Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการเรียนการสอน รายวิชาเคมี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564

แผนการเรียนการสอน รายวิชาเคมี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564

Published by mind.30, 2021-09-22 15:56:42

Description: แผนการเรียนการสอน รายวิชาเคมี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 และ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5

Search

Read the Text Version

แผนการจัดการเรียนรู้ การฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ข้ันปฏิบัติการสอน 1 นางสาวณัฐธดิ า ชากรแก้ว สาขาวชิ าเคมี รหัสนักศึกษา 6015891014 ตาแหน่ง นักศึกษาฝึกประสบการณว์ ิชาชีพครู โรงเรยี นศรีรัตน์ราษฎร์นเุ คราะห์ จงั หวัดจนั ทบรุ ี สานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 17

ก คำนำ การจดั ทำแผนการจัดการเรยี นรูน้ บั เปน็ วิธหี นึ่งที่ทำใหค้ รผู สู้ อนได้มกี ารเตรียมการสอนลว่ งหน้า กอ่ นท่ีจะ ทำการสอนจรงิ โดยมกี ารเตรียมเนอื้ หา เตรียมกิจกรรม เตรียมสอื่ การเรียนการสอน รวมท้ังวิธกี ารวัดผลประเมนิ ผล ซงึ่ การเตรียมการสอนจะช่วยใหค้ รผู ู้สอนมคี วามพร้อมทจี่ ะสอนให้ผู้เรยี นบรรลุตามจดุ ม่งุ หมายของหลกั สตู ร การจัดทำแผนการจัดการเรียนรฉู้ บับนี้ ผ้จู ัดทำได้ศึกษาคน้ ควา้ หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พุทธศักราช 2560) เอกสารอนื่ ๆ ทีเ่ ก่ยี วข้อง วเิ คราะห์หลกั สตู ร จัดทำกำหนดการ สอน โครงสรา้ งรายวิชา และหารูปแบบการทำแผนการจัดการเรยี นรู้ โดยเนน้ ใหผ้ ู้เรียนได้เรียนผ่านกระบวนการคดิ ดว้ ยตนเอง โดยคำนงึ ถึงสภาพแวดล้อมของผู้เรยี น โรงเรยี น และชมุ ชนเป็นหลกั แผนการจัดการเรียนรูฉ้ บับนี้ เปน็ แผนการจดั การเรยี นรู้รายวิชาเคมี ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 4 ประกอบดว้ ย หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 เร่ือง ความปลอดภัยและทักษะในปฏิบัติการเคมี หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 เร่ือง อะตอมและสมบัติ ของธาตุ หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 3 พนั ธะเคมี และชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 5 เรื่อง แก๊สและสมบตั ิของ แก๊ส หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 6 เร่ือง อตั ราการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมี หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 7 เรื่อง สภาวะสมดลุ จดั ทำไวเ้ พื่อ สะดวกต่อการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ทุกปีการศึกษา ผทู้ ี่จะนำไปใช้ควรอา่ นคำ ช้ีแจงการใชแ้ ผนการจัดการเรียนรู้ใหเ้ ข้าใจก่อนนำไปใชจ้ ริง ขา้ พเจา้ หวงั เปน็ อยา่ งย่ิงว่า แผนการจัดการเรียนรู้ฉบับนจ้ี ะชว่ ยให้การเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน์ รายวิชาเคมี ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 4 และชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 5 ดำเนินไปดว้ ยดี และทำให้ผู้เรียนมคี วามรู้ ความสามารถ มที กั ษะกระบวนการและมคี ุณลักษณะอันพงึ ประสงคต์ รงตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตรตอ่ ไป นางสาวณัฐธดิ า ชากรแกว้ ผจู้ ัดทำ

สารบัญ ข คำนำ หน้า สารบญั ก แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวิชาเคมี ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 4 ภาคเรยี นที่ 1 ข คำอธบิ ายรายวชิ า 2 โครงสร้างรายวิชา 4 โครงการสอน 12 แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 1 15 แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 2 24 แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 3 36 แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 4 48 แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 5 54 แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 6 69 แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 7 77 แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 8 98 แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 9 105 แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 10 114 แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 11 122 แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 12 133 แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 13 142 แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 14 151 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 15 160 แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 16 168 แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 17 177 แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 18 188 แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 19 196 แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 20 207 แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 21 216 แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 22 228 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 23 241 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 24 252 แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 25 266 แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 26 281 แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ 27 292

แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 28 ข แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเคมี ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5 ภาคเรยี นท่ี 1 302 คำอธิบายรายวิชา 310 โครงสร้างรายวชิ า 311 โครงการสอน 313 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 1 317 แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 2 320 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 3 331 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 4 342 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 5 351 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 6 360 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 7 369 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 8 379 แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 9 390 แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 10 400 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 11 412 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 12 422 แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ 13 439 แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 14 451 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 15 465 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 16 477 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 17 488 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 18 499 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 19 513 แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 20 523 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 21 535 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 22 547 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 23 563 แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 24 574 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 25 585 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 26 598 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 27 613 ภาคผนวก 624 ประมวลภาพประกอบการเรียนการสอนในรปู แบบ online ผ่าน Google meet 634 สอ่ื การสอน ในรปู แบบ power point 637

1 แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาเคมี ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 ภาคเรียนท่ี 1

2 คำอธบิ ายรายวิชา วิชาเคมี 1 รหสั วชิ า ว31223 กล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 จำนวน 40 ชวั่ โมง จำนวน 1 หนว่ ยกติ ศกึ ษาขอ้ ปฏิบัติเบ้ืองต้นในการทำปฏิบตั ิการเคมี และวดั ปริมาณตา่ ง และปฏิบัตติ นที่แสดงถึงความตระหนักใน การทำปฏิบัติการเคมีเพื่อให้มีความปลอดภัยทั้งต่อตนเอง ผู้อื่นและสิ่งแวดล้อม และเสนอแนวทางแก้ไขเมื่อเกิด อุบตั ิเหตุ ระบุ อธบิ าย เขยี น หนว่ ยวดั ปริมาณต่าง ๆ ของสาร และเปลยี่ นหน่วยวัดใหเ้ ป็นหนว่ ยในระบบเอสไอด้วยการ ใช้แฟกเตอร์เปลี่ยนหนว่ ย แบบจำลองอะตอมของนกั วิทยาศาสตรแ์ ละอธบิ ายววิ ัฒนาการของแบบจำลองอะตอม พร้อม วเิ คราะห์สมบัตธิ าตหุ มู่ คาบ ความเปน็ โลหะ อโลหะ และกง่ึ โลหะ ของธาตเุ รพรีเซนเททฟี และธาตแุ ทรนซชิ ันในตาราง ธาตุ สัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ และระบุจำนวนโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน ของอะตอมจากสัญลักษณ์ นิวเคลยี ร์ การจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลักและระดบั พลังงานยอ่ ยเมอ่ื ทราบเลขอะตอมของธาตุ สมบัติของ ธาตุโลหะแทรนซิชนั และเปรียบเทียบสมบตั ิกับธาตโุ ลหะในกล่มุ ธาตุเรพรีเซนเททีฟ การเกิดไอออนและการเกิดพันธะ ไอออนกิ โดยใชแ้ ผนภาพหรือสัญลกั ษณ์แบบจดุ ของลิวอิส สมบตั ิของสารประกอบไอออนิก การเกดิ พนั ธะโคเวเลนต์ แบบพันธะเด่ียว พนั ธะคู่ และพนั ธะสาม ด้วยโครงสร้างลิวอิส การเกดิ พันธะโลหะและสมบตั ขิ องโลหะ สมบัติ คำนวณ ครึ่งชีวิตของไอโซโทปกัมมันตรังสี พลังงานที่เกี่ยวข้องกับปฏิกิริยาของสารโคเวเลนต์จากพลงั งาน พันธะ พลังงานที่ เกย่ี วข้องกับปฏกิ ิริยาการเกิดสารประกอบไอออนิก จากวฏั จกั ร บอร์น-ฮาเบอร์ สมบัติของสารโคเวเลนต์โครงร่างตา ขา่ ยชนิดตา่ ง ๆ คาดคะเนรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ โดยใช้ทฤษฎกี ารผลักระหว่างคู่อิเล็กตรอนในวงเวเลนซ์ และระบุ สภาพข้วั ของโมเลกุลโคเวเลนต์ ชนิดของแรงยดึ เหนี่ยวระหว่างโมเลกุลโคเวเลนต์ และเปรียบเทียบจดุ หลอมเหลว จุด เดือด และการละลายน้ำของสารโคเวเลนต์ เขียนสูตร และเรียกชื่อสารประกอบไอออนิก สารโคเวเลนต์ สมการไอ ออนกิ และสมการไอออนิกสุทธิของปฏิกิรยิ าของสารประกอบไอออนกิ เปรยี บเทยี บความยาวพันธะและพลังงานพันธะ ในสารโคเวเลนต์ เปรียบเทียบสมบตั ิบางประการของสารประกอบไอออนิก สารโคเวเลนต์ และโลหะ รวมท้ัง สืบค้น ขอ้ มูลและนำเสนอตัวอย่างการใช้ประโยชนข์ องสารประกอบไอออนิก สารโคเวเลนต์ และโลหะ และยกตัวอยา่ งการนำ ธาตุมาใช้ประโยชน์ รวมทั้งผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ได้อย่างเหมาะสม โดยใช้กระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ สบื เสาะหาความรู้ สำรวจ ตรวจสอบ สบื ค้นข้อมลู และอภิปรายเพ่ือใหเ้ กดิ ความรู้ ความคดิ ความ เขา้ ใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรยี นรู้มีความสามารถในการตัดสินใจนำความร้ไู ปใช้ในชีวติ ประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรม และค่านิยมท่เี หมาะสม โดยใช้กระบวนการสร้างความคดิ รวบยอด กระบวนการทำงาน กระบวนการคดิ วิเคราะห์ กระบวนการสืบค้น กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการกล่มุ และกระบวนการแก้ปญั หา เพือ่ ใหม้ คี วามรู้ความเข้าใจเก่ียวกับความปลอดภัยในการทำปฏิบตั ิการเคมี ธาตแุ ละสมบัตขิ องธาตุ พันธะเคมี สามารถนำความรู้และหลักการไปใช้ประโยชน์ เชื่อมโยง อธิบายปรากฏการณห์ รือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน สามารถ จัดกระทำและวิเคราะห์ข้อมูล สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ แก้ปัญหา มีจิตวิทยาศาสตร์ มี จรยิ ธรรม คณุ ธรรมและค่านยิ มทีเ่ หมาะสม

