับภาษาและวฒั นธรรมไทย และนามาใชอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและเหมาะสม สำระที่ ๓ ภำษำกับควำมสมั พนั ธก์ ับกลมุ่ สำระกำรเรียนรูอ้ น่ื มาตรฐาน ต ๓.๑ ใช้ภาษาต่างประเทศในการเช่ือมโยงความรู้กบั กลุ่มสาระการเรียนรู้อืน่ และเปน็ พ้ืนฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทศั น์ของตน สำระท่ี ๔ ภำษำกบั ควำมสัมพนั ธก์ บั ชุมชนและโลก มาตรฐาน ต ๔.๑ ใชภ้ าษาตา่ งประเทศในสถานการณต์ ่างๆ ทั้งในสถานศึกษา ชมุ ชน และสังคม มาตรฐาน ต ๔.๒ ใชภ้ าษาตา่ งประเทศเปน็ เคร่ืองมือพน้ื ฐานในการศกึ ษาต่อ การประกอบอาชพี และการแลกเปล่ียนเรียนรูก้ บั สังคมโลก หลักสูตรมำตรฐำนสำกล ระดบั มัธยมศกึ ษำตอนตน้ (จดั ในวชิ ำเพ่มิ เติม) กำรศึกษำคน้ คว้ำอสิ ระ (Independent Study : IS) ระดับมัธยมศกึ ษำตอนตน้ วชิ า IS1 1. ตั้งประเด็นปญั หาโดยเลอื กประเดน็ ที่สนใจ เรม่ิ จากตนเอง ชุมชนท้องถิ่น ประเทศ 2. ต้ังสมมติฐานประเด็นปญั หาทีต่ นเองสนใจ 3. ออกแบบ วางแผน ใชก้ ระบวนการรวบรวมข้อมลู อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า | 17 4. ศึกษา ค้นคว้า แสวงหาความรเู้ กี่ยวกบั ประเด็นท่เี ลือกจากแหล่งเรยี นรู้ ทห่ี ลากหลาย 5. ตรวจสอบความน่าเช่ือถือของแหลง่ ทม่ี าของข้อมูลได้ วิชา IS2 6. วิเคราะหข์ อ้ ค้นพบด้วยสถิตทิ ีเ่ หมาะสม 7. สังเคราะห์ สรุปองค์ความร้ดู ้วยกระบวนการกลมุ่ 8. เสนอแนวคิด การแก้ปญั หาอย่างเป็นระบบดว้ ยองคค์ วามรูจ้ ากการค้นพบ 9. เหน็ ประโยชนแ์ ละคุณคา่ ของการศกึ ษาค้นคว้าด้วยตนเอง 1. วางโครงร่างการเขียนตามหลักเกณฑ์ องคป์ ระกอบและวิธกี ารเขยี น โครงร่าง 2. เขียนรายงานการศกึ ษาคน้ ควา้ เชิงวิชาการภาษาไทย ความยาว 2,500 คา วิชา IS๓ จัดอยูใ่ นกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น(เพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน/์ IS3) ระดับมัธยมศกึ ษำตอนปลำย วิชา IS1 1. ต้งั ประเด็นปญั หา จากสถานการณป์ ัจจุบันและสังคมโลก 2. ตัง้ สมมติฐานและให้เหตุผลทส่ี นบั สนนุ หรือโตแ้ ย้งประเด็นความรจู้ าก สาขาวชิ าต่าง ๆ และมที ฤษฎีรองรับ 3. ออกแบบ วางแผน ใชก้ ระบวนการรวบรวมข้อมลู อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 4. ศึกษา ค้นควา้ แสวงหาความร้เู ก่ียวกบั ประเด็นที่เลือกจากแหล่งเรียนรู้ ท่มี ปี ระสิทธภิ าพ 5. ตรวจสอบความน่าเชอ่ื ถอื ของแหล่งทีม่ าของขอ้ มูล 6. วเิ คราะห์ข้อค้นพบดว้ ยสถิติทีเ่ หมาะสม 7. สงั เคราะห์ สรุปองค์ความรู้ด้วยกระบวนการกลุม่ 8. เสนอแนวคิด การแกป้ ัญหาอย่างเป็นระบบดว้ ยองคค์ วามรจู้ ากการค้นพบ

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า | 18 วิชา IS2 1. วางโครงรา่ งการเขียนตามหลกั เกณฑ์ องค์ประกอบและวิธีการเขยี น โครงร่าง 2. เขียนรายงานการศกึ ษาค้นคว้าเชงิ วชิ าการภาษาไทย ความยาว 4,500 คา หรือภาษาองั กฤษความยาว 2,000 คา วชิ า IS๓ จัดอย่ใู นกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น(เพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน/์ IS3) กจิ กรรมพัฒนำผู้เรยี น กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น มุ่งให้ผเู้ รียนได้พฒั นาตนเองตามศักยภาพ พัฒนาอย่างรอบดา้ นเพ่ือความเป็น มนุษยท์ ส่ี มบูรณ์ ท้ังรา่ งกาย สติปญั ญา อารมณ์ และสงั คม เสริมสร้างให้เปน็ ผู้มีศลี ธรรม จริยธรรม มรี ะเบยี บ วินัย ปลกู ฝงั และสรา้ งจิตสานึกของการทาประโยชนเ์ พ่อื สงั คม สามารถจัดการตนเองได้ และอยู่ร่วมกับผอู้ น่ื อยา่ งมีความสุข กจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รยี น แบง่ เป็น ๓ ลักษณะ ดงั นี้ ๑. กจิ กรรมแนะแนว เปน็ กิจกรรมทีส่ ง่ เสรมิ และพัฒนาผเู้ รยี นใหร้ จู้ ักตนเอง รู้รกั ษ์สิง่ แวดล้อม สามารถคดิ ตัดสินใจ คิด แก้ปัญหา กาหนดเป้าหมาย วางแผนชีวิตท้ังด้านการเรียน และอาชพี สามารถปรับตนไดอ้ ย่างเหมาะสม นอกจากนี้ยังชว่ ยใหค้ รรู ้จู กั และเขา้ ใจผูเ้ รยี น ท้ังยังเปน็ กิจกรรมทีช่ ่วยเหลือและให้คาปรึกษาแก่ผู้ปกครองใน การมสี ่วนรว่ มพัฒนาผเู้ รียน ๒. กิจกรรมนกั เรยี น เปน็ กจิ กรรมทมี่ ่งุ พฒั นาความมีระเบียบวนิ ยั ความเปน็ ผู้นาผู้ตามที่ดี ความรบั ผดิ ชอบ การทางาน ร่วมกนั การรจู้ กั แกป้ ญั หา การตัดสินใจทเ่ี หมาะสม ความมีเหตุผล การชว่ ยเหลอื แบ่งปันกัน เออื้ อาทร และ สมานฉันท์ โดยจัดให้สอดคล้องกับความสามารถ ความถนดั และความสนใจของผเู้ รยี น ให้ได้ปฏบิ ัติด้วยตนเอง ในทกุ ขนั้ ตอน ได้แก่ การศึกษาวเิ คราะห์วางแผน ปฏิบัติตามแผน ประเมินและปรบั ปรงุ การทางาน เน้นการ ทางานรว่ มกนั เปน็ กลุ่ม ตามความเหมาะสมและสอดคล้องกบั วุฒิภาวะของผเู้ รยี น บริบทของสถานศึกษาและ ท้องถิ่น กิจกรรมนกั เรยี นประกอบด้วย ๒.๑ กจิ กรรมลกู เสือ เนตรนารี ผู้บาเพ็ญประโยชน์ และนกั ศกึ ษาวิชาทหาร ๒.๒ กจิ กรรมชุมนุม (กจิ กรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน)์

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า | 19 ๓. กิจกรรมเพ่อื สงั คมและสำธำรณประโยชน์ เป็นกิจกรรมท่ีส่งเสรมิ ให้ผเู้ รียนบาเพ็ญตนให้เปน็ ประโยชน์ตอ่ สงั คม ชุมชน และท้องถ่นิ ตามความ สนใจในลกั ษณะอาสาสมคั ร เพอ่ื แสดงถงึ ความรบั ผิดชอบ ความดีงาม ความเสียสละตอ่ สงั คม มีจติ สาธารณะ เช่น กิจกรรมอาสาพฒั นาต่าง ๆ กจิ กรรมสรา้ งสรรคส์ งั คม โดยจัดไว้ในกิจกรรมชมุ นุม ในระดบั มัธยมศึกษา ตอนตน้ จดั ไว้ ๑๕ ชั่วโมง/ปี และในระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย จดั ไว้ ๖๐ ชัว่ โมง/ชว่ งชั้น ระดับกำรศึกษำ หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนเกาะคาวิทยาคม จัดระดบั การศึกษาเป็น ๒ ระดบั ดังน้ี ๑. ระดับมัธยมศึกษำตอนต้น (ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๑ – ๓) เป็นช่วงสุดท้ายของการศึกษาภาคบังคับ มุ่งเน้นให้ผเู้ รยี นได้สารวจความถนัดและความสนใจของตนเอง สง่ เสรมิ การพัฒนาบุคลิกภาพสว่ นตน มีทักษะใน การคิดวิจารณญาณ คิดสร้างสรรค์ และคิดแก้ปัญหา มีทักษะในการดาเนินชีวิต มีทักษะการใช้เทคโนโลยเี พือ่ เป็นเคร่อื งมอื ในการเรยี นรู้ มีความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม มคี วามสมดุลทัง้ ดา้ นความรู้ ความคดิ ความดงี าม และมี ความภมู ใิ จในความเปน็ ไทย ตลอดจนใชเ้ ปน็ พ้นื ฐานในการประกอบอาชพี หรือการศกึ ษาต่อ ๒. ระดบั มธั ยมศกึ ษำตอนปลำย (ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ ๔ – ๖) การศกึ ษาระดับนเ้ี นน้ การเพิม่ พูนความรู้ และทกั ษะเฉพาะดา้ น สนองตอบความสามารถ ความถนดั และความสนใจของผู้เรียนแตล่ ะคนท้งั ด้านวิชาการและ วิชาชีพ มีทกั ษะในการใชว้ ิทยาการและเทคโนโลยี ทกั ษะกระบวนการคดิ ขนั้ สงู สามารถนาความรไู้ ปประยกุ ต์ใช้ ให้เกิดประโยชนใ์ นการศึกษาต่อและการประกอบอาชีพ มงุ่ พฒั นาตนและประเทศตามบทบาทของตน สามารถ เปน็ ผู้นา และผู้ให้บริการชุมชนในดา้ นต่าง ๆ กำรจดั เวลำเรยี น หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรียนเกาะคาวทิ ยาคม ได้กาหนดกรอบโครงสร้างเวลาเรยี นข้ันตา่ สาหรับกลุ่ม สาระการเรียนรู้ ๘ กลุ่ม และกจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รยี น ซึ่งสถานศึกษาสามารถเพ่ิมเติมได้ตามความพรอ้ มและจุดเน้น โดยสามารถปรับให้เหมาะสมตามบรบิ ทของสถานศกึ ษาและสภาพของผู้เรียน ดงั น้ี ๑. ระดับช้นั มัธยมศึกษาตอนต้น (ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี ๑ – ๓) ใหจ้ ัดเวลาเรียนเป็นรายภาค มีเวลาเรียนวันละไม่เกิน ๖ ชวั่ โมง คิดน้าหนกั ของรายวิชาที่เรียนเปน็ หน่วยกิต ใชเ้ กณฑ์ ๔๐ ชว่ั โมงต่อภาคเรียน มีค่าน้าหนกั วิชา เท่ากบั ๑ หนว่ ยกติ (นก.) ๒ . ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย (ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๔ - ๖) ใหจ้ ัดเวลาเรยี นเปน็ รายภาค มีเวลาเรียน วนั ละไม่นอ้ ยกว่า ๖ ชวั่ โมง คิดนา้ หนกั ของรายวิชาที่เรียนเป็นหนว่ ยกติ ใชเ้ กณฑ์ ๔๐ ชวั่ โมง ตอ่ ภาคเรยี น มคี ่า นา้ หนักวิชา เท่ากบั ๑ หนว่ ยกติ (นก.) ๓. กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี นทีก่ าหนดไว้ในชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่๑ี - ๓ ปลี ะ ๓๒๐ ชัว่ โมง และชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๔-๖ จานวน ๓๖๐ ชั่วโมงนนั้ เป็นเวลาสาหรับปฏบิ ัตกิ ิจกรรมแนะแนวกิจกรรมนกั เรียน และ

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า | 20 กิจกรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน์ ในสว่ นกิจกรรมเพ่อื สังคมและสาธารณประโยชนใ์ หส้ ถานศึกษา จัดสรรเวลาให้ผู้เรยี นไดป้ ฏบิ ัตกิ ิจกรรม ดงั น้ี ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น (ม.๑-๓) รวม ๓ ปี จานวน ๔๕ ช่วั โมง ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย (ม.๔-๖) รวม ๓ ปี จานวน ๖๐ ชั่วโมง กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน ๑) ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ ๑.๑) กิจกรรมแนะแนว จานวน ๔๐ ชัว่ โมง/ปี ๑.๒) กจิ กรรมนักเรียน - กิจกรรมลูกเสอื เนตรนารี จานวน ๔๐ ชั่วโมง/ปี - กิจกรรมชมุ นมุ จานวน ๒๕ ชว่ั โมง/ปี ๑.๓.) กิจกรรมเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน์ จานวน ๑๕ ชั่วโมง/ปี ๒) ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย ๒.๑) กิจกรรมแนะแนว จานวน ๑๒๐ ชั่วโมง/ช่วงชั้น ๒.๒) กจิ กรรมนักเรยี น - กิจกรรมผบู้ าเพญ็ ประโยชน์ จานวน ๑๒๐ ช่ัวโมง/ช่วงชนั้ - กิจกรรมชุมนุม จานวน ๖๐ ชั่วโมง/ช่วงช้ัน ๒.๓) กจิ กรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณะประโยชน์ จานวน ๖๐ ชั่วโมง/ช่วงช้นั