3 ผลการเรยี นรู้ 1. บอกและอธิบายข้อปฏิบตั ิเบื้องตน้ และปฏิบัติตนที่แสดงถึงความตระหนักในการทำปฏิบัตกิ ารเคมีเพื่อให้มีความ ปลอดภยั ทั้งตอ่ ตนเอง ผอู้ ่ืนและสง่ิ แวดลอ้ ม และเสนอแนวทางแกไ้ ขเม่อื เกดิ อบุ ตั ิเหตุ 2. เลือก และใชอ้ ปุ กรณ์หรือเครือ่ งมือในการทำปฏบิ ัติการ และวดั ปรมิ าณตา่ ง ๆ ได้อย่างเหมาะสม 3. นำเสนอแผนการทดลอง ทดลองและเขียนรายงานการทดลอง 4. ระบุหน่วยวดั ปริมาณต่าง ๆ ของสาร และเปลยี่ นหน่วยวัดใหเ้ ป็นหน่วยในระบบเอสไอด้วยการใชแ้ ฟกเตอร์เปล่ียน หนว่ ย 5. สืบค้นข้อมูลสมมติฐาน การทดลอง หรือผลการทดลองที่เป็นประจักษ์พยานในการเสนอแบบจำลองอะตอมของ นักวทิ ยาศาสตร์และอธิบายววิ ฒั นาการของแบบจำลองอะตอม 6. เขียนสัญลักษณ์นิวเคลยี ร์ของธาตุ และระบุจำนวนโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอนของอะตอมจากสัญลกั ษณ์ นิวเคลยี ร์ รวมทง้ั บอกความหมายของไอโซโทป 7. อธิบาย และเขียนการจดั เรียงอเิ ล็กตรอนในระดบั พลงั งานหลกั และระดบั พลังงานย่อยเม่อื ทราบเลขอะตอมของธาตุ 8. ระบหุ มู่ คาบ ความเป็นโลหะ อโลหะ และก่ึงโลหะ ของธาตุเรพรีเซนเททีฟ และธาตุแทรนซชิ นั ในตารางธาตุ 9. วิเคราะห์ และบอกแนวโนม้ สมบัติของธาตุเรพรีเซนเททีฟตามหมู่และตามคาบ 10. บอกสมบัติของธาตุโลหะแทรนซชิ นั และเปรยี บเทยี บสมบตั ิกบั ธาตุโลหะในกลุ่มธาตุ เรพรเี ซนเททีฟ 11. อธบิ ายสมบัติ และคำนวณครงึ่ ชีวิตของไอโซโทปกมั มันตรังสี 12. สืบค้นขอ้ มลู และยกตวั อยา่ งการนำธาตมุ าใช้ประโยชน์ รวมท้ังผลกระทบตอ่ ส่งิ มีชีวิตและสง่ิ แวดลอ้ ม 13. อธบิ ายการเกิดไอออนและการเกดิ พนั ธะไอออนกิ โดยใช้แผนภาพหรือสัญลกั ษณแ์ บบจุดของลวิ อิส 14.เขียนสตู ร และเรยี กช่ือสารประกอบไอออนกิ 15. คำนวณพลงั งานท่เี ก่ียวข้องกบั ปฏกิ ิรยิ าการเกิดสารประกอบไอออนกิ จาก วฏั จกั ร บอร์น-ฮาเบอร์ 16. อธิบายสมบตั ิของสารประกอบไอออนิก 17. เขียนสมการไอออนกิ และสมการไอออนิกสุทธิของปฏิกิรยิ าของสารประกอบไอออนกิ 18. อธบิ ายการเกดิ พนั ธะโคเวเลนตแ์ บบพนั ธะเด่ยี ว พนั ธะคู่ และพันธะสาม ด้วย โครงสรา้ งลิวอิส 19.เขยี นสตู ร และเรียกชอ่ื สารโคเวเลนต์ 20.วเิ คราะห์ และเปรยี บเทยี บความยาวพนั ธะและพลังงานพันธะในสารโคเวเลนต์ รวมท้งั คำนวณพลังงานท่ีเก่ียวข้อง กับปฏิกิริยาของสารโคเวเลนต์จากพลงั งานพันธะ 21.คาดคะเนรปู ร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ โดยใชท้ ฤษฎีการผลักระหว่างคู่อิเล็กตรอนในวงเวเลนซ์ และระบุสภาพขั้วของ โมเลกลุ โคเวเลนต์ 22.ระบชุ นดิ ของแรงยึดเหน่ยี วระหวา่ งโมเลกลุ โคเวเลนต์ และเปรยี บเทยี บจดุ หลอมเหลว จุดเดอื ด และการละลาย น้ำของสารโคเวเลนต์ 23.สืบค้นข้อมูล และอธิบายสมบัตขิ องสารโคเวเลนต์โครงรา่ งตาขา่ ยชนดิ ตา่ ง ๆ 24.อธบิ ายการเกิดพันธะโลหะและสมบัติของโลหะ 25.เปรียบเทียบสมบัติบางประการของสารประกอบไอออนิก สารโคเวเลนต์ และโลหะ สืบค้นข้อมูลและนำเสนอ ตวั อย่างการใชป้ ระโยชน์ของสารประกอบไอออนกิ สารโคเวเลนต์ และโลหะ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม รวมทัง้ หมด 25 ผลการเรียนรู้

4 วชิ าเคมี 1 รหสั วิชา ว31223 โครงสร้างรายวชิ า ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 4 ภาคเรียนท่ี 1 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จำนวน 40 ช่วั โมง จำนวน 1 หน่วยกิต ลำดับ ชื่อหนว่ ย ผลการเรียนรู้ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนกั การเรียนรู้ (ชม.) คะแนน (100) 1. ธรรมชาติ 1. บอกและอธิบายข้อปฏิบัติเบื้องต้น - การทำปฏบิ ัตกิ ารเคมตี ้องคำนึงถึง 4 20 ของส่งิ มชี วี ิต และปฏบิ ัติตนที่แสดงถึงความตระหนัก ความปลอดภยั และความเปน็ มติ รตอ่ ในการทำปฏิบัติการเคมีเพื่อใหม้ ีความ สงิ่ แวดล้อม ดังน้ันจึงควรศึกษาข้อปฏบิ ัติ ปลอดภัยทั้งต่อตนเอง ผู้อื่นและ สง่ิ แวดลอ้ ม และเสนอแนวทางแกไ้ ขเมื่อ ของการทำปฏบิ ตั กิ ารเคมี เช่นความ ปลอดภัยในการใช้อุปกรณ์และสารเคมี เกดิ อุบตั ิเหตุ 2. เลือก และใช้อุปกรณ์หรือเครื่องมอื การป้องกันอบุ ัติเหตรุ ะหวา่ งการทดลอง ในการทำปฏบิ ตั กิ าร และวดั ปริมาณต่าง การกำจดั สารเคมี ๆ ได้อยา่ งเหมาะสม - อุปกรณแ์ ละเครอื่ งมอื ชงั่ ตวง วัดแตล่ ะ 3. นำเสนอแผนการทดลอง ทดลองและ ชนดิ มีวธิ กี ารใช้งานและการดแู ลแตกตา่ งกัน ซ่ึง เขียนรายงานการทดลอง การวดั ปรมิ าณตา่ ง ๆ ให้ไดข้ ้อมูลทมี่ ีความ 4. ระบหุ น่วยวดั ปริมาณต่าง ๆ ของสาร เทยี่ งและ ความแมน่ ในระดบั นยั สำคญั ที่ ต้องการ ตอ้ งมกี ารเลอื กและใชอ้ ปุ กรณใ์ น และเปลี่ยนห น่ วยวั ดให้ เป็ นห น่ วย ใน การทำปฏบิ ตั กิ ารอยา่ งเหมาะสม ระบบเอสไอด้วยการใชแ้ ฟกเตอรเ์ ปล่ียน หนว่ ย -การทำปฏิบัติการเคมีต้องมีการวาง แผนการทดลอง การทำการทดลอง การ บันทกึ ข้อมลู สรปุ แลวิเคราะห์ นำเสนอ ข้อมลู และการเขียนรายงานการทดลองท่ี ถูกตอ้ ง โดยการทำปฏิบตั กิ ารเคมีตอ้ ง คำนึงถึงวิธีการทางวทิ ยาศาสตรท์ ักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และจิตวิทยาศาสตร์ - การทำปฏิบัติการเคมีต้องมีก าร วัด ปริมาณต่าง ๆ ของสาร การบอกปริมาณ ของสารอาจระบุอยู่ในหน่วยต่าง ๆ ดังนั้น เพ่อื ให้มมี าตรฐานเดยี วกัน จงึ มกี ารกำหนด

5 ลำดบั ชื่อหน่วย ผลการเรยี นรู้ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนัก การเรียนรู้ (ชม.) คะแนน 5. สืบค้นข้อมูลสมมตฐิ าน การทดลอง หรือผลการทดลองที่เป็นประ จั กษ์ (100) พยานในการเสนอแบบจำลองอะตอม ของนักวิทยาศาสตร์และอธิบาย หน่วยในระบบเอสไอให้เป็นหน่วยสากล ซง่ึ ววิ ฒั นาการของแบบจำลองอะตอม 6. เขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ การเปลี่ยนหน่วยเพื่อให้เป็นหน่วยสากล และระบจุ ำนวนโปรตอน นวิ ตรอน และ สามารถทำได้ด้วยการใช้แฟกเตอร์เปลี่ยน อิเล็กตรอนของอะตอมจากสัญลักษณ์ นิวเคลียร์ รวมทั้งบอกความหมายของ หนว่ ย ไอโซโทป 2. อะตอมและ 7. อธิบาย และเขียนการจัดเรียง - นักวิทยาศาสตร์ศึกษาโครงสร้างของ 19 30 ตารางธาตุ อิเล็กตรอนในระดับพลังงานหลักและ ระดับพลังงานย่อยเมื่อทราบเลข อะตอม และเสนอแบบจำลองอะตอมแบบ อะตอมของธาตุ 8. ระบหุ มู่ คาบ ความเปน็ โลหะ อโลหะ ต่าง ๆ จากการศึกษาข้อมูล การสังเกต และกึ่งโลหะ ของธาตุเรพรีเซนเททีฟ และธาตแุ ทรนซชิ ันในตารางธาตุ การตง้ั สมมติฐาน และ ผลการทดลอง 9. วิเคราะห์ และบอกแนวโน้มสมบัติ ของธาตเุ รพรเี ซนเททฟี ตามหมแู่ ละตาม - แบบจำลองอะตอมมีวิวัฒนาการ โดยเริ่ม คาบ 10. บอกสมบตั ขิ องธาตโุ ลหะแทรนซิชัน จาก และเปรียบเทยี บสมบตั ิกบั ธาตุโลหะใน กล่มุ ธาตุ ดอลตันเสนอว่าธาตุประกอบด้วยอะตอม ซึ่งเป็นอนุภาคขนาดเล็กไม่สามารถ เรพรีเซนเททีฟ 11. อธิบายสมบัติ และคำนวณครึ่งชีวิต แบ่งแยกได้ ตอ่ มา ทอมสนั เสนอว่าอะตอม ของไอโซโทปกัมมนั ตรังสี 12. สืบค้นข้อมูล และยกตัวอย่างการ ประกอบดว้ ยอนุภาคท่ีมปี ระจุลบ เรียกว่า นำธาตุ ม าใช ้ ป ร ะ โย ช น์ ร ว ม ทั้ ง ผลกระทบต่อสงิ่ มชี วี ิตและส่งิ แวดลอ้ ม อิเล็กตรอน และอนุภาคประจุบวก รัทเทอร์ฟอรด์ เสนอว่าประจุบวกที่เรียกว่า โปรตอน รวมตัวกันอยตู่ รงก่ึงกลางอะตอม เรยี กวา่ นวิ เคลียส ซง่ึ มขี นาดเลก็ มาก และ มีอเิ ล็กตรอนอยู่รอบนวิ เคลียส โบร์เสนอว่า อเิ ล็กตรอนเคลอ่ื นทีเ่ ปน็ วงรอบนวิ เคลยี ส โดยแต่ละวงมีระดับพลงั งานเฉพาะตัว ใน ปัจจุบันนักวิทย าศาสตร ์ยอมร ั บ ว่ า อิเล็กตรอนมีการเคลื่อนที่รวดเร็วรอบ นิวเคลียส และไม่สามารถระบุตำแหน่งที่ แน่นอนได้ จึงเสนอแบบจำลองอะตอม แบบกลุ่มหมอก ซึ่งแสดงโอกาสการพบ อิเลก็ ตรอนรอบนวิ เคลียส - ส ั ญ ล ั ก ษ ณ ์ น ิ ว เ ค ล ี ย ร ์ ข อ ง ธ า ตุ ประกอบดว้ ยสญั ลกั ษณธ์ าตุ เลขอะตอมซ่ึง แสดงจำนวนโปรตอน และเลขมวลซึ่ง แสดงผลรวมของจำนวนโปรตอนกั บ นิวตรอน อะตอมของธาตุชนิดเดียวกันท่ีมี จำนวนโปรตอนเท่ากัน แต่มีจำนวน นวิ ตรอนต่างกนั เรยี กวา่ ไอโซโทป - การศึกษาสเปกตรัมการเปล่งแสงของ อะตอมแก๊ส ทำให้ทราบว่า อิเล็กตรอน จัดเรียงอยู่รอบ ๆ นิวเคลียสในระดับ พลังงานหลักต่าง ๆ และแต่ละระดับ พลงั งานหลักยังแบง่ เปน็ ระดับพลังงานย่อย

6 ลำดับ ชอ่ื หน่วย ผลการเรียนรู้ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนัก การเรยี นรู้ (ชม.) คะแนน (100) ซึ่งมีบริเว ณที ่ จะ พบอ ิเ ล็ กต รอ นเร ีย ก ว่ า ออร์บิทัล ได้แตกต่างกัน และอิเล็กตรอน จะจัดเรียงในออร์บิทัลให้มีระดับพลังงาน ต่ำที่สุดสำหรับอะตอมในสถานะพ้ืน - ตารางธาตใุ นปัจจบุ ันจดั เรียงธาตุตามเลข อะตอมและสมบัติที่คล้ายคลึงกันเป็นหมู่ และคาบโดยอาจแบ่งธาตุในตารางธาตุเป็น กลุ่มธาตุโลหะ กึ่งโลหะ และอโลหะ นอกจากนี้อาจแบ่งเป็นกลุ่มธาตุเรพรีเซน เททีฟและกลุ่มธาตุแทรนซิชัน - ธาตุเรพรีเซนเททีฟในหมู่เดียวกันมี จำนวนเวเลนซ์-อิเล็กตรอนเท่ากัน และธาตุ ทอ่ี ยู่ในคาบเดียวกนั มเี วเลนซอ์ ิเล็กตรอนใน ระดับพลังงานหลักเดียวกนั ธาตุเรพรีเซน เททีฟมีสมบัติทางเคมีคลา้ ยคลึงกนั ตามหมู่ และมีแนวโน้มสมบัติบางประการเป็นไป ตามหมู่และตามคาบ เช่น ขนาดอะตอม รัศมีไอออน พลังงานไอออไ นเซ ชัน อิเล็กโทรเนกาติวิตีสัมพรรคภาพ อเิ ล็กตรอน - ธาตุแทรนซิชันเป็นโลหะที่ส่วนใหญ่มี เวเลนซ์-อิเล็กตรอนเท่ากับ ๒ มีขนาด อะตอมใกล้เคียงกัน มีจุดเดือด จุด ห ล อม เ ห ล วแ ล ะ ความ ห น าแ น ่ น สู ง เกิดปฏิกิริยากับน้ำได้ชา้ กว่าธาตุโลหะใน กลุ่มธาตุ เรพรีเซนเททีฟ เมื่อเกิดเป็น สารประกอบสว่ นใหญจ่ ะมสี ี - ธาตแุ ตล่ ะชนิดมไี อโซโทป ซ่งึ ในธรรมชาติ บางธาตุ มีไอโซโทปท่ีแผร่ ังสไี ด้ เนื่องจาก นิวเคลียสไม่เสถียร เรียกว่า ไอโซโทป กัมมันตรังสี สำหรับธาตุกัมมันตรังสีเป็น ธาตทุ ที่ กุ ไอโซโทปสามารถแผร่ ังสีได้ รังสีท่ี เกิดขึ้น เช่น รังสีแอลฟา รังสีบีตา รังสี แกมมา โดยครึ่งชีวิตของไอโซโทป กัมมันตรังสีเป็นระยะเวลาที่ไอโซโทป กัมมนั ตรงั สีสลายตวั จนเหลือครึ่งหน่ึงของ ปริมาณเดิม ซึ่งเป็นค่าคงที่เฉพาะของแต่ ละไอโซโทปกมั มนั ตรังสี - สมบัติบางประการของธาตแุ ตล่ ะชนิด ทำ ให้สามารถนำธาตุไปใช้ประโยชน์ในด้าน

7 ลำดบั ช่อื หนว่ ย ผลการเรียนรู้ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนัก การเรยี นรู้ (ชม.) คะแนน (100) ตา่ ง ๆได้อย่างหลากหลาย ทั้งน้ีการนำธาตุ ไปใช้ต้องตระหนักถึงผลกระทบที่มีต่อ สิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อมโดยเฉพาะสาร กัมมันตรังสีซึ่งต้องมีการจัดการอย่าง เหมาะสม 3. พันธะเคมี 13. อธบิ ายการเกิดไอออนและการเกิด - สารเคมเี กิดจากการยึดเหน่ยี วกันดว้ ย 16 30 พนั ธะเคมี ซง่ึ เกยี่ วข้องกับเวเลนซ์ พันธะไอออนิก โดยใช้แผนภาพหรือ อิเล็กตรอนท่แี สดงได้ดว้ สัญลักษณแ์ บบจุด สัญลักษณแ์ บบจุดของลิวอสิ ของลิวอสิ โดยการเกิดพันธะเคมี สว่ นใหญ่ 14.เขียนสตู ร และเรยี กชอื่ สารประกอบ เปน็ ไปตามกฎออกเตต ไอออนิก - พันธะไอออนกิ เกิดจากการยดึ เหนย่ี ว 15. คำนวณพลังงานที่เกี่ยวข้องกับ ปฏิกิริยาการเกิดสารประกอบไอออนิก ระหว่างประจไุ ฟฟ้าของไอออนบวกกบั จาก วัฏจกั ร บอร์น-ฮาเบอร์ 16. อธิบายสมบัติของสารประกอบไอ ไอออนลบสว่ นใหญไ่ อออนบวกเกิดจาก ออนกิ โลหะเสยี อเิ ล็กตรอนและไอออนลบเกิด 17. เขยี นสมการไอออนกิ และสมการไอ ออนิกสุทธิของปฏิกิริยาของ จากอโลหะรบั อิเล็กตรอน สารประกอบที่ เกิดจากพันธะไอออนกิ เรยี กว่า สารประกอบไอออนกิ สารประกอบไอออนิกสารประกอบไอ 18. อธิบายการเกิดพันธะโคเวเลนต์ แบบพันธะเดี่ยว พันธะคู่ และพันธะ ออนกิ ไม่อยูใ่ นรปู โมเลกลุ แต่เปน็ โครงผลึก สาม ด้วย โครงสรา้ งลวิ อสิ 19.เขยี นสูตร ท่ีประกอบดว้ ยไอออนบวกและไอออนลบ และเรยี กชือ่ สารโคเวเลนต์20.วเิ คราะห์ จดั เรียงตวั ตอ่ เนอ่ื งกันไปท้งั สามมติ ิ และเปรียบเทียบความยาวพันธะและ - สารประกอบไอออนิกเขยี นแสดงสูตรเคมี พลงั งานพันธะในสารโคเวเลนต์ รวมทั้ง โดยให้สัญลักษณ์ธาตทุ ่เี ปน็ ไอออนบวกไว้ คำนวณพลังงานท่เี ก่ียวขอ้ งกบั ปฏิกิริยา ขา้ งหน้าตามด้วยสัญลกั ษณ์ธาตุทีเ่ ปน็ ของสารโคเวเลนต์จากพลังงานพันธะ 21.คาดคะเนรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ ไอออนลบ โดยมีตัวเลขแสดงอัตราส่วน โดยใช้ทฤษฎี การผ ลั กระห ว ่ า ง คู่ อยา่ งตำ่ ของจำนวนไอออนทเี่ ป็น อเิ ล็กตรอนในวงเวเลนซ์ และระบุสภาพ องค์ประกอบ ขว้ั ของโมเลกุลโคเวเลนต์ -การเรยี กช่อื สารประกอบไอออนิกทำได้ 22.ระบชุ นดิ ของแรงยึดเหนี่ยวระหว่าง โดย โมเลกุลโคเวเลนต์ และเปรียบเทียบจุด เรยี กช่ือไอออนบวกแล้วตามดว้ ยชื่อไอออน หลอมเหลว จุดเดือด และการ ลบ สำหรับสารประกอบไอออนกิ ท่ีเกิดจาก ละลายนำ้ ของสารโคเวเลนต์ 23.สืบคน้ ขอ้ มูล และอธบิ ายสมบัติของ โลหะท่มี เี ลขออกซเิ ดชนั ไดห้ ลายคา่ ต้อง สารโคเวเลนต์โครงรา่ งตาข่ายชนิดต่าง ระบเุ ลขออกซิเดชันของโลหะด้วย ๆ -ปฏกิ ิรยิ าการเกิดสารประกอบไอออนิก 24.อธิบายการเกิดพันธะโลหะและ จากธาตุเกย่ี วข้องกับปฏกิ ิรยิ าเคมหี ลาย สมบัติของโลหะ ขั้นตอน มที ้ังท่ีเป็นปฏิกิรยิ าดดู พลังงาน 25.เปรียบเทียบสมบตั ิบางประการของ และคายพลังงานซึ่งแสดงได้ดว้ ยวัฏจกั ร สารประกอบไอออนิก สารโคเวเลนต์

8 ลำดับ ชอ่ื หน่วย ผลการเรียนรู้ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั การเรียนรู้ (ชม.) คะแนน (100) และโลหะ สืบค้นข้อมูลและนำเสนอ บอรน์ -ฮาเบอร์ และพลังงานของปฏิกิริยา ต ั ว อ ย ่ า ง ก า ร ใ ช ้ ป ร ะ โ ย ช น ์ ข อง การเกดิ สารประกอบไอออนิกเป็นผลรวม สารประกอบไอออนิก สารโคเวเลนต์ และโลหะ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ของพลังงานทุกขั้นตอน - สารประกอบไอออนิกสว่ นใหญ่มลี ักษณะ เปน็ ผลกึ ของแขง็ เปราะ มีจดุ หลอมเหลว และจุดเดือดสูงละลายน้ำแลว้ แตกตัวเปน็ ไอออนเรียกว่า สารละลายอิเล็กโทรไลต์ เมอื่ เป็นของแข็งไม่นำไฟฟ้า แต่ถา้ ทำให้ หลอมเหลวหรือละลายในน้ำจะนำไฟฟ้า - สารละลายของสารประกอบไอออนกิ แสดงสมบัติความเป็นกรด–เบส ต่างกัน สารละลายของสารประกอบคลอไรดม์ ี สมบัติเป็นกลาง และสารละลายของ สารประกอบออกไซดม์ สี มบัติเป็นเบส - ปฏิกริ ยิ าของสารประกอบไอออนกิ สามารถเขยี นแสดงด้วยสมการไอออนกิ หรือสมการไอออนกิ สทุ ธิ โดยท่ีสมการไอ ออนิกแสดงสารตั้งต้นและผลิตภัณฑท์ กุ ชนดิ ทแ่ี ตกตัวได้ในรปู ของไอออน ส่วน สมการไอออนิกสุทธิแสดงเฉพาะไอออนท่ี ทำปฏกิ ิรยิ ากัน และผลติ ภณั ฑท์ ่ีเกิดขึ้น - พนั ธะโคเวเลนตเ์ ป็นการยดึ เหนย่ี วที่ เกิดขน้ึ ภายในโมเลกุลจากการใช้เวเลนซ์ อเิ ลก็ ตรอนร่วมกันของธาตุ ซง่ึ ส่วนใหญ่ เป็นธาตุอโลหะ โดยทัว่ ไปจะเปน็ ไปตามกฎ ออกเตต สารทยี่ ดึ เหนย่ี วกันด้วยพันธะโคเว เลนต์เรยี กว่า สารโคเวเลนต์ พันธะโคเว เลนตเ์ กิดไดท้ ้ังพันธะเดยี่ ว พนั ธะคู่ และ พนั ธะสาม ซึง่ สามารถเขียนแสดงไดด้ ้วย โครงสร้างลวิ อสิ โดยแสดงอิเล็กตรอนคู่ ร่วมพันธะด้วยจุดหรอื เสน้ และแสดง อเิ ล็กตรอนคู่โดดเด่ียวของแตล่ ะอะตอม ดว้ ยจดุ - สูตรโมเลกลุ ของสารโคเวเลนต์ โดยทั่วไป เขียนแสดงด้วยสัญลักษณข์ องธาตุ