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า | 21 กำรจัดกำรเรยี นรู้ การจดั การเรยี นรเู้ ปน็ กระบวนการสาคญั ในการนาหลกั สูตรสู่การปฏิบัติ หลักสูตรแกนกลางการศึกษา ข้ันพื้นฐาน เป็นหลักสูตรท่ีมีมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะสาคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรยี น เปน็ เปา้ หมายสาหรับพฒั นาเดก็ และเยาวชน ใน ก าร พัฒ น าผู้เรียน ให้มีคุณสมบัติตามเป้าหมายหลัก สูตร ผู้สอ น พ ยายามคัดสร ร กระบวนการเรียนรู้ จัดการเรียนรู้โดยช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้ผ่านสาระท่ีกาหนดไว้ในหลักสูตร ๘ กลุ่มสาระการ เรียนรู้ รวมทั้งปลูกฝังเสริมสร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์ พัฒนาทักษะต่างๆ อันเป็นสมรรถนะสาคัญให้ ผเู้ รียนบรรลุตามเปา้ หมาย ๑. หลกั กำรจัดกำรเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้เพ่ือให้ผู้เรียนมีความรคู้ วามสามารถตามมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะสาคัญ แ ล ะ คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ อั น พึ ง ป ร ะ ส ง ค์ ต า ม ท่ี ก า ห น ด ไ ว้ ใ น ห ลั ก สู ต ร แ ก น ก ล า ง ก า ร ศึ ก ษ า ข้ันพ้ืนฐาน โดยยึดหลักว่า ผู้เรียนมีความสาคัญท่ีสุด เช่ือว่าทุกคนมีความสามารถเรยี นรูแ้ ละพัฒนาตนเองได้ ยึดประโยชนท์ เ่ี กิดกับผเู้ รียน กระบวนการจัดการเรียนรู้ต้องสง่ เสรมิ ให้ผู้เรียน สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและ เต็มตามศักยภาพ คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสมองเน้นให้ความสาคัญท้ังความรู้ และคุณธรรม ๒. กระบวนกำรเรียนรู้ การจัดการเรียนรทู้ ี่เนน้ ผู้เรียนเป็นสาคัญ ผู้เรียนจะต้องอาศัยกระบวนการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย เป็นเครื่องมือท่ีจะนาพาตนเองไปสู่เป้าหมายของหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ที่จาเป็นสาหรับผู้เรียน อาทิ กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการคิด กระบวนการทางสังคม กระบวนการเผชิญสถานการณแ์ ละแก้ปัญหา กระบวนการเรยี นรจู้ ากประสบการณ์จรงิ กระบวนการปฏบิ ตั ลิ ง มือทาจริง กระบวนการจดั การ กระบวนการวจิ ัย กระบวนการเรียนรู้การเรียนรู้ของตนเอง กระบวนการพัฒนา ลกั ษณะนิสัย กระบวนการเหล่าน้ีเป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ท่ีผู้เรียนควรได้รับการฝึกฝน พัฒนา เพราะ จะสามารถช่วยให้ผู้เรยี นเกิดการเรียนรไู้ ด้ดี บรรลุเป้าหมายของหลักสูตร ดงั นัน้ ผ้สู อนจึงจาเปน็ ต้องศกึ ษาทา ความเข้าใจในกระบวนการเรียนรู้ต่าง ๆ เพ่ือให้สามารถเลือกใช้ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ได้อย่าง มี ประสทิ ธภิ าพ ๓. กำรออกแบบกำรจัดกำรเรยี นรู้ ผู้สอนต้องศกึ ษาหลักสตู รสถานศกึ ษาให้เขา้ ใจถงึ มาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ช้วี ัด สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสาระการเรียนรูท้ ่ีเหมาะสมกบั ผู้เรียน แล้วจึงพิจารณาออกแบบ

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า | 22 การจัดการเรียนรู้โดยเลือกใช้วิธีสอนและเทคนิคการสอน ส่ือ/แหล่งเรียนรู้ การวัดและประเมินผล เพื่อให้ ผเู้ รยี นไดพ้ ัฒนาเตม็ ตามศกั ยภาพและบรรลตุ ามเปา้ หมายท่กี าหนด ๔. บทบำทของผู้สอนและผู้เรียน การจัดการเรียนรเู้ พื่อใหผ้ ู้เรียนมีคุณภาพตามเป้าหมายของหลักสูตร ทั้งผู้สอนและผู้เรียนควรมี บทบาท ดังน้ี ๔.๑ บทบำทของผูส้ อน ๑) ศกึ ษาวิเคราะห์ผูเ้ รียนเปน็ รายบุคคล แล้วนาขอ้ มลู มาใช้ในการวางแผน การจดั การเรียนรู้ ทที่ ้าทายความสามารถของผเู้ รียน ๒) กาหนดเปา้ หมายทีต่ อ้ งการใหเ้ กิดขึ้นกับผูเ้ รียน ด้านความรแู้ ละทกั ษะ กระบวนการ ทเี่ ปน็ ความคดิ รวบยอด หลักการ และความสมั พันธ์ รวมทงั้ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ๓) ออกแบบการเรียนรู้และจัดการเรยี นร้ทู ่ีตอบสนองความแตกต่างระหวา่ งบคุ คลและ พฒั นาการทางสมอง เพอื่ นาผูเ้ รียนไปสูเ่ ป้าหมาย ๔) จัดบรรยากาศท่เี อื้อตอ่ การเรียนรู้ และดูแลช่วยเหลอื ผูเ้ รียนใหเ้ กิดการเรยี นรู้ ๕) จัดเตรยี มและเลอื กใชส้ ื่อให้เหมาะสมกบั กิจกรรม นาภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่ิน เทคโนโลยีทเี่ หมาะสมมาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรยี นการสอน ๖) ประเมนิ ความกา้ วหนา้ ของผ้เู รียนดว้ ยวธิ ีการทีห่ ลากหลาย เหมาะสมกับ ธรรมชาตขิ องวชิ าและระดบั พฒั นาการของผเู้ รียน ๗) วิเคราะห์ผลการประเมนิ มาใชใ้ นการซ่อมเสรมิ และพฒั นาผเู้ รียน รวมท้งั ปรับปรงุ การจัดการเรยี นการสอนของตนเอง ๔.๒ บทบำทของผู้เรียน ๑) กาหนดเปา้ หมาย วางแผน และรบั ผิดชอบการเรยี นรู้ของตนเอง ๒) เสาะแสวงหาความรู้ เขา้ ถึงแหล่งการเรียนรู้ วิเคราะห์ สงั เคราะหข์ อ้ ความรู้ ตง้ั คาถาม คดิ หาคาตอบหรอื หาแนวทางแกป้ ญั หาด้วยวธิ กี ารต่าง ๆ ๓) ลงมอื ปฏบิ ตั ิจรงิ สรุปส่ิงทไ่ี ดเ้ รียนร้ดู ้วยตนเอง และนาความรไู้ ปประยุกต์ใช้ ในสถานการณต์ า่ ง ๆ

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า | 23 ๔) มปี ฏิสมั พันธ์ ทางาน ทากจิ กรรมรว่ มกบั กล่มุ และครู ๕) ประเมนิ และพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของตนเองอยา่ งต่อเนือ่ ง สือ่ กำรเรยี นรู้ สื่อการเรียนรู้เป็นเคร่ืองมือส่งเสริมสนับสนุนการจัดการกระบวนการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนเข้าถึงความรู้ ทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะตามมาตรฐานของหลักสูตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่ือการเรียนรู้มี หลากหลายประเภท ทัง้ สอ่ื ธรรมชาติ สอื่ ส่ิงพิมพ์ สอ่ื เทคโนโลยี และเครอื ข่าย การเรยี นรู้ต่างๆ ทมี่ ใี น ท้องถ่นิ การเลอื กใชส้ อ่ื ควรเลอื กใหม้ ีความเหมาะสมกบั ระดับพฒั นาการ และลีลาการเรยี นรู้ท่หี ลากหลายของ ผู้เรียน การจดั หาส่ือการเรยี นรู้ ผเู้ รียนและผูส้ อนสามารถจัดทาและพัฒนาข้นึ เอง หรือปรับปรงุ เลือกใชอ้ ย่าง มคี ุณภาพจากสือ่ ต่างๆ ทม่ี ีอยรู่ อบตวั เพ่ือนามาใช้ประกอบในการจัดการเรยี นรู้ทส่ี ามารถส่งเสริมและสื่อสารให้ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ โดยสถานศึกษาควรจัดให้มีอย่างพอเพียง เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่าง แท้จริง สถานศึกษา เขตพ้ืนท่ีการศึกษา หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องและผู้มีหน้าท่ีจัดการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน ควร ดาเนินการดังน้ี ๑. จัดให้มีแหล่งการเรียนรู้ ศูนย์ส่ือการเรียนรู้ ระบบสารสนเทศการเรียนรู้ และเครือข่าย การเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพทั้งในสถานศึกษาและในชุมชน เพ่ือการศึกษาค้นคว้าและการแลกเปล่ียน ประสบการณก์ ารเรียนรู้ ระหวา่ งสถานศกึ ษา ท้องถิน่ ชุมชน สงั คมโลก ๒. จัดทาและจดั หาสอ่ื การเรียนรู้สาหรบั การศึกษาคน้ คว้าของผู้เรียน เสริมความรู้ให้ผู้สอน รวมทั้ง จดั หาสง่ิ ทมี่ ีอยใู่ นทอ้ งถิ่นมาประยุกตใ์ ชเ้ ป็นส่ือการเรยี นรู้ ๓. เลือกและใช้สื่อการเรยี นรูท้ ี่มีคณุ ภาพ มคี วามเหมาะสม มีความหลากหลาย สอดคล้อง กับ วธิ ีการเรียนรู้ ธรรมชาตขิ องสาระการเรียนรู้ และความแตกต่างระหวา่ งบคุ คลของผู้เรียน ๔. ประเมินคณุ ภาพของสอ่ื การเรียนร้ทู ่เี ลือกใชอ้ ย่างเปน็ ระบบ ๕. ศกึ ษาค้นควา้ วิจยั เพ่อื พฒั นาสือ่ การเรยี นรใู้ หส้ อดคล้องกับกระบวนการเรยี นรู้ของผเู้ รยี น ๖. จัดให้มีการกากับ ติดตาม ประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพเก่ียวกับส่ือและการใช้ส่ือ การเรียนรู้เป็นระยะๆ และสม่าเสมอ ในการจัดทา การเลอื กใช้ และการประเมินคุณภาพสือ่ การเรยี นรู้ทใี่ ช้ในสถานศกึ ษา ควรคานงึ ถงึ หลกั การสาคญั ของส่ือการเรียนรู้ เชน่ ความสอดคลอ้ งกับหลกั สตู ร วัตถปุ ระสงค์การเรียนรู้ การ ออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรู้ การจดั ประสบการณ์ให้ผู้เรียน เน้ือหามคี วามถกู ต้องและทันสมยั ไมก่ ระทบ ความมนั่ คงของชาติ ไม่ขัดต่อศีลธรรม มกี ารใชภ้ าษาท่ถี กู ต้อง รูปแบบการนาเสนอทีเ่ ข้าใจงา่ ย และนา่ สนใจ

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า | 24 โครงสรำ้ งหลกั สตู รโรงเรยี นเกำะคำวทิ ยำคม กล่มุ สำระกำรเรยี นร้/ู เวลำเรียน ระดบั มัธยมศกึ ษำตอน กิจกรรม ระดับมธั ยมศึกษำตอนตน้ ปลำย (แผนวทิ ย)์  กล่มุ สำระกำรเรยี นรู้ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ – ๖ ภำษำไทย ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๒๔๐ (๖ นก.) คณิตศำสตร์ ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๒๔๐ (๖ นก.) วทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยี 32๐ (8 นก.) สงั คมศึกษำ ๑6๐ (4 นก.) ๑6๐ (4 นก.) ๑6๐ (4 นก.) ๒๔๐ (๖ นก.) ประวัติศำสตร์ 80 (2 นก.) สขุ ศกึ ษำและพลศึกษำ ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ศลิ ปะ ๑๒๐ (๓ นก.) กำรงำนอำชพี ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) 4๐ (1 นก.) ภำษำตำ่ งประเทศ ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๒๔๐ (๖ นก.) รวมเวลำเรียน (พืน้ ฐำน ) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๑,๖4๐ (๔1 นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) 2,46๐(61.5 นก.)  รำยวิชำเพิ่มเตมิ  กิจกรรมพัฒนำผเู้ รียน ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.)  กิจกรรมแนะแนว ๘๘๐ (๒๒ นก.) ๘๘๐ (๒๒ นก.) ๘๘๐ (๒๒ นก.) ๓๖๐ (๙ นก.) ๓๖๐ (๙ นก.) ๓๒๐ (๘ นก.) ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๑๒๐  กิจกรรมนกั เรยี น - ลกู เสอื เนตรนารี 40 40 40 - ผู้บาเพ็ญประโยชน์ นักศึกษาวชิ า - - - ๑๒๐ ทหาร ๖๐ 60 - ชมุ นุม 25 25 25 ๓๖๐  กิจกรรมเพอ่ื สังคมและ 15 15 15 - สำธำรณประโยชน์ รวมเวลำกจิ กรรมพัฒนำผ้เู รยี น ๑๒0 ๑๒0 ๑๒0 *กจิ กรรมลดเวลำเรียนเพม่ิ เวลำรู้ 40 40 40 รวมเวลำเรียนท้ังหมด ๑,360 ๑,36๐ ๑,๓20 4,46๐ *กจิ กรรมลดเวลำเรยี นเพมิ่ เวลำรู้ ไม่นบั รวมกับเวลำเรียนทัง้ หมด

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า | 25 โครงสร้ำงหลกั สูตรโรงเรยี นเกำะคำวทิ ยำคม กล่มุ สำระกำรเรยี นรู้/ เวลำเรียน ระดบั มธั ยมศึกษำตอน กิจกรรม ระดับมัธยมศกึ ษำตอนต้น ปลำย (แผนศิลปท์ ว่ั ไป)  กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ ม. ๑ ม. ๒ ม. ๓ ม. ๔ – ๖ ภำษำไทย ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๒๔๐ (๖ นก.) คณติ ศำสตร์ วทิ ยำศำสตร์ ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๒๔๐ (๖ นก.) สังคมศึกษำ 32๐ (8 นก.) ประวัตศิ ำสตร์ ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๒๔๐ (๖ นก.) สุขศกึ ษำและพลศกึ ษำ 80 (2 นก.) ศลิ ปะ ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) กำรงำนอำชีพ ๑๒๐ (๓ นก.) ภำษำตำ่ งประเทศ ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) ๔๐ (๑ นก.) 4๐ (1 นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๒๔๐ (๖ นก.) รวมเวลำเรียน (พืน้ ฐำน ) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๑,๖4๐ (๔๑ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๘๐ (๒ นก.) ๑,60๐(๔0 นก.)  รำยวิชำเพมิ่ เติม  กิจกรรมพัฒนำผเู้ รียน ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.) ๑๒๐ (๓ นก.)  กิจกรรมแนะแนว ๘๘๐ (๒๒ นก.) ๘๘๐ (๒๒ นก.) ๘๘๐ (๒๒ นก.) ๓๖๐ (๙ นก.) 36๐ (9 นก.) ๓๒๐ (๘ นก.)  กจิ กรรมนกั เรยี น - ลกู เสือ เนตรนารี ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๑๒๐ - ผู้บาเพ็ญประโยชน์ นกั ศกึ ษาวิชา ทหาร 40 40 40 ๑๒๐ - ชุมนมุ - - - ๖๐  กิจกรรมเพือ่ สงั คมและ 25 25 25 ๖0 สำธำรณประโยชน์ 15 15 15 ๓๖๐ รวมเวลำกิจกรรมพฒั นำผู้เรียน ๑๒0 ๑๒0 ๑๒0 - *กิจกรรมลดเวลำเรยี นเพมิ่ เวลำรู้ 40 40 40 ๑,360 ๑,36๐ ๑,๓20 ๓,2๔0 รวมเวลำเรยี นทั้งหมด *กจิ กรรมลดเวลำเรียนเพมิ่ เวลำรู้ ไมน่ ับรวมกับเวลำเรยี นท้ังหมด

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า | 26 โครงสร้ำงหลักสตู รสถำนศึกษำ โรงเรยี นเกำะคำวิทยำคม ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษำปีที่ ๑ ปีกำรศึกษำ ๒๕๖5 ภำคเรยี นที่ ๑ ภำคเรียนท่ี ๒ รำยวชิ ำ หน่วยกติ /ชม. รำยวชิ ำ หน่วยกติ /ชม. ๑๑.๐ ๔๔๐ รำยวิชำพืน้ ฐำน ๑๑.๐ ๔๔๐ รำยวิชำพน้ื ฐำน ๑.๕ ๖๐ ๑.๕ ๖๐ ท๒๑๑๐๑ ภาษาไทย 1 ๑.๕ ๖๐ ท๒๑๑๐๒ ภาษาไทย 2 ๑.๕ ๖๐ 0.5 2๐ ค๒๑๑๐๑ คณติ ศาสตร์ 1 ๑.๕ ๖๐ ค๒๑๑๐๒ คณิตศาสตร์ 2 ๑.๕ ๖๐ ๐.๕ ๒๐ ว๒๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์ 1 ๑.๕ ๖๐ ว๒๑๑๐๒ วทิ ยาศาสตร์ 2 ๐.๕ ๒๐ ๐.๕ ๒๐ ว21103 วทิ ยาการคานวณ 1 0.5 2๐ ว21104 การออกแบบและเทคโนโลยี 1 ๑.๐ ๔๐ 0.5 2๐ ส๒๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา 1 ๑.๕ ๖๐ ส๒๑๑๐๒ สงั คมศึกษา 2 ๑.๕ ๖๐ 4.๐ ๑๖๐ ส๒๑๑๐๓ ประวตั ศิ าสตร์ 1 ๐.๕ ๒๐ ส๒๑๑๐๔ ประวัติศาสตร์ 2 ๑.๐ ๔๐ ๑.๐ ๔๐ พ๒๑๑๐๑ สุขศึกษา 1 ๐.๕ ๒๐ พ๒๑๑๐2 สขุ ศกึ ษา 2 ๑.๐* ๔.๐ พ๒๑๑๐3 พลศึกษา ๑ ๐.๕ ๒๐ พ๒๑๑๐๔ พลศกึ ษา ๒ ๑.๐ ๔.๐ ๑.๐* ๔๐ ศ๒๑๑๐๑ ศลิ ปะ 1 ๑.๐ ๔๐ ศ๒๑๑๐๒ ศลิ ปะ2 ๑.๐* ๔๐ ๑.๐* ๔๐ ง๒๑๑๐๑ การงานอาชีพ 1 0.5 2๐ ง๒๑๑๐๒ การงานอาชีพ 2 ๑.๐* ๔.๐ ๑.๐* ๔๐ อ๒๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ 1 ๑.๕ ๖๐ อ๒๑๑๐๒ ภาษาองั กฤษ 2 ๑.๐* ๔.๐ 15.0 600 รำยวิชำเพม่ิ เตมิ 5.๐ ๒๐๐ รำยวิชำเพม่ิ เตมิ 60 ว๒๑๒๔๑ การผลติ สอื่ สิง่ พมิ พ์ 1 ๑.๐ ๔๐ ว๒๑๒๔๒ การผลิตส่ือสง่ิ พิมพ์ 2 20 จ๒1๒๐๑ ภาษาจีน ๑ ๑.๐ ๔๐ จ๒1๒๐๒ ภาษาจนี ๒ 20 12 IS๑ (I21201) คน้ ควา้ และสร้างองคค์ วามรู้ ๑ ๑.๐ ๔๐ 8 20 ง21271 หลักสูตรการมงี านทา 1 ๑.๐* ๔.๐ ง21272 หลักสตู รการมงี านทา 2 ๖8๐ ท๒๑๒๐๑ การใช้ห้องสมุด ๑ ๑.๐ ๔.๐ ท๒๑๒๐๒ การใช้หอ้ งสมดุ ๒ ค๒๑๒๐๑ คณิตศาสตร์เพมิ่ เติม ๑ ๑.๐* ๔๐ ค๒๑๒๐๒ คณิตศาสตร์เพ่มิ เติม ๒ ว๒๑๒๐1 พฤกษศาสตร์ในท้องถ่ิน ๑.๐* ๔๐ ว๒๑๒๐2 สนุกกบั โครงงานวทิ ยาศาสตร์ ศ๒๑๒๑๑ ปฏิบัติเครื่องดนตรี ๑ ๑.๐* ๔.๐ ศ๒๑๒1๒ ปฏิบตั เิ ครื่องดนตรี 2 ศ21221 นาฏศลิ ป์ 1 ๑.๐* ๔.๐ ศ21222 นาฏศลิ ป์ 2 อ๒๑๒๐๑ องั กฤษอ่าน-เขยี น ๑ ๑.๐* ๔๐ อ๒๑๒๐๒ องั กฤษอา่ น-เขียน ๒ พ21201 กีฬา 1 ๑.๐* ๔.๐ พ21202 กฬี า 2 รวม 16.0 640 รวม กิจกรรมพัฒนำผูเ้ รียน 60 กิจกรรมพัฒนำผูเ้ รียน  กิจกรรมแนะแนว ๒๐  กิจกรรมแนะแนว  กจิ กรรมนักเรียน  กจิ กรรมนักเรียน - ลกู เสอื เนตรนารี ๒๐ - ลกู เสือ เนตรนารี - ชุมนมุ 13 - ชมุ นมุ  กจิ กรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน์ 7  กจิ กรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ กิจกรรมลดเวลำเรยี นเพ่ิมเวลำรู้ ๒๐ กจิ กรรมลดเวลำเรียนเพม่ิ เวลำรู้ รวมเวลำเรยี นท้ังสน้ิ 72๐ รวมเวลำเรยี นท้ังส้ิน *เลอื กเรียนอยำ่ งนอ้ ย 1 วชิ ำ/ภำคเรยี น

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า | 27 โครงสร้ำงหลักสตู รสถำนศกึ ษำ โรงเรยี นเกำะคำวิทยำคม ระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษำปที ่ี 2 ปกี ำรศกึ ษำ ๒๕๖5 ภำคเรียนท่ี ๑ ภำคเรยี นท่ี ๒ รำยวชิ ำ หนว่ ยกติ /ชม. รำยวิชำ หน่วยกติ /ชม. ๑๑.๐ ๔๔๐ รำยวชิ ำพืน้ ฐำน ๑๑.๐ ๔๔๐ รำยวิชำพื้นฐำน ๑.๕ ๖๐ ๑.๕ ๖๐ ท๒๒๑๐๑ ภาษาไทย 3 ๑.๕ ๖๐ ท๒๒๑๐๒ ภาษาไทย 4 ๑.๕ ๖๐ 0.5 2๐ ค๒๒๑๐๑ คณิตศาสตร์ 3 ๑.๕ ๖๐ ค๒๒๑๐๒ คณติ ศาสตร์ 4 ๑.๕ ๖๐ ๐.๕ ๒๐ ว๒๒๑๐๑ วิทยาศาสตร์ 3 ๑.๕ ๖๐ ว๒๒๑๐๒ วิทยาศาสตร์ 4 ๐.๕ ๒๐ ๐.๕ ๒๐ ว22103 วทิ ยาการคานวณ 2 0.5 2๐ ว22104 การออกแบบและเทคโนโลยี 2 ๑.๐ ๔๐ 0.5 2๐ ส๒๒๑๐๑ สังคมศกึ ษา 3 ๑.๕ ๖๐ ส๒๒๑๐2 สังคมศกึ ษา 4 ๑.๕ ๖๐ ๔.๐ ๑๖๐ ส๒๒๑๐3 ประวตั ศิ าสตร์ ๓ ๐.๕ ๒๐ ส๒๒๑๐๔ ประวัตศิ าสตร์ ๔ ๑.๐ ๔๐ ๑.๐ ๔๐ พ๒๒๑๐๑ สุขศกึ ษา 3 ๐.๕ ๒๐ พ๒๒๑๐2 สขุ ศึกษา 4 ๑.๐* ๔๐ พ๒๒๑๐3 พลศึกษา ๓ ๐.๕ ๒๐ พ๒๒๑๐๔ พลศกึ ษา ๔ ๑.๐* ๔.๐ ๑.๐* ๔๐ ศ๒๒๑๐๑ ศลิ ปะ 3 ๑.๐ ๔๐ ศ๒๒๑๐๒ ศิลปะ 4 ๑.๐* ๔๐ ๑.๐* ๔๐ ง๒๒๑๐๑ การงานอาชพี 3 0.5 2๐ ง๒๒๑๐๒ การงานอาชพี 4 ๑.๐* ๔๐ ๑.๐* ๔๐ อ๒๒๑๐๑ ภาษาอังกฤษ 3 ๑.๕ ๖๐ อ๒๒๑๐๒ ภาษาอังกฤษ 4 ๑.๐* ๔.๐ 1๕.๐ 600 รำยวชิ ำเพ่มิ เติม 5.๐ ๒๐๐ รำยวิชำเพม่ิ เตมิ 60 ว๒๒๒๔๓ คอมพิวเตอร์สร้างสรรค์ ๑ ๑.๐ ๔๐ ว๒๒๒๔๔ คอมพิวเตอร์สร้างสรรค์ ๒ ๒๐ จ๒2๒๐๓ ภาษาจนี ๓ ๑.๐ ๔๐ จ๒2๒๐๔ ภาษาจนี ๔ ๒๐ 12 IS๒ (I22201) การสอ่ื สารและการนาเสนอ ๑ ๑.๐ ๔๐ 8 ๒๐ ง๒2273 หลักสูตรการมีงานทา 3 ๑.๐* ๔๐ ง๒2274 หลักสูตรการมีงานทา 4 ๖80 ท๒๒๒๐๑ วรรณกรรมพืน้ บา้ น ๑ ๑.๐* ๔.๐ ท๒๒๒๐๒ วรรณกรรมพ้ืนบ้าน ๒ ค๒๒๒๐๑ คณติ ศาสตร์เพ่มิ เตมิ ๓ ๑.๐* ๔๐ ค๒๒๒๐๒ คณิตศาสตร์เพิม่ เตมิ ๔ ว๒๒๒๐1 ของเล่นเชิงวิทยาศาสตร์ ๑.๐* ๔๐ ว๒๒๒๐2 สเต็มศกึ ษา ศ๒๒๒๑๑ ปฏบิ ัตดิ นตรสี ากลตามถนดั ๑ ๑.๐* ๔๐ ศ๒๒๒๑๒ ปฏบิ ัตดิ นตรสี ากลตามถนดั ๒ ศ๒๒๒23 นาฏศิลป์ 3 ๑.๐* ๔๐ ศ๒๒๒24 นาฏศลิ ป์ 4 อ๒๒๒๐๑ องั กฤษอา่ น-เขียน ๓ ๑.๐* ๔๐ อ๒๒๒๐๒ อังกฤษอา่ น-เขยี น ๔ พ22201 กฬี า 3 ๑.๐* ๔.๐ พ22202 กีฬา 4 รวม 1๖.๐ 640 รวม กจิ กรรมพฒั นำผเู้ รียน 60 กจิ กรรมพัฒนำผูเ้ รียน  กจิ กรรมแนะแนว ๒๐  กจิ กรรมแนะแนว  กิจกรรมนกั เรียน  กจิ กรรมนกั เรียน ลูกเสือ เนตรนารี ๒๐ ลกู เสอื เนตรนารี ชุมนุม 13 ชุมนุม ชมรม  กจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ 7  กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์ กิจกรรมลดเวลำเรียนเพิ่มเวลำรู้ ๒๐ กจิ กรรมลดเวลำเรยี นเพ่ิมเวลำรู้ รวมเวลำเรยี นทงั้ ส้ิน ๗20 รวมเวลำเรยี นท้ังส้นิ *เลอื กเรยี นอย่ำงนอ้ ย 1 วชิ ำ/ภำคเรยี น