9 ลำดับ ชอ่ื หน่วย ผลการเรียนรู้ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนัก การเรยี นรู้ (ชม.) คะแนน (100) เรียงลำดบั ตามค่าอเิ ล็กโทรเนกาตวิ ิตจี าก นอ้ ยไปมากโดยมีตวั เลขแสดงจำนวน อะตอมของธาตทุ ีม่ ีมากกว่า ๑ อะตอมใน โมเลกุล - การเรียกช่ือสารโคเวเลนตท์ ำไดโ้ ดย เรยี กชอื่ ธาตุท่อี ย่หู นา้ ก่อน แลว้ ตามดว้ ยช่อื ธาตทุ ีอ่ ย่ถู ัดมา โดยมคี ำนำหน้าระบจุ ำนวน อะตอมของธาตุทเ่ี ปน็ องคป์ ระกอบ - ความยาวพันธะและพลังงานพนั ธะในสาร โคเวเลนตข์ ึ้นกับชนิดของอะตอมค่รู ว่ ม พันธะและชนิดของพันธะ โดยพันธะเดยี่ ว พันธะคู่และพนั ธะสาม มีความยาวพันธะ และพลงั งานพันธะแตกต่างกนั นอกจากน้ี โมเลกลุ โคเวเลนต์บางชนิดมคี า่ ความยาว พันธะและพลังงานพันธะแตกต่างจากของ พันธะเด่ยี ว พันธะคู่ และพันธะสาม ซงึ่ สาร เหล่านสี้ ามารถเขียนโครงสรา้ งลวิ อสิ ท่ี เหมาะสมไดม้ ากกว่า 1 โครงสรา้ งทเี่ รยี กว่า โครงสร้าง เรโซแนนซ์ - พลงั งานพันธะนำมาใช้ในการคำนวณ พลงั งาน ของปฏกิ ริ ยิ า ซ่ึงได้จากผลตา่ งของพลังงาน พันธะรวมของสารต้ังต้นกบั ผลิตภณั ฑ์ - รูปร่างของโมเลกลุ โคเวเลนต์ อาจ พิจารณาโดยใชท้ ฤษฎกี ารผลกั ระหว่างคู่ อเิ ลก็ ตรอนในวงเวเลนซ์ (VSEPR) ซึ่งขึ้นอยู่ กบั จำนวนพันธะและจำนวนอิเลก็ ตรอนคู่ โดดเดย่ี วรอบอะตอมกลางโมเลกลุ โคเว เลนตม์ ีทง้ั โมเลกุลมีข้ัวและไมม่ ีข้วั สภาพขั้ว ของโมเลกุลโคเวเลนตเ์ ปน็ ผลรวมปริมาณ เวกเตอรส์ ภาพขวั้ ของแตล่ ะพันธะตาม รูปรา่ งโมเลกุล - แรงยึดเหน่ียวระหวา่ งโมเลกุลซึ่งอาจเปน็ แรงแผ่กระจายลอนดอน แรงระหว่างขว้ั

10 ลำดบั ช่อื หน่วย ผลการเรยี นรู้ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั การเรยี นรู้ (ชม.) คะแนน (100) และพันธะไฮโดรเจน มีผลต่อจุด หลอมเหลว จุดเดอื ด และการละลายนำ้ ของสาร นอกจากนี้สารโคเวเลนตส์ ่วนใหญ่ ยังมจี ุดหลอมเหลวและจุดเดอื ดตำ่ กวา่ สารประกอบไอออนิก เนอื่ งจากแรงยดึ เหน่ียวระหว่างโมเลกลุ มคี ่าน้อยกว่าพันธะ ไอออนิก - สารโคเวเลนต์สว่ นใหญ่มีจดุ หลอมเหลว และจุดเดือดตำ่ และไมล่ ะลายในน้ำ สำหรับสารโคเวเลนต์ท่ีละลายน้ำมีทงั้ แตก ตวั และไมแ่ ตกตัวเป็นไอออน สารละลายที่ ไดจ้ ากสารที่ไมแ่ ตกตัวเป็นไอออนจะไม่นำ ไฟฟา้ เรยี กว่า สารละลาย-นอนอเิ ล็กโทร ไลต์ ส่วนสารละลายทไี่ ด้จากสารท่ีแตกตัว เป็นไอออนจะนำไฟฟ้า เรียกว่า สารละลายอเิ ล็กโทรไลต์ สารละลายของ สารประกอบคลอไรดแ์ ละออกไซด์จะมี สมบตั ิเป็นกรด - สารโคเวเลนต์บางชนิดทมี่ ีโครงสรา้ ง โมเลกลุ ขนาดใหญ่และมีพันธะโคเวเลนต์ ต่อเน่ืองเป็นโครงร่างตาขา่ ย จะมจี ุด หลอมเหลวและจุดเดือดสูง สารโคเวเลนต์ โครงรา่ งตาข่ายท่มี ธี าตอุ งค์ประกอบ เหมือนกนั แตม่ ีอัญรูปตา่ งกันจะมีสมบตั ิ ต่างกัน เชน่ เพชร แกรไฟต์ - พนั ธะโลหะเกิดจากเวเลนซ์อเิ ล็กตรอน ของ ทกุ อะตอมของโลหะเคลือ่ นทอ่ี ยา่ งอิสระไป ทว่ั ทง้ั โลหะ และเกิดแรงยึดเหน่ยี วกับ โปรตอนในนวิ เคลยี สทุกทิศทาง - โลหะส่วนใหญเ่ ป็นของแข็ง มีผวิ มันวาว สามารถ ตีเปน็ แผน่ หรือดงึ เป็นเส้นได้ นำความรอ้ น และนำไฟฟา้ ไดด้ ี มจี ุดหลอมเหลวและจดุ เดอื ดสูง

11 ลำดับ ช่อื หน่วย ผลการเรยี นรู้ สาระสำคญั เวลา น้ำหนัก การเรยี นรู้ (ชม.) คะแนน (100) - สารประกอบไอออนิก สารโคเวเลนต์ และโลหะ มีสมบัตเิ ฉพาะตวั บางประการทแี่ ตกต่างกัน เช่น จุดเดือด จุดหลอมเหลว การละลาย น้ำ การนำไฟฟ้า จึงสามารถนำม าใช้ ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ ได้ตามความ เหมาะสม การทดสอบปลายภาค 1 20 รวมทั้งสิน้ ตลอดภาคเรียน 100

โครงการสอนและการวดั และป วิชาเคมี1 รหัสวิชา ว31223 ชั้นมัธย ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 ผ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ย หน่วยการ ผลการ แนวคดิ / ทกั ษะทไี่ ด้ การประ เรียนรู้ เรยี นรู้ รปู แบบการ 1. 1-4 สอน/ ปฏิบัตกิ าร วิธกี ารสอน/ เคมี เบอ้ื งต้น เทคนิค แบบสบื - ทักษะการสงั เกต - ตรวจแบบท เสาะหา - ทักษะการส ำร วจ เรียน ความรู้ ค้นหา - ตรวจแบบฝกึ ห (5Es - ทกั ษะการวเิ คราะห์ - ตรวจใบงาน Instructional - ท ั ก ษ ะ ก า ร - ป ร ะ เ ม ิ นกา Model) ตั้งสมมตฐิ าน ผลงาน - ทกั ษะการทดลอง - สังเกตพฤ ต - ท ั ก ษ ะ ก า ร ทำงาน ตีความหมายและลง รายบุคคล ข้อสรุป - สังเกตพฤ ต ทำงานกลุม่ - สังเกตความม เรยี นรู้ และมุ่งม่ันในก

12 ประเมนิ ผล (Course Outline) ยมศกึ ษาปที ่ี 4 จำนวน 40 ช่ัวโมง ผู้สอน นางสาวณฐั ธดิ า ชากรแก้ว ยาศาสตร์และเทคโนโลยี เคร่อื งมือ สื่อ คะแนนเกบ็ รวมคะแนน ะเมิน ประเมนิ KP A ดสอบก่อน - แบบทดสอบ - วิดโิ อ 62 2 10 - แบบประเมิน - Power point หดั ใบงาน - แบ - ใบงาน - อินเทอร์เน็ต าร นำเ ส นอ สังเกตการณ์ - เกมส์ เขา้ ร่วม - ส่ิงแวดล้อม ิ กรรม ก าร กิจกรรมกลุ่ม - แบประเมนิ ผล งานกล่มุ ิกรรมการ มีวินัย ใฝ่ การทำงาน

หนว่ ยการ ผลการ แนวคิด/ ทกั ษะท่ีได้ การประ เรียนรู้ เรยี นรู้ รปู แบบการ - ตรวจแบบท สอน/ เรียน วธิ ีการสอน/ เทคนิค 2. อะตอม 5-12 แบบสืบ - ทกั ษะการสังเกต - ตรวจแบบท และ 13 - 25 ตาราง เสาะหา - ทักษะการส ำร วจ เรียน ธาตุ ความรู้ คน้ หา - ตรวจแบบฝกึ ห 3. พนั ธะ เคมี (5Es - ทักษะการวิเคราะห์ - ตรวจใบงาน Instructional - ท ั ก ษ ะ ก า ร ล ง - ป ร ะ เ ม ิ นกา Model) ความเห็นจากขอ้ มูล ผลงาน - ท ั ก ษ ะ ก า ร - สังเกตพฤต ตีความหมายและลง ทำงานกลุ่ม ขอ้ สรปุ - สังเกตความม เรยี นรู้ - ตรวจแบบท เรยี น แบบสบื - ทกั ษะการสงั เกต - ตรวจแบบท เสาะหา - ทักษะการส ำร วจ เรียน ความรู้ ค้นหา - ตรวจแบบฝึกห (5Es - ทักษะการวิเคราะห์ - ตรวจใบงาน Instructional - ทกั ษะการทดลอง - สังเกตพฤ ต Model) - ทักษะการกำหนด ทำงาน และควบคุม รายบุคคล

เครือ่ งมือ 13 ประเมิน สอ่ื คะแนนเก็บ ะเมนิ รวมคะแนน KP A ท ด ส อ บ ห ลั ง ดสอบก่อน - แบบทดสอบ - วิดิโอ 10 5 5 20 30 - แบบประเมิน - Power point หัด ใบงาน - แบ - ใบงาน - อินเทอร์เนต็ าร นำเ ส นอ สังเกตการณ์ - เกมส์ เข้าร่วม - สิ่งแวดล้อม ิ กรรม ก าร กจิ กรรมกลุ่ม - แบประเมนิ ผล มีวนิ ัย ใฝ่ งานกลมุ่ ท ด ส อ บ ห ลั ง ดสอบก่อน - แบบทดสอบ - วิดโิ อ 20 5 5 - แบบประเมิน - Power point หดั ใบงาน - แบ - ใบงาน - อินเทอร์เนต็ ิ กรรม ก าร สังเกตการณ์ - เกมส์ - ส่ิงแวดล้อม เขา้ รว่ ม กจิ กรรมกล่มุ

หนว่ ยการ ผลการ แนวคดิ / ทักษะทไี่ ด้ การประ เรียนรู้ เรยี นรู้ รูปแบบการ สอน/ วิธีการสอน/ เทคนคิ ตัวแปร - สังเกตพฤ ต ทำงานกลมุ่ - สังเกตความม เรยี นรู้ และมงุ่ มั่นในก -ตรวจแบบทดส เรียน คะแนนสอบกลางภาค คะแนนสอบปลายภาค รวมคะแนนท้งั ส้ิน

14 เครือ่ งมือ ส่ือ คะแนนเก็บ รวมคะแนน ประเมิน ะเมิน K P A ิ กรรม ก าร - แบประเมินผล งานกลุ่ม มวี ินยั ใฝ่ การทำงาน สอบหลงั 15 5 - 20 15 5 - 20 -- - 100