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า | 28 โครงสรำ้ งหลักสูตรสถำนศึกษำ โรงเรียนเกำะคำวิทยำคม ระดับชัน้ มัธยมศกึ ษำปที ่ี 3 ปีกำรศกึ ษำ ๒๕๖5 ภำคเรียนท่ี ๑ ภำคเรยี นที่ ๒ รำยวิชำ หน่วยกติ /ชม. รำยวชิ ำ หน่วยกติ /ชม. ๑๑.๐ ๔๔๐ รำยวชิ ำพืน้ ฐำน ๑๑.๐ ๔๔๐ รำยวชิ ำพื้นฐำน ๑.๕ ๖๐ ๑.๕ ๖๐ ท๒๓๑๐๑ ภาษาไทย 5 ๑.๕ ๖๐ ท๒๓๑๐๒ ภาษาไทย 6 ๑.๕ ๖๐ 0.5 2๐ ค๒๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ 5 ๑.๕ ๖๐ ค๒๓๑๐๒ คณติ ศาสตร์ 6 ๑.๕ ๖๐ ๐.๕ ๒๐ ว๒๓๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ 5 ๑.๕ ๖๐ ว๒๓๑๐๒ วิทยาศาสตร์ 6 ๐.๕ ๒๐ ๐.๕ ๒๐ ว23103 วทิ ยาการคานวณ 3 0.5 2๐ ว23104 การออกแบบและเทคโนโลยี 3 ๑.๐ ๔๐ 0.5 2๐ ส๒๓๑๐๑ สงั คมศึกษา 5 ๑.๕ ๖๐ ส๒๓๑๐2 สงั คมศกึ ษา 6 ๑.๕ ๖๐ 4.๐ ๑๖๐ ส๒๓๑๐3 ประวัติศาสตร์ ๕ ๐.๕ ๒๐ ส๒๓๑๐๔ ประวตั ิศาสตร์ ๖ ๑.๐ ๔๐ ๑.๐ ๔๐ พ๒๓๑๐๑ สุขศกึ ษา 5 ๐.๕ ๒๐ พ๒๓๑๐2 สขุ ศึกษา 6 ๑.๐ ๔๐ ๑.๐ ๔.๐ พ๒๓๑๐3 พลศกึ ษา ๕ ๐.๕ ๒๐ พ๒๓๑๐๔ พลศึกษา ๖ ๑.๐ ๔๐ ศ๒๓๑๐๑ ศลิ ปะ 5 ๑.๐ ๔๐ ศ๒๓๑๐๒ ศิลปะ 6 ๑.๐ ๔๐ 1.0 40 ง๒๓๑๐๑ การงานอาชีพ5 0.5 2๐ ง๒๓๑๐๒ การงานอาชพี 6 ๑.๐ ๔๐ ๑.๐ ๔๐ อ๒๓๑๐๑ ภาษาองั กฤษ 5 ๑.๕ ๖๐ อ๒๓๑๐๒ ภาษาองั กฤษ 6 ๑.๐ ๔.๐ 15.๐ 600 รำยวิชำเพ่มิ เตมิ 4.๐ ๑๖๐ รำยวิชำเพิ่มเติม 60 ว๒๓๒๔๕ การนาเสนองาน ๑ ๑.๐ ๔๐ ว๒๓๒๔๖ การนาเสนองาน ๒ ๒๐ จ๒3๒๐๕ ภาษาจนี ๕ ๑.๐ ๔๐ จ๒3๒๐๖ ภาษาจนี ๖ ๒๐ 12 ง๒๓๒7๕ หลกั สตู รการมงี านทา 5 ๑.๐ ๔๐ ง๒๓๒7๖ หลกั สูตรการมงี านทา 6 8 ๒๐ ท๒๓๒๐๑ เสรมิ ทกั ษะภาษาไทย ๑ ๑.๐ ๔.๐ ท๒๓๒๐๒ เสรมิ ทกั ษะภาษาไทย ๒ ๖8๐ ค๒3๒๐1 คณิตศาสตร์เพมิ่ เตมิ ๕ ๑.๐ ๔๐ ค๒3๒๐2 คณิตศาสตร์เพ่มิ เตมิ ๖ พลงั งานทดแทนกับการใช้ ว๒3๒๐1 สารเคมีในชวี ติ ประจาวัน ๑.๐ ๔๐ ว๒3๒๐2 ประโยชน์ ศ23211 ดนตรสี ากล 1 1.0 40 ศ23212 ดนตรีสากล 2 ศ๒๓๒25 นาฏศลิ ป์ 5 ๑.๐ ๔๐ ศ๒๓๒26 นาฏศลิ ป์ 6 อ๒๓๒๐๑ อังกฤษอ่าน-เขียน ๕ ๑.๐ ๔๐ อ๒๓๒๐๒ อังกฤษอา่ น-เขยี น ๖ พ23201 กฬี า 5 ๑.๐ ๔.๐ พ23202 กีฬา 6 รวม 15.๐ 600 รวม กิจกรรมพัฒนำผเู้ รยี น 60 กจิ กรรมพัฒนำผูเ้ รียน  กจิ กรรมแนะแนว ๒๐  กจิ กรรมแนะแนว  กิจกรรมนักเรียน  กิจกรรมนกั เรียน ลูกเสอื เนตรนารี ๒๐ ลกู เสอื เนตรนารี ชมุ นุม 13 ชุมนมุ  กจิ กรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชน์/IS3 7  กจิ กรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ กิจกรรมลดเวลำเรียนเพิ่มเวลำรู้ ๒๐ กจิ กรรมลดเวลำเรียนเพ่มิ เวลำรู้ รวมเวลำเรียนทัง้ สน้ิ ๖8๐ รวมเวลำเรยี นทั้งส้ิน *เลอื กเรียนอยำ่ งน้อย 1 วิชำ/ภำคเรียน

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า | 29 โครงสรำ้ งหลกั สูตรสถำนศึกษำ โรงเรียนเกำะคำวิทยำคม ระดับชน้ั มธั ยมศึกษำปีท่ี 4 (แผนกำรเรยี นวทิ ยำศำสตร์ - คณิตศำสตร์) ปกี ำรศึกษำ ๒๕๖5 ภำคเรียนที่ ๑ ภำคเรยี นที่ ๒ รายวชิ า หนว่ ยกติ /ชม. รายวชิ า หน่วยกติ /ชม. 6.5 260 7.5 300 รำยวิชำพื้นฐำน รำยวิชำพน้ื ฐำน ๑.๐ ๔๐ ๑.๐ ๔๐ ท๓๑๑๐๑ ภาษาไทย 1 ๑.๐ ๔๐ ท๓๑๑๐๒ ภาษาไทย 2 ๑.๐ ๔๐ ค๓๑๑๐๑ คณิตศาสตร์ 1 0.5 2๐ ค๓๑๑๐๒ คณิตศาสตร์ 2 ๑.5 6๐ ว๓๑๑01 วิทยาการคานวณ ๑ ๑.๐ ๔๐ ว๓๑๑๐2 วทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพ ๑.๐ ๔๐ ส๓๑๑๐๑ สังคมศกึ ษา 1 ๐.๕ ๒๐ ส๓๑๑๐๒ สังคมศึกษา 2 ๐.๕ ๒๐ ส๓๑๑๐3 ประวตั ิศาสตร์ ๑ ๐.๕ ๒๐ ส๓๑๑๐๔ ประวตั ศิ าสตร์ ๒ ๐.๕ ๒๐ พ๓๑๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพละศึกษา 1 ๐.๕ ๒๐ พ๓๑๑๐๒ สขุ ศึกษาและพละศึกษา 2 ๐.๕ ๒๐ ศ๓๑๑๐๑ ศิลปศึกษา ๑ ๐.๕ ๒๐ ศ๓๑๑๐๒ ศลิ ปศกึ ษา ๒ 0.5 20 ง๓๑๑๐๑ การงานอาชีพ 1 ๑.๐ ๔๐ ว31103 การออกแบบและเทคโนโลยี 1 ๑.๐ ๔๐ อ๓๑๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๑ 9.5 38๐ อ๓๑๑๐๒ ภาษาองั กฤษ ๒ 10.๐ 4๐0 รำยวิชำเพมิ่ เติม ๒.๐ ๘๐ รำยวชิ ำเพิ่มเติม ๒.๐ ๘๐ ค๓๑๒๐๑ คณติ ศาสตร์เพมิ่ เตมิ ๑ ๑.๐ ๔๐ ค๓๑๒๐๒ คณติ ศาสตร์เพิ่มเตมิ ๒ ๑.๐ ๔๐ อ๓๑๒๐๑ ภาษาองั กฤษอ่าน-เขียน ๑ ๑.๐ ๔๐ อ๓๑๒๐๒ ภาษาอังกฤษอ่าน-เขยี น ๒ ๑.๐ ๔๐ จ๓๑๒๐๑ ภาษาจนี ๑ ๑.๐ ๔๐ จ๓๑๒๐๒ ภาษาจนี ๒ ๑.๐ ๔๐ ว๓๑๒8๑ งานกราฟิก ๑ ๑.๕ ๖๐ ว๓๑๒8๒ งานกราฟกิ ๒ ๑.๕ ๖๐ ว๓๑๒๒๑ เคมี ๑ ๑.๕ ๖๐ ว๓1๒๒๒ เคมี ๒ ๑.๕ ๖๐ ว๓๑๒๔๑ ชวี วทิ ยา ๑ ๑.๕ ๖๐ ว๓1๒๔๒ ชวี วทิ ยา ๒ ๒.๐ ๘๐ ว๓๑๒๐๑ ฟสิ กิ ส์ ๑ 16 640 ว๓๑๒๐๒ ฟิสิกส์ ๒ 17.5 700 รวม 60 รวม 60 ๒๐ ๒๐ กจิ กรรมพฒั นำผูเ้ รยี น กจิ กรรมพัฒนำผู้เรยี น ๒๐ ๒๐  กจิ กรรมแนะแนว 10  กิจกรรมแนะแนว 10 10 10  กจิ กรรมนกั เรียน  กจิ กรรมนกั เรียน ผู้บาเพญ็ ประโยชน/์ นศท. ผ้บู าเพญ็ ประโยชน/์ นศท. ชุมนมุ ชมุ นุม  กจิ กรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์  กจิ กรรมเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน์ รวมเวลำเรียนทง้ั สิน้ ๗0๐ รวมเวลำเรียนทัง้ สิ้น 760

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า | 30 โครงสรำ้ งหลกั สูตรสถำนศกึ ษำ โรงเรียนเกำะคำวทิ ยำคม ระดับช้นั มัธยมศกึ ษำปีที่ 5 (แผนกำรเรียนวิทยำศำสตร์ - คณิตศำสตร)์ ปกี ำรศึกษำ ๒๕๖5 ภำคเรยี นที่ ๑ หนว่ ยกติ /ชม. ภำคเรยี นท่ี ๒ หน่วยกติ /ชม. รำยวิชำ 7.5 300 รำยวชิ ำ 7.0 280 รำยวชิ ำพน้ื ฐำน รำยวชิ ำพ้ืนฐำน ๑.๐ ๔๐ ๑.๐ ๔๐ ๑.๐ ๔๐ ท๓๒๑๐๑ ภาษาไทย 3 ๑.๐ ๔๐ ท๓๒๑๐๒ ภาษาไทย 4 ๑.๐ ๔๐ ค๓๒๑๐๑ คณติ ศาสตร์ 3 ๑.๐ ๔๐ ค๓๒๑๐๒ คณิตศาสตร์ 4 ๐.๕ ๒๐ ส๓๒๑๐๑ สงั คมศกึ ษา 3 ๐.๕ ๒๐ ส๓๒๑๐2 สังคมศกึ ษา 4 ๑.5 6๐ ส๓๒๑๐3 ประวัตศิ าสตร์ ๓ ๑.5 6๐ ส๓๒๑๐๔ ประวตั ิศาสตร์ ๔ ๐.๕ ๒๐ ว๓2101 วิทยาศาสตรก์ ายภาพ (เคมี) ๐.๕ ๒๐ ว๓๒102 วทิ ยาศาสตร์กายภาพ (ฟิสิกส์) ๐.๕ ๒๐ พ๓๒๑๐๑ สขุ ศึกษาและพละศึกษา 3 ๐.๕ ๒๐ พ๓๒๑๐๒ สขุ ศกึ ษาและพละศึกษา 4 ศ๓๒๑๐๑ ศลิ ปศกึ ษา ๓ ๐.๕ ๒๐ ศ๓๒๑๐๒ ศลิ ปศึกษา ๔ ๑.๐ ๔๐ ง๓๑๑๐๒ การงานอาชพี 2 ๑.๐ ๔๐ ๑๑.๐ ๔๔๐ อ๓๒๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๓ ๑๑.๐ ๔๔๐ อ๓๒๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๔ ๒.๐ ๘๐ รำยวิชำเพ่มิ เตมิ รำยวิชำเพิ่มเตมิ ๑.๐ ๔๐ ๒.๐ ๘๐ ๑.๐ ๔๐ ค๓๒๒๐๑ คณิตศาสตรเ์ พิ่มเติม ๓ ๑.๐ ๔๐ ค๓๒๒๐๒ คณิตศาสตรเ์ พิ่มเติม ๔ ๑.๐ ๔๐ ๑.๐ ๔๐ อ๓๒๒๐1 ภาษาอังกฤษอ่าน-เขยี น ๓ อ๓๒๒๐2 ภาษาอังกฤษอา่ น-เขียน ๔ ๑.๐ ๔๐ ๑.๐ ๔๐ ๑.๕ ๖๐ จ๓๒๒๐๓ ภาษาจนี ๓ ๑.๐ ๔๐ จ๓๒๒๐๔ ภาษาจีน ๔ ๑.๕ ๖๐ ๑.๕ ๖๐ ๒.๐ ๘๐ IS1 การศึกษาค้นควา้ และสรา้ งองค์ ๑.๕ ๖๐ IS2 การศกึ ษาคน้ คว้าและสร้างองค์ 18.0 720 (I๓๑๒๐๓) ความรู้ ๑ ๒.๐ ๘๐ (I๓๑๒๐๔) ความรู้ ๒ 18.5 740 60 ว๓๒๒83 งานกราฟกิ ๓ ว๓๒๒8๔ งานกราฟกิ ๔ ๒๐ 60 ว๓๒๒๒๓ เคมี ๓ ๒๐ ว๓๒๒๒๔ เคมี ๔ ๒๐ ๑0 ว๓๒๒๔๓ ชวี วิทยา ๓ ๒๐ ว๓2๒๔๔ ชีววทิ ยา ๔ 10 ๑0 800 ว๓๒๒๐3 ฟิสิกส์ ๓ 10 ว๓๒๒๐๔ ฟิสิกส์ ๔ รวม 82๐ รวม กจิ กรรมพัฒนำผ้เู รียน กิจกรรมพัฒนำผเู้ รียน  กิจกรรมแนะแนว  กจิ กรรมแนะแนว  กจิ กรรมนกั เรยี น  กิจกรรมนักเรยี น ผ้บู าเพญ็ ประโยชน์/นศท. ผูบ้ าเพญ็ ประโยชน/์ นศท. ชุมนุม ชมุ นมุ  กิจกรรมเพ่อื สังคมและสาธารณประโยชน์  กจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ รวมเวลำเรยี นทัง้ สิน้ รวมเวลำเรียนทัง้ ส้นิ