15 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 1 กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1 เร่อื ง ความปลอดภัยและทักษะในปฏิบัติการเคมี เรอื่ ง ความปลอดภยั ในการทำงานกับสารเคมี วิชา เคมี 1 รหสั ว31223 เวลาเรียน 1 ชั่วโมง จำนวน 1.0 หนว่ ยกติ ครูผสู้ อน นางสาวณัฐธดิ า ชากรแกว้ สาระการเรียนรู้ เขา้ ใจหลักการทำปฏบิ ัติการเคมี การวดั ปรมิ าณสาร หนว่ ยวดั และการเปล่ยี นหนว่ ย การคํานวณปริมาณ ของสาร ความเข้มข้นของสารละลาย รวมทั้งการบูรณาการความรู้และทักษะในการอธิบายปรากฏการณ์ใน ชีวิตประจำวนั และการแก้ปัญหาทางเคมี ผลการเรยี นรู้ บอกและอธิบายข้อปฏิบตั เิ บื้องตน้ และปฏิบัตติ นที่แสดงถึงความตระหนักในการทำปฏิบัตกิ ารเคมี เพ่ือให้มี ความปลอดภัยทั้งต่อตนเอง ผูอ้ ืน่ และสิ่งแวดล้อม และเสนอแนวทางแก้ไขเม่ือเกดิ อบุ ัตเิ หตุ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ดา้ นความรู้ (Knowledge) 1. สามารถบอกและอธิบายข้อควรปฏิบัติในการปฏิบัติการเคมีได้ที่แสดงถึงความตระหนักในการ ปฏิบัติการเคมีในหอ้ งปฏบิ ตั ิการเคมไี ด้ 2. นักเรยี นสามารถอธิบายวธิ กี ารใช้และกำจดั สารเคมีไดถ้ ูกตอ้ ง ด้านทักษะ (Process) 3. สามารถทำปฏิบตั กิ ารเคมีใหม้ ีความปลอดภยั ทง้ั ต่อตนเอง ผู้อืน่ และสิ่งแวดล้อมได้ ด้านคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (Affective) 4. มีความมุ่งม่ันตั้งใจในการเรยี นรู้ และแสวงหาความรู้ สาระสำคัญหรือความคดิ รวบยอด การทำปฏิบตั กิ ารทางเคมจี ะมีความเกีย่ วขอ้ งสารเคมหี ลายชนิด รวมทงั้ อุปกรณ์เครือ่ งแกว้ ตา่ ง ๆ สารเคมบี างชนิดอาจทำใหเ้ กดิ อนั ตรายต่อร่างกายของผู้ทําปฏิบตั ิการได้โดยตรง หรืออาจเกดิ อุบตั ิเหตุข้ึนไดใ้ นขณะทำปฏบิ ัตกิ ารเคมี ดงั นั้น ผู้ทําปฏบิ ัติการเคมจี ึงจำเปน็ ตอ้ งทราบถงึ ขอ้ ปฏิบตั ใิ น การทำปฏิบตั ิการเคมี เบือ้ งต้นท้ังก่อนทำปฏิบัตกิ าร ระหว่างทำปฏบิ ตั กิ าร และหลังทำปฏบิ ัตกิ าร เชน่ การสวมแว่นตานิรภัย สวมเสื้อคลุมปฏิบัตกิ าร ห้ามรบั ประทานอาหารและเครือ่ งดืม่ หรอื ทำกิจกรรม ต่าง ๆ ทไี่ ม่เกยี่ วข้องกับการทำปฏบิ ตั ิการ เป็นตน้ สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น ความสามารถในการส่ือสาร ความสามารถในการคดิ ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ

16 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ 2. ซอ่ื สัตย์ 3. มวี ินยั 4. ใฝ่เรยี นรู้ 5. อยู่อยา่ งพอเพยี ง 6. มุ่งมั่นในการทำงาน 7. รกั ความเป็นไทย 8. มจี ิตสาธารณะ กิจกรรมการเรยี นรู้ ผ่านวิธกี ารสอนแบบออนไลน์ โดยผา่ นแอพพลเิ คชัน่ Google meet วธิ ีสอนโดยใชก้ ระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Cycle หรอื Inquiry Method : 5E) ข้ันที่ 1 ขัน้ กระตนุ้ ความสนใจ (Engagement) 10 นาที 1.1 ครูกล่าวทกั ทายนกั เรยี น 1.2 ครทู บทวนความรเู้ ดมิ ในเรื่องความปลอดภยั ในการทำงานกบั สารเคมี ดว้ ยทกั ษะ การถาม-ตอบ ระหว่างครกู ับนกั เรียน แนวคําถาม : จากการเรียนช่ัวโมงท่ีแลว้ นักเรยี นได้เรยี นเรื่องอะไร แนวคาํ ตอบ : ความปลอดภัยในการทำงานกับสารเคมี แนวคำถาม : เราจะรูไ้ ด้อย่างไรว่าสารเคมีทเี่ ราใช้มคี วามเป็นอันตรายอยา่ งไร แนวคำตอบ : ดูสญั ลักษณ์ทร่ี ะบคุ วามเป็นอันตราย , สัญลักษณใ์ นระบบ GHS และ NFPA แนวคำถาม : เราควรคน้ หาข้อมูลของสารเคมโี ดยดจู ากอะไร แนวคำตอบ : SDS ของสารเคมนี ้นั ๆ , เอกสารความปลอดภัย 1.3 ครูเปดิ ภาพการแตง่ กายดว้ ยชดุ ปฏบิ ัติการเคมีทไ่ี ม่ถูกต้อง ไม่ปลอดภัย จากนน้ั ครตู ง้ั คําถามเกีย่ วกับ ชุดปฏิบตั กิ าร

17 แนวคําถาม : จากภาพน้ีชดุ ที่ครูเปิดใหด้ ู นักเรียนคดิ วา่ ชุดที่ครูใส่มาเหมาะแก่การทำปฏิบตั กิ ารใน ห้องปฏิบตั กิ ารเคมหี รือไม่ แนวคาํ ตอบ : ไมห่ มาะสม 1.4 ถา้ ไมเ่ หมาะสม นักเรยี นคดิ ว่าไม่เหมาะอยา่ งไร วันน้เี ราจะมาเรยี นรไู้ ปพรอ้ ม ๆ กันว่า การแตง่ กาย ด้วยชุดปฏบิ ตั ิการเคมีท่ีถูกตอ้ ง เหมาะสมเปน็ อยา่ งไร ข้นั ที่ 2 ข้นั สำรวจและคน้ หา (Exploration) 20 นาที 2.1 ครูใหน้ ักเรยี นแบ่งกลมุ่ กลมุ่ ละ 5-6 คน 2.2 ครูให้นักเรยี นแต่ละกลุ่มสุ่มวงล้อเพ่ือเลือกหัวข้อต่าง ๆ ดังน้ี - ขอ้ ควรปฏบิ ตั กิ ่อนทำปฏบิ ัติการ - ข้อควรปฏิบตั ิหลังทำปฏิบตั ิการ - ขอ้ ควรปฏิบตั ิขณะทำปฏบิ ตั กิ าร - ศึกษาการกำจัดสารเคมี 2.3 ให้นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มชว่ ยกันระดมความคิด เพ่ือสืบค้นขอ้ มูลจากอนิ เทอร์เนต็ หรือหนังสือเรยี น รายวชิ าวิทยาศาสตร์เพิม่ เติม (เคม)ี ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 4และ ทำแผนผังความคิด (my map) โดยให้เวลากลมุ่ ละ ไม่เกิน 15 นาที ในรปู แบบออนไลน์ 2.4 ใหน้ กั เรียนแต่ละกลุ่มส่งตวั แทนออกมาอธิบายหัวข้อทีต่ นเองไดร้ ับผ่าน meet พรอ้ มทง้ั แชร์หนา้ จอ ใหเ้ พอ่ื นในห้องไดเ้ หน็ ผลงานของกลุ่มตนเอง ขั้นที่ 3 อธบิ ายและลงข้อสรปุ (Explanation) 15 นาที 3.1 ครแู ละนักเรยี นรว่ มกันอภิปราย และลงขอ้ สรปุ ร่วมกนั แนวการสรปุ : ในการทำปฏิบตั กิ ารเคมใี หเ้ กิดความปลอดภยั นอกจากตอ้ งทราบขอ้ มูลของสารเคมีท่ใี ช้ แล้ว ผู้ทาํ ปฏิบตั ิการเคมีตอ้ งคำนงึ ถึงความปลอดภยั ในการทำงานกอ่ นทำปฏิบัติการเคมขี ณะทำปฏบิ ตั ิการ หลังทำ ปฏบิ ตั ิเคมี และขอ้ ควรปฏิบตั ใิ นการใช้และกำจดั สารเคมี ซ่ึงก่อนทำปฏิบตั ิการเคมีมีข้อควรปฏบิ ัตดิ ังนี้ 1) ศึกษาขัน้ ตอนหรือวิธีการทำปฏิบตั กิ ารให้เข้าใจ หากมีข้อสงสยั ควรสอบถามครผู ู้สอน 2) ศกึ ษาขอ้ มูลของสารเคมี เทคนิคการใช้เคร่ืองมือ วัสดุ อปุ กรณ์ 3) ควรแตง่ กายใหเ้ หมาะสม ขน้ั ท่ี 4 ขัน้ ขยายความรู้ (Elaboration) 5 นาที 4.1 ครเู ปดิ สื่อการสอน(วดี ีโอ)เกี่ยวกบั ความปลอดภัยในหอ้ งปฏิบัตกิ ารใหน้ กั เรยี นดู เพอ่ื ให้นกั เรยี นเห็นภาพและเข้าใจมากขึน้ หมายเหตุ : ทีม่ าของวีดโี อ https://www.youtube.com/watch?v=qp3npv8lS0M ขัน้ ท่ี 5 ขั้นประเมิน (Evaluation) 10 นาที 5.1 ครูใหน้ ักเรยี นทำแบบทดสอบ เรอื่ ง ขอ้ ปฏิบัตใิ นการทำปฏบิ ตั ิการเคมแี ละการกำจัดสารเคมี ใน รปู แบบ google form ส่อื วัสดุ อปุ กรณ์ และแหล่งการเรยี นรู้

18 สอ่ื /วัสด/ุ อปุ กรณ์ แหล่งการเรยี นรู้ 1. PowerPoint เร่ือง ข้อปฏิบัติในการทำปฏบิ ตั กิ ารเคมี 1. หนังสือเรียนรายวิชาเพม่ิ เตมิ วทิ ยาศาสตร์ เคมี และการกำจดั สารเคมี เลม่ 1 ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 4 2. วดี โี อประกอบการสอน 2. ใบกิจกรรมการเรียนรู้ https://www.youtube.com/watch?v=qp3npv8lS0M 4. แบบทดสอบในรูปแบบ google form 3. อินเตอรเ์ น็ต การประเมนิ การเรียนรู้ จุดประสงค์การเรยี นรู้ วิธีการวัดผล เครื่องมอื ทใี่ ชว้ ัดผล เกณฑก์ ารประเมินผล 1.ด้านความรู้ (K) - การมสี ว่ นรว่ มเมื่อครูถาม -แบบประเมนิ รายบคุ คล -ระดับคุณภาพ 3 ผ่านเกณฑ์ - กิจกรรมสืบค้นข้อมลู และการ - แผนผงั ความคดิ ใน -รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ นำเสนอ เร่ือง ขอ้ ปฏิบตั ใิ นการ กจิ กรรมสืบค้นข้อมูลและ ทำปฏิบตั ิการเคมแี ละการ การนำเสนอ เรื่อง ข้อ กำจดั สารเคมี ปฏบิ ตั ิในการทำปฏบิ ตั ิการ - แบบทดสอบในรูปแบบ เคมีและการกำจัดสารเคมี google form - แบบทดสอบ 2. ดา้ นทกั ษะ/ - กิจกรรมสืบคน้ ขอ้ มูลและการ - แผนผงั ความคิดใน ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ กระบวนการ (P) นำเสนอ เรื่อง ขอ้ ปฏิบตั ใิ นการ กจิ กรรมสืบค้นข้อมูลและ ทำปฏบิ ัติการเคมแี ละการ การนำเสนอ เร่ือง ข้อ กำจัดสารเคมี ปฏบิ ตั ิในการทำปฏบิ ตั ิการ เคมแี ละการกำจัดสารเคมี 3. ดา้ นคณุ ลักษณะอนั -การสังเกตพฤติกรรมแบบ -แบบประเมนิ พฤติกรรม -ระดับคณุ ภาพ 3 ผ่านเกณฑ์ พงึ ประสงค์ (A) รายบุคคล แบบกลุ่ม -แบบประเมินรายบุคคล