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า | 31 โครงสร้ำงหลกั สูตรสถำนศึกษำ โรงเรียนเกำะคำวทิ ยำคม ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษำปีที่ 6 (แผนกำรเรียนวิทยำศำสตร์ - คณิตศำสตร์) ปกี ำรศึกษำ ๒๕๖5 ภำคเรียนที่ ๑ หน่วยกติ /ชม. ท๓๓๑๐๒ ภำคเรียนที่ ๒ หน่วยกติ /ชม. รำยวชิ ำ 7.0 280 ค๓๓๑๐๒ รำยวชิ ำ 5.5 220 รำยวิชำพื้นฐำน ๑.๐ ๔๐ ส๓๓๑๐๒ รำยวิชำพื้นฐำน ๑.๐ ๔๐ ๑.๐ ๔๐ พ๓๓๑๐๒ ภาษาไทย 6 ๑.๐ ๔๐ ท๓๓๑๐๑ ภาษาไทย 5 ๑.๐ ๔๐ ว32104 คณิตศาสตร์ 6 ๑.๐ ๔๐ ค๓๓๑๐๑ คณิตศาสตร์ 5 ๐.๕ ๒๐ สังคมศึกษา 6 ๐.๕ ๒๐ ส๓๓๑๐๑ สงั คมศกึ ษา 5 0.5 20 สุขศกึ ษาและพละศกึ ษา 6 0.5 20 1.5 60 การออกแบบและเทคโนโลยี 2 พ๓๓๑๐๑ สขุ ศึกษาและพละศึกษา 5 ๐.๕ ๒๐ ๐.๕ ๒๐ ว32103 วิทยาการคานวณ 2 ๑.๐ ๔๐ ศ๓๓๑๐๒ ศลิ ปศกึ ษา ๖ ๑.๐ ๔๐ ว๓3101 วทิ ยาศาสตร์โลกและอวกาศ 10.0 ๔๐0 10.0 400 ศ๓๓๑๐๑ ศลิ ปศกึ ษา ๕ ๒.๐ ๘๐ อ๓๓๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๖ ๒.๐ ๘๐ ๑.๐ ๔๐ รำยวชิ ำเพิม่ เตมิ ๑.๐ ๔๐ อ๓๓๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๕ ๑.๐ ๔๐ ๑.๐ ๔๐ รำยวิชำเพ่ิมเติม ๑.๐ ๔๐ ค๓๓๒๐๒ คณติ ศาสตร์เพม่ิ เติม ๖ ๑.๐ ๔๐ ๑.๕ ๖๐ ๑.๕ ๖๐ ค๓๓๒๐๑ คณติ ศาสตร์เพ่ิมเตมิ ๕ ๑.๕ ๖๐ อ๓๓๒๐2 ภาษาอังกฤษอา่ น-เขียน ๖ ๑.๕ ๖๐ ๒.๐ ๘๐ จ๓๓๒๐๖ ภาษาจนี ๖ ๒.๐ ๘๐ อ๓๓๒๐1 ภาษาอังกฤษอา่ น-เขยี น ๕ 17 680 ว๓๓๒86 งานกราฟกิ 6 15.5 620 จ๓๓๒๐๕ ภาษาจนี ๕ ว๓๓๒85 งานกราฟกิ 5 60 ว๓๓๒๒๖ เคมี ๖ 60 ๒๐ ว๓๓๒๔๖ ชีววิทยา ๖ ๒๐ ว๓๓๒๒๕ เคมี ๕ ว๓๓๒๐๖ ฟิสิกส์ ๖ ว๓๓๒๔๕ ชวี วทิ ยา ๕ ๒๐ ๒๐ ว๓๓๒๐๕ ฟิสกิ ส์ ๕ ๑0 รวม ๑0 10 10 รวม กิจกรรมพัฒนำผ้เู รยี น  กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมพฒั นำผู้เรยี น  กิจกรรมนกั เรียน  กิจกรรมแนะแนว  กิจกรรมนกั เรยี น ผูบ้ าเพญ็ ประโยชน์/นศท. ชุมนุม ผ้บู าเพ็ญประโยชน/์ นศท.  กิจกรรมเพอ่ื สังคมและสำธำรณประโยชน์ ชมุ นมุ  กิจกรรมเพอ่ื สงั คมและสำธำรณประโยชน์/IS3 รวมเวลำเรียนทง้ั สิน้ 720 รวมเวลำเรียนทั้งสิ้น 660

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า | 32 โครงสรำ้ งหลกั สตู รสถำนศึกษำ โรงเรียนเกำะคำวทิ ยำคม ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษำปที ี่ 4 (แผนกำรเรยี นศลิ ป์ทั่วไป) ปีกำรศึกษำ ๒๕๖5 ภำคเรียนท่ี ๑ หนว่ ยกติ /ชม. ภำคเรยี นที่ ๒ หน่วยกติ /ชม. รำยวชิ ำ รำยวชิ ำ 6.5 260 7.5 300 รำยวชิ ำพ้ืนฐำน รำยวชิ ำพ้ืนฐำน ๑.๐ ๔๐ ๑.๐ ๔๐ ท๓๑๑๐๑ ๑.๐ ๔๐ ท๓๑๑๐๒ ภาษาไทย 2 ๑.๐ ๔๐ ค๓๑๑๐๑ ภาษาไทย 1 0.๕ 2๐ ค๓๑๑๐๒ คณิตศาสตร์ 2 1.5 60 ว๓๑๑0๑ คณิตศาสตร์ 1 ๑.๐ ๔๐ ว31102 วิทยาศาสตรช์ วี ภาพ ๑.๐ ๔๐ ส๓๑๑๐๑ วทิ ยาการคานวณ 1 ๐.๕ ๒๐ ส๓๑๑๐๒ สังคมศกึ ษา 2 ๐.๕ ๒๐ ส๓๑๑๐3 สังคมศึกษา 1 ๐.๕ ๒๐ ส๓๑๑๐๔ ประวตั ิศาสตร์ ๒ ๐.๕ ๒๐ พ๓๑๑๐๑ ประวตั ศิ าสตร์ ๑ ๐.๕ ๒๐ พ๓๑๑๐๒ สุขศึกษาและพละศกึ ษา 2 ๐.๕ ๒๐ ศ๓๑๑๐๑ สุขศกึ ษาและพละศึกษา 1 ๐.๕ ๒๐ ศ๓๑๑๐๒ ศลิ ปศึกษา ๒ 0.5 20 ง๓๑๑๐๑ ศิลปศึกษา ๑ ๑.๐ ๔๐ ว31103 การออกแบบและเทคโนโลยี 1 ๑.๐ ๔๐ อ๓๑๑๐๑ การงานอาชพี 1 9.๐ 360 อ๓๑๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๒ 9.๐ 360 ภาษาอังกฤษ ๑ 1.๐ 4๐ รำยวิชำเพิ่มเตมิ 1.๐ 4๐ ง๓๑๒๐๑ รำยวชิ ำเพ่ิมเติม ๑.๐ ๔๐ ง๓๑๒๐๒ หลักสตู รการมีงานทา ๒ ๑.๐ ๔๐ อ๓๑๒๐๑ หลักสูตรการมงี านทา ๑ 1.0 40 อ๓๑๒๐๒ ภาษาองั กฤษอา่ น-เขยี น ๒ 1.0 40 อ31203 ภาษาอังกฤษอ่าน-เขียน ๑ อ31204 ภาษาองั กฤษเพือ่ การสือ่ สาร 2 ภาษาองั กฤษเพ่อื การส่อื สาร 1 จ๓๑๒๐๑ ภาษาจนี ๑ ๑.๐ ๔๐ จ๓๑๒๐๒ ภาษาจีน ๒ ๑.๐ ๔๐ จ31203 ภาษาจีนสอื่ สาร 1 1.0 40 จ31204 ภาษาจนี สื่อสาร 2 1.0 40 ว๓๑๒8๑ งานกราฟิก ๑ ๑.๐ ๔๐ ว๓๑๒8๒ งานกราฟกิ ๒ ๑.๐ ๔๐ ส31261 อาเซียนศึกษา ๑.๐ ๔๐ ส31263 ภมู ิศาสตร์การท่องเท่ยี ว ๑.๐ ๔๐ พ๓๑๒๑๑ กีฬาสากล ๑.๐ ๔๐ ศ๓๑๒01 ดนตรสี ากลประกอบสอ่ื 1 ๑.๐ ๔๐ ท๓๑๒๐๑ พัฒนาการเขยี น ๑ ๑.๐ ๔๐ ท๓๑๒๐๒ พัฒนาการเขียน ๒ ๑.๐ ๔๐ 15.5 620 16.5 660 รวม รวม กิจกรรมพัฒนำผูเ้ รียน 60 กจิ กรรมพฒั นำผ้เู รียน 60 ๒๐ ๒๐  กิจกรรมแนะแนว  กจิ กรรมแนะแนว ๒๐ ๒๐  กจิ กรรมนกั เรียน ๑0  กิจกรรมนกั เรียน ๑๐ 10 ๑๐ ผ้บู าเพ็ญประโยชน์/นศท. ๖2๐ ผ้บู าเพ็ญประโยชน/์ นศท. 660 ชมุ นุม ชุมนมุ ชมรม  กิจกรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน์  กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ รวมเวลำเรียนทั้งส้ิน รวมเวลำเรียนท้ังส้ิน

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า | 33 โครงสรำ้ งหลกั สตู รสถำนศึกษำ โรงเรียนเกำะคำวทิ ยำคม ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษำปที ่ี 5 (แผนกำรเรยี นศลิ ปท์ ่ัวไป) ปีกำรศึกษำ ๒๕๖5 ท๓๒๑๐๑ ภำคเรียนท่ี ๑ หนว่ ยกติ /ชม. ท๓๒๑๐๒ ภำคเรยี นที่ ๒ หนว่ ยกติ /ชม. ค๓๒๑๐๑ รำยวชิ ำ 7.5 300 ค๓๒๑๐๒ รำยวชิ ำ 7.0 280 ส๓๒๑๐๑ รำยวชิ ำพนื้ ฐำน ๑.๐ ๔๐ ส๓๒๑๐2 รำยวิชำพ้นื ฐำน ๑.๐ ๔๐ ส๓๒๑๐3 ภาษาไทย 3 ๑.๐ ๔๐ ส๓๒๑๐๔ ภาษาไทย 4 ๑.๐ ๔๐ ว๓2101 คณิตศาสตร์ 3 ๑.๐ ๔๐ ว32102 คณิตศาสตร์ 4 ๑.๐ ๔๐ พ๓๒๑๐๑ สังคมศึกษา 3 ๐.๕ ๒๐ พ๓๒๑๐๒ สังคมศกึ ษา 4 ๐.๕ ๒๐ ศ๓๒๑๐๑ ประวตั ิศาสตร์ ๓ ๑.๕ 6๐ ศ๓๒๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร์ ๔ 1.5 60 ง๓๑๑๐๒ วิทยาศาสตรก์ ายภาพ(เคม)ี ๐.๕ ๒๐ วิทยาศาสตร์กายภาพ(ฟสิ ิกส์) ๐.๕ ๒๐ อ๓๒๑๐๑ สุขศึกษาและพละศกึ ษา 3 ๐.๕ ๒๐ สขุ ศกึ ษาและพละศึกษา 4 ๐.๕ ๒๐ ศิลปศึกษา ๓ ๐.๕ ๒๐ ศลิ ปศึกษา ๔ ง๓๒๒๐๑ การงานอาชีพ 2 ๑.๐ ๔๐ ๑.๐ ๔๐ อ๓๒๒๐1 ภาษาอังกฤษ ๓ 9.๐ 360 อ๓๒๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๔ 9.๐ 36๐ อ32203 รำยวชิ ำเพ่ิมเตมิ 1.๐ 4๐ รำยวิชำเพิม่ เติม 1.๐ 4๐ หลกั สูตรการมีงานทา 3 ๑.๐ ๔๐ ง๓๒๒๐๒ หลกั สตู รการมงี านทา 4 ๑.๐ ๔๐ ภาษาอังกฤษอา่ น-เขยี น ๓ 1.0 40 อ๓๒๒๐2 ภาษาองั กฤษอ่าน-เขียน ๔ 1.0 40 ภาษาอังกฤษเพอื่ การส่อื สาร 3 อ32204 ภาษาอังกฤษเพ่ือการสือ่ สาร 4 ๑.๐ ๔๐ ๑.๐ ๔๐ จ๓๒๒๐๓ ภาษาจีน ๓ 1.0 40 จ๓๒๒๐๔ ภาษาจีน ๔ 1.0 40 จ32205 ภาษาจีนสื่อสาร 3 จ32206 ภาษาจีนสอ่ื สาร 4 ๑.๐ ๔๐ ๑.๐ ๔๐ ว๓๒๒8๓ งานกราฟิก ๓ ว๓๒๒8๔ งานกราฟกิ ๔ IS1 การศึกษาคน้ ควา้ และสรา้ งองค์ ๑.๐ ๔๐ IS2 การศึกษาคน้ ควา้ และสรา้ งองค์ ๑.๐ ๔๐ (I๓๑๒๐๓) ความรู้ ๑ ๑.๐ ๔๐ (I๓๑๒๐๔) ความรู้ ๒ ๑.๐ ๔๐ ส32242 การปกครองท้องถ่ินไทย ๑.๐ ๔๐ ส32243 โลกศึกษา ๑.๐ ๔๐ ท๓๒๒๐๑ การอา่ นพิจารณาวรรณกรรม 16.5 660 ท๓๒๒๐๒ การอา่ นพิจารณาวรรณคดี 16.0 640 รวม 60 รวม 60 กิจกรรมพฒั นำผูเ้ รยี น ๒๐ กิจกรรมพฒั นำผู้เรียน ๒๐  กิจกรรมแนะแนว  กจิ กรรมแนะแนว  กจิ กรรมนกั เรียน ๒๐  กิจกรรมนกั เรียน ๒๐ ๑0 ผู้บาเพ็ญประโยชน์/นศท. ๑0 ผ้บู าเพ็ญประโยชน์/นศท. 10 ชมุ นมุ 10 ชุมนมุ 660  กิจกรรเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน์ ๖4๐  กิจกรรเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ รวมเวลำเรยี นทั้งส้ิน รวมเวลำเรยี นทง้ั ส้นิ