แบบสงั เกตพฤติกรรมก คำชแี้ จง : ใหผ้ สู้ อนสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรยี น แล้ว ลำดับที่ ชือ่ –สกลุ การแสดง การยอมรับฟงั คน ของนกั เรียน ความคิดเหน็ 1 2 เด็กชายณัฐพร ทับเจริญ 32132 3 เดก็ ชายธนากร รงุ่ ฟ้า 4 เด็กชายบุญฤทธ์ิ เสนมา ✓✓ 5 เดก็ หญิงตวงรตั น์ กิจขยัน 6 เด็กหญิงมณีมัญชุ์ ดว้ งแสง ✓✓ 7 นายกษิด์ิเดช ชูภักดิ์ ✓✓ 8 นายชัยวฒั น์ คำแหง 9 นายทรงพล แคนศลิ า ✓✓ 10 เด็กชายธรี ภทั ร เอย่ี มบุญ ✓✓ 11 นายธันวา เนาว์ศรี 12 นายสุทศั น์ เลไทสงค์ ✓✓ 13 เดก็ ชายอภชิ าติ ชนะมูล ✓✓ 14 นางสาวนันทกิ านต์ ถาวร 15 นางสาวนรมน พลเยี่ยม ✓✓ 16 นางสาวพัชรนิ ทร์ สุวรรณพรม ✓✓ 17 นางสาววราพร พิมไพ 18 นางสาววริ าภา รวมรตั น์ ✓✓ นางสาววิสา ชนะมูล ✓✓ ✓✓ ✓✓ ✓✓ ✓✓ ✓✓ ✓✓ ✓✓

19 การทำงานกลมุ่ วขดี ✓ลงในชอ่ งท่ีตรงกับระดับคะแนน การทำงาน ความมนี ้ำใจ การมี รวม นอน่ื ตามท่ีไดร้ ับ สว่ นร่วมในการ 15 คะแนน มอบหมาย ปรบั ปรุง ผลงานกลุ่ม 10 1321321 11 321 10 ✓✓ 14 ✓ 15 ✓✓ ✓ 8 ✓✓ 8 ✓ 8 ✓✓ ✓ 9 ✓✓ ✓ 9 ✓ 7 ✓✓ ✓ 9 ✓ ✓✓ ✓ 15 ✓ 10 ✓ ✓✓ ✓ 12 ✓ ✓✓ ✓ 12 ✓ 9 ✓ ✓✓ ✓ 9 ✓ ✓✓ ✓ ✓✓✓ ✓ ✓ ✓✓ ✓✓ ✓ ✓ ✓✓ ✓✓ ✓✓ ✓✓

19 นางสาวอภิญญา ปัทมอมั รนิ ทร์ ✓ ✓ เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 2 คะแนน ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมบอ่ ยครงั้ ให้ 1 คะแนน ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤติกรรมบางคร้ัง เกณฑก์ ารตดั สิน ช่วงคะแนน 14–15 11–13 8–10 ต่ำกว่า 8

✓✓✓ 20 ลงชื่อ ................................................... ผปู้ ระเมนิ 15 ............./.................../............... นคณุ ภาพ ระดับคุณภาพ ดมี าก ดี พอใช้ ปรับปรุง

แบบประเมินคณุ ลกั ษณะ คำช้แี จง : ให้ผูส้ อนสังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้ว ปฏบิ ตั ิตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับในช้ันเรียน มี รู้จกั ใช้เวลาว่างใ ลำดับที่ ชือ่ –สกุล ความตรงต่อเวลาใน ประโยชน์ และ ของนักเรยี น การปฏิบัติกจิ กรรมต่าง ปฏิบตั ไิ ด้ ๆ และรับผิดชอบใน การทำงาน 32132 1 เดก็ ชายณัฐพร ทับเจรญิ ✓ ✓ 2 เดก็ ชายธนากร รงุ่ ฟ้า ✓✓ 3 เดก็ ชายบญุ ฤทธ์ิ เสนมา ✓ ✓ 4 เด็กหญิงตวงรตั น์ กจิ ขยัน ✓ ✓ 5 เดก็ หญิงมณีมัญช์ุ ด้วงแสง ✓ ✓ 6 นายกษิดิ์เดช ชูภกั ดิ์ ✓✓ 7 นายชัยวัฒน์ คำแหง ✓✓ 8 นายทรงพล แคนศลิ า ✓✓ 9 เดก็ ชายธรี ภทั ร เอย่ี มบญุ ✓ ✓ 10 นายธันวา เนาวศ์ รี ✓ 11 นายสทุ ศั น์ เลไทสงค์ ✓✓ 12 เดก็ ชายอภชิ าติ ชนะมลู ✓ ✓ 13 นางสาวนันทิกานต์ ถาวร ✓ ✓ 14 นางสาวนรมน พลเยย่ี ม ✓ ✓ 15 นางสาวพัชรินทร์ สุวรรณพรม ✓ ✓

21 ะอันพึงประสงค์ วขดี ✓ลงในช่องที่ตรงกับระดบั คะแนน ให้เปน็ รจู้ กั จัดสรรเวลาให้ ตัง้ ใจเรยี น มีความตั้งใจและ รวม ะนำไป เหมาะสม พยายามในการทำงาน 15 ทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย คะแนน 1321321321 ✓ ✓✓ 8 10 ✓✓✓ 10 15 ✓✓✓ 15 10 ✓✓✓ 10 10 ✓✓✓ 9 8 ✓✓✓ 8 8 ✓✓✓ 15 10 ✓✓✓ 15 ✓✓ ✓ ✓✓ ✓ ✓ ✓ ✓✓ ✓ ✓✓ ✓✓✓ ✓✓ ✓ ✓✓✓

16 นางสาววราพร พิมไพ ✓ ✓ 17 นางสาววิราภา รวมรัตน์ ✓ ✓ ✓ 18 นางสาววสิ า ชนะมลู ✓ ✓ 19 นางสาวอภิญญา ปทั มอัมรินทร์ ✓ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ให้ 3 คะแนน เกณฑ์การต พฤตกิ รรมทีป่ ฏิบตั ชิ ัดเจนและสมำ่ เสมอ ให้ 2 คะแนน ช่วงคะแนน พฤตกิ รรมทปี่ ฏิบตั ชิ ดั เจนและบ่อยครั้ง ให้ 1 คะแนน พฤตกิ รรมท่ปี ฏิบัตบิ างครั้ง 14-15 11-13 8-10 ต่ำกว่า 8

✓ ✓ ✓ 22 ✓ ✓ ✓ 15 ✓ ✓ ✓ 10 ✓ ✓ ✓ 10 15 ลงชอ่ื .................................................. ผปู้ ระเมิน ............/.................../............ ตัดสนิ คุณภาพ ระดบั คณุ ภาพ ดีมาก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ

23 บนั ทึกหลงั การจดั การเรียนรู้ 1. ผลการจดั การเรียนการสอน • ดา้ นความรู้ - นักเรียนมคี วามรู้ความเขา้ ใจในเนอื้ หา - สามารถบอกและอธิบายขอ้ ควรปฏิบตั ใิ นการปฏิบัตกิ ารเคมไี ดท้ แี่ สดงถึงความตระหนักในการปฏิบตั กิ ารเคมใี น หอ้ งปฏิบัติการเคมีได้ • ดา้ นสมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น - นกั เรียนมีทักษะและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ตามเกณฑท์ ค่ี รูกำหนด • ด้านคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ - นักเรียนทุกคนมีความใฝ่เรียนรู้ เหน็ คณุ คา่ ความสำคญั ของข้อควรปฏิบตั ิในการปฏิบัติการเคมี มคี วามตรงตอ่ เวลาในการเข้าเรียน • ดา้ นอ่นื ๆ (พฤตกิ รรมเด่น หรือพฤติกรรมทม่ี ีปญั หาของนักเรยี นเป็นรายบคุ คล (ถา้ มี)) - 2. ปญั หา / อุปสรรค -มนี กั เรียนบางคนไมส่ ามารถเข้ามาเรยี นออนไลนไ์ ด้ เนือ่ งจากไม่มีความพร้อมในเรอื่ งของอปุ กรณ์การเรยี น -นักเรียนยังไมก่ ลา้ พูด ไม่กล้าตอบทำให้หอ้ งเรยี นเงียบ 3. ขั้นเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข -หากจิ กรรมที่กระตนุ้ ใหน้ นักเรยี นมีสว่ นร่วมในชัน้ เรยี นมากข้นึ ลงชอ่ื ..................................................................ผเู้ ขียนแผนการจดั การเรียนรู้ (นางสาวณฐั ธดิ า ชากรแก้ว) ......................./................/.................... ลงชอ่ื ..................................................................ผู้ตรวจ (นางสาววารณุ ี อิทธิพัทธอ์ เนก) ......................./................/....................

24 แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 2 กล่มุ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 1 เร่อื ง ความปลอดภยั และทักษะในปฏิบตั กิ ารเคมี เรอ่ื ง อบุ ตั ิเหตุจากสารเคมี วิชา เคมี 1 รหสั ว31223 เวลาเรยี น 1 ช่ัวโมง จำนวน 1.0 หนว่ ยกติ ครผู สู้ อน นางสาวณฐั ธิดา ชากรแกว้ สาระการเรียนรู้ เขา้ ใจหลกั การทำปฏิบตั ิการเคมี การวัดปรมิ าณสาร หน่วยวดั และการเปลี่ยนหน่วย การคํานวณปริมาณ ของสาร ความเข้มข้นของสารละลาย รวมทั้งการบูรณาการความรู้และทักษะในการอธิบายปรากฏการณ์ใน ชีวติ ประจำวนั และการแกป้ ญั หาทางเคมี ผลการเรียนรู้ บอกและอธิบายข้อปฏิบตั ิเบื้องต้น และปฏบิ ตั ติ นที่แสดงถึงความตระหนักในการทำปฏิบัติการเคมี เพอื่ ใหม้ ี ความปลอดภัยทง้ั ต่อตนเอง ผู้อนื่ และสิ่งแวดล้อม และเสนอแนวทางแก้ไขเมื่อเกดิ อบุ ัติเหตุ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ดา้ นความรู้ (Knowledge) 1. อธิบายวธิ ีการปฐมพยาบาลเมื่อได้รบั อุบตั เิ หตจุ ากสารเคมี ดา้ นทกั ษะ (Process) 2. สามารถปฐมพยาบาลได้ เมือ่ ได้รับอบุ ัติเหตจุ ากสารเคมี ดา้ นคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (Affective) 3. มีความมงุ่ มน่ั ต้ังใจในการเรียนรู้ และแสวงหาความรู้ สาระสำคญั หรอื ความคดิ รวบยอด ในการทำปฏิบตั กิ ารทดลองทางเคมสี ามารถเกิดอุบัติเหตจุ ากการใชส้ ารเคมีไดท้ กุ เม่ือ หากผู้ทําการทดลองมคี วามร้ใู นเรื่องการปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้ เกีย่ วกับการไดร้ ับอุบตั ิเหตุจากสารเคมี จะสามารถลดความรนุ แรงและความเสยี หายท่ีเกดิ ข้นึ ได้ ดงั นนั้ เพ่ือป้องกันความรุนแรงที่เกดิ จาก อุบตั ิเหตจุ ากสารเคมี จงึ มีการปฐมพยาบาลเบ้อื งตน้ เม่ือไดร้ ับอุบัติเหตุจากสารเคมี สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแกป้ ัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ซ่อื สตั ย์