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า | 34 โครงสรำ้ งหลกั สูตรสถำนศกึ ษำ โรงเรยี นเกำะคำวิทยำคม ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษำปที ี่ 6 (แผนกำรเรยี นศลิ ปท์ ว่ั ไป) ปกี ำรศกึ ษำ ๒๕๖5 ท๓๓๑๐๑ ภำคเรียนท่ี ๑ หน่วยกติ /ชม. ท๓๓๑๐๒ ภำคเรยี นที่ ๒ หน่วยกติ /ชม. ค๓๓๑๐๑ รำยวิชำ 7.0 280 ค๓๓๑๐๒ รำยวชิ ำ 5.5 220 ส๓๓๑๐๑ รำยวิชำพืน้ ฐำน ๑.๐ ๔๐ ส๓๓๑๐๒ รำยวิชำพนื้ ฐำน ๑.๐ ๔๐ พ๓๓๑๐๑ ภาษาไทย 5 ๑.๐ ๔๐ พ๓๓๑๐๒ ภาษาไทย 6 ๑.๐ ๔๐ ว32103 คณติ ศาสตร์ 5 ๑.๐ ๔๐ ว32104 คณติ ศาสตร์ 6 ๑.๐ ๔๐ ว๓3101 สงั คมศกึ ษา 5 ๐.๕ ๒๐ สงั คมศึกษา 6 ๐.๕ ๒๐ ศ๓๓๑๐๑ สุขศึกษาและพละศกึ ษา 5 0.5 20 สขุ ศกึ ษาและพละศกึ ษา 6 0.5 20 อ๓๓๑๐๑ วทิ ยาการคานวณ 2 ๑.๕ 6๐ การออกแบบและเทคโนโลยี 2 วิทยาศาสตรโ์ ลกและอวกาศ ๐.๕ ๒๐ ๐.๕ ๒๐ ง๓๓๒๐๑ ศลิ ปศกึ ษา ๕ ๑.๐ ๔๐ ศ๓๓๑๐๒ ศลิ ปศึกษา ๖ ๑.๐ ๔๐ อ๓๓๒๐1 ภาษาอังกฤษ ๕ 8.๐ 320 อ๓๓๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๖ 8.๐ 32๐ อ33203 รำยวชิ ำเพ่ิมเติม 1.๐ 4๐ รำยวิชำเพ่มิ เติม 1.๐ 4๐ หลักสูตรการมีงานทา 5 ๑.๐ ๔๐ ง๓๓๒๐๒ หลกั สูตรการมีงานทา 6 ๑.๐ ๔๐ ภาษาองั กฤษอ่าน-เขยี น ๕ 1.0 40 อ๓๓๒๐2 ภาษาองั กฤษอ่าน-เขยี น ๖ 1.0 40 ภาษาองั กฤษเพ่ือการสอื่ สาร 5 อ33204 ภาษาอังกฤษเพื่อการส่อื สาร 6 ๑.๐ ๔๐ ๑.๐ ๔๐ จ๓๓๒๐๕ ภาษาจีน ๕ 1.0 40 จ๓๓๒๐๖ ภาษาจนี ๖ 1.0 40 จ33207 ภาษาจีนสอ่ื สาร 5 จ33208 ภาษาจนี สื่อสาร 6 ๑.๐ ๔๐ ๑.๐ ๔๐ งานกราฟิก 5 ๑.๐ ๔๐ ว๓๓๒8๖ งานกราฟกิ 6 ๑.๐ ๔๐ ว๓๓๒8๕ ๑.๐ ๔๐ ส๓3๒5 ศาสนาสากล ๑.๐ ๔๐ ส๓3๒๖4 กฎหมายในชีวติ ประจาวัน 15.0 600 ท๓๓๒๐๒ ภาษาไทยเพ่อื การสอื่ สาร ๒ 13.5 540 ท๓๓๒๐๑ ภาษาไทยเพ่อื การส่ือสาร 1 60 รวม 60 รวม ๒๐ ๒๐ กิจกรรมพัฒนำผู้เรยี น กจิ กรรมพฒั นำผ้เู รียน ๒๐  กิจกรรมแนะแนว ๒๐  กิจกรรมแนะแนว ๑0  กจิ กรรมนักเรยี น ๑0  กจิ กรรมนกั เรียน 10 10 ผู้บาเพญ็ ประโยชน์/นศท. ผู้บาเพญ็ ประโยชน์/นศท. ชุมนมุ ชุมนุม  กิจกรรมเพื่อสงั คมและสำธำรณประโยชน์  กจิ กรรมเพ่อื สังคมและสำธำรณประโยชน์ รวมเวลำเรยี นท้ังสน้ิ 600 รวมเวลำเรยี นท้ังส้ิน ๕4๐

ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า | 35 โครงสรำ้ งกลมุ่ สำระกำรเรยี นรคู้ ณิตศำสตร์ ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษำปีท่ี 1 - 3 วชิ ำพ้นื ฐำน ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 3 ชว่ั โมง/สัปดาห์ 1.5 หนว่ ยกิต ค21101 คณิตศาสตรพ์ ืน้ ฐาน1 3 ช่วั โมง/สปั ดาห์ 1.5 หน่วยกติ ค21102 คณิตศาสตร์พ้ืนฐาน2 3 ช่ัวโมง/สัปดาห์ 1.5 หน่วยกติ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 3 ชั่วโมง/สปั ดาห์ 1.5 หนว่ ยกิต ค22101 คณิตศาสตรพ์ ้ืนฐาน3 ค22102 คณิตศาสตรพ์ ื้นฐาน4 3 ชัว่ โมง/สัปดาห์ 1.5 หน่วยกิต 3 ชั่วโมง/สปั ดาห์ 1.5 หน่วยกติ ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 3 ค23101 คณิตศาสตร์พน้ื ฐาน5 ค23102 คณิตศาสตร์พื้นฐาน6 วิชำเพ่ิมเติม 2 ชว่ั โมง/สปั ดาห์ 1.0 หน่วยกติ ค21201 คณติ ศาสตรเ์ พม่ิ เตมิ 1 2 ชั่วโมง/สปั ดาห์ 1.0 หนว่ ยกติ ค21202 คณิตศาสตรเ์ พมิ่ เติม2 2 ชวั่ โมง/สัปดาห์ 1.0 หนว่ ยกติ ค22201 คณิตศาสตร์เพิ่มเตมิ 3 2 ชว่ั โมง/สปั ดาห์ 1.0 หนว่ ยกติ ค22202 คณิตศาสตร์เพิ่มเตมิ 4 2 ชัว่ โมง/สปั ดาห์ 1.0 หน่วยกติ ค23201 คณิตศาสตร์เพิ่มเตมิ 5 2 ชวั่ โมง/สัปดาห์ 1.0 หน่วยกิต ค23202 คณิตศาสตร์เพ่มิ เติม6

รำยวชิ ำ คณติ ศำสตร์พนื้ ฐำน 1 คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า | 36 ช้ันมธั ยมศึกษำปีที่ 1 ภำคเรยี นที่ 1 รหัสวิชำ ค21101 จำนวน 60 ชัว่ โมง ระดบั มธั ยมศึกษำตอนต้น จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต ศึกษา และฝึกทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรอ์ ันได้แก่ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การ สื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ การเชอ่ื มโยงความรตู้ า่ ง ๆ ทางคณติ ศาสตร์ และเชอื่ มโยงคณิตศาสตร์ กับศาสตรอ์ ืน่ ๆ และมคี วามริเรม่ิ สร้างสรรค์ ในสาระตอ่ ไปนี้ จำนวนเต็ม การบวกจานวนเต็ม การลบจานวนเต็ม การคูณจานวนเต็ม การหารจานวนเต็ม สมบัติของการ บวกและการคณู จานวนเตม็ กำรสร้ำงทำงเรขำคณิต รูปเรขาคณิตพื้นฐาน การสร้างพืน้ ฐานทางเรขาคณิต การสร้างรปู เรขาคณิต เลขยก กำลัง ความหมายของเลขยกกาลัง การคูณและการหารเลขยกกาลงั สญั กรณว์ ทิ ยาสตร์ ทศนยิ มและเศษส่วน ทศนิยมและการเปรยี บเทยี บทศนยิ ม การบวกและการลบทศนิยม การคณู และ การหารทศนิยม เศษส่วนและการเปรียบเทียบเศษส่วน การบวกและการลบเศษส่วน การคูณและการหารเศษส่วน ความสัมพันธ์ระหว่างทศนยิ มและเศษสว่ น รปู เรขำคณติ สองมิตแิ ละสำมมติ ิ หน้าตดั ของรูปเรขาคณิตสามมิติ รวมท้ังภาพดา้ นหน้า ภาพดา้ นข้าง และภาพดา้ นบนของรูปเรขาคณิตสามมติ ิ โดยในการเรียนรู้เน้ือหาจะมีการฝึกทักษะการคิดคานวณ การคิดวิเคราะห์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การ แก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์และการนาเสนอ การเช่ือมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์ เชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อ่ืน ๆ และมีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ ซึ่งมีการใช้สื่อ อุปกรณ์ แหล่ง เรยี นรู้ และเทคโนโลยที างคณติ ศาสตร์ประยกุ ตใ์ ชอ้ ยา่ งเหมาะสม นอกจากนี้มีการมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีเจตคติที่ดีต่อรายวิชา มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ท่ีสามารถอยู่ร่วมกับ ผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุขในฐานะพลเมืองไทยและพลโลก รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทางาน รักความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ ตวั ชวี้ ัด ค 1.1 ม.1/1, ค 1.1 ม.1/2 ค 2.2 ม.1/1, ค 2.2 ม.1/2 รวมตัวช้ีวัด 4 ตวั ชี้วดั

รำยวชิ ำ คณิตศำสตรพ์ ื้นฐำน 2 คำอธิบำยรำยวิชำ ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า | 37 ชน้ั มัธยมศึกษำปีท่ี 1 ภำคเรยี นที่ 2 รหสั วชิ ำ ค21102 จำนวน 60 ช่วั โมง ระดับมธั ยมศึกษำตอนต้น จำนวน 1.5 หน่วยกิต ศึกษา และฝึกทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรอ์ ันได้แก่ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การ ส่อื ความหมายทางคณติ ศาสตร์ และการนาเสนอ การเช่ือมโยงความรูต้ า่ ง ๆ ทางคณติ ศาสตร์ และเช่ือมโยงคณติ ศาสตร์ กบั ศาสตรอ์ ่ืน ๆ และมคี วามริเร่ิมสร้างสรรค์ ในสาระตอ่ ไปนี้ สมกำรเชิงเส้นตัวแปรเดียว การเตรียมความพร้อมก่อนรู้จักสมการ สมการและคาตอบของสมการ การแก้ สมการเชิงเส้นตัวแปรเดยี ว โจทยป์ ัญหาเก่ียวกับสมการเชิงเส้นตัวแปรเดยี ว อัตรำสว่ น สัดสว่ น ร้อยละ บทประยกุ ต์ กรำฟและควำมสัมพันธเ์ ชงิ เสน้ คู่อันดับและกราฟของคอู่ นั ดบั กราฟและการนาไปใช้ ความสัมพันธเ์ ชิงเสน้ สถติ ิ คาถามทางสถิติ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล การนาเสนอข้อมลู และการแปลความหมายขอ้ มูล โดยในการเรียนรู้เนื้อหาจะมีการฝึกทักษะการคิดคานวณ การคิดวิเคราะห์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การ แก้ปัญหา การให้เหตุผล การส่ือสาร การส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์และการนาเสนอ การเช่ือมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์ เชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อ่ืน ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ซึ่งมีการใช้สื่อ อุปกรณ์ แหล่ง เรียนรู้ และเทคโนโลยที างคณิตศาสตร์ประยุกตใ์ ชอ้ ยา่ งเหมาะสม นอกจากนี้มีการมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีเจตคติท่ีดีต่อรายวิชา มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่สามารถอยู่ร่วมกับ ผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุขในฐานะพลเมืองไทยและพลโลก รักชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์ ซ่ือสัตย์สุจริต มีวินยั ใฝ่เรยี นรู้ อยู่อยา่ งพอเพยี ง มุ่งม่นั ในการทางาน รกั ความเปน็ ไทย และมีจิตสาธารณะ ตวั ช้ีวัด ค 1.1 ม.1/3 ค 1.3 ม.1/1, ค 1.3 ม.1/2, ค 1.3 ม.1/3 ค 3.1 ม.1/1 รวมตัวชี้วัด 5 ตัวช้ีวัด