25 มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยูอ่ ย่างพอเพียง ม่งุ มั่นในการทำงาน รกั ความเปน็ ไทย มีจติ สาธารณะ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ผา่ นวธิ กี ารสอนแบบออนไลน์ โดยผา่ นแอพพลิเคชั่น Google meet วธิ สี อนโดยใช้กระบวนการสบื เสาะหาความรู้ (Inquiry Cycle หรือ Inquiry Method : 5E) ข้นั ที่ 1 ขน้ั กระตุ้นความสนใจ (Engagement) 10 นาที 1.1 ครูกลา่ วทักทายนักเรียน 1.2 ครูเปดิ วีดีโอเกีย่ วกบั อุบัตเิ หตจุ ากสารเคมีใหน้ ักเรียนดู จากนั้นครูตงั้ คาํ ถามว่า ถ้าหากนักเรียนอยู่ใน เหตุการณด์ ังกล่าวเห็นผูไ้ ดร้ ับบาดเจ็บ นักเรียนจะปฏิบัตอิ ย่างไร หมายเหตุ : https://www.youtube.com/watch?v=AjwqqUNNBEM แนวคำตอบ : นำผไู้ ด้รบั บาดเจบ็ ส่งโรงพยาบาล 1.3 ครูอธิบายว่า คําตอบที่นักเรียนตอบมาถูกตอ้ ง แตก่ ่อนท่ีนกั เรยี นจะนําตวั ผปู้ ว่ ยนาํ ส่งโรงพยาบาล นกั เรียนตอ้ งร้วู ธิ กี ารปฐมพยาบาลเบอ้ื งต้นก่อน ซึ่งวันนี้ครูจะสอนในเรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องตน้ เม่ือไดร้ บั อบุ ตั เิ หตจุ ากสารเคมี โดยมีหัวขอ้ ยอ่ ยดังนี้ - การปฐมพยาบาลเบื้องต้นเมื่อรับประทานสารเคมหี รือกลนื กินสารเคมี - การปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้ เมอื่ ร่างกายสมั ผัสสารเคมี - การปฐมพยาบาลเบ้ืองต้นเมอ่ื สารเคมเี ข้าตา - การปฐมพยาบาลเบื้องตน้ เม่อื สดู ดมแกส๊ พิษ - การปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้ เมอ่ื โดนความร้อน ขน้ั ท่ี 2 ขนั้ สำรวจและค้นหา (Exploration) 20 นาที 2.1 ครูใหน้ ักเรยี นแบ่งกลุม่ 5 กลุ่ม หมายเหตุ : เพือ่ กระต้นุ ความสนใจในการแบ่งกลุ่ม ครูจะบอกว่าหากจบั กล่มุ ไดแ้ ลว้ ใหน้ ักเรียนส่งตัวแทนของกล่มุ เปิดแผน่ ป้าย โดยแผ่นป้ายจะมีหมายเลข 1-5 และจะมีคําถามซ่อนอย่ภู ายใน โดยที่ หมายเลข 1 หากนักเรียนตอ้ งการการปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้ ให้แก่ผู้ทร่ี ับประทานสารเคมีหรือกลืนกนิ สารเคมีเข้า ไปในรา่ งกาย นกั เรยี นจะมวี ิธีในการปฐมพยาบาลเบอื้ งตน้ อย่างไร หมายเลข 2 หากนักเรียนตอ้ งการการปฐมพยาบาลเบื้องต้นให้แก่ผทู้ ี่ได้รบั อบุ ตั ิเหตุเมื่อร่างกายสมั ผสั สารเคมี นักเรียนจะมีวิธกี ารปฐมพยาลเบือ้ งตน้ อยา่ งไร หมายเลข 3 หากนักเรยี นตอ้ งการการปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้ ใหแ้ ก่ผทู้ ไ่ี ด้รบั อบุ ัติจากกสารเคมีเขา้ ตานักเรยี นจะมี วิธีการปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้ อยา่ งไร หมายเลข 4 หากนักเรียนตอ้ งการการปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้ ใหแ้ ก่ผทู้ ี่ได้รบั อุบตั ิเหตุจากการสูดดมแกส๊ พษิ นกั เรียน จะมีวิธกี ารปฐมพยาบาลเบอ้ื งตน้ อย่างไร

26 หมายเลข 5 หากนักเรียนตอ้ งการการปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้ ให้แก่ผูท้ ีไ่ ดร้ บั อบุ ตั เิ หตุจากการถูกความรอ้ น นักเรยี น จะมีวิธกี ารปฐมพยาบาลเบือ้ งต้นอย่างไร 2.2 เม่อื นักเรียนแตล่ ะกลุ่มเปดิ แผน่ ปา้ ยแลว้ ช้ีแจงรายละเอียดในการทำงาน - ใหน้ ักเรียนสืบค้น วิธีการปฐมพยาบาลเม่ือเกิดอุบัตเิ หตุ จากหนงั สือเรยี นวชิ าวิทยาศาสตรเ์ พิ่มเติม (เคมี) และอินเทอร์เนต็ ได้ หมายเหตุ : ครยู กตวั อย่างให้ดู เช่น ขณะทำปฏิบตั กิ ารเคมี นาย ก. ไดท้ ำกรดชนิดหนง่ึ หกใส่มอื โดยกรดชนดิ นั้น สามารถละลายน้ำได้ นาย ก. ต้องลา้ งมือดว้ ยนำ้ สะอาดโดยเปดิ น้ำใหไ้ หลผ่าน ขัน้ ท่ี 3 อธบิ ายและลงขอ้ สรุป (Explanation) 15 นาที 3.1 ครใู หน้ ักเรียนแต่ละกล่มุ สง่ ตวั แทนออกมานําเสนอวิธีการปฐมพยาบาลเบื้องตน้ เมือ่ ได้รบั อบุ ตั ิเหตุจาก สารเคมี ไม่เกิน 5 นาที 3.2 ครูและนักเรียนรว่ มกันอภปิ รายและสรปุ ร่วมกัน แนวการสรุป : อธิบายความหมายของอุบตั ิเหตแุ ละอธิบายถึงวธิ กี ารปฐมพยาบาลที่ถูกต้องเมอ่ื ได้รับอุบัตเิ หตจุ าก สารเคมี ขั้นที่ 4 ขน้ั ขยายความรู้ (Elaboration) 5 นาที 4.1 ครูใหน้ ักเรียนดวู ีดโี อเกี่ยวกบั ภยั จากสารเคมแี ละการปฐมพยาบาลเบื้อต้นเมือ่ ได้รับสารเคมี (https://www.youtube.com/watch?v=N4zddPDMdOU) 4.2 ครถู ามนักเรียนว่าจากวดี โี อท่ีนักเรียนได้ดู นักเรยี นไดค้ วามรู้อะไรจากวีดีโอบ้าง 4.3 ครสู รุปข้อคดิ ที่ได้จากการดูวีดีโอ ข้นั ท่ี 5 ข้นั ประเมิน (Evaluation) 5.1 ครใู ห้นักเรยี นทำแบบทดสอบ เร่ือง อบุ ัตเิ หตจุ ากสารเคมี ในรูปแบบ เกมสอ์ อนไลน์ Wordwall สือ่ วสั ดุ อุปกรณ์ และแหลง่ การเรียนรู้ สอ่ื /วัสด/ุ อปุ กรณ์ แหล่งการเรียนรู้ 1. PowerPoint เรอ่ื ง อุบัติเหตจุ ากสารเคมี 1. หนังสือเรยี นรายวิชาเพมิ่ เติมวิทยาศาสตร์ เคมี เล่ม 1 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 2. วิดีโอ 2. ใบกจิ กรรมการเรียนรู้ https://www.youtube.com/watch?v=AjwqqUNNBEM 3. วิดีโอ 3. อนิ เตอร์เน็ต https://www.youtube.com/watch?v=N4zddPDMdOU 4. เกมส์ออนไลน์ Wordwall เรอื่ งอุบตั ิหตุจากสารเคมี การประเมนิ การเรยี นรู้ จุดประสงค์การเรยี นรู้ วธิ ีการวดั ผล เคร่อื งมือทใี่ ชว้ ดั ผล เกณฑก์ ารประเมินผล 1.ดา้ นความรู้ (K) - การมีสว่ นรว่ มเม่ือครูถาม -แบบประเมนิ รายบุคคล -ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ - เกมส์ออนไลน์ -ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ - เกมสอ์ อนไลน์ Wordwall Wordwall เรอ่ื งอุบตั หิ ตุ จากสารเคมี เร่อื งอุบตั หิ ตจุ ากสารเคมี

27 2. ด้านทกั ษะ/ - กิจกรรมการนำเสนอในเร่อื ง - แบบประเมินการนำเสนอ รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ กระบวนการ (P) อบุ ัติเหตุจากสารเคมี ในเรอ่ื ง อบุ ตั เิ หตจุ าก -ระดับคณุ ภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ สารเคมีผ่าน google 3. ดา้ นคณุ ลกั ษณะอนั -การสงั เกตพฤติกรรมแบบ form -แบบประเมนิ รายบคุ คล พึงประสงค์ (A) รายบุคคล

แบบสังเกตพฤติกร คำชแี้ จง : ใหผ้ ู้สอนสังเกตพฤตกิ รรมของนักเรยี นในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรยี น แล้ว ลำดบั ท่ี ช่อื –สกลุ การแสดง การยอมรับฟงั คน ของนักเรยี น ความคิดเหน็ 1 2 เดก็ ชายณัฐพร ทับเจริญ 32132 3 เด็กชายธนากร รุ่งฟ้า 4 เด็กชายบญุ ฤทธิ์ เสนมา ✓✓ 5 เด็กหญิงตวงรัตน์ กิจขยัน 6 เด็กหญิงมณมี ัญชุ์ ดว้ งแสง ✓✓ 7 นายกษิดิเ์ ดช ชูภักด์ิ ✓✓ 8 นายชยั วัฒน์ คำแหง 9 นายทรงพล แคนศิลา ✓✓ 10 เดก็ ชายธีรภทั ร เอีย่ มบุญ ✓✓ 11 นายธันวา เนาวศ์ รี 12 นายสุทศั น์ เลไทสงค์ ✓✓ 13 เด็กชายอภชิ าติ ชนะมลู ✓✓ 14 นางสาวนันทิกานต์ ถาวร 15 นางสาวนรมน พลเยยี่ ม ✓✓ 16 นางสาวพชั รินทร์ สวุ รรณพรม ✓✓ 17 นางสาววราพร พิมไพ 18 นางสาววิราภา รวมรัตน์ ✓✓ นางสาววิสา ชนะมลู ✓✓ ✓✓ ✓✓ ✓✓ ✓✓ ✓✓ ✓✓ ✓✓

28 รรมการทำงานกลมุ่ วขดี ✓ลงในชอ่ งท่ีตรงกับระดับคะแนน การทำงาน ความมนี ำ้ ใจ การมี รวม นอน่ื ตามทไี่ ดร้ ับ สว่ นรว่ มในการ 15 คะแนน มอบหมาย ปรบั ปรงุ ผลงานกลุ่ม 10 1321321 11 321 10 ✓✓ 14 ✓ 15 ✓✓ ✓ 8 ✓✓ 8 ✓ 8 ✓✓ ✓ 9 ✓✓ ✓ 9 ✓ 7 ✓✓ ✓ 9 ✓ ✓✓ ✓ 15 ✓ 10 ✓ ✓✓ ✓ 12 ✓ ✓✓ ✓ 12 ✓ 9 ✓✓ ✓ ✓ ✓ 9 ✓ ✓✓ ✓ ✓✓✓ ✓ ✓ ✓✓ ✓✓ ✓ ✓ ✓✓ ✓✓ ✓✓ ✓✓

19 นางสาวอภิญญา ปัทมอมั รนิ ทร์ ✓ ✓ เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 2 คะแนน ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมบอ่ ยครงั้ ให้ 1 คะแนน ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤติกรรมบางคร้ัง เกณฑก์ ารตดั สิน ช่วงคะแนน 14–15 11–13 8–10 ต่ำกว่า 8

✓✓✓ 29 ลงชื่อ ................................................... ผปู้ ระเมนิ 15 ............./.................../............... นคณุ ภาพ ระดับคุณภาพ ดมี าก ดี พอใช้ ปรับปรุง

แบบประเมินคณุ ลกั ษณะ คำช้แี จง : ให้ผูส้ อนสังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้ว ปฏบิ ตั ิตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับในช้ันเรียน มี รู้จกั ใช้เวลาว่างใ ลำดับที่ ชือ่ –สกุล ความตรงต่อเวลาใน ประโยชน์ และ ของนักเรยี น การปฏิบัติกจิ กรรมต่าง ปฏิบตั ไิ ด้ ๆ และรับผิดชอบใน การทำงาน 32132 1 เดก็ ชายณัฐพร ทับเจรญิ ✓ ✓ 2 เดก็ ชายธนากร รงุ่ ฟ้า ✓✓ 3 เดก็ ชายบญุ ฤทธ์ิ เสนมา ✓ ✓ 4 เด็กหญิงตวงรตั น์ กจิ ขยัน ✓ ✓ 5 เดก็ หญิงมณีมัญช์ุ ด้วงแสง ✓ ✓ 6 นายกษิดิ์เดช ชูภกั ดิ์ ✓✓ 7 นายชัยวัฒน์ คำแหง ✓✓ 8 นายทรงพล แคนศลิ า ✓✓ 9 เดก็ ชายธรี ภทั ร เอย่ี มบญุ ✓ ✓ 10 นายธันวา เนาวศ์ รี ✓ 11 นายสทุ ศั น์ เลไทสงค์ ✓✓ 12 เดก็ ชายอภชิ าติ ชนะมลู ✓ ✓ 13 นางสาวนันทิกานต์ ถาวร ✓ ✓ 14 นางสาวนรมน พลเยย่ี ม ✓ ✓ 15 นางสาวพัชรินทร์ สุวรรณพรม ✓ ✓

30 ะอันพึงประสงค์ วขดี ✓ลงในช่องที่ตรงกับระดบั คะแนน ให้เปน็ รจู้ กั จัดสรรเวลาให้ ตัง้ ใจเรยี น มีความตั้งใจและ รวม ะนำไป เหมาะสม พยายามในการทำงาน 15 ทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย คะแนน 1321321321 ✓ ✓✓ 8 10 ✓✓✓ 10 15 ✓✓✓ 15 10 ✓✓✓ 10 10 ✓✓✓ 9 8 ✓✓✓ 8 8 ✓✓✓ 15 10 ✓✓✓ 15 ✓✓ ✓ ✓✓ ✓ ✓ ✓ ✓✓ ✓ ✓✓ ✓✓✓ ✓✓ ✓ ✓✓✓

16 นางสาววราพร พิมไพ ✓ ✓ 17 นางสาววิราภา รวมรัตน์ ✓ ✓ ✓ 18 นางสาววสิ า ชนะมลู ✓ ✓ 19 นางสาวอภิญญา ปทั มอัมรินทร์ ✓ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ให้ 3 คะแนน เกณฑ์การต พฤตกิ รรมทีป่ ฏิบตั ชิ ัดเจนและสมำ่ เสมอ ให้ 2 คะแนน ช่วงคะแนน พฤตกิ รรมทปี่ ฏิบตั ชิ ดั เจนและบ่อยครั้ง ให้ 1 คะแนน พฤตกิ รรมท่ปี ฏิบัตบิ างครั้ง 14-15 11-13 8-10 ต่ำกว่า 8

✓ ✓ ✓ 31 ✓ ✓ ✓ 15 ✓ ✓ ✓ 10 ✓ ✓ ✓ 10 15 ลงชอ่ื .................................................. ผปู้ ระเมิน ............/.................../............ ตัดสนิ คุณภาพ ระดบั คณุ ภาพ ดีมาก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ

32 วิธีการปฐมพยาบาลเม่อื ไดร้ ับอุบตั เิ หตจุ ากสารเคมี เรอ่ื ง การปฐมพยาบาลเม่ือไดร้ บั อบุ ตั เิ หตจุ ากสารเคมี คําชี้แจง : ให้นกั เรยี นสืบค้นขอ้ มูลจากอนิ เทอรเ์ นต็ หรอื จากหนังสอื เรียนตามหัวข้อท่ีตนเองได้รบั ชอ่ื หัวข้อท่ตี นเองได้รบั ...................................................................................................กล่มุ ท่ี ... . การปฐมพยาบาลเบื้องต้น .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................

33 เฉลยกจิ กรรม วธิ กี ารปฐมพยาบาลเมื่อไดร้ ับอบุ ัตเิ หตจุ ากสารเคมี เรือ่ ง การปฐมพยาบาลเม่อื ได้รับอบุ ตั เิ หตจุ ากสารเคมี คาํ ชี้แจง : ใหน้ ักเรียนสบื คน้ ข้อมลู จากอินเทอรเ์ น็ตหรือจากหนังสือเรียนตามหัวข้อท่ตี นเองไดร้ บั ชอื่ หัวข้อทต่ี นเองได้รบั ...................................................................................................กลุ่มที่ .... 1. การปฐมพยาบาลเบ้อื งต้นเมอ่ื รับประทานสารเคมีหรือกลืนกนิ สารเคมี - ทำให้สารพษิ เจอื จาง ในกรณรี ้สู ึกตวั และไมม่ ีอาการชัก โดยการดมื่ มน้ำชาซ่ึงหาได้งา่ ย แต่ถ้าไดน้ มจะดีกกวา่ เพราะว่าจะชว่ ยเจือจางสารพิษแลว้ ยังช่วยเคลือบและปอ้ งกันอนั ตรายต่อเยอ่ื บุทางเดินอาหาร นาํ ส่งโรงพยาบาล เพ่อื ทำการล้างทอ้ งเอาสารพิษออกจากกระเพาะอาหาร - ทำให้ผปู้ ่วยอาเจียน เพอื่ เอาสารพษิ ออกจากกระเพาะอาหาร ในกรณีท่ีตอ้ งใช้เวลานานในการนําส่งผ้ปู ว่ ย เช่น ใช้ นวิ้ ล้วงคอ ใชไ้ ม้พันสำลีกวาดคอซ่ึงจะเป็นการกระต้นุ ให้ ร้สู ึกอยากขยอ้ น อยากอาเจยี น ข้อหา้ มในการทำให้ ผู้ป่วย อาเจยี น - ผูป้ ่วยหมดสติ - ไดร้ ับสารพษิ ชนิดกดั เน้อื เชน่ กรด ดา่ ง - รบั ประทานสารพษิ พวก นำ้ มันปโิ ตรเลียม เช่น นำ้ มันก๊าด เบนซนิ 2. การปฐมพยาบาลเบื้องตน้ เม่อื รา่ งกายสัมผัสสารเคมี - ใหล้ า้ งผวิ หนงั ในบริเวณท่ถี ูกสารเคมีโดยใชน้ ้ำสะอาดลา้ งใหม้ ากท่สี ดุ เพื่อทำใหเ้ จือจางและ ขบั ออกถา้ สารเคมหี ก รดเสื้อผา้ ใหร้ บี ถอดเสอื้ ผา้ ออกกอ่ น ห้ามใช้สารแก้พิษใด ๆเทลงไปบนผิวหนัง เพราะอาจเกดิ ความร้อนจาก ปฏิกริ ยิ าเคมที ำใหแ้ ผลกว้างและเจ็บมากขึน้ 3. การปฐมพยาบาลเบื้องตน้ เมอื่ สารเคมีเขา้ ตา ให้ล้างตาด้วยนำ้ สะอาดให้มากทสี่ ุดทนั ทโี ดยเปิดเปลือกตาขน้ึ ใหน้ ้ำไหลผ่านตาอย่างน้อย15 นาที ป้ายข้ีผ้งึ ป้ายตา แลว้ รีบนาํ ส่งแพทยโ์ ดยเร็วหา้ มใชส้ ารเคมีแก้พษิ ใด ๆ ทง้ั สิ้น 4. การปฐมพยาบาลเบอื้ งตน้ เมอ่ื สูดดมแกส๊ พษิ - ใหย้ า้ ยผไู้ ด้รบั สารเคมีน้ันออกจากบรรยากาศของสารเคมี ไปทท่ี ม่ี ีอากาศบริสทุ ธชิ์ ่วยผายปอด หรือกระต้นุ การ หายใจด้วยยาดมฉนุ ๆ

34 5. การปฐมพยาบาลเบือ้ งตน้ เม่อื โดนความรอ้ น - ลา้ งดว้ ยน้ำสะอาดท่ีอณุ หภมู ปิ กติ ซงึ่ เชือ่ วา่ จะมีผลชว่ ยลดการหลั่งสารที่ทำให้เกดิ อาการปวดบริเวณ บาดแผลได้ - หลงั จากน้นั ซบั ด้วยผ้าแห้งสะอาด แลว้ สังเกตว่าถา้ ผวิ หนังมีรอยถลอก มีตุ่มพองใส หรือมีสีของผิวหนังเปล่ียนไป ควรรบี ไปพบแพทย์ * แต่ถา้ ไฟไหม้ นำ้ รอ้ นลวกบรเิ วณใบหน้า จะต้องได้รบั การรกั ษาจากแพทยโ์ ดยเรว็ ที่สดุ เพราะบริเวณใบหนา้ มักจะเกดิ อาการระคายเคอื งจากยาทใ่ี ช้ ห้ามใส่ยาใด ๆ ก่อนถงึ มือแพทย์ เพราะผู้ปว่ ยแต่ละคนมีอาการตอบสนอง ต่อตัวยาไม่เหมือนกนั จะต้องขึ้นกบั ดุลยพินจิ ของแพทย์

35 บันทกึ หลังการจัดการเรียนรู้ 1. ผลการจดั การเรียนการสอน • ด้านความรู้ - นักเรียนมคี วามรู้ความเขา้ ใจในเน้ือหา - นกั เรียนมีความเขา้ ในกจิ กรรมวิธกี ารปฐมพยาบาลเม่ือไดร้ บั อบุ ัตเิ หตุจากสารเคมี • ด้านสมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน - นกั เรยี นมีทกั ษะและกระบวนการทางวิทยาศาสตรต์ ามเกณฑท์ ค่ี รูกำหนด • ดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ - นกั เรยี นทุกคนมคี วามใฝ่เรยี นรู้ เหน็ คุณคา่ ความสำคญั ของวิธีการปฐมพยาบาลเมอ่ื ได้รับอุบตั เิ หตจุ ากสารเคมี มี ความตรงต่อเวลาในการเข้าเรยี น - นักเรยี นสามารถแก้ปญั หาอาจจะช้าหรือเรว็ ตา่ งกนั แต่สามารถแกป้ ัญหาได้ - มวี นิ ยั ในการเรยี น • ด้านอื่น ๆ (พฤตกิ รรมเดน่ หรือพฤตกิ รรมท่ีมีปญั หาของนักเรียนเปน็ รายบุคคล (ถา้ ม)ี ) - 2. ปญั หา / อุปสรรค -มีนกั เรยี นบางคนไมส่ ามารถเข้ามาเรียนออนไลนไ์ ด้ เน่ืองจากไม่มีความพร้อมในเรือ่ งของอปุ กรณ์การเรยี น 3. ขั้นเสนอแนะ / แนวทางแกไ้ ข -ใหน้ ักเรยี นลองสรา้ งสถานการณ์อุบัตเิ หตุข้ึนเองและใหเ้ พื่อนค้นหาวธิ ีการปฐมพยาบาล ลงชอ่ื ..................................................................ผู้เขยี นแผนการจดั การเรยี นรู้ (นางสาวณฐั ธดิ า ชากรแก้ว) ......................./................/.................... ลงชือ่ ..................................................................ผู้ตรวจ (นางสาววารุณี อิทธพิ ัทธอ์ เนก) ......................./................/....................