รำยวชิ ำ คณิตศำสตร์พืน้ ฐำน 3 คำอธิบำยรำยวิชำ ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า | 38 ชน้ั มัธยมศกึ ษำปีที่ 2 ภำคเรยี นที่ 1 รหสั วิชำ ค22101 จำนวน 60 ชวั่ โมง ระดบั มธั ยมศึกษำตอนตน้ จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต ศกึ ษา และฝกึ ทกั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรอ์ ันไดแ้ ก่ การแก้ปัญหา การใหเ้ หตผุ ล การส่ือสาร การส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์ และ เชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อน่ื ๆ และมีความริเรม่ิ สรา้ งสรรค์ ในสาระต่อไปน้ี ทฤษฎบี ทพที ำโกรัส ทฤษฎีบทพที าโกรัส และบทกลับของทฤษฎบี ทพีทาโกรัส ควำมรเู้ บื้องต้นเก่ยี วกบั จำนวนจรงิ จานวนตรรกยะ จานวนอตรรกยะ รากท่สี องและรากท่สี าม ปริซึมและทรงกระบอก พ้นื ทผ่ี ิวและปรมิ าตรของปริซึมและทรงกระบอก กำรแปลงทำงเรขำคณติ การเล่อื นขนาน การสะท้อน การหมนุ สมบัติของเลขยกกำลงั การดาเนนิ การของเลขยกกาลงั สมบตั ิอื่น ๆ ของเลขยกกาลัง พหุนำม การบวกและการลบเอกนาม การบวกและการลบพหุนาม การคณู พหุนาม การหารพหุนามดว้ ยเอก นาม โดยในการเรียนรู้เน้ือหาจะมีการฝึกทักษะการคิดคานวณ การคิดวิเคราะห์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การ แก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์และการนาเสนอ การเช่ือมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์ เช่ือมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อ่ืน ๆ และมีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ ซ่ึงมีการใช้ส่ือ อุปกรณ์ แหล่ง เรียนรู้ และเทคโนโลยีทางคณิตศาสตร์ประยกุ ต์ใช้อยา่ งเหมาะสม นอกจากนี้มีการมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีเจตคติที่ดีต่อรายวิชา มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ท่ีสามารถอยู่ร่วมกับ ผู้อื่นในสังคมได้อย่างมคี วามสุขในฐานะพลเมืองไทยและพลโลก รักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวนิ ัย ใฝเ่ รียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุง่ มั่นในการทางาน รกั ความเป็นไทย และมจี ิตสาธารณะ รหัสตวั ช้ีวดั ค 1.1 ม 2/1 , ม 2/2 ค 1.2 ม 2/1 ค 2.1 ม 2/1 , ม 2/2 ค 2.2 ม 2/3 , ม 2/5 รวมทัง้ หมด 7 ตัวชีว้ ัด

รำยวิชำ คณติ ศำสตร์พ้ืนฐำน 4 คำอธิบำยรำยวชิ ำ ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า | 39 ชั้นมธั ยมศึกษำปที ี่ 2 ภำคเรยี นท่ี 2 รหสั วิชำ ค22102 จำนวน 60 ชวั่ โมง ระดับมัธยมศึกษำตอนตน้ จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต ศึกษา และฝึกทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรอ์ ันได้แก่ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การ ส่อื ความหมายทางคณติ ศาสตร์ และการนาเสนอ การเช่ือมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณติ ศาสตร์ และเช่ือมโยงคณิตศาสตร์ กบั ศาสตรอ์ ืน่ ๆ และมีความรเิ ริ่มสร้างสรรค์ ในสาระตอ่ ไปนี้ สถิติ การนาเสนอและวิเคราะหข์ อ้ มูล การแปลความหมายผลลพั ธ์ ควำมเทำ่ กนั ทุกประกำร ความเทา่ กันทุกประการของรูปสามเหล่ยี ม เสน้ ขนำน สมบตั ิและทฤษฎีบทเกี่ยวกบั เส้นขนาน กำรสร้ำงทำงเรขำคณติ การสรา้ งทางเรขาคณติ โดยใช้วงเวยี นและไม้สนั ตรง กำรแยกตัวประกอบของพหุนำม การแยกตวั ประกอบของพหุนามดีกรสี อง โดยในการเรียนรู้เน้ือหาจะมีการฝึกทักษะการคิดคานวณ การคิดวิเคราะห์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การ แก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์ เช่ือมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อ่ืน ๆ และมีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ ซึ่งมีการใช้ส่ือ อุปกรณ์ แหล่ง เรยี นรู้ และเทคโนโลยที างคณิตศาสตร์ประยกุ ตใ์ ชอ้ ยา่ งเหมาะสม นอกจากน้ีมีการมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีเจตคติท่ีดีต่อรายวิชา มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ท่ีสามารถอยู่ร่วมกับ ผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุขในฐานะพลเมืองไทยและพลโลก รักชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์ ซ่ือสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝเ่ รยี นรู้ อยูอ่ ย่างพอเพยี ง มุ่งมั่นในการทางาน รกั ความเป็นไทย และมีจติ สาธารณะ รหัสตวั ชี้วัด , ม 2/4 ค 1.2 ม 2/2 ค 2.2 ม 2/1 , ม 2/2 ค 3.1 ม 2/1 รวมทัง้ หมด 5 ตัวชี้วัด

รำยวิชำ คณิตศำสตร์พน้ื ฐำน 5 คำอธิบำยรำยวชิ ำ ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า | 40 ช้ันมัธยมศกึ ษำปีท่ี 3 ภำคเรยี นที่ 1 รหัสวชิ ำ ค23101 จำนวน 60 ช่ัวโมง ระดบั มธั ยมศึกษำตอนต้น จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต ศึกษา และฝึกทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรอ์ ันได้แก่ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การ สือ่ ความหมายทางคณติ ศาสตร์ และการนาเสนอ การเชือ่ มโยงความรู้ตา่ ง ๆ ทางคณติ ศาสตร์ และเชอื่ มโยงคณิตศาสตร์ กบั ศาสตร์อืน่ ๆ และมีความรเิ ริ่มสร้างสรรค์ ในสาระตอ่ ไปน้ี อสมกำรเชิงเส้นตัวแปรเดียว คาตอบของอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว โจทย์ปัญหาเก่ียวกบั อสมการเชิงเสน้ ตัวแปรเดียว กำรแยกตัวประกอบของพหุนำมท่ีมีดีกรีสงู กว่ำสอง การแยกตัวประกอบของพหุนามที่อยใู่ นรปู ผลบวกและ ผลต่างของกาลังสาม การแยกตัวประกอบของพหุนามทมี่ ดี กี รสี งู กวา่ สาม สมกำรกำลังสองตัวแปรเดียว การแก้สมการกาลังสองตัวแปรเดียว โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสมการกาลังสองตัว แปรเดียว ควำมคล้ำย รูปเรขาคณิตทึคล้ายกัน รูปสามเหลี่ยมท่ีคล้ายกัน โจทย์ปัญหาเก่ียวกับรูปสามเหล่ียม ที่ คล้ายกนั กรำฟของฟงั ก์ชันกำลังสอง ฟงั กช์ ันกาลังสอง และกราฟของฟังก์ชันกาลังสอง แผนภำพกล่อง การอ่านและแปลความหมายจากแผนภาพกล่อง โดยในการเรียนรู้เน้ือหาจะมีการฝึกทักษะการคิดคานวณ การคิดวิเคราะห์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การ แก้ปัญหา การให้เหตุผล การส่ือสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์และการนาเสนอ การเช่ือมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์ เชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ซึ่งมีการใช้สื่อ อุปกรณ์ แหล่ง เรยี นรู้ และเทคโนโลยที างคณิตศาสตร์ประยกุ ต์ใช้อย่างเหมาะสม นอกจากนี้มีการมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีเจตคติที่ดีต่อรายวิชา มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่สามารถอยู่ร่วมกับ ผู้อื่นในสังคมได้อย่างมคี วามสุขในฐานะพลเมืองไทยและพลโลก รักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ซ่ือสัตย์สุจริต มีวินยั ใฝเ่ รยี นรู้ อยูอ่ ย่างพอเพียง มงุ่ ม่นั ในการทางาน รกั ความเปน็ ไทย และมจี ติ สาธารณะ ตวั ช้วี ัด ค1.3 ม.3/1, ค1.2 ม.3/1, ค1.3 ม.3/2, ค2.2 ม.3/1, ค1.2 ม.3/2, ค3.1 ม.3/1 รวมท้งั หมด 6 ตัวชวี้ ัด

รำยวิชำ คณิตศำสตร์พนื้ ฐำน 6 คำอธิบำยรำยวิชำ ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า | 41 ช้นั มธั ยมศกึ ษำปที ี่ 3 ภำคเรียนที่ 2 รหสั วชิ ำ ค23102 จำนวน 60 ชวั่ โมง ระดับมัธยมศึกษำตอนตน้ จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต ศึกษา และฝึกทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรอ์ ันได้แก่ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การส่ือสาร การ ส่ือความหมายทางคณติ ศาสตร์ และการนาเสนอ การเชอ่ื มโยงความร้ตู า่ ง ๆ ทางคณิตศาสตร์ และเชอื่ มโยงคณิตศาสตร์ กับศาสตร์อื่น ๆ และมคี วามริเรม่ิ สรา้ งสรรค์ ในสาระต่อไปน้ี ระบบสมกำรเชิงเส้นสองตัวแปร การแก้ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้ระบบ สมการเชิงเสน้ สองตวั แปร วงกลม มมุ ทจ่ี ุดศูนย์กลางและมมุ ในสว่ นโคง้ ของวงกลม คอรด์ ของวงกลม เสน้ สัมผสั วงกลม ปริมำตรและพื้นที่ผิว ปริมาตรและพ้ืนที่ผิวของพรี ะมิด ปริมาตรและพ้ืนที่ผิวของกรวย ปริมาตรและพ้ืนท่ีผิว ของทรงกลม ควำมน่ำจะเป็นของเหตุกำรณ์ โอกาสของเหตุการณ์ ความนา่ จะเป็น อัตรำส่วนตรีโกณมิติ ความหมายของอัตราส่วนตรีโกณมิติ อัตราส่วนตรีโกณมิติของมุมแหลม การนา อตั ราสว่ นตรีโกณมิติไปใชใ้ นการแกป้ ญั หา โดยในการเรียนรู้เนื้อหาจะมีการฝึกทักษะการคิดคานวณ การคิดวิเคราะห์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การ แก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์ เชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อ่ืน ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ซึ่งมีการใช้ส่ือ อุปกรณ์ แหล่ง เรียนรู้ และเทคโนโลยที างคณิตศาสตร์ประยุกต์ใช้อยา่ งเหมาะสม นอกจากนี้มีการมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีเจตคติที่ดีต่อรายวิชา มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่สามารถอยู่ร่วมกับ ผู้อื่นในสังคมได้อย่างมคี วามสุขในฐานะพลเมืองไทยและพลโลก รักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝเ่ รยี นรู้ อยอู่ ยา่ งพอเพียง มุ่งม่ันในการทางาน รกั ความเป็นไทย และมจี ิตสาธารณะ ตวั ช้วี ัด ค1.3 ม.3/3, ค2.2 ม.3/3, ค2.1 ม.3/1, ค2.1 ม.3/2, ค3.2 ม.3/1, รวมทั้งหมด 5 ตัวช้วี ัด

รำยวิชำ คณติ ศำสตรเ์ พิ่มเติม 1 คำอธิบำยรำยวิชำ ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า | 42 ช้นั มธั ยมศกึ ษำปที ี่ 1 ภำคเรียนท่ี 1 รหสั วชิ ำ ค21201 จำนวน 40 ช่ัวโมง ระดบั มัธยมศึกษำตอนต้น จำนวน 1.0 หน่วยกติ ศึกษา และฝึกทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรอ์ ันได้แก่ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การส่ือสาร การ ส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรูต้ ่างๆ ทางคณิตศาสตร์และเช่อื มโยงคณติ ศาสตร์ กับศาสตร์อน่ื ๆ และมคี วามคิดรเิ ร่ิมสร้างสรรค์ ในสาระต่อไปน้ี กำรประยกุ ต์เก่ียวกับจำนวนเตม็ และเลขยกกำลัง การคิดคานวณและโจทย์ปัญหา กำรประยุกต์ของทศนิยมและเศษส่วน การนาความรู้เกี่ยวกับทศนิยมและเศษส่วนไปใช้ในการแก้ปัญหา คณติ ศาสตร์และปัญหาในชวี ิตจรงิ โดยในการเรียนรู้เนื้อหาจะมีการฝึกทักษะการคิดคานวณ การคิดวิเคราะห์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การ แก้ปัญหา การให้เหตุผล การส่ือสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์ เชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ ซ่ึงมีการใช้ส่ือ อุปกรณ์ แหล่ง เรยี นรู้ และเทคโนโลยที างคณิตศาสตร์ประยุกต์ใชอ้ ย่างเหมาะสม นอกจากน้ีมีการมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีเจตคติที่ดีต่อรายวิชา มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่สามารถอยู่ร่วมกับ ผู้อื่นในสังคมได้อย่างมคี วามสุขในฐานะพลเมืองไทยและพลโลก รักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวนิ ัย ใฝเ่ รียนรู้ อยู่อยา่ งพอเพยี ง มุ่งม่นั ในการทางาน รักความเปน็ ไทย และมีจิตสาธารณะ ผลกำรเรยี นรู้ 1. เข้าใจและใช้สมบัติของจานวนเต็ม และเลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็มในการแก้ปัญหา คณิตศาสตร์และปญั หาในชวี ติ จริง 2. เข้าใจและใชค้ วามรู้เก่ยี วกับทศนิยมและเศษสว่ นไปใชใ้ นการแก้ปญั หาคณติ ศาสตรแ์ ละปญั หาในชวี ิตจรงิ 3. ใช้ความรู้ ทกั ษะกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ และเทคโนโลยใี นการแกป้ ญั หาในสถานการณ์ ต่าง ๆ ได้ อย่างเหมาะสม รวมท้งั หมด 3 ผลกำรเรียนรู้

รำยวิชำ คณิตศำสตร์เพม่ิ เตมิ 2 คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า | 43 ชัน้ มัธยมศกึ ษำปที ่ี 1 ภำคเรียนท่ี 2 รหสั วชิ ำ ค21202 จำนวน 40 ช่วั โมง ระดับมธั ยมศึกษำตอนต้น จำนวน 1.0 หน่วยกติ ศึกษา และฝกึ ทกั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์อนั ไดแ้ ก่ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ทางคณิตศาสตร์และ เช่ือมโยงคณิตศาสตรก์ ับศาสตร์อน่ื ๆ และมีความคดิ รเิ ริ่มสร้างสรรค์ ในสาระต่อไปน้ี กำรประยุกตข์ องอัตรำส่วน สดั สว่ น การแก้โจทยป์ ญั หาอัตราสว่ น การแก้โจทย์ปญั หาสดั สว่ นท่ีเท่ากัน กำรประยุกต์ของสมกำรเชิงเสน้ ตัวแปรเดียว การแกโ้ จทย์ปญั หาเกยี่ วกับโจทยป์ ญั หาเกีย่ วกบั สมการเชิงเส้น ตัวแปรเดยี ว โดยในการเรียนรู้เนื้อหาจะมีการฝึกทักษะการคิดคานวณ การคิดวิเคราะห์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การ แก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์ เช่ือมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อ่ืน ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ซึ่งมีการใช้ส่ือ อุปกรณ์ แหล่ง เรียนรู้ และเทคโนโลยที างคณิตศาสตร์ประยุกต์ใชอ้ ยา่ งเหมาะสม นอกจากน้ีมีการมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีเจตคติที่ดีต่อรายวิชา มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่สามารถอยู่ร่วมกับ ผู้อ่ืนในสังคมได้อย่างมีความสุขในฐานะพลเมืองไทยและพลโลก รักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินยั ใฝ่เรยี นรู้ อยูอ่ ย่างพอเพยี ง มุ่งมั่นในการทางาน รกั ความเปน็ ไทย และมีจิตสาธารณะ ผลกำรเรียนรู้ 1. เข้าใจและประยกุ ตใ์ ช้อัตราส่วน ในการแกป้ ัญหาคณิตศาสตรแ์ ละปญั หาในชวี ติ จริง 2. เขา้ ใจและประยกุ ต์ใช้สดั สว่ นทเ่ี ท่ากนั ในการแก้ปัญหาคณติ ศาสตรแ์ ละปญั หาในชวี ติ จริง 3. เขา้ ใจและใช้ความรเู้ กยี่ วกับสมการเชงิ เสน้ ตัวแปรเดียว แก้โจทย์ปญั หาทางคณิตศาสตร์และปัญหาในชวี ิต จรงิ รวมท้งั หมด 3 ผลกำรเรียนรู้

รำยวิชำ คณติ ศำสตรเ์ พ่มิ เติม 3 คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า | 44 ช้นั มธั ยมศกึ ษำปีที่ 2 ภำคเรยี นท่ี 1 รหสั วิชำ ค22201 จำนวน 40 ชั่วโมง ระดับมธั ยมศึกษำตอนตน้ จำนวน 1.0 หน่วยกิต ศึกษา และฝึกทกั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์อนั ไดแ้ ก่ การแก้ปญั หา การใหเ้ หตุผล การส่ือสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ทางคณิตศาสตร์และ เชอ่ื มโยงคณติ ศาสตรก์ ับศาสตร์อ่นื ๆ และมคี วามคิดริเรมิ่ สร้างสรรค์ ในสาระตอ่ ไปน้ี กำรประยกุ ตเ์ กยี่ วกับเลขยกกำลัง การนาความร้เู ก่ียวกบั สมบัติการดาเนนิ การเลขยกกาลงั ไปใชใ้ นชวี ิตจรงิ กำรประยุกตเ์ กยี่ วกับกำรแปลงทำงเรำขำคณติ การประยกุ ต์โดยใชก้ ารเลอื่ นขนาน การสะทอ้ น และการหมุน ในการสรา้ งสรรคง์ านศลิ ปะและการออกแบบลวดลายต่าง ๆ โดยในการเรียนรู้เนื้อหาจะมีการฝึกทักษะการคิดคานวณ การคิดวิเคราะห์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การ แก้ปัญหา การให้เหตุผล การส่ือสาร การส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์และการนาเสนอ การเช่ือมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์ เชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ ซ่ึงมีการใช้ส่ือ อุปกรณ์ แหล่ง เรยี นรู้ และเทคโนโลยที างคณติ ศาสตร์ประยกุ ต์ใชอ้ ยา่ งเหมาะสม นอกจากนี้มีการมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีเจตคติท่ีดีต่อรายวิชา มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ท่ีสามารถอยู่ร่วมกับ ผู้อ่ืนในสังคมได้อย่างมีความสุขในฐานะพลเมืองไทยและพลโลก รักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ซ่ือสัตย์สุจริต มีวนิ ัย ใฝเ่ รยี นรู้ อยูอ่ ย่างพอเพียง ม่งุ ม่ันในการทางาน รักความเปน็ ไทย และมจี ิตสาธารณะ ผลกำรเรียนรู้ 1. นาความรูเ้ กี่ยวกับสมบัติการดาเนนิ การเลขยกกาลงั ไปใชใ้ นชวี ติ จรงิ 2. ใชค้ วามรเู้ กยี่ วกบั เลื่อนขนาน การสะท้อน และการหมุนในการสรา้ งสรรคง์ านศลิ ปะหรอื ออกแบบได้ รวมทง้ั หมด 2 ผลกำรเรียนรู้

รำยวิชำ คณติ ศำสตร์เพ่มิ เติม 4 คำอธิบำยรำยวชิ ำ ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า | 45 ชนั้ มัธยมศกึ ษำปีท่ี 2 ภำคเรียนที่ 2 รหสั วชิ ำ ค22202 ระดบั มธั ยมศึกษำตอนตน้ จำนวน 40 ชวั่ โมง จำนวน 1.0 หนว่ ยกิต ศึกษา และฝึกทกั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์อันได้แก่ การแก้ปญั หา การใหเ้ หตผุ ล การส่ือสาร การสอื่ ความหมายทางคณติ ศาสตร์ และการนาเสนอ การเช่ือมโยงความรู้ต่างๆ ทางคณิตศาสตรแ์ ละ เช่ือมโยงคณติ ศาสตรก์ บั ศาสตรอ์ นื่ ๆ และมคี วามคิดริเร่มิ สร้างสรรค์ ในสาระต่อไปน้ี กำรแยกตวั ประกอบของพหุนำมดกี รีสอง โดยใช้สมบัตกิ ารแจกแจง การแยกตวั ประกอบของพหุนามดีกรี สองที่อยใู่ นรปู ax2+ bx + c เมอ่ื a , b , c เป็นคา่ คงตัว และ a  0 การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรี สองทอ่ี ยใู่ นรูปผลต่างของกาลังสอง การแยกตวั ประกอบของพหุนามดีกรีสองท่ีอยู่ในรปู กาลงั สองสมบรู ณ์ กำรสำรวจขอ้ มูลเบือ้ งตน้ การสรา้ งแบบสอบถามความคิดเหน็ การวเิ คราะห์ข้อมลู การนาเสนอข้อมูล โดยในการเรียนรู้เน้ือหาจะมีการฝึกทักษะการคิดคานวณ การคิดวิเคราะห์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การ แก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์ เชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อ่ืน ๆ และมีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ ซ่ึงมีการใช้ส่ือ อุปกรณ์ แหล่ง เรยี นรู้ และเทคโนโลยที างคณิตศาสตรป์ ระยกุ ตใ์ ชอ้ ย่างเหมาะสม นอกจากนี้มีการมุ่งพฒั นาผู้เรียนให้มเี จตคติทดี่ ีตอ่ รายวชิ า มคี ุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ทสี่ ามารถอยู่รว่ มกบั ผอู้ ื่นในสงั คมไดอ้ ยา่ งมคี วามสุขในฐานะพลเมืองไทยและพลโลก รักชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์ ซื่อสัตยส์ จุ ริต มีวินัย ใฝ่เรยี นรู้ อย่อู ย่างพอเพยี ง มงุ่ ม่นั ในการทางาน รกั ความเปน็ ไทย และมีจิตสาธารณะ ผลกำรเรยี นรู้ 1. แยกตัวประกอบของพหนุ ามดีกรีสองโดยใช้สมบัตกิ ารแจกแจงได้ 2. แยกตวั ประกอบของพหุนามดกี รีสองทอี่ ยู่ในรูป ax2+bx+c เม่อื a, b, c เป็นคา่ คงตวั และ a  0 ได้ 3. แยกตวั ประกอบของพหุนามดีกรีสองท่ีอยใู่ นรปู ผลต่างของกาลงั สองได้ 4. แยกตวั ประกอบของพหุนามดกี รีสองทีอ่ ยใู่ นรปู กาลังสองสมบรู ณ์ได้ 5. คูณและหารจานวนดว้ ยเทคนิคเวทคณติ ได้ 6. สรา้ งแบบสอบถามความคดิ เหน็ ได้ 7. สามารถวเิ คราะหข์ ้อมูลโดยใช้ค่ากลาง และการกระจายของข้อมลู ได้ 8. สามารถนาเสนอข้อมูลได้หลากหลายรปู แบบ รวมทั้งหมด 8 ผลกำรเรียนรู้

รำยวชิ ำ คณิตศำสตร์เพิม่ เตมิ 5 คำอธบิ ำยรำยวิชำ ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า | 46 ช้ันมธั ยมศกึ ษำปีท่ี 3 ภำคเรียนที่ 1 รหัสวชิ ำ ค 23201 จำนวน 40 ชว่ั โมง ระดับมัธยมศึกษำตอนตน้ จำนวน 1.0 หน่วยกิต ศึกษา และฝึกทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์อันได้แก่ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การส่ือสาร การ สอื่ ความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ การเชอ่ื มโยงความรตู้ า่ ง ๆ ทางคณติ ศาสตร์ และเชอ่ื มโยงคณติ ศาสตร์ กับศาสตรอ์ นื่ ๆ และมคี วามรเิ ร่ิมสร้างสรรค์ ในสาระตอ่ ไปน้ี กำรประยกุ ตเ์ ก่ียวกบั กำรแยกตัวประกอบของพหนุ ำม การแยกตวั ประกอบของพหุนามที่มีดรีกรีสงู กว่า 3 กำรประยกุ ตเ์ ก่ยี วกบั ควำมคลำ้ ย รูปสามเหล่ยี มทค่ี ล้ายกนั การประยกุ ตเ์ กี่ยวกบั สมบตั คิ วามคล้าย โดยในการเรียนรู้เนื้อหาจะมีการฝึกทักษะการคิดคานวณ การคิดวิเคราะห์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การ แก้ปัญหา การให้เหตุผล การส่ือสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์ เช่ือมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อ่ืน ๆ และมีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ ซึ่งมีการใช้ส่ือ อุปกรณ์ แหล่ง เรียนรู้ และเทคโนโลยที างคณิตศาสตร์ประยุกตใ์ ชอ้ ยา่ งเหมาะสม นอกจากนม้ี กี ารมุ่งพฒั นาผูเ้ รียนใหม้ ีเจตคติท่ีดตี อ่ รายวชิ า มีคุณลกั ษณะอนั พึงประสงคท์ สี่ ามารถอยู่ร่วมกับ ผู้อื่นในสังคมไดอ้ ยา่ งมีความสุขในฐานะพลเมอื งไทยและพลโลก รักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ซ่อื สัตย์สจุ ริต มีวนิ ัย ใฝเ่ รียนรู้ อยอู่ ย่างพอเพยี ง มุ่งม่นั ในการทางาน รกั ความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ ผลกำรเรยี นรู้ 1. เขา้ ใจและสามารถการแยกตวั ประกอบของพหนุ ามทีม่ ดี รีกรสี ูงกวา่ 3 ได้ 2. ใช้ความร้เู กย่ี วกับสมบตั ขิ องความคล้ายทางรูปเรขามาการประยุกต์สร้างสรรค์งานศลิ ปะได้ รวมทัง้ หมด 2 ผลกำรเรยี นรู้

รำยวชิ ำ คณติ ศำสตรเ์ พ่ิมเติม 6 คำอธบิ ำยรำยวิชำ ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า | 47 ชั้น มัธยมศกึ ษำปที ี่ 3 ภำคเรยี นท่ี 2 รหัสวิชำ ค23202 จำนวน 40 ช่ัวโมง ระดับมัธยมศึกษำตอนต้น จำนวน 1.0 หน่วยกิต ศึกษา และฝึกทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตรอ์ ันได้แก่ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การ สอ่ื ความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนาเสนอ การเชอ่ื มโยงความรู้ตา่ ง ๆ ทางคณิตศาสตร์ และเชือ่ มโยงคณติ ศาสตร์ กับศาสตรอ์ ่ืน ๆ และมีความริเร่ิมสรา้ งสรรค์ ในสาระตอ่ ไปนี้ กำรประยกุ ต์กำรหำปริมำตรและพ้ืนทีผ่ ิวพีระมิด กรวย และทรงกลม ปรมิ าตรและพ้นื ท่ผี ิวของพรี ะมดิ กรวย และทรงกลม ควำมน่ำจะเป็น การประยกุ ตห์ าโอกาสและเหตุการณ์ โดยในการเรียนรู้เน้ือหาจะมีการฝึกทักษะการคิดคานวณ การคิดวิเคราะห์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การ แก้ปัญหา การให้เหตุผล การส่ือสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์และการนาเสนอ การเช่ือมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์ เช่ือมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ ซึ่งมีการใช้สื่อ อุปกรณ์ แหล่ง เรยี นรู้ และเทคโนโลยีทางคณิตศาสตร์ประยุกตใ์ ช้อย่างเหมาะสม นอกจากนี้มีการมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีเจตคติท่ีดีต่อรายวิชา มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่สามารถอยู่ร่วมกับ ผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุขในฐานะพลเมืองไทยและพลโลก รักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ซ่ือสัตย์สุจริต มีวนิ ยั ใฝ่เรยี นรู้ อยูอ่ ย่างพอเพยี ง ม่งุ มน่ั ในการทางาน รักความเปน็ ไทย และมีจติ สาธารณะ ผลกำรเรียนรู้ 1. ใชค้ วามรเู้ กยี่ วกบั การหาปริมาตรและพ้ืนท่ผี วิ ของพีระมดิ กรวย และทรงกลม มาประยกุ ต์ใช้ใน ชวี ิตประจาวันได้ 2. หาความน่าจะเปน็ ของเหตุการณท์ กี่ าหนดใหไ้ ด้ 3. นาความรู้เกยี่ วกับความน่าจะเปน็ ไปใช้ในการแก้ปญั หา รวมทง้ั หมด 3 ผลกำรเรียนรู้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook